The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by phueng1991.20, 2021-03-30 03:16:43

แผนปฏิบัติการประจำปีงบประมาณ2564



ค ำน ำ


แผนปฏิบัตการประจาปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๔ ของศนย์ฝกและพัฒนาอาชพราษฎรไทยบริเวณ










ชายแดนปัตตานี จดทาขึ้นตามบทบัญญัตของพระราชกฤษฎีกาว่าดวยหลกเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการ

ี่


บ้านเมืองทด พ.ศ. 2546 มีบทบัญญัตเกี่ยวกับแผนปฏิบัตราชการ ในหมวด 3 การบริหารราชการเพื่อให้


เกิดผลสมฤทธิ์ตอภารกิจของรัฐ มาตรา 9 (1) ก าหนดว่า ก่อนจะดาเนินการตามภารกิจใด สวนราชการตอง






จดทาแผนปฏิบัตราชการไว้เปนการลวงหน้า ประกอบกับสานักงาน กศน. ไดอนุมัตจดสรรงบประมาณในการ






ด าเนินงานประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๔ เรียบร้อยแล้ว









ศนย์ฝกและพัฒนาอาชพราษฎรไทยบริเวณชายแดนปัตตานี จงไดจดทาแผนปฏิบัตการประจาปี



งบประมาณ พ.ศ. 256๔ ขึ้น เพื่อใชเป็นกรอบแนวทางในการปฏิบัตงานของสถานศกษาไดอย่างมี





ู้

ี่
ประสทธิภาพ และขอขอบคณผมีสวนเกี่ยวข้องทให้ความร่วมมือในการจดทาแผนปฏิบัตการประจาปี


งบประมาณ พ.ศ. 256๔ นี้ จนส าเร็จลุล่วงตามวัตถุประสงค์ได้เป็นอย่างด ี


ศฝช.ปัตตานี
ตุลาคม ๒๕๖๓



สารบัญ

หน้า
ค าน า ก
สารบัญ ข
การอนุมัติของคณะกรรมการสถานศึกษา ค
ส่วนที่ ๑ บทน ำ ๑

ควำมเป็นมำ ๑
วัตถุประสงค ์ ๑
วิธีด ำเนินกำร ๑

ี่
ผลทคำดว่ำจะได้รับ ๒
ส่วนที่ ๒ บริบทที่เกี่ยวข้อง ๓

ยุทธศำสตร์ชำต ระยะ ๒๐ ปี (พ.ศ.๒๕๖๑ – ๒๕๘๐) ๓
ี่
แผนพัฒนำเศรษฐกิจและสังคมแห่งชำติ ฉบับท ๑๒ (พ.ศ.๒๕๖๐ – ๒๕๖๔) ๔
แผนกำรศึกษำแห่งชำติ (พ.ศ. ๒๕๖๐ – ๒๕๗๙) ๕
อ ำนำจหน้ำที่ของสถำนศึกษำ ๙
ส่วนที่ ๓ สำระส ำคัญของแผนปฏบัติกำรประจ ำปีงบประมำณ พ.ศ. ๒๕๖๔ ๑๐

นโยบำยและจุดเน้นของส ำนักงำน กศน. ประจ ำปีงบประมำณ พ.ศ. ๒๕๖๔ ๑๐

มำตรฐำนกำรประกันคุณภำพของสถำนศึกษำ ๒๒
งบประมำณรำยจ่ำยประจ ำปีงบประมำณ พ.ศ. ๒๕๖๔ ๒๔

โครงกำรตำมแผนปฏบัติกำรประจ ำปีงบประมำณ พ.ศ. ๒๕๖๔ ๒๔
ส่วนที่ ๔ แผนงำน/โครงกำรประจ ำปีงบประมำณ พ.ศ. ๒๕๖๔ ๒๕

โครงกำรจัดกำรศึกษำนอกระบบ ระดับกำรศึกษำขั้นพื้นฐำน ๒๖
โครงกำรศูนย์ฝึกอำชีพชุมชน ๓๓
โครงกำรกำรจัดกำรศึกษำต่อเนื่อง ๔๑

- โครงกำรจัดกำรศึกษำเพื่อพัฒนำทักษะชีวิต ๔๑
- โครงกำรจัดกำรศึกษำเพื่อพัฒนำสังคมและชุมชน ๔๖
- โครงกำรเรียนรู้ตำมหลักปรัชญำของเศรษฐกิจพอเพียง ๕๑
- โครงกำรพัฒนำคุณภำพกำรศึกษำ ๕๖
โครงกำรน้อมน ำหลักปรัชญำของเศรษฐกิจพอเพียงเพื่อเสริมสร้ำงศักยภำพ 64

ประชำชนชำยแดนใต้สู่กำรพัฒนำที่ยั่งยืน
ภาคผนวก
คณะผู้จดท ำ





การอนุมัติแผนปฏิบัติการประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 25๖๔

ศูนย์ฝึกและพัฒนาอาชีพราษฎรไทยบริเวณชายแดนปัตตานี


ศนย์ฝกและพัฒนาอาชพราษฎรไทยบริเวณชายแดนปัตตานี ไดจดทาแผนปฏิบัตการประจาปี










งบประมาณ พ.ศ. 256๔ ขึ้น เพื่อใชเป็นกรอบแนวทางในการปฏิบัตงานของสถานศกษาไดอย่างมี


ี่


ประสทธิภาพ โดยมีเนื้อหาประกอบดวย ๑.บทน า ๒.บริบททเกี่ยวข้อง ๓.สาระสาคญของแผนปฏิบัตการ



ประจาปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๖๔ และ ๔.แผนงาน/โครงการประจาปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๖๔ ซึ่ง

คณะกรรมการสถานศึกษาได้พิจารณาแผนปฏิบัติการประจ าปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๖๔ ของศูนย์ฝึกและพัฒนา
อาชีพราษฎรไทยบริเวณชายแดนปัตตานีแลว และได้ให้ค าแนะน า ตลอดจนให้ความเห็นชอบแผนดังกล่าว




ลงชื่อ…………………...….……………..ผู้เห็นชอบ
(…………………………..……….)
ประธานคณะกรรมการสถานศึกษา
วันท……...เดือน………….……….พ.ศ. ………
ี่


ลงชื่อ………………………………..….ผู้อนุมัติ
(………………………….….…….)

ผู้อ านวยการ ศฝช.ปัตตานี
ี่
วันท……...เดือน………….……….พ.ศ. ………

ส่วนที่ ๑

บทน ำ

ควำมเป็นมำ

ี่
ตามที่พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองทดี พ.ศ. 2546 มาตรา
9 ได้ก าหนดไว้ว่า การบริหารราชการเพื่อให้เกิดผลสัมฤทธิ์ต่อภารกิจของรัฐให้ส่วนราชการปฏิบัติ คือ (1) ก่อน






จะดาเนินการตามภารกิจใด สวนราชการตองจดทาแผนปฏิบัตราชการไว้เป็นการลวงหน้า (2) การก าหนด

แผนปฏิบัตราชการของสวนราชการตาม (1) ตองมีรายละเอียดของขั้นตอน ระยะเวลา และงบประมาณท ี่









ี้
จะตองใชในการดาเนินการของแตละขั้นตอน เป้าหมายของภารกิจ ผลสมฤทธิ์ของภารกิจ และตวชวัด
ความส าเร็จของภารกิจ และมาตรา 16 ให้ส่วนราชการจัดท าแผนปฏิบัติราชการของส่วนราชการนั้น
ดงนั้น เพื่อให้เป็นไปตามพระราชกฤษฎีกาว่าดวยหลกเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองทด ี



ี่



พ.ศ. 2546 และสอดคลองกับยุทธศาสตร์ชาต (พ.ศ. 2561 - 2580) แผนแม่บทภายใตยุทธศาสตร์ชาต ิ

(พ.ศ. 2561 – 2580) แผนการปฏิรูปประเทศ แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสงคมแห่งชาต ฉบับท 12 (พ.ศ.

ี่



2560 -2564) นโยบายและแผนระดบชาตว่าดวยความมั่นคงแห่งชาต (พ.ศ. 2562–2565) คาแถลง


ี่
นโยบายรัฐบาล (พลเอก ประยุทธ์จนทร์ โอชา) เป้าหมายการพัฒนาทยั่งยืน (Sustainable Development

ี่


Goals: SDGs) เป้าหมายท 4 เป้าหมายดานการศกษา แผนการศกษาแห่งชาต (พ.ศ. 2560 - 2579)




ยุทธศาสตร์การจดสรรงบประมาณรายจายประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 256๔ นโยบายและจดเน้นของ


กระทรวงศึกษาธิการ ปีงบประมาณ พ.ศ. 256๔ และนโยบายและจุดเน้นการด าเนินงานของ ส านักงาน กศน.
ประจ าปีงบประมาณ ๒๕๖๔

ศูนย์ฝกและพัฒนาชีพราษฎรไทยบริเวณชายแดนไทยปัตตานี จึงได้จัดท าแผนปฏบัติราชการประจาปี



ี่
งบประมาณ พ.ศ. 256๔ ขึ้น โดยเชอมโยงภารกิจของชาตดานการศกษาและบริบทตางๆ ทเกี่ยวข้องกับ



ื่


บทบาทอ านาจหน้าทของศนย์ฝกและพัฒนาอาชพราษฎรไทยบริเวณชายแดนปัตตานี เพื่อใชเป็นกรอบ

ี่

แนวทางในการปฏิบัติงาน ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 256๔ ให้บรรลุผลส าเร็จได้อย่างมีประสิทธิภาพ

วัตถุประสงค์
เพื่อใช้เป็นกรอบแนวทางในการปฏิบัติงานและจัดท าค าของบประมาณรายจ่ายประจ าปีงบประมาณ
พ.ศ. 256๔ ของศูนย์ฝึกและพัฒนาชีพราษฎรไทยบริเวณชายแดนปัตตานี

วิธีด ำเนินกำร


1. ศกษายุทธศาสตร์ชาต (พ.ศ. 2561 - 2580) แผนแม่บทภายใตยุทธศาสตร์ชาต (พ.ศ. 2561 -


ี่
2580) แผนการปฏิรูปประเทศ แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสงคมแห่งชาต ฉบับท 12 (พ.ศ. 2560 - 2564)



นโยบายและแผนระดบชาตว่าดวยความมั่นคงแห่งชาต (พ.ศ. 2562–2565) คาแถลงนโยบายรัฐบาล (พล




ี่
เอก ประยุทธ์ จนทร์โอชา) เป้าหมายการพัฒนาทยั่งยืน (Sustainable Development Goals: SDGs)

เป้าหมายที่ 4 เป้าหมายด้านการศึกษาแผนการศึกษาแห่งชาติ (พ.ศ. 2560 - 2579) ยุทธศาสตร์การจดสรร

งบประมาณรายจายประจาปีงบประมาณพ.ศ. 256๔ นโยบายและจดเน้นของกระทรวงศกษาธิการ





แผนปฏิบัติการประจ าปงบประมาณ พ.ศ.๒๕๖๔ ๑

ปีงบประมาณ พ.ศ. 256๔ และนโยบายและจุดเน้นการด าเนินงานของ ส านักงาน กศน. ประจ าปีงบประมาณ

พ.ศ. 256๔
2. ก าหนดกรอบเค้าโครง แนวทางการจัดท าแผนปฏิบัติราชการประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 256๔ ให้
มีความสอดคล้องกับยุทธศาสตร์ นโยบาย ภารกิจของส านักงาน กศน. และบริบทต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง

๓. เสนอขออนุมัติใช้เป็นแผนปฏิบัตราชการ ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 256๔ ต่อผมีอ านาจในการ

ู้
อนุมัตแผนปฏิบัติราชการประจ าปี

๔. เผยแพร่ทั้งในรูปแบบเอกสารรูปเล่มและเอกสารออนไลน์

ผลที่คำดว่ำจะได้รับ





ศนย์ฝกและพัฒนาชพราษฎรไทยบริเวณชายแดนปัตตานี มีแผนปฏิบัตงานประจาปี และแผนการใช ้


จ่ายงบประมาณประจ าปี ส าหรับใช้เป็นแนวทางในการปฏบัติงานประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 256๔ ได้อย่างมี

ประสิทธิภาพ
























































แผนปฏิบัติการประจ าปงบประมาณ พ.ศ.๒๕๖๔ ๒

ส่วนที่ ๒

บริบทที่เกี่ยวข้อง



ศนย์ฝกและพัฒนาอาชพราษฎรไทยบริเวณชายแดนปัตตานี ไดน ายุทธศาสตร์ชาต (พ.ศ. 2561 -





2580) แผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ(พ.ศ. 2561-2580) แผนการปฏิรูปประเทศ แผนพัฒนาเศรษฐกิจ


ี่




และสงคมแห่งชาต ฉบับท 12 (พ.ศ. 2560-2564) นโยบายและแผนระดบชาตว่าดวยความมั่นคงแห่งชาต ิ


ี่
(พ.ศ. 2562–2565) คาแถลงนโยบายรัฐบาล (พลเอก ประยุทธ์ จนทร์โอชา) เป้หมายการพัฒนาทยั่งยืน

(Sustainable Development Goals: SDGs) เป้าหมายที่ 4 เป้าหมายด้านการศกษาแผนการศึกษาแหงชาต ิ

(พ.ศ. 2560-2579) นโยบายและจุดเน้นของกระทรวงศึกษาธิการ ปีงบประมาณ พ.ศ. 256๔ นโยบายและ

จดเน้นการดาเนินของสานักงาน กศน. ประจาปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๖๔ และบริบทตางๆ ทเกี่ยวข้องมา



ี่



ี่

ื่

เชอมโยงกับอ านาจหน้าทของศนย์ฝกและพัฒนาอาชพราษฎรไทยบริเวณชายแดนปัตตานี เพื่อใชก าหนดเป็น
กรอบแนวทางในการจัดท าแผนปฏิบัติการประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 256๔ โดยมีรายละเอียด ดังนี้

ยุทธศาสตร์ชาติ ระยะ ๒๐ ปี (พ.ศ.๒๕๖๑ – ๒๕๘๐)
ราชกิจจานุเบกษา ได้เผยแพร่พระราชโองการประกาศยุทธศาสตร์ชาติ (พ.ศ. 2561-2580) เพื่อใช ้
เป็นกรอบแนวทางการพัฒนาประเทศในระยะ 20 ปี โดยก าหนดวิสัยทัศน์ เป้าหมายและยุทธศาสตร์ ดังนี้


ั่


วสัยทัศน์ ประเทศไทยมีความมั่นคง มั่งคง ยั่งยืน เป็นประเทศพัฒนาแลวดวยการพัฒนาตามหลก
ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง” และเป็นคติพจน์ประจ าชาติว่า “มั่นคง มั่งคั่ง ยั่งยืน”



ี่

ยุทธศาสตรชาต (พ.ศ. 2561 - 2580) ประกอบด้วย 6 ยุทธศาสตร์ โดยมีสาระสาคญทเกี่ยวข้อง
กับภารกิจของศูนย์ฝึกและพัฒนาอาชีพราษฎรไทยบริเวณชายแดนปัตตานี ดังนี้




ยุทธศาสตรที่ 1 ดานความมั่นคง มีเป้าหมายการพัฒนาทสาคญ คอ ประเทศชาตมั่นคงประชาชนมี


ี่
ความสุข เน้นการบริหารจดการสภาวะแวดล้อมของประเทศให้มีความมั่นคง ปลอดภัย เอกราชอธิปไตย และมี








ั้
ความสงบเรียบร้อยในทกระดบตงแตระดบชาต สงคม ชมชน มุ่งเน้นการพัฒนาคน เครื่องมือเทคโนโลยี และ



ระบบฐานข้อมูลขนาดใหญ่ ให้มีความพร้อมสามารถรับมือกับภัยคกคามและภัยพิบัตไดทกรูปแบบ และทก


ี่



ี่
ระดบความรุนแรง ควบคไปกับการป้องกันและแก้ไขปัญหาดานความมั่นคงทมีอยู่ในปัจจบัน และทอาจจะ
ู่
เกิดขึ้นในอนาคต ใชกลไกการแก้ไขปัญหาแบบบูรณาการทงกับสวนราชการ ภาคเอกชนประชาสงคม และ


ั้

ี่
องค์กรทไม่ใช่รัฐ รวมถึงประเทศเพื่อนบ้านและมิตรประเทศทั่วโลก
ี่

ยุทธศาสตรที่ 2 ดานการสร้างความสามารถในการแข่งขัน มีเป้าหมายการพัฒนาทมุ่งเน้นการ


ยกระดบศกยภาพของประเทศในหลากหลายมิต บนพื้นฐานแนวคด 3 ประการ ไดแก่ ตอยอดอดต ปรับ






ปัจจุบัน สร้างคุณค่ าใหม่ในอนาคต



ยุทธศาสตรที่ 3 ดานการพัฒนาและเสริมสร้างศกยภาพทรัพยากรมนุษย์ มีเป้าหมายการพัฒนาท ี่
ส าคัญเพื่อพัฒนาคนในทุกมิตและในทุกชวงวัยให้เป็นคนดี เก่ง และมีคุณภาพ โดยคนไทยมีความพร้อมทงกาย

ั้


ี่
ี่








ใจ สตปัญญา มีพัฒนาการทดรอบดานและมีสขภาวะทดในทกชวงวัย มีจตสาธารณะรับผดชอบตอสงคมและ


ผอื่น มัธยัสถ์ อดออม โอบอ้อมอารี มีวินัย รักษาศลธรรม และเป็นพลเมืองดของชาติ มีหลกคดทถูกตอง มี



ี่


ู้
ทักษะที่จ าเป็นในศตวรรษที่ 21 มีทักษะสื่อสารภาษาอังกฤษและภาษาที่ 3 และอนุรักษ์ภาษาท้องถิ่น มีนิสย

แผนปฏิบัติการประจ าปีงบประมาณ พ.ศ.2564 ๓

รักการเรียนรู้และการพัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่องตลอดชีวิต สู่การเป็นคนไทยที่มีทักษะสูง เป็นนวัตกรรมนักคิด

ผู้ประกอบการ เกษตรกรยุคใหม่และอื่นๆ โดยมีสัมมาชีพตามความถนัดของตนเอง

ี่


ยุทธศาสตรที่ 4 ดานการสร้างโอกาสและความเสมอภาคทางสงคม มีเป้าหมายการพัฒนาทสาคัญท ี่


ให้ความส าคัญการดึงเอาพลังของภาคส่วนตาง ๆ ทั้งภาคเอกชน ประชาสังคม ชุมชน ท้องถิ่นมาร่วมขับเคลอน
ื่



โดยการสนับสนุนการรวมตวของประชาชน ในการร่วมคดร่วมทาเพื่อสวนรวม การกระจายอ านาจและความ

ู่






รับผดชอบไปสกลไกบริหารราชการแผนดนในระดบทองถิ่น การเสริมสร้าง ความเข้มแข็งของชมชนในการ



ั้

จดการตนเอง และการเตรียมความพร้อมของประชากรไทยทงในมิตสขภาพ เศรษฐกิจ สงคมและ

สภาพแวดล้อมให้เป็นประชากรที่มีคณภาพ สามารถพึ่งตนเองและท าประโยชน์แก่ครอบครัว ชุมชน และสังคม
ให้นานที่สุด โดยรัฐให้หลักประกันการเข้าถึงบริการและสวัสดิการที่มีคุณภาพอย่างเป็นธรรมและทั่วถึง

ิ่

ยุทธศาสตรที่ 5 ดานการสร้างการเตบโตบนคณภาพชวิตทเป็นมิตรกับสงแวดลอมมีเป้าหมายการ

ี่



พัฒนาทสาคญเพื่อน าไปสการบรรลเป้าหมายการพัฒนาทยั่งยืนในทกมิต ทงมิตดานสงคมเศรษฐกิจ







ู่

ี่
ั้
ี่
สิ่งแวดล้อม ธรรมาภิบาล และความเป็นหุ้นส่วนความร่วมมือระหว่างกัน ทั้งภายในและภายนอกประเทศอย่าง
บูรณาการใชพื้นทเป็นตวตงในการก าหนดกลยุทธ์และแผนงาน และการให้ทกฝายทเกี่ยวข้องไดเข้ามามีสวน

ั้



ี่
ี่


ร่วมในแบบทางตรงให้มากที่สุดเท่าที่จะเป็นไป


ยุทธศาสตร์ที่ 6 ด้านการปรับสมดลและพัฒนาระบบการบริหารจดการภาครัฐมีเป้าหมายการพัฒนา


ี่
ี่


ี่
ทสาคญเพื่อปรับเปลยนภาครัฐทยึดหลก “ภาครฐของประชาชนเพื่อประชาชน และประโยชน์ส่วนรวม”
โดยภาครัฐตองมีขนาดทเหมาะสมกับบทบาทภารกิจ แยกแยะบทบาท หน่วยงานของรัฐททาหน้าทในการ

ี่
ี่

ี่
ก ากับหรือในการให้บริการในระบบเศรษฐกิจทมีการแข่งขันมีขีดสมรรถนะสง ยึดหลกธรรมาภิบาลปรับ

ี่





วัฒนธรรมการท างานให้มุ่งผลสมฤทธิ์และผลประโยชน์ส่วนรวมมีความทันสมัยและพร้อมที่จะปรับตวให้ทนตอ
การเปลี่ยนแปลงของโลกอยู่ตลอดเวลา โดยเฉพาะอย่างยิ่งการน านวัตกรรม เทคโนโลยีข้อมูลขนาดใหญ่ระบบ





ี่



ั้

การทางานทเป็นดจทลเข้ามาประยุกตใชอย่างคมคา และปฏิบัตงานเทยบไดกับมาตรฐานสากล รวมทงมี

ุ้

ื่




ลกษณะเปิดกว้าง เชอมโยงถึงกันและเปิดโอกาสให้ทกภาคสวนเข้ามามีสวนร่วม เพื่อตอบสนองความตองการ







ของประชาชนไดอย่างสะดวก รวดเร็ว และโปร่งใส โดยทกภาคสวนในสงคมตองร่วมกันปลกฝงคานิยมความ



ิ้


ซื่อสตย์สจริต ความมัธยัสถ์ และสร้างจตสานึกในการปฏิเสธไม่ยอมรับการทจริตประพฤตมิชอบอย่างสนเชิง



นอกจากนั้น กฎหมายตองมีความชดเจน มีเพียงเทาทจาเป็นมีความทนสมัย มีความเป็นสากลมีประสทธิภาพ

ี่




และ น าไปสการลดความเหลอมลาและเอื้อตอการพัฒนา โดยกระบวนกรยุตธรรมมีการบริหารทมี


ื่

ู่
ี่
ประสิทธิภาพ เป็นธรรม ไม่เลือกปฏิบัติและการอ านวยความยุติธรรมตามหลักนิติธรรม

แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ ๑๒ (พ.ศ.๒๕๖๐ – ๒๕๖๔)



สานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสงคมแห่งชาตไดจดทาแผนพัฒนาเศรษฐกิจและ



สงคมแห่งชาต ฉบับท 12 (พ.ศ. 2560-2564) สาหรับใชเป็นแผนพัฒนาประเทศไทยในระยะ 5 ปี ซึ่งเป็น



ี่

การแปลงยุทธศาสตร์ชาติ ระยะ 20 ปี สู่การปฏิบัติอย่างเป็นรูปธรรม เพื่อเตรียมความพร้อมและวางรากฐาน

ั่


ในการยกระดบประเทศไทยให้เป็นประเทศทพัฒนาแลว มีความมั่นคง มั่งคง ยั่งยืน ดวยการพัฒนาตามหลัก
ี่
ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ซึ่งการพัฒนาประเทศในระยะของแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับ
ที่ 12 (พ.ศ. 2560-2564) มีหลักการที่ส าคัญ คือ
แผนปฏิบัติการประจ าปีงบประมาณ พ.ศ.2564 ๔


1. ยึด “หลักปรชญาของเศรษฐกจพอเพียง”เพื่อให้เกิดบูรณาการการพัฒนาในทกมิตอย่างสม



ี่
ุ้


เหตสผล มีความพอประมาณ และมีระบบภูมิคมกันและก ารบริหารจดการความเสยงทด ซึ่งเป็นเงื่อนไขท ี่
ี่

จ าเป็นสาหรับการพัฒนาที่ยั่งยืน ซึ่งมุ่งเน้นการพัฒนาคน มีความเป็นคนทสมบูรณ์ สังคมไทยเป็นสังคมคุณภาพ
ี่
มีที่ยืนและเปิดโอกาสให้กับทุกคนในสังคมได้ด าเนินชีวิตที่ดี มีความสุขและอยู่ร่วมกันอย่างสมานฉันท ์

2. ยึด “คนเป็นศูนย์กลางการพัฒนา” มุ่งสร้างคุณภาพชีวิตและสุขภาวะที่ดีสาหรับคนไทยพัฒนาคน
ี่

ี่
ให้มีความเป็นคนทสมบูรณ มีวินัย ใฝรู้ มีความรู้ มีทกษะ มีความคดสร้างสรรค มีทศนคตทด รับผดชอบตอ











ู่
ู้

สังคม มีจริยธรรมและคณธรรม พัฒนาคนทุกช่วงวัยและเตรียมความพร้อมเขาสสังคมผสูงอายุอย่างมีคณภาพ


รวมถึงการสร้างคนให้ใชประโยชน์และอยู่กับสงแวดลอมอย่างเกื้อกูล อนุรักษ์ ฟื้นฟู ใชประโยชน์ทรัพยากร
ิ่

ธรรมช าติและสิ่งแวดล้อมอย่างเหมาะสม





3. ยึด “วสัยทัศน์ภายใตยุทธศาสตรชาต 20 ปี” มาเป็นกรอบของวิสยทศน์ประเทศไทยใน


ี่



ั่
แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสงคมแห่งชาต ฉบับท 12 วิสยทศน์ “ประเทศไทยมีความมั่นคง มั่งคง ยั่งยืน เป็น



ประเทศพัฒนาแลว ดวยการพัฒนาตามหลกปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง” หรือเป็นคตพจน์ประจาชาติว่า



“มั่นคง มั่งคั่ง ยั่งยืน”
ี่

4. ยึด “เป้าหมายอนาคตประเทศไทยปี 2579” ทเป็นเป้าหมายในยุทธศาสตร์ชาต ระยะ 20 ปี

ี่

ู่
มาเป็นกรอบในการก าหนดเป้าหมายทจะบรรลใน 5 ปีแรก และเป้าหมายในระดบย่อยลงมาควบคกับกรอบ
เป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน (SDGs)
5. ยึด “หลักการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจที่ลดความเหลื่อมล ้าและขับเคลื่อนการเจริญเติบโตจาก
การเพิ่มผลิตภาพการผลิตบนฐานของการใช้ภูมิปัญญาและนวัตกรรม”

6. ยึด “หลักการน้าไปสู่การปฏิบัติให้เกดผลสัมฤทธิ์อย่างจรงจังใน 5 ปีที่ต่อยอดไปสู่ผลสัมฤทธิ์ที่

เป็นเป้าหมายระยะยาว”

แผนการศึกษาแห่งชาติ (พ.ศ. ๒๕๖๐ – ๒๕๗๙)

แผนการศกษาแห่งชาต พ.ศ. 2560-2579 เป็นแผนทวางกรอบเป้าหมายและทศทางการจด
ี่



การศกษาของประเทศ โดยมุ่งจดการศกษาให้คนไทยทกคนสามารถเข้าถึงโอกาสและความเสมอภาคใน







ี่
การศกษาทมีคณภาพพัฒนาระบบการบริหารจดการศกษาทมีประสทธิภาพ พัฒนาคนให้มีสมรรถนะในการ


ี่
ี่

ทางานทสอดคลองกับความตองการของตลาดแรงงานและการพัฒนาประเทศ แนวคดการจดการศกษาตาม














แผนการศกษาแห่งชาติยึดหลกสาคญในการจดการศกษาประกอบดวย หลกการจดการศกษาเพื่อปวงชน





(Education for All) หลกการจดการศกษาเพื่อความเทาเทยมและทวถึง (Inclusive Education) หลก


ั่


ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง (Sufficiency Economy) และหลกการมีสวนร่วมของสงคม (All For

Education) อีกทั้งยึดตามเปาหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน (Sustainable Development Goals : SDGs 2030)

ประเด็นภายในประเทศ (Local Issues) อาทิ คุณภาพของคนช่วงวัย การเปลี่ยนแปลงโครงสร้างประชากรของ
ประเทศ ความเหลอมลาของการกระจายรายได และวิกฤตดานสงแวดลอม โดยน ายุทธศาสตร์ชาตมาเป็น



ื่


ิ่

กรอบความคิดส าคัญในการจัดท าแผนการศึกษาแห่งชาติโดยมีสาระส าคัญ ดังนี้


วิสัยทัศน์ คนไทยทุกคนได้รับการศึกษาและเรียนรู้ตลอดชีวิตอย่างมีคณภาพ ดารงชีวิตอย่างเป็นสุข
สอดคล้องกับหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และการเปลี่ยนแปลงของโลกศตวรรษที่ 21

แผนปฏิบัติการประจ าปีงบประมาณ พ.ศ.2564 ๕

วัตถุประสงค์

1. เพื่อพัฒนาระบบและกระบวนการจัดการศึกษาที่มีคุณภาพและมีประสิทธิภาพ



2. เพื่อพัฒนาคนไทยให้เป็นพลเมืองด มีคณลกษณะ ทกษะและสมรรถนะทสอดคลองกับ

ี่

บทบัญญัติของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งช าติ และยุทธศาสตร์ชาติ


3. เพื่อพัฒนาสงคมไทยให้เป็นสงคมแห่งการเรียนรู้ และคณธรรมจริยธรรม รู้รักสามัคค และ


ร่วมมือผนึกก าลังมุ่งสู่การพัฒนาประเทศอย่างยั่งยืน ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
ี่
4 เพื่อน าประเทศไทยก้าวข้ามกับดกประเทศทมีรายไดปานกลาง และความเหลอมลา

ื่


.
ภายในประเทศลดลง

แผนการศกษาแห่งชาติ (พ.ศ. 2560 -2579) ประกอบดวย 6 ยุทธศาสตร์ ซึ่งเกี่ยวข้องกับภารกิจ

ของส านักงาน กศน. ดังนี้
ยุทธศาสตร์ที่ 1 การจัดการศึกษาเพื่อความมั่นคงของสังคมและประเทศชาติ
เป้าหมาย


1. คนทกชวงวัยมีความรักในสถาบันหลกของชาติ และยึดมั่นการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมี

พระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข



ี่
2. คนทกชวงวัยในเขตพัฒนาพิเศษเฉพาะกิจจงหวัดชายแดนภาคใตและพื้นทพิเศษไดรับการศกษา



และเรียนรู้อย่างมีคุณภาพ
3. คนทุกช่วงวัยได้รับการศึกษา การดูแลและป้องกันจากภัยคุกคามในชีวิตรูปแบบใหม่
แนวทางการพัฒนา



1. พัฒนาการจดการศกษาเพื่อเสริมสร้างความมั่นคงของสถาบันหลกของชาติและการปกครอง
ระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข



2. ยกระดบคณภาพและสงเสริมโอกาสในการเข้าถึงการศกษาในเขตพัฒนาพิเศษเฉพาะกิจจงหวัด


ชายแดนภาคใต ้

ี่
3. ยกระดบคณภาพและสงเสริมโอกาสในการเข้าถึงการศกษาในพื้นทพิเศษ (พื้นทสงพื้นทตามแนว
ี่



ี่

ุ่
ตะเข็บชายแดน และพื้นทเกาะแก่ง ชายฝงทะเล ทงกลมชนตางเชอชาต ศาสนา และวัฒนธรรม กลมชนชาย

ุ่
ี่

ื้
ั้
ั่
ขอบ และแรงงานต่างด้าว)

4. พัฒนาการจดการศกษาเพื่อการจดระบบการดแลและป้องกันภัยคกคามในรูปแบบใหม่ อาท ิ






อาชญากรรมและความรุนแรงในรูปแบบตางๆ ยาเสพติด ภัยพิบัติจากธรรมชาตภัยจากโรคอุบัตใหม่ ภัยจากไซ

เบอร์ เป็นต้น

ยุทธศาสตรที่ 2 การผลตและพัฒนาก าลงคน การวิจย และนวัตกรรม เพื่อสร้างขีดความสามารถใน



การแข่งขันของประเทศ
เป้าหมาย




ี่
1. ก าลงคนมีทกษะทสาคญจาเป็น และมีสมรรถนะตรงตามความตองการของตลาดงานและการ


พัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของประเทศ


ี่
2. สถาบันการศกษาและหน่วยงานทจดการศกษาผลตบัณฑิตทมีความเชยวชาญและเป็นเลศเฉพาะ
ี่

ี่


ด้าน
แผนปฏิบัติการประจ าปีงบประมาณ พ.ศ.2564 ๖

3. การวิจัยและพัฒนาเพื่อสร้างองค์ความรู้และนวัตกรรมที่สร้างผลผลิตและมูลค่าเพิ่มทางเศรษฐกิจ

แนวทางการพัฒนา
1. ผลตและพัฒนาก าลงคนให้มีสมรรถนะในสาขาทตรงตามความตองการของตลาดงานและการ


ี่

พัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของประเทศ
2. ส่งเสริมการผลิตและพัฒนาก าลังคนที่มีความเชี่ยวชาญและเป็นเลิศเฉพาะด้าน

ี่




3. สงเสริมการวิจยและพัฒนาเพื่อสร้างองคความรู้และนวัตกรรมทสร้างผลผลตและมูลคาเพิ่มทาง
เศรษฐกิจ
ยุทธศาสตร์ที่ 3 การพัฒนาศักยภาพคนทุกช่วงวัย และการสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้
เป้าหมาย
ี่

ู้






1. ผเรียนมีทกษะและคณลกษณะพื้นฐานของพลเมืองไทยและทกษะและคณลกษณะทจาเป็นใน
ศตวรรษที่ 21



2. คนทกชวงวัยมีทกษะความรู้ความสามารถและสมรรถนะตามาตรฐานการศกษาและมาตรฐาน

วิชาชีพ และพัฒนาคุณภาพชีวิตได้ตามศักยภาพ







3. สถานศกษาทกระดบการศกษาสามารถจดกิจกรรม/กระบวนการเรียนรู้ตามหลกสตรไดอย่างมี

คุณภาพและมาตรฐาน
ื่

4. แหลงเรียนรู้ สอตาราเรียน นวัตกรรมและสอการเรียนรู้มีคณภาพและมาตรฐาน และประชาชน

ื่

สามารถเข้าถึงได้โดยไม่จ ากัดเวลาและสถานท ี่
5. ระบบและกลไกการวัด การติดตามและประเมินผลมีประสิทธิภาพ
6. ระบบการผลิตครู อาจารย์ และบุคลากรทางการศึกษาได้มาตรฐานระดับสากล
7. ครู อาจารย์ และบุคลากรทางการศึกษาได้รับการพัฒนาสมรรถนะตามมาตรฐาน
แนวทางการพัฒนา
1. ส่งเสริม สนับสนุนให้คนทุกช่วงวัยมีทักษะ ความรู้ความสามารถ และการพัฒนาคุณภาพชีวิตอย่าง
เหมาะสม เต็มตามศักยภาพในแต่ละช่วงวัย
2. ส่งเสริมและพัฒนาแหล่งเรียนรู้ สื่อต าราเรียน และสื่อการเรียนรู้ต่างๆ ให้มีคุณภาพมาตรฐาน และ
ประชาชนสามารถเข้าถึงแหล่งเรียนรู้ได้โดยไม่จ ากัดเวลาและสถานท ี่
ี่
3. สร้างเสริมและปรับเปลยนค่านิยมของคนไทยให้มีวินัย จิตสาธารณะ และพฤติกรรมที่พึงประสงค ์
4. พัฒนาระบบและกลไกการติดตาม การวัดและประเมินผลผู้เรียนให้มีประสิทธิภาพ
5. พัฒนาคลังข้อมูล สื่อ และนวัตกรรมการเรียนรู้ ที่มีคุณภาพและมาตรฐาน
6. พัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการผลิตครู อาจารย์ และบุคลากรทางการศึกษา

7. พัฒนาคุณภาพครู อาจารย์ และบุคลากรทางการศึกษา
ยุทธศาสตร์ที่ 4 การสร้างโอกาส ความเสมอภาคและความเท่าเทียมทางการศึกษา

เป้าหมาย
1. ผู้เรียนทุกคนได้รับโอกาสและความเสมอภาคในการเข้าถึงการศึกษาที่มีคุณภาพ

2. การเพิ่มโอกาสทางการศึกษาผ่านเทคโนโลยีดิจทัลเพื่อการศึกษาสาหรับคนทุกช่วงวัย




แผนปฏิบัติการประจ าปีงบประมาณ พ.ศ.2564 ๗


ี่
3. ระบบข้อมูลรายบุคคลและสารสนเทศทางการศึกษาทครอบคลม ถูกต้อง เป็นปัจจุบันเพื่อการวาง
แผนการบริหารจัดการศึกษา การติดตามประเมินและรายงานผล
แนวทางการพัฒนา
1. เพิ่มโอกาสและความเสมอภาคในการเข้าถึงการศึกษาที่มีคุณภาพ

2. พัฒนาระบบเทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อการศึกษาส าหรับคนทุกช่วงวัย
3. พัฒนาฐานข้อมูลด้านการศึกษาที่มีมาตรฐาน เชื่อมโยงและเข้าถึงได้

ยุทธศาสตร์ที่ 5 การจัดการศึกษาเพื่อสร้างเสริมคุณภาพชีวิตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม
เป้าหมาย
1. คนทกชวงวัย มีจตสานึกรักษ์สงแวดลอม มีคณธรรม จริยธรรม และน าแนวคดตามหลกปรัชญา







ิ่

ของเศรษฐกิจพอเพียงสู่การปฏิบัต ิ
ิ่
2. หลักสูตร แหล่งเรียนรู้ และสื่อการเรียนรู้ที่ส่งเสริมคุณภาพชีวิตที่เป็นมิตรกับสงแวดล้อม คุณธรรม
จริยธรรม และการน าแนวคิดตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสู่การปฏิบัต ิ

ี่




3. การวิจยเพื่อพัฒนาองคความรู้และนวัตกรรมดานการสร้างเสริมคณภาพชวิตทเป็นมิตรกับ
สิ่งแวดล้อม
แนวทางการพัฒนา
1. ส่งเสริม สนับสนุนการสร้างจิตส านึกรักษ์สิ่งแวดล้อม มีคุณธรรม จริยธรรมและน าแนวคิดตามหลก

ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสู่การปฏิบัติในการด าเนินชีวิต

2. สงเสริมและพัฒนาหลกสตร กระบวนการเรียนรู้ แหลงเรียนรู้ และสอการเรียนรู้ตางๆทเกี่ยวข้อง
ื่
ี่




กับการสร้างเสริมคุณภาพชีวิตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม




ี่

3. พัฒนาองคความรู้ งานวิจย และนวัตกรรม ดานการสร้างเสริมคณภาพชวิตทเป็นมิตรกับ
สิ่งแวดล้อม
ยุทธศาสตร์ที่ 6 การพัฒนาประสิทธิภาพของระบบบริหารจัดการศึกษา
เป้าหมาย
1. โครงสร้าง บทบาทและระบบการบริหารจดการการศกษา มีความคลองตว ชดเจนและสามารถ





ตรวจสอบได ้







2. ระบบการบริหารจดการศกษามีประสทธิภาพและประสทธิผล สงผลตอคณภาพและมาตรฐาน
การศึกษา


3. ทกภาคสวนของสงคมมีสวนร่วมในการจดการศกษาที่ตอบสนองความตองการของประชาชนและ





พื้นท ี่

4. กฎหมายและรูปแบบการบริหารจดการทรัพยากรทางการศกษารองรับลกษณะทแตกต่างกันของ
ี่


ผู้เรียน สถานศึกษา และความต้องการก าลังแรงงานของประเทศ
5. ระบบบริหารงานบุคคลของครู อาจารย์ และบุคลากรทางการศกษา มีความเป็นธรรมสร้างขวัญ

ก าลังใจ และส่งเสริมให้ปฏิบัติงานได้อย่างเต็มตามศักยภาพ


แผนปฏิบัติการประจ าปีงบประมาณ พ.ศ.2564 ๘

แนวทางการพัฒนา

1. ปรับปรุงโครงสร้างการบริหารจัดการศึกษา
2. เพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการสถานศึกษา
3. ส่งเสริมการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วนในการจัดการศึกษา


4. ปรับปรุงกฎหมายเกี่ยวกับระบบการเงินเพื่อการศึกษาทส่งผลต่อคณภาพและประสิทธิภาพการจด

ี่
การศึกษา
5. พัฒนาระบบบริหารงานบุคคลของครู อาจารย์ และบุคลากรทางการศึกษา

อ้านาจหน้าที่ของสถานศึกษา



ี่
ตามประกาศกระทรวงศกษาธิการ เรื่อง การก าหนดอ านาจและหน้าทของสถานศกษา อาศยอ านาจ





ตามความในมาตรา ๑๘ วรรคสาม แห่งพระราชบัญญัตสงเสริมการศกษานอกระบบและการศกษาตาม
อัธยาศัย พ.ศ.๒๕๕๑ ดังนี้
ข้อ ๔ ศนย์ฝกและพัฒนาอาชพราษฎรไทยบริเวณชายแดน เรียกโดยย่อว่า ศฝช. มีอ านาจและหน้าท ี่



ดังต่อไปนี้


(๑) จดการศกษาและฝกอบรมดานอาชพให้สอดคลองกับสภาพปัญญา ความจาเป็น ความตองการ






ี่

ของประชาชนบริเวณชายแดน โดยมุ่งเน้นให้เกิดการสร้างอาชพ สร้างรายไดเพื่อพัฒนาคณภาพชวิตทดขึ้น




ส่งเสริมสนับสนุนการแก้ปัญหาเศรษฐกิจ สังคม ความมั่นคงและการเมือง

(๒) เป็นศนย์สาธิต ทดลอง วิจย และเป็นศนย์การเรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียง พัฒนาการศกษาดาน




อาชีพและสิ่งแวดล้อมที่สอดคล้องกับวิถีชีวิตของประชาชนบริเวณชายแดน


ี่

ื่

(๓) พัฒนาบุคลากร พัฒนาหลกสตร สอ รูปแบบการเรียนการสอนดานอาชพทเหมาะสมกับสภาพ
และความต้องการของท้องถิ่น

(๔) สงเสริม สนับสนุนการจดการศกษาดานอาชพร่วมกับภาคเครือข่ายในพื้นทบริเวณชายแดนท ี่

ี่




รับผิดชอบและเผยแพร่โครงการอันเนื่องมาจากพระราชด าริ
(๕) ปฏิบัติงานอื่นๆ ตามที่ได้รับมอบหมาย







แผนปฏิบัติการประจ าปีงบประมาณ พ.ศ.2564 ๙

ส่วนที่ ๓

สาระส าคัญของแผนปฏิบัติการประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๔


นโยบายและจุดเน้นของส านักงาน กศน. ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๔


นโยบายและจดเน้นการดาเนินงาน สานักงาน กศน. ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 256๔ โดยมี



สาระส าคัญดังนี้
วิสัยทัศน์ คนไทยได้รับโอกาสการศึกษาและการเรียนรู้ตลอดชีวิตอย่างมีคุณภาพ สามารถด ารงชวิตท ี่

เหมาะสมกับชวงวัย สอดคลองกับหลกปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และมีทกษะทจาเป็นในโลกศตวรรษท ี่





ี่
21
พันธกิจ
1. จดและสงเสริมการศกษานอกระบบและการศกษาตามอัธยาศยทมีคณภาพ สอดคลองกับหลก







ี่

ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อยกระดับการศึกษา พัฒนาทักษะการเรียนรู้ของประชาชนทุกกลุ่มเป้าหมาย


ู่


ี่
ให้เหมาะสมทกชวงวัย พร้อมรับการเปลยนแปลงบริบททางสงคม และก้าวสการเป็นสงคมแห่งการเรียนรู้
ตลอดชีวิตอย่างยั่งยืน


2.สงเสริม สนับสนุน แสวงหา และประสานความร่วมมือเชงรุกกับภาคเครือข่าย ให้เข้ามามีสวนร่วม





ในการสนับสนุนและจดการศกษานอกระบบและการศกษาตามอัธยาศย และการเรียนรู้ตลอดชวิตในรูปแบบ


ต่างๆ ให้กับประชาชน



3. สงเสริมและพัฒนาเทคโนโลยีทางการศกษา และน าเทคโนโลยีดจทลมาใชพัฒนาประสทธิภาพใน




การจัดและให้บริการการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยให้กับประชาชนอย่างทั่วถึง

4. พัฒนาหลักสูตร รูปแบบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ สื่อและนวัตกรรม การวัดและประเมินผลในทก
รูปแบบให้มีคุณภาพและมาตรฐาน สอดคล้องกับบริบทในปัจจุบัน

5. พัฒนาบุคลากรและระบบการบริหารจดการองค์กรให้มีประสิทธิภาพ เพื่อมุ่งจัดการศึกษาและการ
เรียนรู้ที่มีคุณภาพ โดยยึดหลักธรรมาภิบาล
เป้าประสงค์



1. ประชาชนผดอย พลาด และขาดโอกาสทางการศกษา รวมทงประชาชนทวไปไดรับโอกาสทาง
ั่
ั้
ู้
การศกษาในรูปแบบการศกษานอกระบบระดบการศกษาขั้นพื้นฐาน การศกษาตอเนื่อง และการศกษาตาม







อัธยาศย ทมีคณภาพอย่างเทาเทยมและทวถึง เป็นไปตามสภาพ ปัญหา และความตองการของแตละ
ี่
ั่






กลุ่มเป้าหมาย

2. ประชาชนไดรับการยกระดบการศกษา สร้างเสริมและปลกฝงคณธรรม จริยธรรมความเป็น






พลเมือง ที่สอดคล้องกับหลกปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง อันน าไปสู่การยกระดับคุณภาพชีวิตและเสริมสร้าง
ความเข้มแข็งให้ชุมชน เพื่อพัฒนาไปสู่ความมั่นคงและยั่งยืนทางด้านเศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรมประวัติศาสตร์
และสิ่งแวดล้อม
ี่

3. ประชาชนไดรับโอกาสในการเรียนรู้และมีเจตคตทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีทเหมาะสม






สามารถคด วิเคราะห์ และประยุกตใชในชวิตประจาวัน รวมทงแก้ปัญหาและพัฒนาคณภาพชวิตไดอย่าง

ั้


สร้างสรรค ์

แผนปฏิบัติการประจ าปงบประมาณ พ.ศ.๒๕๖๔ ๑๐

4. ประชาชนได้รับการสร้างและส่งเสริมให้มีนิสัยรักการอ่านเพื่อพัฒนาการแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง

5. ชุมชนและภาคีเครือข่ายทุกภาคส่วน มีส่วนร่วมในการจัด ส่งเสริม และสนับสนุนการศึกษานอก
ระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย รวมทั้งการขับเคลื่อนกิจกรรมการเรียนรู้ของชุมชน


6. หน่วยงานและสถานศกษา กศน. สามารถน าเทคโนโลยีทางการศกษา และเทคโนโลยีดจทลมาใช ้



ในการยกระดับคุณภาพในการจัดการเรียนรู้และเพิ่มโอกาสการเรียนรู้ให้กับประชาชน
7. หน่วยงานและสถานศึกษาพัฒนาสื่อ นวัตกรรม และการจัดกระบวนการเรียนรู้เพื่อแก้ปัญหาและ




พัฒนาคณภาพชวิต ทตอบสนองกับการเปลยนแปลงบริบทดานเศรษฐกิจ สงคม การเมือง วัฒนธรรม
ี่
ี่
ประวัติศาสตร์ และสิ่งแวดล้อม รวมทั้งตามความต้องการของประชาชนและชุมชนในรูปแบบที่หลากหลาย


ี่



8. หน่วยงานและสถานศกษามีระบบการบริหารจดการองคกรททนสมัย มีประสทธิภาพและเป็นไป
ตามหลักธรรมาภิบาล

9. บุคลากร กศน. ทกประเภททกระดบไดรับการพัฒนาเพื่อเพิ่มสมรรถนะในการปฏิบัตงาน




การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย และการปฏิบัติงานตามสายงานอย่างมีประสิทธิภาพ
ตัวชี้วัด
ตัวชี้วัดเชิงปริมาณ

ู้







ี่
1. จานวนผเรียนการศกษานอกระบบระดบการศกษาขั้นพื้นฐานทไดรับการสนับสนุนคาใชจายตาม
สิทธิที่ก าหนดไว้
2. จานวนของคนไทยกลมเป้าหมายตาง ๆ ทเข้าร่วมกิจกรรมการเรียนรู้/ไดรับบริการกิจกรรม
ี่


ุ่

การศึกษาต่อเนื่อง และการศึกษาตามอัธยาศัยที่สอดคล้องกับสภาพ ปัญหา และความต้องการ
3. ร้อยละของก าลังแรงงานที่ส าเร็จการศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนต้นขึ้นไป





4. จานวนภาคเครือข่ายทเข้ามามีสวนร่วมในการจด/พัฒนา/สงเสริมการศกษา (ภาคเครือข่าย :


ี่
สถานประกอบการ องค์กร หน่วยงานที่มาร่วมจัด/พัฒนา/ส่งเสริมการศึกษา)
5. จ านวนประชาชน เด็ก และเยาวชนในพื้นที่สูง และชาวไทยมอแกน ในพื้นที่ 5 จังหวัด 11 อ าเภอ
ได้รับบริการการศึกษาตลอดชีวิตจากศูนย์การเรียนชุมชน สังกัดส านักงาน กศน.
6. จ านวนผู้รับบริการในพื้นที่เป้าหมายได้รับการส่งเสริมด้านการรู้หนังสือและการพัฒนาทักษะชีวิต
7. จ านวนนักเรียน/นักศึกษาที่ได้รับบริการติวเข้มเต็มความรู้
8. จ านวนประชาชนที่ได้รับการฝึกอาชีพระยะสั้น สามารถสร้างหรือพัฒนาอาชีพเพื่อสร้างรายได ้
9. จ านวน ครู กศน. ต าบล ได้รับการพัฒนาศักยภาพด้านการจดการเรียนการสอนภาษาอังกฤษเพื่อ

การสื่อสาร
10.จ านวนประชาชนที่ได้รับการฝึกอบรมภาษาต่างประเทศเพื่อการสื่อสารด้านอาชีพ
11.จ านวนผู้ผ่านการอบรมหลักสูตรการดูแลผู้สูงอาย ุ
12. จ านวนประชาชนที่ผ่านการอบรมจากศูนย์ดิจิทัลชุมชน
ี่
13. จ านวนศูนย์การเรียนชุมชน กศน. บนพื้นที่สูง ในพื้นท5 จังหวัด ที่ส่งเสริมการพัฒนาทักษะการ
ฟัง พูดภาษาไทยเพื่อการสื่อสาร ร่วมกันในสถานศึกษาสังกัด สพฐ. ตชด. และ กศน.




14. จานวนหลกสตรหรือสอออนไลน์ทให้บริการกับประชาชน ทงการศกษานอกระบบระดบ

ื่
ั้
ี่
การศึกษาขนพื้นฐาน การศึกษาต่อเนื่อง และการศึกษาตามอัธยาศัย
ั้

แผนปฏิบัติการประจ าปงบประมาณ พ.ศ.๒๕๖๔ ๑๑

ตัวชี้วัดเชิงคุณภาพ

1. ร้อยละของคะแนนเฉลี่ยผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ การศึกษานอกระบบ (N-NET)
ทุกรายวิชาทุกระดับ
2. ร้อยละของผู้เรียนที่ได้รับการสนับสนุนการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานเทียบกับค่าเป้าหมาย

3. ร้อยละของประชาชนกลุ่มเป้าหมายที่ลงทะเบียนเรียนในทุกหลักสูตร/กิจกรรมการศึกษาต่อเนื่อง
เทียบกับเป้าหมาย




ู้
4. ร้อยละของผผานการฝกอบรม/พัฒนาทกษะอาชพระยะสนสามารถน าความรู้ไปใชในการ


ั้
ประกอบอาชีพหรือพัฒนางานได ้
5. ร้อยละของผเรียนในเขตพื้นทจงหวัดชายแดนภาคใตทไดรับการพัฒนาศกยภาพ หรือทกษะด้าน


ู้
ี่


ี่

อาชีพ สามารถมีงานท าหรือน าไปประกอบอาชีพได ้


ู้
ี่



6. ร้อยละของผจบหลกสตร/กิจกรรมทสามารถน าความรู้ความเข้าใจไปใชไดตามจดมุ่งหมายของ
หลักสูตร/กิจกรรม การศึกษาต่อเนื่อง

ี่

7. ร้อยละของประชาชนทไดรับบริการมีความพึงพอใจตอการบริการ/เข้าร่วมกิจกรรมการเรียนรู้
การศึกษาตามอัธยาศัย
ุ่

ี่
8. ร้อยละของประชาชนกลมเป้าหมายทไดรับบริการ/เข้าร่วมกิจกรรมทมีความรู้ความเข้าใจ/เจต
ี่
คติ/ทักษะ ตามจุดมุ่งหมายของกิจกรรมที่ก าหนด ของการศึกษาตามอัธยาศัย
9. ร้อยละของผู้สูงอายุที่เป็นกลุ่มเป้าหมาย มีโอกาสมาเข้าร่วมกิจกรรมการศึกษาตลอดชีวิต

นโยบายเร่งด่วนเพื่อร่วมขับเคลื่อนยุทธศาสตร์การพัฒนาประเทศ
ข้อ 1 ยุทธศาสตร์ด้านความมั่นคง

ั้



1.1 พัฒนาและเสริมสร้างความจงรักภักดตอสถาบันหลกของชาตพร้อมทงน้อมน าและเผยแพร่
ศาสตร์พระราชา หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง รวมถึงแนวทางพระราชด าริต่าง ๆ

1.2 เสริมสร้างความรู้ความเข้าใจ และการมีสวนร่วมอย่างถูกตองกับการปกครองระบอบ

ประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข ในบริบทของไทย มีความเป็นพลเมืองด ยอมรับและเคารพ

ความหลากหลายทางความคิดและอุดมการณ ์

1.3 สงเสริมและสนับสนุนการจดการศกษาเพื่อป้องกันและแก้ไขปัญหาภัยคกคามในรูปแบบใหม่



ทั้งยาเสพติด การค้ามนุษย์ ภัยจากไซเบอร์ ภัยพิบัติจากธรรมชาติ โรคอุบัติใหม่ ฯลฯ

1.4 ยกระดบคณภาพการศกษาและสร้างเสริมโอกาสในการเข้าถึงบริการการศกษาในเขตพัฒนา



พิเศษเฉพาะกิจจังหวัดชายแดนภาคใต้และพื้นที่ชายแดนอื่น ๆ
ุ่

1.5 สร้างความรู้ ความเข้าใจในขนบธรรมเนียม ประเพณ วัฒนธรรมของประเทศเพื่อนบ้าน กลม
ชาติพันธุ์ และชาวต่างชาติที่มีความหลากหลาย
ข้อ 2 ยุทธศาสตร์ด้านการสร้างความสามารถในการแข่งขัน
2.1 ยกระดบการจดการศกษาอาชพ กศน. เพื่อพัฒนาทกษะอาชพของประชาชนให้รองรับ






ี่
อุตสาหกรรมเป้าหมายของประเทศ (First S - curve และ New S - curve) โดยเฉพาะในพื้นทเขตระเบียง

แผนปฏิบัติการประจ าปงบประมาณ พ.ศ.๒๕๖๔ ๑๒




ี่
เศรษฐกิจ และเขตพัฒนาพิเศษตามภูมิภาคตาง ๆ ของประเทศ ส าหรับพื้นที่ปกตให้พัฒนาอาชีพทเน้นการตอ
ยอดศักยภาพและตามบริบทของพื้นท ี่

ี่


2.2 จดการศกษาเพื่อพัฒนาพื้นทภาคตะวันออก ยกระดบการศกษาให้กับประชาชนให้จบ

การศึกษาอย่างน้อยการศึกษาภาคบังคับ สามารถน าคุณวุฒิที่ได้รับไปต่อยอดในการประกอบอาชีพ รองรับการ
พัฒนาเขตพื้นที่ระเบียบเศรษฐกิจภาคตะวันออก (EEC)
2.3 พัฒนาและสงเสริมประชาชนเพื่อตอยอดการผลตและจาหน่ายสนคาและผลตภัณฑ์ กศน.







ออนไลน์พร้อมทงประสานความร่วมมือกับภาคเอกชนในการเพิ่มชองทางการจาหน่ายสนคาและผลตภัณฑ์ให้


ั้



กว้างขวางยิ่งขึ้น
ข้อ 3 ยุทธศาสตร์ด้านการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพทรัพยากรมนุษย์
3.1 สรรหา และพัฒนาครูและบุคลากรที่เกี่ยวข้องกับการจัดกิจกรรมและการเรียนรู้เป็นผู้เชื่อมโยง

ู้

ู้
ความรู้กับผเรียนและผรับบริการ มีความเป็น “ครูมืออาชพ” มีจตบริการ มีความรอบรู้และทนตอการ


ู้
ี่
เปลยนแปลงของสงคม และเป็น “ผอ านวยการการเรียนรู้” ทสามารถบริหารจัดการความรู้ กิจกรรมและการ

ี่
เรียนรู้ที่ด ี
1) เพิ่มอัตราข้าราชการครูให้กับสถานศึกษาทุกประเภท
2) พัฒนาข้าราชการครูในรูปแบบครบวงจร ตามหลักสูตรที่เชื่อมโยงกับวิทยฐานะ




3) พัฒนาครูให้สามารถปฏิบัตงานไดอย่างมีประสทธิภาพ โดยเน้นเรื่องการพัฒนาทกษะการ
จัดการเรียนการสอนออนไลน์ ทักษะภาษาต่างประเทศ ทักษะการจัดกระบวนการเรียนรู้
4) พัฒนาศึกษานิเทศก์ ให้สามารถปฏิบัติการนิเทศได้อย่างมีประสิทธิภาพ


5) พัฒนาบุคลากรทกระดบทกประเภทให้มีความรู้และทกษะเรื่องการใชประโยชน์จากดจทล






และภาษาต่างประเทศที่จ าเป็น รวมทั้งความรู้เกี่ยวกับอาชีพที่รองรับอุตสาหกรรมเป้าหมายของประเทศ (First
S - Curve และ New S - Curve)

ั้

3.2 พัฒนาหลกสตรการจดการศกษาอาชพระยะสน ให้มีความหลากหลาย ทนสมัยเหมาะสมกับ




บริบทของพื้นที่ และตอบสนองความต้องการของประชาชนผู้รับบริการ

3.3 สงเสริมการจดการเรียนรู้ททนสมัยและมีประสทธิภาพ เอื้อตอการเรียนรู้สาหรับทกคน




ี่


สามารถเรียนได้ทุกที่ทุกเวลา มีกิจกรรมที่หลากลาย น่าสนใจ สนองตอบความต้องการของชุมชน
3.4 เสริมสร้างความร่วมมือกับภาคเครือข่าย ประสาน สงเสริมความร่วมมือภาคเครือข่ายทง


ั้

ภาครัฐ เอกชน ประชาสังคม และองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น รวมทั้งส่งเสริมและสนับสนุนการมีส่วนร่วมของ
ชุมชนเพื่อสร้างความเข้าใจ และให้เกิดความร่วมมือในการส่งเสริม สนับสนุน และจัดการศกษาและการเรียนรู้

ให้กับประชาชนอย่างมีคุณภาพ

ุ่





3.5 พัฒนานวัตกรรมทางการศกษาเพื่อประโยชน์ตอการจดการศกษาและกลมเป้าหมาย เชน จด

การศกษาออนไลน์ กศน. ทงในรูปแบบของการศกษาขั้นพื้นฐาน การพัฒนาทกษะชวิตและทกษะอาชพและ


ั้



การศึกษาตามอัธยาศัย รวมทั้งส่งเสริมการใช้เทคโนโลยีในการปฏิบัติงาน การบริหารจัดการ การจัดการเรียนรู้
และใช้การวิจัยอย่างง่ายเพื่อสร้างนวัตกรรมใหม่


3.6 พัฒนาศกยภาพครูและบุคลากรทางการศกษา และประชาชนทวไป ดานความรู้ความเข้าใจ

ั่
และทักษะในการใช้เทคโนโลยีดิจิทัล (Digital Literacy)

แผนปฏิบัติการประจ าปงบประมาณ พ.ศ.๒๕๖๔ ๑๓


3.7 ยกระดับการศึกษาให้กับกลุ่มเปาหมายทหารกองประจ าการ รวมทั้งกลุ่มเป้าหมายพิเศษอื่น ๆ

ู้


ี่



อาท ผตองขัง คนพิการ เดกออกกลางคน ประชากรวัยเรียนทอยู่นอกระบบการศกษา ให้จบการศกษานอก
ระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน
ื่

3.8 พัฒนาทกษะภาษาตางประเทศเพื่อการสอสารของประชาชนในรูปแบบตางๆ โดยเน้นทกษะ



ภาษาเพื่ออาชีพ ทั้งในภาคธุรกิจ การบริการ และการท่องเที่ยว
3.9 เตรียมความพร้อมของประชาชนในการเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุที่เหมาะสมและมีคุณภาพ
3.10 จัดกิจกรรมวิทยาศาสตร์เชิงรุกให้กับประชาชนในชุมชน โดยให้ความรู้วิทยาศาสตร์อย่างง่าย

ทั้งวิทยาศาสตร์ในวิถีชวิต และวิทยาศาสตร์ในชีวิตประจ าวัน รวมทั้งความก้าวหน้าทางวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี
และนวัตกรรม


ี่
3.11 ส่งเสริมการรู้ภาษาไทยให้กับประชาชนในรูปแบบตาง ๆ โดยเฉพาะประชาชนในเขตพื้นทสง
ให้สามารถฟัง พูด อ่าน และเขียนภาษาไทย เพื่อประโยชน์ในการใช้ชีวิตประจ าวันได ้
ข้อ 4 ยุทธศาสตร์ด้านการสร้างโอกาสและความเสมอภาคทางสังคม
ี่


4.1 พัฒนาแหล่งเรียนรู้ให้มีบรรยากาศและสภาพแวดลอมทเอื้อตอการเรียนรู้มีความพร้อมในการ
ให้บริการกิจกรรมการศึกษาและการเรียนรู้




1) เร่งยกระดบ กศน.ตาบลน าร่อง 928 แห่ง (อ าเภอละ 1 แห่ง) ให้เป็น กศน.ตาบล 5 ด พรี
เมียมที่ประกอบด้วย ครูดี สถานที่ดี (ตามบริบทของพื้นที่) กิจกรรมดี เครือข่ายดี และมีนวัตกรรมการเรียนรู้ท ี่
ดีมีประโยชน์

ี่
2) จดให้มีศนย์การเรียนรู้ตนแบบ กศน. เพื่อยกระดบการเรียนรู้เป็นพื้นทการเรียนรู้ (Co -



Learning Space) ที่ทันสมัยส าหรับทุกคน มีความพร้อมในการให้บริการต่าง ๆ
3) พัฒนาห้องสมุดประชาชน “เฉลิมราชกุมารี” ให้เป็น Digital Library
ี่
4.2 จดตงศนย์การเรียนรู้สาหรับทกชวงวัยทมีกิจกรรมทหลากหลาย ตอบสนองความตองการใน





ั้
ี่

การเรียนรู้ในแต่ละวัย เพื่อให้มีพัฒนาการเรียนรู้ที่เหมาะสม และมีความสุขกับการเรียนรู้ตามความสนใจ
ู้

ุ่


4.3 สงเสริมและสนับสนุนการจดการศกษาและการเรียนรู้สาหรับกลมเป้าหมายผพิการโดยเน้น

รูปแบบการศึกษาออนไลน์
ข้อ 5 ยุทธศาสตร์ด้านการสร้างการเติบโตบนคุณภาพชีวิตที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม
5.1 สงเสริมให้มีการให้ความรู้กับประชาชนในการรับมือและปรับตวเพื่อลดความเสยหายจากภัย



ธรรมชาติและผลกระทบที่เกี่ยวข้องกับการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ
5.2 สร้างความตระหนักถึงความสาคญของการสร้างสงคมสเขียว สงเสริมความรู้ให้กับประชาชน





ั้
เกี่ยวกับการคัดแยกตงแต่ต้นทาง การก าจัดขยะ และการน ากลับมาใช้ใหม่
ิ่

ั้




5.3 สงเสริมให้หน่วยงานและสถานศกษาใชพลงงานทเป็นมิตรกับสงแวดลอม รวมทงลดการใช ้
ี่
ทรัพยากรที่ส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม เช่น รณรงค์เรื่องการลดการใช้ถุงพลาสติก การประหยัดไฟฟ้า เป็นต้น
ข้อ 6 ยุทธศาสตร์ด้านการปรับสมดุลและพัฒนาระบบการบริหารจัดการภาครัฐ


6.1 พัฒนาและปรับระบบวิธีการปฏิบัตราชการให้ทนสมัย มีความโปร่งใส ปลอดการทจริตและ

ประพฤติมิชอบ บริหารจัดการบนข้อมูลและหลักฐานเชิงประจักษ์ มุ่งผลสัมฤทธิ์มีความโปร่งใส
6.2 น านวัตกรรมและเทคโนโลยีระบบการท างานที่เป็นดิจิทัลมาใช้ในการบริหารและพัฒนางาน

แผนปฏิบัติการประจ าปงบประมาณ พ.ศ.๒๕๖๔ ๑๔

6.3 สงเสริมการพัฒนาบุคลากรทกระดบอย่างตอเนื่อง ให้มีความรู้และทกษะตามมาตรฐาน





ต าแหน่งให้ตรงกับสายงาน ความช านาญ และความต้องการของบุคลากร
ภารกิจต่อเนื่อง
ข้อ 1 ด้านการจัดการศึกษาและการเรียนร ู้
1.1 การศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน
ั้

1) สนับสนุนการจดการศกษานอกระบบตงแตปฐมวัยจนจบการศกษาขั้นพื้นฐาน โดย




ู้





ดาเนินการให้ผเรียนไดรับการสนับสนุนคาจดซื้อหนังสอเรียน คาจดกิจกรรมพัฒนาคณภาพผเรียน และคา
ู้




จัดการเรียนการสอนอย่างทั่วถึงและเพียงพอ เพื่อเพิ่มโอกาสในการเขาถึงบริการทางการศึกษาที่มีคณภาพโดย

ไม่เสียค่าใช้จ่าย
ู้
2) จัดการศึกษานอกระบบระดบการศึกษาขั้นพื้นฐานให้กับกลุ่มเปาหมายผด้อย พลาดและขาด





ุ่

ั้
โอกาสทางการศกษา ผานการเรียนแบบเรียนรู้ดวยตนเอง การพบกลม การเรียนแบบชนเรียน และการจด
การศึกษาทางไกล

3) พัฒนาประสทธิภาพ คณภาพ และมาตรฐานการจดการศกษานอกระบบระดบการศกษาขั้น





พื้นฐาน ทั้งด้านหลักสตร รูปแบบ/กระบวนการเรียนการสอน สื่อและนวัตกรรม ระบบการวัดและประเมินผล

การเรียน และระบบการให้บริการนักศึกษาในรูปแบบอื่นๆ
ี่

4) จัดให้มีการประเมินเพื่อเทียบระดับการศึกษา และการเทียบโอนความรู้และประสบการณทมี

ความโปร่งใส ยุตธรรม ตรวจสอบได มีมาตรฐานตามทก าหนด และสามารถตอบสนองความตองการของ


ี่
กลุ่มเป้าหมายได้อย่างมีประสิทธิภาพ


ู้
ี่
ี่


ู้
5) จดให้มีกิจกรรมพัฒนาคณภาพผเรียนทมีคณภาพทผเรียนตองเรียนรู้และเข้าร่วมปฏิบัต ิ



กิจกรรม เพื่อเป็นสวนหนึ่งของการจบหลกสตรอาท กิจกรรมเสริมสร้างความสามัคค กิจกรรมเกี่ยวกับการ




ป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพตด การแข่งขันกีฬา การบ าเพ็ญสาธารณประโยชน์อย่างตอเนื่อง การสงเสริม

การปกครองในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข กิจกรรมลกเสอ เนตรนารี และยุว




ั้

ั้
กาชาด กิจกรรมจตอาสา และการจดตงชมรม/ชมนุม พร้อมทงเปิดโอกาสให้ผเรียนน ากิจกรรมการบ าเพ็ญ
ู้
ประโยชน์อื่นๆ นอกหลักสูตร มาใช้เพิ่มชั่วโมงกิจกรรมให้ผู้เรียนจบตามหลักสูตรได ้
1.2 การส่งเสริมการรู้หนังสือ


ู้
1) พัฒนาระบบฐานข้อมูลผไม่รู้หนังสอ ให้มีความครบถ้วน ถูกตอง ทนสมัยและเป็นระบบ

เดียวกันทั้งส่วนกลางและส่วนภูมิภาค
2) พัฒนาหลักสูตร สื่อ แบบเรียน เครื่องมือวัดผลและเครื่องมือการดาเนินงานการส่งเสริมการรู้

หนังสือที่สอดคล้องกับสภาพแต่ละกลุ่มเป้าหมาย
3) พัฒนาครู กศน. และภาคีเครือข่ายที่ร่วมจัดการศึกษา ให้มีความรู้ ความสามารถ และทักษะ


ู้

การจดกระบวนการเรียนรู้ให้กับผไม่รู้หนังสออย่างมีประสทธิภาพ และอาจจดให้มีอาสาสมัครสงเสริมการรู้


หนังสือในพื้นที่ที่มีความต้องการจ าเป็นเป็นพิเศษ

4) สงเสริม สนับสนุนให้สถานศกษาจดกิจกรรมสงเสริมการรู้หนังสอ การคงสภาพการรู้หนังสอ





การพัฒนาทกษะการรู้หนังสอให้กับประชาชนเพื่อเป็นเครื่องมือในการศกษาและเรียนรู้อย่างตอเนื่องตลอด




ชีวิตของประชาชน

แผนปฏิบัติการประจ าปงบประมาณ พ.ศ.๒๕๖๔ ๑๕

1.3 การศึกษาต่อเนื่อง







1) จดการศกษาอาชพเพื่อการมีงานท าอย่างยั่งยืน โดยให้ความสาคญกับการจดการศกษา


ุ่
อาชพเพื่อการมีงานทาในกลมอาชพเกษตรกรรม อุตสาหกรรม พาณชยกรรม คหกรรม และอาชพเฉพาะทาง




ี่
ู้
หรือการบริการ รวมถึงการเน้นอาชพชางพื้นฐาน ทสอดคลองกับศกยภาพของผเรียน ความตองการและ








ี่
ศกยภาพของแตละพื้นทมีคณภาพไดมาตรฐานเป็นทยอมรับ สอดรับกับความตองการของตลาดแรงงาน และ

ี่

การพัฒนาประเทศตลอดจนสร้างความเข้มแข็งให้กับศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน โดยจัดให้มีหนึ่งอาชีพเด่น รวมทั้งให้
มีการก ากับ ติดตาม และรายงานผลการจัดการศึกษาอาชีพเพื่อการมีงานท าอย่างเป็นระบบและต่อเนื่อง



ู้



2) จดการศกษาเพื่อพัฒนาทกษะชวิตให้กับทกกลมเป้าหมาย โดยเฉพาะคนพิการ ผสงอายุท ี่
ุ่

ุ่






สอดคลองกับความตองการจาเป็นของแตละบุคคล และมุ่งเน้นให้ทกกลมเป้าหมายมีทกษะการดารงชวิต




ตลอดจนสามารถประกอบอาชพพึ่งพาตนเองไดมีความรู้ความสามารถในการบริหารจดการชวิตของตนเองให้


อยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุขสามารถเผชิญสถานการณต่างๆ ที่เกิดขึ้นในชีวิตประจ าวันได้อย่างมีประสิทธิภาพ
และเตรียมพร้อมสาหรับการปรับตวให้ทนตอการเปลยนแปลงของข่าวสารข้อมูลและเทคโนโลยีสมัยใหม่ใน

ี่











ี่
อนาคต โดยจดกิจกรรมทมีเนื้อหาสาคญตางๆ เชน สขภาพกายและจต การป้องกันภัยยาเสพตด เพศศกษา


คุณธรรมและค่านิยมที่พึงประสงคความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ผ่านการศึกษารูปแบบตาง ๆ อาทิ ค่าย

พัฒนาทักษะชีวิตการจัดตั้งชมรม/ชุมนุม การส่งเสริมความสามารถพิเศษต่าง ๆ
3) จัดการศึกษาเพื่อพัฒนาสังคมและชมชน โดยใช้หลักสูตรและการจัดกระบวนการเรียนรู้แบบ

บูรณาการในรูปแบบของการฝกอบรม การประชม สมมนา การจดเวทแลกเปลยนเรียนรู้การจดกิจกรรมจต







ี่
ุ่

ี่
อาสา การสร้างชมชนนักปฏิบัต และรูปแบบอื่นๆ ทเหมาะสมกับกลมเป้าหมาย และบริบทของชมชนแตละ



พื้นที่ เคารพความคิดของผู้อื่น ยอมรับความแตกต่างและหลากหลายทางความคดและอุดมการณ์ รวมทั้งสังคม

พหุวัฒนธรรม โดยจดกระบวนการให้บุคคลรวมกลมเพื่อแลกเปลยนเรียนรู้ร่วมกัน สร้างกระบวนการจต
ี่

ุ่

สาธารณะการสร้างจตสานึกความเป็นประชาธิปไตย การเคารพในสทธิ และรับผดชอบตอหน้าทความเป็น




ี่


พลเมืองดการสงเสริมคณธรรม จริยธรรม การบ าเพ็ญประโยชน์ในชมชน การบริหารจดการน้ า การรับมือกับ







สาธารณภัยการอนุรักษ์พลงงานทรัพยากรธรรมชาตและสงแวดลอม ชวยเหลอซึ่งกันและกันในการพัฒนา

ิ่

สังคมและชุมชนอย่างยั่งยืน
4) การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงผ่านกระบวนการเรียนรู้ตลอด



ุ้
ชวิตในรูปแบบตางๆ ให้กับประชาชน เพื่อเสริมสร้างภูมิคมกัน สามารถยืนหยัดอยู่ไดอย่างมั่นคง และมีการ
บริหารจัดการความเสี่ยงอย่างเหมาะสม ตามทิศทางการพัฒนาประเทศสู่ความสมดุลและยั่งยืน
1.4 การศึกษาตามอัธยาศัย


ี่
1) พัฒนาแหลงการเรียนรู้ทมีบรรยากาศและสภาพแวดลอมทเอื้อต่อการอ่านและพัฒนาศกยภาพ

ี่
การเรียนรู้ให้เกิดขึ้นในสังคมไทย ให้เกิดขึ้นอย่างกว้างขวางและทั่วถึง เช่น พัฒนาห้องสมุดประชาชนทุกแห่งให้


ี่


มีการบริการททนสมัย สงเสริมและสนับสนุนอาสาสมัครสงเสริมการอ่าน การสร้างเครือข่ายสงเสริมการอ่าน

ี่

ื่
ี่

จดหน่วยบริการเคลอนทพร้อมอุปกรณเพื่อจดกิจกรรมสงเสริมการอ่านและการเรียนรู้ทหลากหลายให้บริการ

กับประชาชนในพื้นที่ต่างๆ อย่างทั่วถึง สม่ าเสมอ รวมทั้งเสริมสร้างความพร้อมในด้านบุคลากร สื่อ อุปกรณ ์
เพื่อสนับสนุนการอ่าน และการจดกิจกรรมเพื่อส่งเสริมการอ่านอย่างหลากหลาย


แผนปฏิบัติการประจ าปงบประมาณ พ.ศ.๒๕๖๔ ๑๖




2) จดสร้างและพัฒนาศนย์วิทยาศาสตร์เพื่อการศกษา ให้เป็นแหลงเรียนรู้วิทยาศาสตร์ตลอดชีวิต


ี่



ของประชาชน เป็นแหลงสร้างนวัตกรฐานวิทยาศาสตร์ และเป็นแหลงทองเทยวเชงศลปะวิทยาการประจา






ื่
ี่
ทองถิ่นโดยจดทาและพัฒนานิทรรศการ สอและกิจกรรมการศกษาทเน้นการเสริมสร้างความรู้และสร้างแรง




บันดาลใจดานวิทยาศาสตร์ สอดแทรกวิธีการคดเชงวิเคราะห์ การคดเชงสร้างสรรค และปลกฝงเจตคตทาง







ี่
ู่
วิทยาศาสตร์ผานการกระบวนการเรียนรู้ทบูรณาการความรู้ดานวิทยาศาสตร์ ควบคกับเทคโนโลยี




ั้
วิศวกรรมศาสตร์และคณตศาสตร์รวมทงสอดคลองกับหลกปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง บริบทของชมชน
และประเทศ รวมทั้งระดับภูมิภาคและระดับโลก เพื่อให้ประชาชนมีความรู้และสามารถน าความรู้และทักษะไป
ประยุกตใชในการดาเนินชวิต การพัฒนาอาชพ การรักษาสงแวดลอม การบรรเทาและป้องกันภัยพิบัตทาง


ิ่






ี่
ธรรมชาต รวมทงมีความสามารถในการปรับตวรองรับผลกระทบจากการเปลยนแปลงของโลกทเป็นไปอย่าง
ี่

ั้
รวดเร็วและรุนแรง (Disruptive Change)ได้อย่างมีประสิทธิภาพ
ู้







1.5 ประสานความรวมมอหน่วยงาน องค์กร หรอภาคส่วนตางๆ ที่มแหล่งเรยนรอื่นๆ เชน






พิพิธภัณฑ์ ศนย์เรียนรู้ แหลงโบราณคด ห้องสมุด เพื่อสงเสริมการจดการศกษาตามอัธยาศยให้มีรูปแบบท ี่

หลากหลาย และตอบสนองความต้องการของประชาชน
ข้อ 2 ด้านหลักสูตร สื่อ รูปแบบการจัดกระบวนการเรียนรู้ การวัดและประเมินผลงานบรการทาง

วิชาการ และการประกันคุณภาพการศึกษา


ู้

2.1 ส่งเสรมการพัฒนาหลักสูตร รปแบบการจัดกระบวนการเรยนรและกจกรรม เพื่อสงเสริม


ี่

การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยทหลากหลาย ทันสมัย รวมทั้งหลักสูตรท้องถิ่นที่สอดคลองกับ
สภาพบริบทของพื้นที่ และความต้องการของกลุ่มเป้าหมายและชุมชน

2.2 ส่งเสรมการพัฒนาสื่อแบบเรยน สื่ออิเล็กทรอนิกส์และสื่ออื่นๆ ทเอื้อตอการเรียนรู้ของ


ี่
ผู้เรียนกลุ่มเป้าหมายทั่วไปและกลุ่มเป้าหมายพิเศษ


2.3 พัฒนารปแบบการจัดการศึกษาทางไกลให้มความทันสมย ดวยระบบห้องเรียนและการ


ควบคุมการสอบออนไลน์
2.4 พัฒนาระบบการประเมนเพื่อเทียบระดบการศึกษาและการเทียบโอนความรและ
ู้


ประสบการณ์เพื่อให้มีคณภาพ มาตรฐาน และสามารถตอบสนองความตองการของกลมเป้าหมายไดอย่างมี

ุ่


ประสิทธิภาพ รวมทั้งมีการประชาสัมพันธ์ให้สาธารณชนได้รับรู้และสามารถเข้าถึงระบบการประเมินได ้
2.5 พัฒนาระบบการวัดและประเมินผลการศึกษานอกระบบทุกหลักสูตร โดยเฉพาะหลักสตรใน


ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานให้ได้มาตรฐาน โดยการน าแบบทดสอบกลาง และระบบการสอบอิเล็กทรอนิกส (e-
Exam) มาใช้อย่างมีประสิทธิภาพ
2.6 ส่งเสริมและสนับสนุนการศึกษาวิจัย เพื่อพัฒนาหลักสูตร รูปแบบการจัดกระบวนการเรียนรู้
การวัดและประเมินผล และเผยแพร่รูปแบบการจด สงเสริม และสนับสนุนการจดการศกษานอกระบบและ




ู่


ั้
การศกษาตามอัธยาศย รวมทงให้มีการน าไปสการปฏิบัตอย่างกว้างขวางและมีการพัฒนาให้เหมาะสมกับ

บริบทอย่างต่อเนื่อง


2.7 พัฒนาระบบประกนคุณภาพภายในสถานศึกษาให้ไดมาตรฐาน เพื่อพร้อมรับการประเมิน



คณภาพภายนอก โดยพัฒนาบุคลากรให้มีความรู้ ความเข้าใจ ตระหนักถึงความสาคญของระบบการประกัน



คณภาพและสามารถดาเนินการประกันคณภาพภายในของสถานศกษาไดอย่างตอเนื่องโดยใชการประเมิน





แผนปฏิบัติการประจ าปงบประมาณ พ.ศ.๒๕๖๔ ๑๗




ี้

ี่
ภายในดวยตนเองและจดให้มีระบบสถานศกษาพี่เลยงเข้าไปสนับสนุนอย่างใกลชด สาหรับสถานศกษาทยัง








ไม่ไดเข้ารับการประเมินคณภาพภายนอก ให้พัฒนาคณภาพการจดการศกษาให้ไดคณภาพตามมาตรฐานท ี่


ก าหนด
ข้อ 3 ด้านเทคโนโลยีเพื่อการศึกษา
3.1 ผลิตและพัฒนารายการวทยุและรายการโทรทัศน์เพื่อการศึกษา เพื่อให้เชอมโยงและ
ื่






ตอบสนองตอการจดกิจกรรมการศกษานอกระบบและการศกษาตามอัธยาศยของสถานศกษา เพื่อกระจาย



ี่
ุ่



โอกาสทางการศกษาสาหรับกลมเป้าหมายตางๆ ให้มีทางเลอกในการเรียนรู้ทหลากหลายและมีคณภาพ

ื่


สามารถพัฒนาตนเองให้ รู้เทาทนสอและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการสอสาร เชน รายการพัฒนาอาชพเพื่อ
ื่



การมีงานทารายการตวเข้มเตมเตมความรู้ ฯลฯ เผยแพร่ทางสถานีวิทยุศกษา สถานีวิทยุโทรทศน์เพื่อ




การศึกษากระทรวงศึกษาธิการ (ETV) และทางอินเทอร์เน็ต


3.2 พัฒนาการเผยแพรการจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย โดยผานระบบ





เทคโนโลยีดจทล และชองทางออนไลน์ตางๆ เชน Youtube Facebook หรือ Applicationอื่นๆ เพื่อสงเสริม


ให้ครู กศน. น าเทคโนโลยีดิจิทัลมาใช้ในการสร้างกระบวนการเรียนรู้ด้วยตนเอง (Do It Yourself : DIY)
3.3 พัฒนาสถานีวิทยุศึกษาและสถานีโทรทัศน์เพื่อการศึกษา เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตและ


การออกอากาศให้กลมเป้าหมายสามารถใชเป็นชองทางการเรียนรู้ทมีคณภาพไดอย่างตอเนื่องตลอดชวิตโดย
ี่




ุ่

ี่

ั่
ี่



ขยายเครือข่ายการรับฟังให้สามารถรับฟังไดทกท ทกเวลา ครอบคลมพื้นททวประเทศ และเพิ่มชองทางให้

สามารถรับชมรายการโทรทศน์ไดทั้งระบบ Ku - Band C -Band Digital TV และทางอินเทอร์เน็ต พร้อมที่จะ

รองรับการพัฒนาเป็นสถานีวิทยุโทรทัศน์เพื่อการศึกษาสาธารณะ (Free ETV)

3.4 พัฒนาระบบการให้บรการสื่อเทคโนโลยีเพื่อการศึกษา เพื่อให้ไดหลายชองทางทงทาง
ั้


ั้
ี่
ื่

อินเทอร์เน็ต และรูปแบบอื่นๆ อาทApplication บนโทรศพทเคลอนท และ Tablet รวมทงสอ Offline ใน

ื่


ุ่



รูปแบบตางๆ เพื่อให้กลมเป้าหมายสามารถเลอกใชบริการเพื่อเข้าถึงโอกาสทางการศกษาและการเรียนรู้ได ้
ตามความต้องการ



3.5 ส ารวจ วจัย ตดตามประเมินผลดานการใช้สื่อเทคโนโลยีเพื่อการศึกษาอย่างตอเนื่อง เพื่อน า

ผลมาใช้ในการพัฒนางานให้มีความถูกต้อง ทันสมัยและสามารถส่งเสริมการศึกษาและการเรียนรู้ตลอดชีวิต
ของประชาชนได้อย่างแท้จริง
ข้อ 4 ด้านโครงการอันเนื่องมาจากพระราชด าริหรือโครงการอันเกี่ยวเนื่องจากราชวงศ์
4.1 ส่งเสริมและสนับสนุนการด าเนินงานโครงการอันเนื่องมาจากพระราชด าริหรือโครงการอัน
เกี่ยวเนื่องจากราชวงศ์


4.2 จัดท าฐานข้อมลโครงการและกจกรรมของ กศน. ที่สนองงานโครงการอันเนื่องมาจาก
พระราชด าริหรือโครงการอันเกี่ยวเนื่องจากราชวงศ์ เพื่อน าไปใช้ในการวางแผน การติดตามประเมินผลและ
การพัฒนางานได้อย่างมีประสิทธิภาพ
4.3 ส่งเสริมการสร้างเครือข่ายการด าเนินงาน เพื่อสนับสนุนโครงการอันเนื่องมาจากพระราชด าริ
เพื่อให้เกิดความเข้มแข็งในการจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย



4.4 พัฒนาศูนย์การเรยนชุมชนชาวไทยภูเขา “แมฟ้าหลวง” เพื่อให้มีความพร้อมในการจด
การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยตามบทบาทหน้าที่ที่ก าหนดไว้อย่างมีประสิทธิภาพ

แผนปฏิบัติการประจ าปงบประมาณ พ.ศ.๒๕๖๔ ๑๘


ู้



4.5 จัดและส่งเสรมการเรยนรตลอดชีวิตให้สอดคล้องกบวถีชีวตของประชาชนบนพื้นที่สูง ถิ่น

ทุรกันดาร และพื้นที่ชายขอบ
ข้อ 5 ด้านการศึกษาในจังหวัดชายแดนภาคใต้พื้นที่เขตเศรษฐกิจพิเศษ และพื้นที่บริเวณชายแดน
5.1 พัฒนาการจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยในจังหวัดชายแดนภาคใต ้
1) จัดและพัฒนาหลกสตร และกิจกรรมส่งเสริมการศกษาและการเรียนรู้ที่ตอบสนองปัญหาและ



ความต้องการของกลุ่มเป้าหมาย รวมทั้งอัตลักษณ์และความเป็นพหุวัฒนธรรมของพื้นท ี่



2) พัฒนาคณภาพการศกษานอกระบบระดบการศกษาขั้นพื้นฐานอย่างเข้มข้นและตอเนื่อง


เพื่อให้ผู้เรียนสามารถน าความรู้ที่ได้รับไปใช้ประโยชน์ได้จริง
3) ให้หน่วยงานและสถานศกษาจดให้มีมาตรการดแลรักษาความปลอดภัยแก่บุคลากรและ



นักศึกษา กศน. ตลอดจนผู้มาใช้บริการอย่างทั่วถึง
5.2 พัฒนาการจัดการศึกษาแบบบูรณาการในเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษ

ี่
1) ประสานความร่วมมือกับหน่วยงานทเกี่ยวข้องในการจัดทาแผนการศึกษาตามยุทธศาสตร์และ
บริบทของแต่ละจังหวัดในเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษ
2) จัดท าหลักสูตรการศึกษาตามบริบทของพื้นที่ โดยเน้นสาขาที่เป็นความต้องการของตลาด
ให้เกิดการพัฒนาอาชีพได้ตรงตามความต้องการของพื้นท ี่

ั่

5.3 จัดการศึกษาเพื่อความมนคง ของศูนย์ฝึกและพัฒนาอาชีพราษฎรไทยบรเวณชายแดน
(ศฝช.)

1) พัฒนาศูนย์ฝึกและพัฒนาอาชพราษฎรไทยบริเวณชายแดน เพื่อให้เป็นศูนย์ฝึกและสาธิต การ
ประกอบอาชพดานเกษตรกรรม และศนย์การเรียนรู้ตนแบบการจดกิจกรรมตามแนวพระราชดาริปรัชญา






เศรษฐกิจพอเพียง ส าหรับประชาชนตามแนวชายแดน ด้วยวิธีการเรียนรู้ที่หลากหลาย
2) มุ่งจัดและพัฒนาการศึกษาอาชีพโดยใช้วิธีการหลากหลายใช้รูปแบบเชิงรุกเพื่อการเข้าถึง
กลมเป้าหมาย เชน การจดมหกรรมอาชพ การประสานความร่วมมือกับเครือข่าย การจดอบรมแกนน าดาน


ุ่



อาชีพที่เน้นเรื่องเกษตรธรรมชาติที่สอดคล้องกับบริบทของชุมชนชายแดน ให้แก่ประชาชนตามแนวชายแดน
ข้อ 6 ด้านบุคลากร ระบบการบริหารจัดการ และการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วน
6.1 การพัฒนาบุคลากร


ั้



1) พัฒนาบุคลากรทกระดบ ทกประเภทให้มีสมรรถนะสงขึ้นอย่างตอเนื่อง ทงก่อนและระหว่าง





ี่


การดารงตาแหน่งเพื่อให้มีเจตคตทดในการปฏิบัตงาน สามารถปฏิบัตงานและบริหารจดการการดาเนินงาน






ของหน่วยงานและสถานศกษาไดอย่างมีประสทธิภาพ รวมทงสงเสริมให้ข้าราชการในสงกัดพัฒนาตนเองเพื่อ
ั้
เลื่อนต าแหน่งหรือเลื่อนวิทยฐานะ โดยเน้นการประเมินวิทยฐานะเชิงประจักษ์
2) พัฒนาศกษานิเทศก์ กศน. ให้มีสมรรถนะทจาเป็นครบถ้วน มีความเป็นมืออาชพ สามารถ

ี่


ปฏิบัตการนิเทศไดอย่างมีศกยภาพ เพื่อร่วมยกระดบคณภาพการจดการศกษานอกระบบและการศกษาตาม








อัธยาศัยในสถานศึกษา

3) พัฒนาหัวหน้า กศน. ตาบล/แขวง ให้มีสมรรถนะสงขึ้น เพื่อการบริหารจดการ กศน.ตาบล/






แขวง และการปฏิบัตงานตามบทบาทภารกิจอย่างมีประสทธิภาพ โดยเน้นการเป็นนักจดการความรู้และผ ู้
อ านวยความสะดวกในการเรียนรู้เพื่อให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ที่มีประสิทธิภาพอย่างแท้จริง

แผนปฏิบัติการประจ าปงบประมาณ พ.ศ.๒๕๖๔ ๑๙

4) พัฒนา ครู กศน. และบุคลากรที่เกี่ยวข้องกับการจัดการศึกษาให้สามารถจัดรูปแบบการเรียนรู้





ไดอย่างมีคณภาพ โดยสงเสริมให้มีความรู้ความสามารถในการจดทาแผนการสอน การจดกระบวนการเรียนรู้


การวัดและประเมินผล และการวิจัยเบื้องต้น
5) พัฒนาศกยภาพบุคลากร ทรับผดชอบการบริการการศกษาและการเรียนรู้ ให้มีความรู้



ี่
ความสามารถและมีความเป็นมืออาชีพในการจัดบริการส่งเสริมการเรียนรู้ตลอดชีวิตของประชาชน


6) สงเสริมให้คณะกรรมการ กศน. ทกระดบและคณะกรรมการสถานศกษา มีสวนร่วมในการ



บริหารการด าเนินงานตามบทบาทภารกิจของ กศน. อย่างมีประสิทธิภาพ

7) พัฒนาอาสาสมัคร กศน. ให้สามารถทาหน้าทสนับสนุนการจดการศกษานอกระบบและ

ี่

การศึกษาตามอัธยาศัยได้อย่างมีประสิทธิภาพ
8) พัฒนาสมรรถนะและเสริมสร้างความสัมพันธ์ระหว่างบุคลากร รวมทั้งภาคีเครือข่ายทั้งในและ
ตางประเทศในทกระดบ โดยจดให้มีกิจกรรมเพื่อเสริมสร้างสมพันธภาพและเพิ่มประสทธิภาพในการทางาน







ี่



ร่วมกันในรูปแบบทหลากหลายอย่างตอเนื่อง อาท การแข่งขันกีฬา การอบรมเชงปฏิบัตการพัฒนา

ประสิทธิภาพในการท างาน
6.2 การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานและอัตราก าลัง
ี่




1) จดทาแผนการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานและดาเนินการปรับปรุงสถานท และวัสดอุปกรณให้มี

ความพร้อมในการจัดการศึกษาและการเรียนรู้
ั้


ี่

ี่
2) บริหารอัตราก าลงทมีอยู่ ทงในสวนทเป็นข้าราชการ พนักงานราชการ และลกจางให้เกิด

ประสิทธิภาพสูงสุดในการปฏิบัติงาน

3) แสวงหาความร่วมมือจากภาคเครือข่ายทกภาคส่วนในการระดมทรัพยากรเพื่อน ามาใชในการ




ปรับปรุงโครงสร้างพื้นฐานให้มีความพร้อมสาหรับดาเนินกิจกรรมการศกษานอกระบบและการศกษาตาม


อัธยาศัย และการส่งเสริมการเรียนรู้ส าหรับประชาชน
6.3 การพัฒนาระบบบริหารจัดการ
1) พัฒนาระบบฐานข้อมูลให้มีความครบถ้วน ถูกต้อง ทันสมัย และเชื่อมโยงกันทวประเทศอย่าง
ั่





เป็นระบบเพื่อให้หน่วยงานและสถานศกษาในสงกัดสามารถน าไปใชเป็นเครื่องมือสาคญในการบริหาร การ




ั้
วางแผน การปฏิบัตงาน การตดตามประเมินผล รวมทงจดบริการการศกษานอกระบบและการศกษาตาม

อัธยาศัยอย่างมีประสิทธิภาพ

2) เพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจดการงบประมาณ โดยพัฒนาระบบการก ากับ ควบคุมและเร่งรัด
การเบิกจ่ายงบประมาณให้เป็นตามเป้าหมายที่ก าหนดไว้



3) พัฒนาระบบฐานข้อมูลรวมของนักศกษา กศน. ให้มีความครบถ้วน ถูกตอง ทนสมัยและ



ั่


เชอมโยงกันทวประเทศ สามารถสบคนและสอบทานไดทนความตองการเพื่อประโยชน์ในการจดการศกษา
ื่


ให้กับผู้เรียนและการบริหารจัดการอย่างมีประสิทธิภาพ



4) สงเสริมให้มีการจดการความรู้ในหน่วยงานและสถานศกษาทกระดบ รวมทงการศกษาวิจย



ั้

เพื่อสามารถน ามาใช้ในการพัฒนาประสิทธิภาพการด าเนินงานที่สอดคล้องกับความต้องการของประชาชนและ
ชุมชนพร้อมทั้งพัฒนาขีดความสามารถเชิงการแข่งขันของหน่วยงานและสถานศึกษา

แผนปฏิบัติการประจ าปงบประมาณ พ.ศ.๒๕๖๔ ๒๐



ั้


5) สร้างความร่วมมือของทกภาคสวนทงในประเทศและตางประเทศ ในการพัฒนาและสงเสริม
การจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย และการเรียนรู้ตลอดชีวิต

6) ส่งเสริมการใช้ระบบสานักงานอิเลกทรอนิกส์ (E-office) ในการบริหารจัดการ เช่น ระบบการ

ลาระบบสารบรรณอิเล็กทรอนิกส์ ระบบการขอใช้รถราชการ ระบบการขอใช้ห้องประชุม เป็นต้น
6.4 การก ากับ นิเทศ ติดตาม ประเมิน และรายงานผล



1) สร้างกลไกการก ากับ นิเทศ ตดตาม ประเมิน และรายงานผลการดาเนินงานการศกษานอก
ระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยให้เชื่อมโยงกับหน่วยงาน สถานศึกษา และภาคีเครือข่ายทั้งระบบ
ี่

2) ให้หน่วยงานและสถานศกษาทเกี่ยวข้องทกระดบ พัฒนาระบบกลไกการก ากับ ตดตามและ





รายงานผลการน านโยบายสู่การปฏบัติ ให้สามารถตอบสนองการดาเนินงานตามนโยบายในแตละเรื่องไดอย่าง


มีประสิทธิภาพ
ื่
ี่
ื่


3) สงเสริมการใชเทคโนโลยีสารสนเทศและการสอสาร และสออื่น ๆ ทเหมาะสม เพื่อการก ากับ
นิเทศ ติดตาม ประเมินผล และรายงานผลอย่างมีประสิทธิภาพ



4) พัฒนากลไกการตดตามประเมินผลการปฏิบัตราชการตามคารับรองการปฏิบัตราชการ



ประจาปีของหน่วยงาน สถานศกษา เพื่อการรายงานผลตามตวชวัดในคารับรองการปฏิบัตราชการประจาปี

ี้



ของส านักงาน กศน. ให้ด าเนินไปอย่างมีประสิทธิภาพ เป็นไปตามเกณฑ์ วิธีการ และระยะเวลาที่ก าหนด

ื่
ั้

5) ให้มีการเชอมโยงระบบการนิเทศในทกระดบ ทงหน่วยงานภายในและภายนอกองคกรตงแต ่

ั้


ุ่


สวนกลาง ภูมิภาค กลมจงหวัด จงหวัด อ าเภอ/เขต และตาบล/แขวง เพื่อความเป็นเอกภาพในการใชข้อมูล

และการพัฒนางานการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย

เป้าหมายการให้บริการของสถานศึกษา

เป้าหมายการให้บริการ ค่าเป้าหมายปี 256๔
หน่วยนับ เป้าหมาย หมายเหต ุ
๑. จ านวนผู้เรียนการศึกษานอกระบบระดับ คน

การศึกษาขั้นพื้นฐาน หลักสตรประกาศนียบัตร
วิชาชีพ (ปวช.)
ภาคเรียนที่ ๒ ปีการศึกษา ๒๕๖๓ ๘๕ คน
ภาคเรียนที่ ๑ ปีการศึกษา ๒๕๖๔ ๘๕ คน
๒. จ านวนประชาชนกลุ่มเป้าหมายที่ลงทะเบียน คน ๓,๒๐๐ คน
เรียนในทุกหลักสูตร/กิจกรรมการศึกษาต่อเนื่อง
๓. ร้อยละของผู้จบหลักสูตร/กิจกรรมที่สามารถ ร้อยละ ๑๐๐
น าความรู้ความเข้าใจไปใช้ได้ตามจดมุ่งหมายของ

หลักสูตร/กิจกรรมที่ก าหนด
๔. จ านวนประชาชนกลุ่มเป้าหมายที่ได้รับบริการ/ คน ๕๐๐ คน
เข้าร่วมกิจกรรมการเรียนรู้การศึกษาตามอัธยาศัย
๕. จ านวนแหล่งการเรียนรู้ในพื้นที่รับผิดชอบที่มี แห่ง ๒๕๐ แห่ง
ความพร้อมในการให้บริการ

แผนปฏิบัติการประจ าปงบประมาณ พ.ศ.๒๕๖๔ ๒๑

มาตรฐานการประกันคุณภาพของสถานศึกษา


มาตรฐานการศึกษานอกระบบ ระดับการศกษาขั้นพื้นฐาน

มาตรฐานที่ ๑ คุณภาพของผู้เรียนการศึกษานอกระบบ ระดับการศกษาขั้นพื้นฐาน


ประเด็นพิจารณา ๑.๑ ผู้เรียนการศึกษาขั้นพื้นฐานมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนที่ดีสอดคล้องกับหลกสตร
สถานศึกษา
ประเด็นพิจารณา ๑.๒ ผู้เรียนการศึกษาขั้นพื้นฐานมีคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยม และคุณลักษณะทด ี
ี่
ตามที่สถานศึกษาก าหนด
ู้



ประเดนพิจารณา ๑.๓ ผเรียนการศกษาขั้นพื้นฐานมีความสามารถในการวิเคราะห์ คดอย่าง
วิจารณญาณ และแลกเปลี่ยนความคิดเห็นร่วมกับผู้อื่น
ิ้


ู้

ประเดนพิจารณา ๑.๔ ผเรียนการศกษาขั้นพื้นฐานมีความสามารถในการสร้างสรรคงาน ชนงานหรือ
นวัตกรรม
ประเด็นพิจารณา ๑.๕ ผู้เรียนการศึกษาขั้นพื้นฐานมีความสามารถในการใช้เทคโนโลยีดิจิทัล
ประเด็นพิจารณา ๑.๖ ผู้เรียนการศึกษาขั้นพื้นฐานมีสุขภาวะทางกายและสุนทรียภาพ
ประเด็นพิจารณา ๑.๗ ผู้เรียนการศึกษาขั้นพื้นฐานมีความสามารถในการอ่าน การเขียน


ู้
ประเดนพิจารณา ๑.๘ ผเรียนการศกษาขั้นพื้นฐานน าความรู้ ทกษะพื้นฐานทไดรับไปใชหรือ
ี่



ประยุกต์ใช ้
มาตรฐานที่ ๒ คุณภาพการจัดการศึกษานอกระบบ ระดบการศึกษาขั้นพื้นฐานที่เน้นผู้เรยนเป็น


ส าคัญ






ี่
ประเดนพิจารณา ๒.๑ การพัฒนาหลกสตรสถานศกษาทสอดคลองกับบริบทและความตองการของ
ผู้เรียน ชุมชน ท้องถิ่น
ประเด็นพิจารณา ๒.๒ การใช้สื่อที่เอื้อต่อการเรียนรู้
ประเด็นพิจารณา ๒.๓ ครูมีความรู้ ความสามารถในการจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นส าคัญ
ประเด็นพิจารณา ๒.๔ การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ของผู้เรียนอย่างเป็นระบบ
มาตรฐานที่ ๓ คุณภาพการบริหารจัดการของสถานศึกษา
ประเด็นพิจารณา ๓.๑ การบริหารจัดการของสถานศึกษาที่เน้นการมีส่วนร่วม
ประเด็นพิจารณา ๓.๒ ระบบการประกันคุณภาพของสถานศึกษา
ประเด็นพิจารณา ๓.๓ การพัฒนาครูและบุคลากรของสถานศึกษา

ประเด็นพิจารณา ๓.๔ การใช้เทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อสนับสนุนการบริหารจัดการ
ประเด็นพิจารณา ๓.๕ การก ากับ นิเทศ ติดตาม ประเมินผลการด าเนินงานของสถานศึกษา

ประเด็นพิจารณา ๓.๖ การปฏิบัติหน้าที่ของคณะกรรมการสถานศึกษาที่เป็นไปตามบทบาทที่ก าหนด
ประเด็นพิจารณา ๓.๗ การส่งเสริม สนับสนุนภาคีเครือข่ายให้มีส่วนร่วมในการจัดการศึกษา

ประเด็นพิจารณา ๓.๘ การส่งเสริม สนับสนุนสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้
ประเด็นพิจารณา ๓.๙ การวิจัยเพื่อการบริหารจัดการสถานศึกษา





แผนปฏิบัติการประจ าปงบประมาณ พ.ศ.๒๕๖๔ ๒๒

มาตรฐานการศึกษาต่อเนื่อง

มาตรฐานที่ ๑ คุณภาพของผู้เรียนการศึกษาต่อเนื่อง


ประเดนพิจารณา ๑.๑ ผเรียนการศกษาตอเนื่องมีความรู้ ความสามารถ และหรือทกษะ และหรือ


ู้
คุณธรรมเป็นไปตามเกณฑ์การจบหลักสูตร
ประเด็นพิจารณา ๑.๒ ผู้เรียนการศึกษาต่อเนื่องสามารถน าความรู้ที่ได้รับไปใช้หรือประยุกต์ใช้บนฐาน
ค่านิยมร่วมของสังคม

ู้


ี่




ประเดนพิจารณา ๑.๓ ผจบหลกสตรการศกษาตอเนื่องทน าความรู้ไปใชจนเห็นเป็นประจกษ์หรือ
ตัวอย่างที่ด ี
มาตรฐานที่ ๒ คุณภาพการจัดการเรียนรู้การศึกษาต่อเนื่อง
ประเด็นพิจารณา ๒.๑ หลักสูตรการศึกษาต่อเนื่องมีคุณภาพ
ประเด็นพิจารณา ๒.๒ วิทยากรการศึกษาต่อเนื่อง มีความรู้ ความสามารถ หรือประสบการณ์ตรงตาม
หลักสูตรการศึกษาต่อเนื่อง
ประเด็นพิจารณา ๒.๓ สื่อที่เอื้อต่อการเรียนรู้
ประเด็นพิจารณา ๒.๔ การวัดและประเมินผลผู้เรียนการศึกษาต่อเนื่อง

ประเด็นพิจารณา ๒.๕ การจัดกระบวนการเรียนรู้การศกษาต่อเนื่องอย่างมีคุณภาพ
มาตรฐานที่ ๓ คุณภาพการบริหารจัดการของสถานศึกษา
ประเด็นพิจารณา ๓.๑ การบริหารจัดการของสถานศึกษาที่เน้นการมีส่วนร่วม
ประเด็นพิจารณา ๓.๒ ระบบการประกันคุณภาพของสถานศึกษา

ประเด็นพิจารณา ๓.๓ การพัฒนาครูและบุคลากรของสถานศึกษา
ประเด็นพิจารณา ๓.๔ การใช้เทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อสนับสนุนการบริหารจัดการ

ประเด็นพิจารณา ๓.๕ การก ากับ นิเทศ ติดตาม ประเมินผลการด าเนินงานของสถานศึกษา
ประเด็นพิจารณา ๓.๖ การปฏิบัติหน้าที่ของคณะกรรมการสถานศึกษาที่เป็นไปตามบทบาทที่ก าหนด

ประเด็นพิจารณา ๓.๗ การสงเสริม สนับสนุนภาคีเครือข่ายให้มีส่วนร่วมในการจัดการศึกษา

ประเด็นพิจารณา ๓.๘ การส่งเสริม สนับสนุนสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้

ประเด็นพิจารณา ๓.๙ การวิจัยเพื่อการบริหารจัดการสถานศึกษา
มาตรฐานการศึกษาตามอัธยาศัย
มาตรฐานที่ ๑ คุณภาพของผู้รับบริการการศึกษาตามอัธยาศัย


ประเด็นพิจารณา ๑.๑ ผู้รับบริการมีความรู้ หรือทักษะ หรือประสบการณ์ สอดคล้องกับวัตถประสงค ์
ของโครงการหรือกิจกรรมการศึกษาตามอัธยาศัย

มาตรฐานที่ ๒ คุณภาพการจัดการศึกษาตามอัธยาศัย
ประเด็นพิจารณา ๒.๑ การก าหนดโครงการหรือกิจกรรมการศึกษาตามอัธยาศัย

ประเด็นพิจารณา ๒.๒ ผู้จัดกิจกรรมมีความรู้ ความสามารถในการจัดกิจกรรมการศึกษาตามอัธยาศัย
ประเด็นพิจารณา ๒.๓ สื่อหรือนวัตกรรม และสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการจัดการศึกษาตามอัธยาศัย

ประเด็นพิจารณา ๒.๔ ผู้รับบริการมีความพึงพอใจต่อการจัดการศึกษาตามอัธยาศัย



แผนปฏิบัติการประจ าปงบประมาณ พ.ศ.๒๕๖๔ ๒๓

มาตรฐานที่ ๓ คุณภาพการบริหารจัดการของสถานศึกษา

ประเด็นพิจารณา ๓.๑ การบริหารจัดการของสถานศึกษาที่เน้นการมีส่วนร่วม
ประเด็นพิจารณา ๓.๒ ระบบการประกันคุณภาพของสถานศึกษา
ประเด็นพิจารณา ๓.๓ การพัฒนาครูและบุคลากรของสถานศึกษา

ประเด็นพิจารณา ๓.๔ การใช้เทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อสนับสนุนการบริหารจัดการ
ประเด็นพิจารณา ๓.๕ การก ากับ นิเทศ ติดตาม ประเมินผลการด าเนินงานของสถานศึกษา

ประเด็นพิจารณา ๓.๖ การปฏิบัติหน้าที่ของคณะกรรมการสถานศึกษาที่เป็นไปตามบทบาทที่ก าหนด
ประเด็นพิจารณา ๓.๗ การส่งเสริม สนับสนุนภาคีเครือข่ายให้มีส่วนร่วมในการจัดการศึกษา
ประเด็นพิจารณา ๓.๘ การส่งเสริม สนับสนุนสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้

ประเด็นพิจารณา ๓.๙ การวิจัยเพื่อการบริหารจัดการสถานศึกษา


งบประมาณรายจ่ายประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๔
๑. เงินงบประมาณ

๑.๑ งบ ปกติ ๒,๘๐๗,๑๖๐ บาท
๑.๒ งบ จชต. ๕,๘๑๑,๑๐๐ บาท
รวมจ านวนเงิน ๘,๖๑๘,๒๖๐ บาท



โครงการตามแผนปฏิบัติการ ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๔



ที่ โครงการ/กิจกรรม กลุ่มเป้าหมาย จ านวน งบประมาณ
เป้าหมาย (คน) (บาท)
๑ การศึกษาขั้นพื้นฐานนอกระบบ :
หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.)

ภาคเรียนที่ ๒ ปีการศึกษา ๒๕๖๓ เยาวชน ๘๕ คน ๒๓๓,๗๕๐-
๑.๑ การจัดการเรียนการสอน นอกระบบ ๔๕,๐๕๐-
๑.๒ กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ๒๕,๕๐๐-
๑.๓ ค่าหนังสือเรียน

ภาคเรียนที่ ๑ ปีการศึกษา ๒๕๖๔ เยาวชน ๘๕ คน ๒๓๓,๗๕๐-
๑.๑ การจัดการเรียนการสอน นอกระบบ ๔๕,๐๕๐-
๑.๒ กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ๒๕,๕๐๐-
๑.๓ ค่าหนังสือเรียน










แผนปฏิบัติการประจ าปงบประมาณ พ.ศ.๒๕๖๔ ๒๔

ที่ โครงการ/กิจกรรม กลุ่มเป้าหมาย จ านวน งบประมาณ
เป้าหมาย (คน) (บาท)

๒ การศึกษาต่อเนื่อง
๒.๑ โครงการศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน
- พัฒนาอาชีพระยะสั้น (กลุ่มสนใจ) ประชาชนทั่วไป ๖๔๐ คน ๔๔๘,๐๐๐-
- ชั้นเรียนวิชาชีพ (๓๑ ชั่วโมงขึ้นไป) ประชาชนทั่วไป ๗๙๔ คน ๗๑๖,๖๐๐-

๒.๒ โครงการจัดการเรียนรู้ตามหลัก ประชาชนทั่วไป ๔๔๔ คน ๑๗๗,๖๐๐-
ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
๒.๓ โครงการจัดการศึกษาเพื่อพัฒนา ประชาชนทั่วไป ๒๖๖ คน ๑๐๖,๔๐๐-

สังคมและชุมชน
๒.๔ โครงการจัดการศึกษาเพื่อพัฒนา ประชาชนทั่วไป ๑,๓๐๔ คน ๑๔๙,๙๖๐-
ทักษะชีวิต
๓ โครงการพัฒนาคุณภาพการศึกษา

๓.๑ โครงการประชุมเชิงปฏิบัติการการ บุคลากร ๑๙ คน ๒๕,๓๙๐-
จัดท าแผนปฏิบัติการ ประจ าปี ศฝช.ปัตตานี
งบประมาณ พ.ศ.๒๕๖๔

๓.๒ โครงการอบรมเพื่อพัฒนาบุคลากร บุคลากร ๑๙ คน ๓๗,๖๐๐-
ด้านจัดท าสื่อการสอนออนไลน์ ศฝช.ปัตตานี
๓.๓ โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการด้านการ บุคลากร ๑๙ คน ๔๒,๔๐๐-
วิจัย (Action Research) และการเขียน ศฝ.ปัตตานี

รายงานการวิจัย
๓.๔ โครงการอบรมการเขียนหลักสูตร บุคลากร ๑๙ คน ๓๗,๖๐๐-
ด้านอาชีพเพื่อพัฒนางาน กศน. ศฝช.ปัตตานี
๓.๕ โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการจัด ผู้บริหาร ๔๓ คน ๑๕๕,๕๐๐-

กระบวนการเรียนรู้เพื่อพัฒนา เจ้าหน้าท ี่
ประสิทธิภาพการด าเนินงาน กศน. แผนงาน
โครงการกลุ่ม
ศูนย์ฝึกฯ

๓.๖ โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการวิทยากร วิทยากรอาชีพ ๓๘ คน ๘๑,๖๐๐-
อาชีพ ศฝช.ปัตตานี
๓.๗ โครงการพัฒนาฐานเรียนรู้ด้านอาชีพ ฐานเรียนรู้ ๑๐ ฐาน ๖๐,๐๐๐-

ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ด้านอาชีพ
๔ การศึกษาตามอัธยาศัย
- การจัดกระบวนการเรียนรู้ด้านอาชีพ ประชาชนทั่วไป ๕๐๐ คน -

ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง






แผนปฏิบัติการประจ าปงบประมาณ พ.ศ.๒๕๖๔ ๒๕

ที่ โครงการ/กิจกรรม กลุ่มเป้าหมาย จ านวน งบประมาณ
เป้าหมาย (คน) (บาท)
๕ โครงการน้อมน าหลักปรัชญาของ
เศรษฐกิจพอเพียงเพื่อเสริมสร้าง

ศักยภาพประชาชนชายแดนใต้สู่
การพัฒนาที่ยั่งยืน
๕.๑ โครงการประชุมเพื่อก าหนดแนว - ปราชญ์ผู้น าฯ ๒๙๐ คน ๑๑๖,๐๗๔-
ทางการด าเนินงาน - ครู กศน.

- ครู ร.ร.ตชด.
๕.๒ โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการจัด - ปราชญ์ผู้น าฯ ๒๙๐ คน ๓๘๓,๑๗๔-
กระบวนการเรียนรู้ตามหลักปรัชญาของ - ครู กศน.
เศรษฐกิจพอเพียง - ครู ร.ร.ตชด.

๕.๓ โครงการขยายผลการจดกระบวนการ - ปราชญ์ผู้น าฯ ๑,๕๕๐ คน ๘๙๙,๐๐๐-

เรียนรู้ด้านอาชีพตามหลักปรัชญาของ - ครู กศน.
เศรษฐกิจพอเพียง - ครู ร.ร.ตชด.

๕.๔ โครงการพัฒนาแหล่งเรียนรู้ด้าน - ศูนย์เกษตรฯ ๓๒๐ แห่ง ๒,๕๐๐,๐๐๐-
อาชีพตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ - ปราชญ์ผู้น าฯ
พอเพียง - ร.ร.ตชด.
- กศน.ต าบล
- ปอเนาะฯ

- เครือข่าย
- ศฝช.ปัตตานี
๕.๕ โครงการอบรมแลกเปลี่ยน - ปราชญ์ผู้น าฯ ๓๘๐ คน ๘๓๒,๐๐๐-


ประสบการณ์ด้านอาชีพที่ประสบผลสาเร็จ - ครู กศน.
นอกพื้นท ี่ - ครู ศฝช.ปน.
๕.๖ โครงการจัดท าสื่อ เอกสารประกอบ ประชาชนทั่วไป ๑,๕๐๐ ชุด ๑๕๐,๐๐๐-
๕.๗ โครงการมหกรรม “เปิดบ้านเรียนรู้ ประชาชนทั่วไป ๕๐๐ คน ๘๐๑,๔๕๒-

อาชีพ ฯ”
๕.๘ โครงการประกวดแหล่งเรียนรู้ แหล่งเรียนรู้ใน ๓๒๐ แห่ง ๕๐,๐๐๐-
ต้นแบบ พื้นท ี่

๕.๙ นิเทศ ติดตามผลการด าเนินงาน ๕ จังหวัด - ๗๙,๔๐๐-
ชายแดนใต ้











แผนปฏิบัติการประจ าปงบประมาณ พ.ศ.๒๕๖๔ ๒๖

ส่วนที่ ๔

แผนงาน/โครงการประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๔





๑. โครงการจดการศกษานอกระบบระดับการศกษาขั้นพื้นฐาน

แผนงาน : ยุทธศาสตร์สร้างความเสมอภาคทางการศกษา โครงการสนับสนุนคาใชจายในการจด











ั้

การศกษาตงแตระดบอนุบาลจนจบการศกษาขั้นพื้นฐาน กิจกรรมการศกษานอกระบบระดบการศกษาขั้น
พื้นฐาน (งบเงินอุดหนุน) ค่าจัดการเรียนการสอน,กิจกรรมพัฒนาคุณภาพผู้เรียน และค่าหนังสือ
รหัสงบประมาณ : ๒๐๐๐๒๔๓๐๑๖๕๐๐๓๒ รหัสกิจกรรมหลัก : ๒๐๐๐๒๙๔๐๐P๒๗๔๐

โครงการ/กิจกรรม วัตถุประสงค ์ กลุ่ม เป้าหมาย พื้นที่ ตัวชี้วัด ระยะเวลา งบประมาณ
เป้าหมาย (คน) ด าเนินการ (บาท)
การจัดการศึกษา เพื่อการจัด เยาวชน ๘๕ คน ๕ จังหวัด ร้อยละ ๘๐ ๑ ต.ค.๖๓ – ๖๐๘,๖๐๐-

นอกระบบ ระดับ การศึกษาขั้น นอกระบบ ชายแดนใต ของ ๓๐ ก.ย.๖๔
การศึกษาขั้น พื้นฐานนอก กลุ่มเป้าหมาย
พื้นฐาน : หลักสูตร ระบบ มีความรู้ ความ
ประกาศนียบัตร หลักสูตร เข้าใจ และเกิด
วิชาชีพ (ปวช.) ประกาศนียบัต ทักษะตลอดจน
๑. การจัดการเรียน รวิชาชีพ สามารถน า
การสอน (ปวช.) ความรู้มา
๒. กิจกรรมพัฒนา ประยุกต์ในใน
ผู้เรียน ชีวิต
๓. ค่าหนังสือเรียน

































แผนปฏบัตการประจ าปงบประมาณ พ.ศ.๒๕๖๔ ๒๕

โครงการจัดการศึกษานอกระบบ ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน

หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชพ (ปวช.)




๑. ชื่อโครงการ : โครงการจัดการศึกษานอกระบบ ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน

หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชพ (ปวช.)

๒. ความสอดคล้องนโยบาย
สอดคล้องกับนโยบายและจุดเน้นการด าเนินงาน ส านักงาน กศน. ประจ าปีงบประมาณ ๒๕๖๔

นโยบายเร่งด่วนเพื่อร่วมขับเคลื่อนยุทธศาสตร์การพัฒนาประเทศ

ยุทธศาสตร์ที่ ๑ ด้านความมั่นคง


๑.๔ ยกระดบคณภาพการศกษาและสร้างเสริมโอกาสในการเข้าถึงบริการการศกษา การพัฒนา








ทกษะ การสร้างอาชพ และการใชชวิตในสงคมพหุวัฒนธรรม ในเขตพัฒนาพิเศษเฉพาะกิจจงหวัดชายแดน
ภาคใต้ และพื้นที่ชายแดนอื่น ๆ
ยุทธศาสตร์ที่ ๓ ด้านการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพทรัพยากรมนุษย์

ี่

๓.๓ ส่งเสริมการจัดการเรียนรู้ททันสมัยและมีประสทธิภาพ เอื้อต่อการเรียนรู้สาหรับทุกคน สามารถ
เรียนได้ทุกที่ทุกเวลา มีกิจกรรมที่หลากหลาย น่าสนใจ สนองตอบความต้องการของชุมชน
ยุทธศาสตร์ที่ ๔ ด้านการสร้างโอกาสและความเสมอภาคทางสังคม



ี่
๔.๑ พัฒนาแหลงเรียนรู้ให้มีบรรยากาศและสภาพแวดลอมทเอ้ตอการเรียนรู้ มีความพร้อมในการ
ให้บริการกิจกรรมการศึกษาและการเรียนรู้
ภารกิจต่อเนื่อง
๑. ด้านการจัดการศึกษาและการเรียนร ู้
๑.๑ การศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน

ั้

๑) สนับสนุนการจดการศกษานอกระบบตงแตปฐมวัยจนจบการศกษาขั้นพื้นฐาน โดย


ดาเนินการ ให้ผเรียนไดรับการสนับสนุนคาจดซื้อหนังสอเรียน คาจดกิจกรรมพัฒนาคณภาพผเรียน และคา







ู้
ู้


จัดการเรียน การสอนอย่างทั่วถึงและเพียงพอ เพื่อเพิ่มโอกาสในการเข้าถึงบริการทางการศึกษาที่มีคุณภาพโดย
ไม่เสียค่าใช้จ่าย



๒) จัดการศึกษานอกระบบระดบการศึกษาขั้นพื้นฐานให้กับกลุ่มเปาหมายผู้ดอย พลาด และ

ขาดโอกาส ทางการศกษา ทงระบบการให้บริการ ระบบการเรียนการสอน ระบบการวัดและประเมินผลการ
ั้
เรียน ผ่านการเรียน แบบเรียนรู้ด้วยตนเอง การพบกลุ่ม การเรียนแบบชั้นเรียน และการจัดการศึกษาทางไกล

ี่

ี่

ู้
๕) จดให้มีกิจกรรมพัฒนาคณภาพผเรียนทมีคณภาพทผเรียนตองการเรียนรู้และเข้าร่วม
ู้






ปฏิบัตกิจกรรมเพื่อเป็นสวนหนึ่งของการจบหลกสตร อาท กิจกรรมสร้างความสามัคค กิจกรรมเกี่ยวกับการ

ป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพตด การแข่งขันกีฬา การบ าเพ็ญสารธารณประโยชน์อย่างต่อเนื่อง การส่งเสริม



การปกครองในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข กิจกรรมลกเสอ เนตรนารี และยุว
ั้
ั้


กาชาด กิจกรรมจตอาสาและการจดตงชมรม/ชมนุม พร้อมทงเปิดโอกาสให้ผเรียนน ากิจกรรมการบ าเพ็ญ
ู้

ประโยชน์อื่นๆ นอกหลักสูตรมาใช้เพิ่มชั่วโมงกิจกรรมให้ผู้เรียนจบตามหลักสูตรได ้






แผนปฏบัตการประจ าปงบประมาณ พ.ศ.๒๕๖๔ ๒๖

สอดคล้องมาตรฐานการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยของสถานศึกษา

มาตรฐานการศึกษานอกระบบ ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน
มาตรฐานที่ ๑ คุณภาพผู้เรียนการศึกษานอกระบบร ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน

ี่



ู้


ประเดนพิจารณา ๑.๑ ผเรียนการศกษาขั้นพื้นฐานมีผลสมฤทธิ์ทางการเรียนทดสอดคลองกับก
หลักสูตรสถานศึกษา
ประเด็นพิจารณา ๑.๒ ผู้เรียนการศึกษาขั้นพื้นฐานมีคณธรรม จริยธรรม ค่านิยม และคุณลักษณะท ี่

ดีตามที่สถานศึกษาก าหนด


ประเดนพิจารณา ๑.๓ ผเรียนการศกษาขั้นพื้นฐานมีความสามารถในการวิเคราะห์ คดอย่างมี
ู้

วิจารณญาณ และแลกเปลี่ยนความคิดเห็นกับผู้อื่น

ประเด็นพิจารณา ๑.๔ ผู้เรียนการศึกษาขั้นพื้นฐานมีความสามารถในการสร้างสรรคผลงาน ชิ้นงาน
หรือนวัตกรรม
ประเด็นพิจารณา ๑.๕ ผู้เรียนการศึกษาขั้นพื้นฐานมีความสามารถในการใช้เทคโนโลยีดิจิทัล
ประเด็นพิจารณา ๑.๖ ผู้เรียนการศึกษาขั้นพื้นฐานมีสุขภาวะทางกายและสุนทรียภาพ

ประเด็นพิจารณา ๑.๗ ผู้เรียนการศึกษาขั้นพื้นฐานมีความสามารถในการอ่าน การเขียน
ู้



ี่
ประเดนพิจารณา ๑.๘ ผเรียนการศกษาขั้นพื้นฐานน าความรู้ทกษะพื้นฐานทไดรับไปใชหรือ


ประยุกต์ใช ้
มาตรฐานที่ ๒ คุณภาพการจัดการศึกษานอกระบบ ระดบการศึกษาขั้นพื้นฐานที่เน้นผู้เรียนเป็น

ส าคัญ
ประเด็นพิจารณา ๒.๑ การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาที่สอดคล้องกับบริบท และความต้องการของ
ผู้เรียน ชุมชน ท้องถิ่น
ประเด็นพิจารณา ๒.๒ การใช้สื่อที่เอื้อต่อการเรียนรู้

ประเด็นพิจารณา ๒.๓ ครูมีความรู้ ความสามารถในการจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นส าคัญ
ประเด็นพิจารณษ ๒.๔ การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ของผู้เรียนอย่างเป็นระบบ

มาตรฐานที่ ๓ คุณภาพการบริหารจัดการของสถานศึกษา
ประเด็นพิจารณา ๓.๑ การบริหารจัดการของสถานศึกษาแบบมีส่วนร่วม

ประเด็นพิจารณา ๓.๒ ระบบการประกันคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษา
ประเด็นพิจารณา ๓.๓ การพัฒนาครู และบุคลากรของสถานศึกษา

ประเด็นพิจาณา ๓.๕ การก ากับ นิเทศ ติดตาม ประเมินผลการด าเนินงานของสถานศึกษา
ประเด็นพิจารณา ๓.๘ การส่งเสริมสนับสนุนสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้













แผนปฏบัตการประจ าปงบประมาณ พ.ศ.๒๕๖๔ ๒๗

๓. หลักการและเหตุผล








การจดการศกษานอกระบบ ระดบการศกษาขั้นพื้นฐาน หลกสตรประกาศนียบัตรวิชาชพ (ปวช.)
ี่

ุ่
สาหรับกลมเป้าหมายนอกระบบเป็นการจดการการศกษาให้กลมเป้าหมายทประกอบอาชพอยู่ในสถาน


ุ่






ประกอบการหรือประกอบอาชพอิสระ มีพื้นความรู้ในระดบมัธยมศกษาตอนตน โดยใชหลกสตร



ประกาศนียบัตรวิชาชีพ พุทธศักราช ๒๕๕๖ ที่ส านักงานคณะกรรมการการอาชีวศกษาจดทาขึ้น เพื่อเป็นการ




ู้







ยกระดบการศกษาและพัฒนางานอาชพของผอาชพอยู่แลว ให้ไดสมรรถนะตามหลกสตร โดยจดกิจกรรมให้


ผเรียนไดเรียนรู้จากการฝกการปฏิบัตและการปฏิบัตจริงในสถานประกอบการ ณ แหลงเรียนรู้อันจะทาให้



ู้

ผู้เรียนมีความรู้ความสามารถ ตลอดจนปฏิบัติงานได้อย่างมีประสิทธิภาพสอดคล้องกับความต้องการของสถาน
ประกอบการ หน่วยงานต่างๆ การจัดการศึกษาดังกล่าวด าเนินการโดยความร่วมมือระหว่างสถานประกอบการ

หน่วยงาน และสถานศึกษาร่วมกันวางแผนการเรียนรู้ ก าหนดทิศทางของหลักสูตรสถานศึกษาให้สอดคลองกับ
สภาพการท างาน อันจะส่งผลต่อความเจริญก้าวหน้าและการพัฒนาคุณภาพชีวิตและสังคมให้ดียิ่งขึ้น

สภาพปัจจบันประเทศไทยยังมีประชากรจานวนมากทีมีความรู้ความสามารถ มีงานทา ทางานใน



สถานประกอบการ หรือมีธุรกิจของตนเอง แตประชากรเหลานี้ไม่มีเวลามากพอทจะเข้าเรียนในระบบ

ี่


ี่

ี่


การศกษาทมีอยู่ปัจจบัน กอปรกับกฎหมายการศกษาเปิดชองทางให้การเรียนรู้ทเกิดจากการทางาน การ



ี่

ประกอบอาชพเป็นการศกษารูปแบบหนึ่งทเรียกว่า การศกษาตามอัธยาศัย หน่วยงานหรือสถานศกษาจึงต้อง


ู่


พัฒนา วิธีการ รูปแบบ ให้สามารถเชอมโยงการเรียนรู้จากการทางานเข้าสระบบการศกษาเพื่อให้ไดรับวุฒิ
ื่
การศึกษา
ศนย์ฝกและพัฒนาอาชพราษฎรไทยบริเวณชายแดนปัตตานี เป็นสถานศกษาทรับผดชอบในการจด
ี่












การศกษานอกระบบและการศกษาตามอัธยาศย การจดการศกษานอกระบบ ระดบการศกษาขั้นพื้นฐาน






ี่
หลกสตรประกาศนียบัตรวิชาชพ (ปวช.) จงเป็นอีกชองทางหนึ่งในการพัฒนาประชากรวัยแรงงานทอยู่นอก

ระบบสามารถเข้าถึงการศึกษาสายอาชีพ เพื่อจะได้พัฒนาหรือตอบสนองความต้องการของประชาชนที่มีอาชพ
อยู่แล้วให้ได้รับวุฒิการศึกษาสายอาชีพ

๔. วัตถุประสงค์
ู้
๔.๑ เพื่อให้ผเรียนยกระดับความรู้เพื่อการศึกต่อและการมีการท า
๔.๒ เพื่อให้ผเรียนเกิดการพัฒนาคุณภาพชีวิตที่ดอยู่ร่วมกับสังคมอย่างมีความสุข
ู้


๕. เป้าหมาย
๕.๑ เชิงปริมาณ
นักศึกษาหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) จ านวน ๘๕ คน
๕.๒ เชิงคุณภาพ

ผู้เรียนมีความรู้ทักษะอันสามารถน าไปใชในการศกษาต่อและประกอบอาชีพเกิดการพัฒนา

คุณภาพชีวิตที่ยั่งยืนอยู่ร่วมกับสังคมและชุมชนได้อย่างมีความสุข




แผนปฏบัตการประจ าปงบประมาณ พ.ศ.๒๕๖๔ ๒๘

๖. วิธีการด าเนินงาน


กิจกรรมหลัก วัตถุประสงค ์ กลุ่มเป้าหมาย เป้าหมาย พื้นที่ด าเนินการ ระยะเวลา งบประมาณ


๑. ส ารวจความต้อง เพื่อส ารวจความ เยาวชนนอกระบบ ๘๕ คน พื้นที่ ๕ จังหวัด ต.ค. ๖๓
กากลุ่มเป้าหมาย ต้องการของ ชายแดนภาคใต ้

กลุ่มเป้าหมาย

๒. ประชุมวางแผน เพื่อประชุมวาง บุคลากร ๑๙ คน ศฝช.ปัตตาน ี พ.ย..๖๓
การด าเนินงาน แผนการ ศฝช.ปัตตาน ี

ด าเนินงาน


๓. เขียนโครงการเพื่อ เพื่อขออนุมัติ บุคลากร ๑ คน ศฝช.ปัตตาน ี พ.ย.๖๓
ขออนุมัต ิ งบประมาณในการ ศฝช.ปัตตาน ี
ด าเนินโครงการ


๔. ด าเนินงานตาม เพอด าเนินงานตาม เยาวชนนอกระบบ ๘๕ คน พื้นที่ ๕ จังหวัด ต.ค.๖๓ – ๖๐๘,๖๐๐-
ื่
โครงการ โครงการ ชายแดนภาคใต ้ ก.ย ๖๔
๔.๑ จัดการเรียน
การสอน
๔.๒ กิจกรรมพัฒนา
คุณภาพผู้เรียน
๔.๓ ค่าหนังสือ

๕.นิเทศ ตดตามผล เพื่อนิเทศตดตาม บุคลากร ๖ คน พื้นที่ ๕ จังหวัด ต.ค.๖๓ –

การด าเนินงาน และประเมินผล ศฝช.ปัตตาน ี ชายแดนภาคใต ้ ก.ย.๖๔
การด าเนินงาน


๖.สรุปและรายงาน เพื่อสรุปและ บุคลากร ๑ คน ศฝช.ปัตตาน ี ก.ย.๖๔
ผลการด าเนินงาน รายงานผลการ ศฝช.ปัตตาน ี

ด าเนินงาน


๗. วงเงินงบประมาณทั้งโครงการ


แผนงาน : ยุทธศาสตร์สร้างความเสมอภาคทางการศกษา โครงการสนับสนุนคาใชจายในการจด











การศกษาตงแตระดบอนุบาลจนจบการศกษาขั้นพื้นฐาน กิจกรรมจดการศกษานอกระบบระดบการศกษา

ั้
พื้นฐาน (งบอุดหนุน) จ านวน ๖๐๘,๖๐๐ บาท (เงินหกแสนแปดพันหกร้อยบาทถ้วน) โดยรายละเอียด ดังนี้

๗.๑ ค่าจดการเรียนการสอน จ านวน ๔๖๗,๕๐๐ บาท
๗.๒ ค่ากิจกรรมพัฒนาคุณภาพผู้เรียน จ านวน ๙๐,๑๐๐ บาท
๗.๓ ค่าหนังสือเรียน จ านวน ๕๑,๐๐๐ บาท
หมายเหตุ : ทุกรายการขอถัวจ่ายตามทจ่ายจริง
ี่



แผนปฏบัตการประจ าปงบประมาณ พ.ศ.๒๕๖๔ ๒๙

๘. แผนการใช้จ่ายงบประมาณ

กิจกรรมหลัก ไตรมาสที่ 1 ไตรมาสที่ 2 ไตรมาสที่ 3 ไตรมาสที่ 4
(ต.ค.-ธ.ค.๖๓) (ม.ค.-มี.ค.๖๔) (เม.ย.-มิ.ย.๖๔) (ก.ค.-ก.ย.๖๔)
๑. ส ารวจความต้องการ
กลุ่มเป้าหมาย
๒. ประชุมวางแผนการ
ด าเนินงาน
๓. เขียนโครงการเพื่อขอ
อนุมัต ิ
๔. ด าเนินงานตามโครงการ
๔.๑ จัดการเรียนการสอน - ๒๓๓,๗๕๐- ๒๓๓,๗๕๐- -
๔.๒ กิจกรรมพัฒนาคุณภาพ ๔๕,๐๕๐- ๔๕,๐๕๐-
ผู้เรียน ๒๕,๕๐๐- ๒๕,๕๐๐-
๔.๓ ค่าหนังสือ

๕.นิเทศ ตดตามผลการ
ด าเนินงาน
๖.สรุปและรายงานผลการ
ด าเนินงาน



๙. ผู้รับผิดชอบโครงการ

นายมะแอ หามะ ครูประจ ากลุ่ม ปวช.


๑๐. เครือข่าย
๑๐.๑ วิทยาลัยเทคนิคกาญจนาภิเษกปัตตานี จังหวัดปัตตานี

๑๐.๒ โรงเรียนตาดีกาบ้านบันนังกูแว อ าเภอบันนังสตา จังหวัดยะลา


๑๐.๓ โรงเรียนบ้านปันจอ อ าเภอควนโดน จังหวัดสตล

๑๑. โครงการที่เกี่ยวข้อง

๑๑.๑ โครงการการศึกษาต่อเนื่อง

๑๑.๒ โครงการจัดการศึกษาตามอัธยาศัย


๑๒. ผลลัพธ์ (Outcome)
นักศึกษาที่ผ่านหลักสูตรมีความรู้ทักษะอันสามารถน าไปใช้ในการศึกษาต่อและประกอบอาชีพเกิดการ


พัฒนาคุณภาพชีวิตที่ยั่งยืนอยู่ร่วมกับสังคมและชมชนได้อย่างมีความสุข











แผนปฏบัตการประจ าปงบประมาณ พ.ศ.๒๕๖๔ ๓๐

๑๓. ดัชนีตัวชี้วัดผลส าเร็จของโครงการ

๑๓.๑ ตัวชี้วัดผลผลิต
ร้อยละ ๘๐ ของผู้ผ่านหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ


๑๓.๒ ตัวชี้วัดผลลัพธ์
ร้อยละ ๘๐ ของผู้ผ่านหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) มีพฤติกรรมทดีในการท างาน
ี่
การพัฒนาทางสังคมที่ดีงามในการท างาน การอยู่ร่วมกัน และมีความรับผิดชอบต่อครอบครัว


๑๔. การติดตามและการประเมินผล

๑๔.๑ แบบทดสอบ

๑๔.๒ สรุป/รายงานผลทุกภาคเรียน



ลงชื่อ..อนุรักษ์ จินตรา....ผู้ขออนุมัติโครงการ ลงชื่อ...อิบราเหม เด็นมูณี....ผู้เห็นชอบอนุมัติโครงการ

(นายอนุรักษ์ จินตรา) (นายอิบราเหม เด็นมูณี)
ครูอาสาสมัครการศึกษานอกโรงเรียน ครู หัวหน้ากลุ่มงานส่งเสริมปฏิบัติการ





ลงชื่อ....วิลาสินี เดชด านิล......ผู้เห็นชอบอนุมัติโครงการ ลงชื่อ...ณัฐทินี ศรประสิทธ.....ผู้เห็นชอบอนุมัติโครงการ
ิ์
(นางวิลาสินี เดชด านิล) (นางสาวณัฐทินี ศรประสิทธิ์)
ครู หัวหน้ากลุ่มงานยุทธศาสตร์และแผนงาน รองผู้อ านวยการ



ลงชื่อ....วิเชียร โชติช่วง.....ผู้อนุมัติโครงการ
(นายวิเชียร โชตช่วง)

ผู้อ านวยการศูนย์ฝึกและพัฒนาอาชีพราษฎรไทยบริเวณชายแดนปัตตานี





















แผนปฏบัตการประจ าปงบประมาณ พ.ศ.๒๕๖๔ ๓๑

๒. โครงการศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน

แผนงาน : ยุทธศาสตร์เพื่อสนับสนุนด้านการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพทรัพยากรมนุษย์ โครงการ
ขับเคลื่อนการพัฒนาการศึกษาที่ยั่งยืน กิจกรรมส่งเสริมศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน (งบรายจ่ายอื่น)
รหัสงบประมาณ : ๒๐๐๐๒๓๕๐๕๒๗๐๐๐๑๙ รหัสกิจกรรมหลัก : ๒๐๐๐๒๙๔๐๐P๒๗๑๓


โครงการ/กิจกรรม วัตถุประสงค ์ กลุ่ม เป้าหมาย พื้นที่ ตัวชี้วัด ระยะเวลา งบประมาณ
เป้าหมาย (คน) ด าเนินการ (บาท)
โครงการศูนย์ฝึก
อาชีพชุมชน
๑. ชั้นเรียนวิชาชีพ ๑.เพื่อให้ ประชาชน ๖๔๐ คน ๑๙ อ าเภอ ร้อยละ ๘๐ ๑ ต.ค.๖๓ – ๔๔๘,๐๐๐-
(๓๑ ชั่วโมงขึ้นไป) ประชาชน ทั่วไป ๕ จังหวัด ของกลุ่ม ๓๐ ก.ย.๖๔
๒. พัฒนาอาชีพ กลุ่มเป้าหมาย ๗๙๔ คน ชายแดน เป้าหมาย ๗๑๖,๖๐๐-
ระยะสั้น (กลุ่ม มีความรู้และ ภาคใต้ สามารถน า
สนใจ ไม่เกิน ๓๐ ทักษะในด้าน (นราธิวาส ความรู้และ
ชั่วโมง) อาชีพที่มีความ ยะลา ทักษะในด้าน
สอดคล้องตาม ปัตตานี อาชีพที่มี
หลักปรัชญา สงขลา และ ความ
เศรษฐกิจ สตูล) สอดคล้อง
พอเพียงตาม ตามหลัก
บริบทของ ปรัชญา
ชุมชน เศรษฐกิจ
๒.เพื่อให้ พอเพียงตาม
ประชาชน บริบทของ
กลุ่มเป้าหมาย ชุมชนไปใช้
สามารถน า ในการ
ความรู้ที่ได้รับ ประกอบ
ไปใช้ในการ อาชีพ
ประกอบอาชีพ ก่อให้เกิด
และเกิดการ รายได้และ
พัฒนาตนเอง เกิดการ
ได้อย่างยั่งยืน พัฒนาตนเอง
๓.เพื่อให้ ได้อย่างยั่งยืน
ประชาชน
กลุ่มเป้าหมาย
สามารถสร้าง
รายได้ให้กับ
ตนเองและ
ครอบครัว









แผนปฏบัตการประจ าปงบประมาณ พ.ศ.๒๕๖๔ ๓๒

โครงการศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน

๑. ชื่อโครงการ : โครงการศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน


๒. ความสอดคล้องนโยบาย
สอดคล้องกับนโยบายและจุดเน้นการด าเนินงาน ส านักงาน กศน. ประจ าปีงบประมาณ ๒๕๖๔

นโยบายเร่งด่วนเพื่อร่วมขับเคลื่อนยุทธศาสตร์การพัฒนาประเทศ
ยุทธศาสตร์ที่ ๑ ด้านความมั่นคง


ั้

๑.๑ พัฒนาและเสริมสร้างความจงรักภักดตอสถาบันหลกของชาต พร้อมทงน้อมน าและเผยแพร่


ศาสตร์พระราชา หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง รวมถึงแนวพระราชด าริต่างๆ




๑.๔ ยกระดบคณภาพการศกษาและสร้างเสริมโอกาสในการเข้าถึงบริการการศกษา ในเขตพัฒนา
พิเศษเฉพาะกิจจังหวัดชายแดนภาคใต้ และพื้นที่ชายแดนอื่น ๆ
ยุทธศาสตร์ที่ ๒ ด้านการสร้างความสามารถในการแข่งขัน




๒.๑ ยกระดบการจดการศกษาอาชพ กศน. เพื่อพัฒนาทกษะอาชพของประชาชนให้รองรับ


ี่
อุตสาหกรรมเป้าหมายของประเทศ (First S – curve และ New S - curve) โดยเฉพาะในพื้นทเขตระเบียง
เศรษฐกิจ และเขตพัฒนาพิเศษตามภูมิภาคตางๆ ของประเทศ สาหรับพื้นทปกตให้พัฒนาอาชพทเน้นการต่อ
ี่
ี่




ยอดศักยภาพและตามบริบทของพื้นท ี่





๒.๓ พัฒนาและสงเสริมประชาชนเพื่อตอยอดการผลตและจาหน่ายสนคาและผลตภัณฑ์ กศน.


ออนไลน์
ยุทธศาสตร์ที่ ๓ ด้านการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพทรัพยากรมนุษย์


๓.๒ พัฒนาหลกสตรการจดการศกษาอาชพระยะสน ให้มีความหลากหลาย ทนสมัย เหมาะสมกับ



ั้

บริบทของพื้นที่ และตอบสนองความต้อการของประชาชนผู้รับบริการ

ั้


๓.๔ เสริมสร้างความร่วมมือกับภาคเครือข่าย ประสาน สงเสริมความร่วมมือภาคเครือข่ายทงภาครัฐ


ั้


เอกชน ประชาสงคม และองคกรปกครองสวนทองถิ่น ร่วมทงสงเสริมและสนับสนุนการมีสวนร่วมของชมชน



เพื่อสร้างความเขาใจ และให้เกิดความร่วมมือในการส่งเสริม สนับสนุน และจัดการศึกษาและการเรียนรู้ให้กับ

ประชาชนอย่างมีคุณภาพ

๓.๕ พัฒนานวัตกรรมทางการศกษาเพื่อประโยชน์ตอการจดการศกษาและกลมเป้าหมาย เชน จด

ุ่




การศึกษาออนไลน์ กศน. ทั้งในรูปแบบการศึกษาขั้นพื้นฐาน การพัฒนาทักษะชีวิต ทักษะอาชีพ และการศึกษา


ั้

ตามอัธยาศย ร่วมทงสงเสริมการใชเทคโนโลยีในการปฏิบตงาน การบริหารจดการ การจดการเรียนรู้ และใช ้




การวิจัยอย่างง่ายเพื่อสร้างนวัตกรรมใหม่
ภารกิจต่อเนื่อง
ด้านการจัดการศึกษาและการเรียนร ู้
๑.๓ การศึกษาต่อเนื่อง


๑) จดการศกษาอาชพเพื่อการมีงานทาอย่างยั่งยืน โดยให้ความสาคญกับการจดการศกษา






อาชีพ เพื่อการมีงานท าในกลุ่มอาชีพเกษตรกรรม อุตสาหกรรม พาณิชยกรรม คหกรรม และอาชีพเฉพาะทาง
หรือการบริการ รวมถึงการเน้นอาชพชางพื้นฐาน ทสอดคลองกับศกยภาพของผเรียน ความตองการ
ู้


ี่



ี่

ี่


และศกยภาพของแตละพื้นท มีคณภาพไดมาตรฐานเป็นทยอมรับ สอดรับกับความตองการของตลาดแรงงาน






และการพัฒนาประเทศ ตลอดจนสร้างความเข้มแข็งให้กับศนย์ฝกอาชพชมชน โดยจดให้มีหนึ่งอาชพเดน






แผนปฏบัตการประจ าปงบประมาณ พ.ศ.๒๕๖๔ ๓๓

ั้





รวมทงให้มีการก ากับ ตดตาม และรายงานผลการจดการศกษาอาชพเพื่อการมีงานทาอย่างเป็นระบบและ
ต่อเนื่อง
สอดคล้องกับมาตรฐานการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยของสถานศึกษา
มาตรฐานการศึกษาต่อเนื่อง
มาตรฐานที่ ๑ คุณภาพผู้เรียนการศึกษาต่อเนื่อง

ประเดนพิจารณา ๑.๑ ผเรียนการศกษาตอเนื่องมีความรู้ ความสามารถ และหรือทกษะ และหรือ
ู้



คุณธรรมเป็นไปตามเกณฑ์การจบหลักสูตร

ี่
ู้
ประเดนพิจารณา ๑.๒ ผเรียนการศกษาตอเนื่องสามารถน าความรู้ทไดรับไปประยุกตใชบนฐาน





ค่านิยมร่วมของสังคม


ี่

ู้


ประเดนพิจารณา ๑.๓ ผจบการศกษาหลกสตรการศกษาตอเนื่องทน าความรู้ไปใชจนเห็นเป็นท ี่


ประจักษ์หรือตัวอย่างที่ด ี
มาตรฐานที่ ๒ คุณภาพการจัดการเรียนรู้การศึกษาต่อเนื่อง
ประเด็นพิจารณา ๒.๑ หลักสูตรการศึกษาต่อเนื่องมีคุณภาพ
ประเด็นพิจารณา ๒.๒ วิทยากรการศึกษาต่อเนื่อง มีความรู้ ความสามารถ หรือประสบการณ์ตรงตาม
หลักสูตรการศึกษาต่อเนื่อง
ประเด็นพิจารณา ๒.๓ สื่อที่เอื้อต่อการเรียนรู้
ประเด็นพิจารณา ๒.๔ การวัดและประเมินผลผู้เรียนการศึกษาต่อเนื่อง
ประเด็นพิจารณา ๒.๕ การจัดกระบวนการเรียนรู้การศึกษาต่อเนื่องอย่างมีคุณภาพ
มาตรฐานที่ ๓ คุณภาพการบริหารจัดการของสถานศึกษา
ประเด็นพิจารณา ๓.๑ การบริหารจัดการของสถานศึกษาที่เน้นการมีส่วนร่วม
ประเด็นพิจารณา ๓.๒ ระบบประกันคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษา
ประเด็นพิจารณา ๓.๔ การใช้เทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อสนับสนุนการบริการจัดการ
ประเด็นพิจารณา ๓.๕ การก ากับ นิเทศ ติดตาม ประเมินผลการด าเนินงานของสถานศึกษา
ประเด็นพิจารณา ๓.๗ การส่งเสริม สนับสนุนภาคีเครือข่ายให้มีส่วนร่วมในการจัดการศึกษา
ประเด็นพิจารณา ๓.๘ การส่งเสริม สนับสนุนสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้

๓.หลักการและเหตุผล





สานักงานสงเสริมการศกษานอกระบบและการศกษาตามอัธยาศย ไดก าหนดนโยบายและจดเน้น









การดาเนินงานประจาปีงบประมาณ ๒๕๖๔ โดยก าหนดวิสยทศน์ว่า “คนไทยไดรับโอกาสการศกษาและการ
เรียนรู้ตลอดชวิตอย่างมีคณภาพ สามารถดารงชวิตทเหมาะสมกับชวงวัย สอดคลองกับหลกปรัชญาของ
ี่










ี่

ี่

เศรษฐกิจพอเพียง และมีทกษะทจาเป็นในโลกศตวรรษท ๒๑ ” สอดคลองกับพันธกิจ ข้อ๑. จดและสงเสริม


การศกษานอกระบบและการศกษาตามอัธยาศยทมีคณภาพ สอดคลองกับหลกปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง


ี่





เพื่อยกระดบการศกษา พัฒนาทกษะการเรียนรู้ของประชาชนทกกลมเป้าหมายให้เหมาะสมทกชวงวัย พร้อม


ุ่

ี่

รับการเปลยนแปลงบริบททางสงคม และก้าวสการเป็นสงคมแห่งการเรียนรู้ตลอดชวิตอย่างยั่งยืน ข้อ ๒.

ู่





สงเสริม สนับสนุน แสวงหา และประสานความร่วมมือเชงรุกกับภาคเครือข่าย ให้เข้ามามีสวนร่วมในการ


สนับสนุนและจดการศกษานอกระบบและการศกษาตามอัธยาศยและการเรียนรู้ตลอดชวิตในรูปแบบตางๆ







ู้
ให้กับประชาชน ข้อ๓. และสอดคลองกับเป้าประสงค ข้อ ๑. ประชาชนผดอย พลาด และขาดโอกาสทาง



แผนปฏบัตการประจ าปงบประมาณ พ.ศ.๒๕๖๔ ๓๔

การศึกษา รวมทั้งประชาชนทั่วไปได้รับโอกาสทางการศึกษาในรูปแบบการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้น




ี่
ั่




พื้นฐาน การศกษาตอเนื่อง และการศกษาตามอัธยาศย ทมีคณภาพอย่างเทาเทยมและทวถึง เป็นไปตาม

สภาพ ปัญหา และความต้องการของแต่ละกลุ่มเปาหมาย






ปัจจบันการจดการศกษาเพื่อพัฒนาอาชพมีความสาคญ เนื่องจากเป็นการสงเสริม สนับสนุนให้


ุ่


ประชาชนกลมเป้าหมายมีความรู้ความเข้าใจ และทกษะในการประกอบอาชพ เห็นชองทางในการประกอบ





อาชพ คดเป็น แก้ปัญหาเป็น สามารถน าความรู้และทกษะทไดรับเพื่อพัฒนาคณภาพชวิตความเป็นอยู่ของ

ี่
ตนเองและชุมชนให้ดียิ่งขึ้น ซึ่งเป็นกลไกที่ส าคัญในการพัฒนาระบบเศรษฐกิจของชุมชนให้เข้มแข็ง ที่จะน าไปส ู่
การพัฒนากระบวนการเรียนรู้ การสร้างงาน การเพิ่มรายได้ของชุมชน


ศนย์ฝกและพัฒนาอาชพราษฎรไทยบริเวณชายแดนปัตตานี มีอ านาจและหน้าท (๑) จดการศกษา
ี่




และฝึกอบรมด้านอาชีพให้สอดคลองกับสภาพปัญหา ความจ าเป็น ความต้องการของประชาชนบริเวชายแดน



โดยมุ่งเน้นให้เกิดการสร้างอาชพ สร้างรายได้ เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตที่ดขึ้น จึงได้ด าเนินการจดโครงการศนย์

ฝึกอาชีพชุมชน ประจ าปีงบประมาณ ๒๕๖๔ ในพื้นทรับผิดชอบ ๕ จังหวัดชายแดนภาคใต้ขึ้น
ี่

๔. วัตถุประสงค์



ี่
๔.๑ เพื่อให้ประชาชนกลมเป้าหมายมีความรู้ความเข้าใจ และทกษะดานอาชพทมีความสอดคลอง

ุ่
กับสภาพปัญหาความต้องการตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง


ี่


ุ่
๔.๒ เพื่อให้ประชาชนกลมเป้าหมายสามารถน าความรู้ และทกษะทไดรับไปประยุกตใชในการ
ประกอบอาชีพ
๔.๓ เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเป้าหมายสามารถสร้างรายได้ให้กับตนเองและครอบครัว
๕. เป้าหมาย
๕.๑ เชิงปริมาณ
ประชาชนในพื้นที่ ๕ จังหวัดชายแดนภาคใต้ จ านวน ๑,๔๓๔ คน
๕.๒ เชิงคุณภาพ

ผเข้าร่วมโครงการสามารถน าความรู้ และทกษะดานอาชพทไดรับไปใชประยุกตใชในการ





ู้
ี่

ประกอบอาชีพ สร้างรายได้ให้กับตนเองและครอบครัว











แผนปฏบัตการประจ าปงบประมาณ พ.ศ.๒๕๖๔ ๓๕

๖.วิธีด าเนินการ


กิจกรรมหลัก วัตถุประสงค ์ กลุ่มเป้าหมาย เป้าหมาย พื้นที่ด าเนินการ ระยะเวลา งบประมาณ


๑. ส ารวจความต้อง เพื่อส ารวจความ ประชาชนในพื้นที่ ๕ ๑,๔๓๔ พื้นที่ ๕ จังหวัด ต.ค. ๖๓
กากลุ่มเป้าหมาย ต้องการของ จังหวัดชายแดน คน ชายแดนภาคใต ้
กลุ่มเป้าหมาย ภาคใต ้




๒. ประชุมวางแผน เพื่อประชุมวาง บุคลากร ๑๙ คน ศฝช.ปัตตาน ี พ.ย..๖๓
การด าเนินงาน แผนการ ศฝช.ปัตตาน ี

ด าเนินงาน


๓. เขียนโครงการเพื่อ เพื่อขออนุมัติ บุคลากร ๑ คน ศฝช.ปัตตาน ี พ.ย.๖๓
ขออนุมัต ิ งบประมาณในการ ศฝช.ปัตตาน ี

ด าเนินโครงการ

๔. ด าเนินงานตาม เพื่อด าเนินงานตาม ประชาชนพื้นที่ ๕ พื้นที่ ๕ จังหวัด ต.ค.๖๓ –
โครงการ โครงการ จังหวัดชายแดน ชายแดนภาคใต ้ ก.ย ๖๔
๔.๑ ชั้นเรียนวิชาชีพ ภาคใต ้ ๗๙๔ คน ๗๑๖,๖๐๐-
(๓๑ ชั่วโมงขึ้นไป)
๔.๒วิชาชีพระยะสั้น ๖๔๐ คน ๔๔๘,๐๐๐-
(กลุ่มสนใจ ไม่เกิน
๓๐ ชั่วโมง)


๕.นิเทศ ตดตามผล เพื่อนิเทศตดตาม บุคลากร ๖ คน พื้นที่ ๕ จังหวัด ต.ค.๖๓ –
การด าเนินงาน และประเมินผล ศฝช.ปัตตาน ี ชายแดนภาคใต ้ ก.ย.๖๔
การด าเนินงาน

๖.สรุปและรายงาน เพื่อสรุปและ บุคลากร ๑ คน ศฝช.ปัตตาน ี ก.ย.๖๔
ผลการด าเนินงาน รายงานผลการ ศฝช.ปัตตาน ี

ด าเนินงาน



๗.วงเงินงบประมาณทั้งโครงการ

แผนงาน : ยุทธศาสตร์เพื่อสนับสนุนด้านการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพทรัพยากรมนุษย์
โครงการขับเคลื่อนการพัฒนาการศึกษาที่ยั่งยืน กิจกรรมส่งเสริมศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน (งบรายจ่ายอื่น) จ านวน

๑,๑๖๔,๖๐๐ บาท (เงินหนึ่งล้านหนึ่งแสนหกหมื่นนสี่พันหกร้อยบาทถ้วน) โดยมีรายละเอียดดังนี้



๗.๑ ค่าตอบแทนวิทยากร และคาวัสด รูปแบบชั้นเรียนวิชาชีพ (๓๑ ชั่วโมงขึ้นไป)
เป็นเงิน ๗๑๖,๖๐๐บาท






แผนปฏบัตการประจ าปงบประมาณ พ.ศ.๒๕๖๔ ๓๖



๗.๒ ค่าตอบแทนวิทยากร และคาวัสด รูปแบบวิชาชีพระยะสั้น (กลุ่มสนใจ ไม่เกิน ๓๐ ชั่วโมง)
เป็นเงิน ๔๔๘,๐๐๐บาท
รวมเป็นเงิน ๑,๑๖๔,๖๐๐ บาท

หมายเหต : ทุกรายการขอถัวจ่ายตามที่จ่ายจริง


๘. แผนการใช้จ่ายงบประมาณ


กิจกรรมหลัก ไตรมาสที่ 1 ไตรมาสที่ 2 ไตรมาสที่ 3 ไตรมาสที่ 4
(ต.ค.-ธ.ค.๖๓) (ม.ค.-มี.ค.๖๔) (เม.ย.-มิ.ย.๖๔) (ก.ค.-ก.ย.๖๔)
๑. ส ารวจความต้องการ
กลุ่มเป้าหมาย
๒. ประชุมวางแผนการ
ด าเนินงาน
๓. เขียนโครงการเพื่อขอ
อนุมัต ิ
๔. ด าเนินงานตามโครงการ
๔.๑ รูปแบบชั้นเรียน - ๓๕๗,๓๐๐- ๓๕๗,๓๐๐- -
วิชาชีพ (๓๑ ชั่วโมงขึ้นไป)
๔.๒ รูปแบบวิชาชีพระยะ ๒๒๔,๐๐๐- ๒๒๔,๐๐๐-
สั้น (กลุ่มสนใจ ไม่เกิน ๓๐
ชั่วโมง)

๕.นิเทศ ตดตามผลการ
ด าเนินงาน
๖.สรุปและรายงานผลการ
ด าเนินงาน

๙. ผู้รับผิดชอบโครงการ

นายอนุรักษ์ จินตรา ครูอาสาสมัครการศึกษานอกโรงเรียน

๑๐. เครือข่ายที่เกี่ยวข้อง
๑๐.๑ สถานีพัฒนาที่ดิน ในพื้นที่ ๕ จังหวัดชายแดนใต ้

๑๐.๒ ส านักงานเกษตรอ าเภอ ในพื้นที่ ๕ จังหวัดชายแดนใต ้
๑๐.๓ ส านักงานปศุสัตว์อ าเภอในพื้นที่ ๕ จังหวัดชายแดนใต ้

๑๐.๔ องค์การบริหารส่วนต าบล ในพื้นที่ ๕ จังหวัดชายแดนใต ้


๑๑. โครงการที่เกี่ยวข้อง

๑๑.๑ โครงการจัดการศึกษาต่อเนื่อง
๑๑.๒ โครงการพัฒนาคุณภาพการศึกษา

๑๑.๓ โครงการจัดการศึกษาตามอัธยาศัย






แผนปฏบัตการประจ าปงบประมาณ พ.ศ.๒๕๖๔ ๓๗


๑๑.๔ โครงการน้อมน าหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงเพื่อพัฒนาศักยภาพประชาชนชายแดนใตส ู่
การพัฒนาที่ยั่งยืน

๑๒. ผลลัพธ์ (Outcome)






ู้
ี่

ผเข้าร่วมโครงการสามารถน าความรู้ และทกษะดานอาชพทไดรับไปใชประยุกตใชในการประกอบ
อาชีพ ลดรายจ่าย สร้างรายได้ให้กับตนเองและครอบครัว
๑๓. ดัชนีตัวชี้วัดผลส าเร็จของโครงการ
๑๓.๑ ตัวชี้วัดผลผลิต
ร้อยละ ๘๐ ของกลุ่มเป้าหมายเข้าร่วมโครงการศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน
๑๓.๒ ตัวชี้วัดผลลัพธ์



ู้

ี่
ร้อยละ ๘๐ ผเข้าร่วมโครงการมีความรู้ความเข้าใจ และทกษะดานอาชพทมีความสอดคลองกับ



สภาพปัญหาความตองการตามหลกปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และสามารถสร้างรายไดให้กับตนเองและ
ครอบครัว

๑๔. การติดตามและการประเมินผล
๑๔.๑ แบบทดสอบ
๑๔.๒ แบบประเมินความพึงพอใจ
๑๔.๓ รายงานผลการด าเนินงานโครงการ





ลงชื่อ..อนุรักษ์ จินตรา....ผู้ขออนุมัติโครงการ ลงชื่อ...อิบราเหม เด็นมูณี....ผู้เห็นชอบอนุมัติโครงการ

(นายอนุรักษ์ จินตรา) (นายอิบราเหม เด็นมูณี)
ครูอาสาสมัครการศึกษานอกโรงเรียน ครู หัวหน้ากลมงานส่งเสริมปฏิบัติการ
ุ่





ลงชื่อ....วิลาสินี เดชด านิล......ผู้เห็นชอบอนุมัติโครงการ ลงชื่อ...ณัฐทินี ศรประสิทธ.....ผู้เห็นชอบอนุมัติโครงการ
ิ์
(นางวิลาสินี เดชด านิล) (นางสาวณัฐทินี ศรประสิทธิ์)
ครู หัวหน้ากลุ่มงานยุทธศาสตร์และแผนงาน รองผู้อ านวยการ





ลงชื่อ....วิเชียร โชติช่วง.....ผู้อนุมัติโครงการ


(นายวิเชียร โชตช่วง)
ผู้อ านวยการศูนย์ฝึกและพัฒนาอาชีพราษฎรไทยบริเวณชายแดนปัตตานี






แผนปฏบัตการประจ าปงบประมาณ พ.ศ.๒๕๖๔ ๓๘

๓. โครงการการจัดการศึกษาต่อเนื่อง


ู้
ี่


แผนงาน : พื้นฐานดานการพัฒนาและเสริมสร้างศกยภาพทรัพยากรมนุษย์ ผลผลตท ๔ ผรับบริการ
การศึกษานอกระบบ กิจกรรมการจัดการศึกษานอกระบบ (งบด าเนินงาน)
รหัสงบประมาณ : ๒๐๐๐๒๓๖๐๐๔๐๐๐๐๐๐ รหัสกิจกรรมหลัก : ๒๐๐๐๒๙๔๐๐P๒๗๓๐

โครงการ/กิจกรรม วัตถุประสงค ์ กลุ่ม เป้าหมาย พื้นที่ ตัวชี้วัด ระยะเวลา งบประมาณ
เป้าหมาย (คน) ด าเนินการ (บาท)
๑.โครงการจัด เพื่อให้ ประชาชน ๑,๓๐๔ ๑๙ อ าเภอ ร้อยละ ๘๐ ๑ ต.ค.๖๓ – ๑๔๙,๙๖๐-
การศึกษาเพื่อ กลุ่มเป้าหมาย ทั่วไป คน ๕ จังหวัด ของผู้เข้าร่วม ๓๐ ก.ย.๖๔
พัฒนาทักษะชีวิต มีทักษะในการ ชายแดน โครงการมี
ด าเนินชีวิตของ ภาคใต้ คุณภาพชีวิต
ตนเอง (นราธิวาส ที่ดีขึ้น และ
ครอบครัว ยะลา สามารถอย ู่
ชุมชน สังคม ปัตตานี ร่วมกับผู้อื่น
สามารถร่วมได ้ สงขลา และ ในชุมชน

อย่างมีความสุข สตูล) สังคมไดอย่าง
มีความสุข
๒.โครงการจัด เพื่อให้กลุ่ม ประชาชน ๒๖๖ คน ๑๙ อ าเภอ ร้อยละ ๘๐ ๑ ต.ค.๖๓ – ๑๐๖,๔๐๐-
การศึกษาเพื่อ เป้าหมายมี ทั่วไป ๕ จังหวัด ของผู้เข้าร่วม ๓๐ ก.ย.๖๔
พัฒนาสังคมและ ความรู้ ความ ชายแดน มีความรู้
ชุมชน เข้าใจ ภาคใต้ ความเข้าใจ
ตระหนักถึง (นราธิวาส ตระหนักถึง
ความร่วมมือ ยะลา ความร่วมมือ
เกิดความ ปัตตานี เกิดความ
รับผิดชอบและ สงขลา และ รับผิดชอบ
เล็งเห็นความ สตูล) และเล็งเห็น
ส าคัญของการ ความส าคัญ
อยู่ร่วมใน ของการอย ู่
ชุมชน สังคมได ้ ร่วมในชุมชน
อย่างมีความสุข สังคมได้อย่าง
มีความสุข
๓.โครงการจัดการ เพื่อให้กลุ่ม ประชาชน ๔๔๔ คน ๑๙ อ าเภอ ร้อยละ ๘๐ ๑ ต.ค.๖๓ – ๑๗๗,๖๐๐-
เรียนรู้ตามหลัก เป้าหมายมี ทั่วไป ๕ จังหวัด ของผู้เข้าร่วม ๓๐ ก.ย.๖๔
ปรัชญาของ ความรู้ความ ชายแดน สามารถน า
เศรษฐกิจพอเพียง เข้าใจ และเกิด ภาคใต้ ความรู้ที่
ทักษะในการ (นราธิวาส ได้รับไป
ด าเนินชีวิตตาม ยะลา ประยุกต์ใช้

หลักปรัชญา ปัตตานี ในการด าเนน
ของเศรษฐกิจ สงขลา และ ชีวิตตามหลัก
พอเพียง สตูล) ปรัชญาของ
เศรษฐกิจ
พอเพียง




แผนปฏบัตการประจ าปงบประมาณ พ.ศ.๒๕๖๔ ๓๙

โครงการ/กิจกรรม วัตถุประสงค ์ กลุ่ม เป้าหม พื้นที่ ตัวชี้วัด ระยะเวลา งบประมาณ
เป้าหมาย าย ด าเนินการ (บาท)
(คน)

๔.โครงการพัฒนา เพื่อส่งเสริม บุคลากร ๑๙ คน ศฝช.ปัตตาน ร้อยละ ๘๐ ๑ ต.ค.๖๓ – ๖๐๐,๐๐๐-
คุณภาพการศึกษา สนับสนุน และ ศฝช.ปัตตาน ี ของกลุ่ม ๓๐ ก.ย.๖๔
พัฒนาการจัด เป้าหมาย
การศึกษานอก ได้รับส่งเสริม
ระบบและ สนับสนุน
การศึกษาตาม และพัฒนา
อัธยาศัยของครู การจัดการ
และบุคลากร ศึกษานอก
ทางการศึกษา ระบบและ
ของ ศฝช. การศึกษา
ปัตตานี ให้เกิด ตามอัธยาศัย
ประสิทธิภาพ ให้เกิด
ประสิทธิภาพ




































แผนปฏบัตการประจ าปงบประมาณ พ.ศ.๒๕๖๔ ๔๐

โครงการการจดการศกษาเพื่อพัฒนาทักษะชีวิต


๑.ชื่อโครงการ : โครงการการจัดการศึกษาเพื่อพัฒนาทักษะชีวิต

๒. ความสอดคล้องกับนโยบาย

สอดคล้องกับนโยบายและจุดเน้นการด าเนินงาน ส านักงาน กศน. ประจ าปีงบประมาณ ๒๕๖๔
นโยบายเร่งด่วนเพื่อร่วมขับเคลื่อนยุทธศาสตร์การพัฒนาประเทศ
ข้อ ๑ ยุทธศาสตร์ด้านความมั่นคง

๑.๒ เสริมสร้างความรู้ความเข้าใจ และการมีส่วนร่วมถูกต้องกับการปกครองระบอบประชาธิปไตย
มีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข ในบริบทของไทย มีความเป็นพลเมืองดี ยอมรับและเคารพความหลากหลาย
ทางความคิดและอุดมการณ ์


๑.๓ ส่งเสริมและสนับสนุนการจดการศึกษาเพื่อป้องกันและแก้ไขปัญหาภัยคกคามในรูปแบบใหม่
ทั้งยาเสพติด การค้ามนุษย์ ภัยจากไซเบอร์ ภัยพิบัติจากธรรมชาติ โรคอุบัติใหม่ ฯลฯ
ข้อ ๓ ยุทธศาสตร์ด้านการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพทรัพยากรมนุษย์
๓.๓ สงเสริมการจดการเรียนรู้ททนสมัยและมีประสทธิภาพ เอื้อตอการเรียนรู้สาหรับทกคน
ี่







สามารถได้เรียนรู้ได้ทุกที่ทุกเวลา มีกิจกรรมที่หลากหลาย น่าสนใจ สนองตอบความต้องการของชุมชน

๓.๔ เสริมสร้างความร่วมมือกับภาคเครือข่าย ประสาน สงเสริมความร่วมมือภาคเครือข่าย ทง
ั้


ภาครัฐ เอกชน ประชาสังคม และองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น รวมทั้งส่งเสริมและสนับสนุนการมีส่วนร่วมของ
ชุมชนเพื่อสร้างความเข้าใจ และให้เกิดความร่วมมือในการส่งเสริม สนับสนุน และจัดการศึกษาและการเรียนรู้
ให้กับประชาชนอย่างมีคุณภาพ
ยุทธศาสตร์ที่ ๓ ด้านการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพทรัพยากรมนุษย์

ั้



๓.๒ พัฒนาหลกสตรการจดการศกษาอาชพระยะสน ให้มีความหลากหลาย ทนสมัย เหมาะสมกับ


บริบทของพื้นที่ และตอบสนองความต้อการของประชาชนผู้รับบริการ
๓.๔ เสริมสร้างความร่วมมือกับภาคเครือข่าย ประสาน สงเสริมความร่วมมือภาคเครือข่ายทงภาครัฐ

ั้




ั้




เอกชน ประชาสงคม และองคกรปกครองสวนทองถิ่น ร่วมทงสงเสริมและสนับสนุนการมีสวนร่วมของชมชน

เพื่อสร้างความเขาใจ และให้เกิดความร่วมมือในการส่งเสริม สนับสนุน และจัดการศึกษาและการเรียนรู้ให้กับ

ประชาชนอย่างมีคุณภาพ
ภารกิจต่อเนื่อง
ด้านการจัดการศึกษาและการเรียนร ู้
๑.๓ การศึกษาต่อเนื่อง


ุ่



๒) จดการศกษาเพื่อพัฒนาทกษะชวิตให้กับทกกลมเป้าหมาย โดยเฉพาะคนพิการ ผสงอายุท ี่
ู้






สอดคล้องความต้องการจาเป็นของแตละบุคคลและมุ่งเน้นให้ทุกกลุ่มเปาหมายมีทกษะการดารงชีวิตตลอดจน
สามารถประกอบอาชพพึ่งพาตนเองได มีความรู้ความสามารถในการบริหารจดการชวิตของตนเองให้อยู่ใน






ี่
สังคมได้อย่างมีความสุข สามารถเผชิญสถานการณ์ตางๆทเกิดขึ้นในชีวิตประจ าวันได้อย่างมีประสทธิภาพ และ
เตรียมพร้อมส าหรับการปรับตัวให้ทันตอการเปลี่ยนแปลงของข่าวสารข้อมูลและเทคโนโลยี ในอนาคต โดยจด





ี่





กิจกรรมทมีเนื้อหาสาคญตางๆ เชน สขภาพกายและจต การป้องกันภัยยาเสพตด เพศศกษา คณธรรมและ


ค่านิยมที่พึ่งประสงค์ ความปลอดภยในชวิตและทรัพย์สิน ผ่านการศึกษารูปแบบตางๆ อาทิ ค่ายพัฒนาทกษะ



ชีวิตการจัดตั้งชมรม/ชุมชน การส่งเสริมความสามารถพิเศษต่างๆ




แผนปฏบัตการประจ าปงบประมาณ พ.ศ.๒๕๖๔ ๔๑


สอดคล้องกับมาตรฐานการศกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยของสถานศึกษา
มาตรฐานการศึกษาต่อเนื่อง
มาตรฐานที่ ๑ คุณภาพผู้เรียนการศึกษาต่อเนื่อง
ประเดนพิจารณา ๑.๑ ผเรียนการศกษาตอเนื่องมีความรู้ ความสามารถ และหรือทกษะ และหรือ



ู้

คุณธรรมเป็นไปตามเกณฑ์การจบหลักสูตร

ประเดนพิจารณา ๑.๒ ผเรียนการศกษาตอเนื่องสามารถน าความรู้ทไดรับไปประยุกตใชบนฐาน
ู้


ี่



ค่านิยมร่วมของสังคม



ู้


ี่


ประเดนพิจารณา ๑.๓ ผจบการศกษาหลกสตรการศกษาตอเนื่องทน าความรู้ไปใชจนเห็นเป็นท ี่
ประจักษ์หรือตัวอย่างที่ด ี
มาตรฐานที่ ๒ คุณภาพการจัดการเรียนรู้การศึกษาต่อเนื่อง
ประเด็นพิจารณา ๒.๑ หลักสูตรการศึกษาต่อเนื่องมีคุณภาพ
ประเด็นพิจารณา ๒.๒ วิทยากรการศึกษาต่อเนื่อง มีความรู้ ความสามารถ หรือประสบการณ์ตรงตาม
หลักสูตรการศึกษาต่อเนื่อง
ประเด็นพิจารณา ๒.๓ สื่อที่เอื้อต่อการเรียนรู้
ประเด็นพิจารณา ๒.๔ การวัดและประเมินผลผู้เรียนการศึกษาต่อเนื่อง
ประเด็นพิจารณา ๒.๕ การจัดกระบวนการเรียนรู้การศึกษาต่อเนื่องอย่างมีคุณภาพ
มาตรฐานที่ ๓ คุณภาพการบริหารจัดการของสถานศึกษา
ประเด็นพิจารณา ๓.๑ การบริหารจัดการของสถานศึกษาที่เน้นการมีส่วนร่วม

ประเด็นพิจารณา ๓.๒ ระบบประกันคุณภาพการศึกษาของสถานศกษา
ประเด็นพิจารณา ๓.๔ การใช้เทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อสนับสนุนการบริการจัดการ
ประเด็นพิจารณา ๓.๕ การก ากับ นิเทศ ติดตาม ประเมินผลการด าเนินงานของสถานศึกษา
ประเด็นพิจารณา ๓.๗ การส่งเสริม สนับสนุนภาคีเครือข่ายให้มีส่วนร่วมในการจัดการศึกษา
ประเด็นพิจารณา ๓.๘ การสงเสริม สนับสนุนสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้


๓. หลักการและเหตุผล





ทกษะชวิตเป็นทกษะที่มีความจาเป็นยิ่งสาหรับการดารงชวิตในสงคมทซับซ้อน และเป็นทกษะทช่วย

ี่



ี่


ี่
ให้บุคคลสามารถปรับตนเองในขณะทมีการเปลยนแปลงเกิดขึ้นไดอย่างมีประสทธิผลตลอดจนชวยเสริมสร้าง
ี่


การด าเนินชีวิตให้มีความสมบูรณ์มากยิ่งขึ้น เป็นทักษะที่ช่วยสนับสนุนรวมถึงลดประเด็นปัญหาที่เข้ามาคกคาม





ชีวิตของแตละบุคคล ซึ่งมีความสอดคลองกับนโยบายและจุดเน้นการดาเนินงานของสานักงาน กศน. ข้อ ๑.๓

การศึกษาต่อเนื่อง ๒) จัดการศึกษาเพื่อพัฒนาทักษะชีวิตให้กับทุกกลุ่มเปาหมาย โดยเฉพาะคนพิการ ผู้สูงอายุ
ุ่


ี่





ทสอดคลองความตองการจาเป็นของแตละบุคคลและมุ่งเน้นให้ทกกลมเป้าหมายมีทกษะการดารงชวิต


ตลอดจนสามารถประกอบอาชีพพึ่งพาตนเองได้ มีความรู้ความสามารถในการบริหารจดการชีวิตของตนเองให้
อยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุข สามารถเผชิญสถานการณ์ต่างๆที่เกิดขึ้นในชีวิตประจ าวันได้อย่างมีประสิทธิภาพ
และเตรียมพร้อมส าหรับการปรับตัวให้ทันต่อการเปลี่ยนแปลงของข่าวสารข้อมูลและเทคโนโลยี ในอนาคต โดย
จัดกิจกรรมที่มีเนื้อหาสาคัญตางๆ เช่น สุขภาพกายและจิต การป้องกันภัยยาเสพตด เพศศึกษา คุณธรรมและ



ค่านิยมที่พึ่งประสงค์ ความปลอดภยในชวิตและทรัพย์สิน ผ่านการศึกษารูปแบบตางๆ อาทิ ค่ายพัฒนาทกษะ




ชีวิตการจัดตั้งชมรม/ชุมชน การส่งเสริมความสามารถพิเศษต่างๆ



แผนปฏบัตการประจ าปงบประมาณ พ.ศ.๒๕๖๔ ๔๒




ศนย์ฝกและพัฒนาอาชพราษฎรไทยบริเวณชายแดนปัตตานี ไดเลงเห็นความสาคญดงกลาว จง








ด าเนินการจัดโครงการการจัดการศึกษาเพื่อพัฒนาทักษะชีวิต โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อให้กลมเปาหมายมีความรู้
ุ่


ความเข้าใจ และเกิดทักษะในการด ารงชีวิตอยู่ในสังคมไดอย่างมีความสข และสามารถเผชิญสถานการณตางๆ


ที่เกิดขึ้นในชีวิตประจ าวันได้อย่างมีประสิทธิภาพ

๔. วัตถุประสงค์
เพื่อให้กลมเป้าหมายมีความรู้ความเข้าใจ และเกิดทกษะในการดารงชวิตอยู่ในสงคมไดอย่างมี



ุ่


ความสุข และสามารถเผชิญสถานการณ์ต่างๆ ที่เกิดขึ้นในชีวิตประจ าวันได้อย่างมีประสิทธิภาพ

๕. เป้าหมาย
๕.๑ เชิงปริมาณ
ประชาชนในพื้นที่ ๕ จังหวัดชายแดนภาคใต้ จ านวน ๑,๓๐๔ คน
๕.๒ เชิงคุณภาพ

ุ่
กลมเป้าหมายมีความรู้ความเข้าใจ และเกิดทกษะในการดารงชวิตอยู่ในสงคมไดอย่างมี




ความสุข และสามารถเผชิญสถานการณ์ต่างๆ ที่เกิดขึ้นในชีวิตประจ าวันได้อย่างมีประสิทธิภาพ

๖. วิธีการด าเนินการ

กิจกรรมหลัก วัตถุประสงค์ กลุ่มเป้าหมาย เป้าหมาย พื้นที่ด าเนินการ ระยะเวลา งบประมาณ
๑. ส ารวจความต้องกา เพื่อส ารวจความ ประชาชนในพื้นที่ ๕ ๑,๓๐๔ คน พื้นที่ ๕ จังหวัด ต.ค. ๖๓
กลุ่มเป้าหมาย ต้องการของ จังหวัดชายแดนภาคใต ้ ชายแดนภาคใต ้
กลุ่มเป้าหมาย
๒. ประชุมวางแผนการ เพื่อประชุมวาง บุคลากร ศฝช.ปัตตาน ี ๑๙ คน ศฝช.ปัตตาน ี พ.ย..๖๓
ด าเนินงาน แผนการด าเนินงาน

๓. เขียนโครงการเพื่อ เพื่อขออนุมัต ิ บุคลากร ศฝช.ปัตตาน ี ๑ คน ศฝช.ปัตตาน ี พ.ย.๖๓
ขออนุมัต ิ งบประมาณในการ
ด าเนินโครงการ


๔. ด าเนินงานตาม เพื่อด าเนินงานตาม ประชาชนพื้นที่ ๕ ๑,๓๐๔ คน พื้นที่ ๕ จังหวัด ต.ค.๖๓ – ๑๔๙,๙๖๐-
โครงการ โครงการ จังหวัดชายแดนภาคใต ้ ชายแดนภาคใต ้ ก.ย.๖๔


๕.นิเทศ ติดตามผล เพื่อนิเทศ ติดตาม บุคลากร ศฝช.ปัตตาน ี ๖ คน พื้นที่ ๕ จังหวัด ต.ค.๖๓ –
การด าเนินงาน และประเมินผลการ ชายแดนภาคใต ้ ก.ย.๖๔
ด าเนินงาน


๖.สรุปและรายงานผล เพื่อสรุปและ บุคลากร ศฝช.ปัตตาน ี ๑ คน ศฝช.ปัตตาน ี ก.ย.๖๔
การด าเนินงาน รายงานผลการ
ด าเนินงาน






แผนปฏบัตการประจ าปงบประมาณ พ.ศ.๒๕๖๔ ๔๓

๗. วงเงินงบประมาณโครงการ


ี่
ู้

แผนงาน : พื้นฐานดานการพัฒนาและเสริมสร้างศกยภาพทรัพยากรมนุษย์ ผลผลตท 4 ผรับบริการ
การศึกษานอกระบบ กิจกรรมจัดการศึกษานอกระบบ (งบด าเนินงาน) เป็นเงิน ๑๔๙,๙๖๐บาท (เงินหนึ่งแสน
สี่หมื่นเก้าพันเก้าร้อยหกสิบบาทถ้วน) โดยมีรายละเอียดดังนี้
๗.๑ ค่าตอบแทนวิทยากร ค่าใช้สอย และค่าวัสด เป็นเงิน ๑๔๙,๙๖๐ บาท

รวมเป็นเงิน ๑๔๙,๙๖๐ บาท
หมายเหตุ : ทุกรายการขอถัวจ่ายตามทจ่ายจริง
ี่

๘. แผนการใช้จ่ายงบประมาณ

กิจกรรมหลัก ไตรมาสที่ 1 ไตรมาสที่ 2 ไตรมาสที่ 3 ไตรมาสที่ 4
(ต.ค.-ธ.ค.๖๓) (ม.ค.-มี.ค.๖๔) (เม.ย.-มิ.ย.๖๔) (ก.ค.-ก.ย.๖๔)

๑. ส ารวจความต้องการ
กลุ่มเป้าหมาย
๒. ประชุมวางแผนการ
ด าเนินงาน
๓. เขียนโครงการเพื่อขอ
อนุมัต ิ - ๗๔,๙๘๐- ๗๔,๙๘๐- -
๔. ด าเนินงานตามโครงการ
๕.นิเทศ ตดตามผลการ

ด าเนินงาน
๖.สรุปและรายงานผลการ
ด าเนินงาน

๙. ผู้รับผิดชอบโครงการ
นายอนุรักษ์ จินตรา ครูอาสาสมัครการศึกษานอกโรงเรียน

๑๐. เครือข่าย

10.1 องค์การปกครองส่วนท้องถิ่นในพื้นที่ ๕ จังหวัดชายแดนภาคใต ้
10.2 ผู้น าชุมชน/ภูมิปัญญาท้องถิ่นในพื้นที่ ๕ จังหวัดชายแดนภาคใต ้
10.3 โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพต าบลในพื้นที่ ๕ จังหวัดชายแดนภาคใต ้

๑๑. โครงการที่เกี่ยวข้อง

๑๑.๑ โครงการจัดการศึกษาต่อเนื่อง
๑๑.๒ โครงการพัฒนาคุณภาพการศึกษา

๑๑.๓ โครงการจัดการศึกษาตามอัธยาศัย
๑๑.๔ โครงการน้อมน าหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงเพื่อพัฒนาศักยภาพประชาชนชายแดนใตส ู่

การพัฒนาที่ยั่งยืน









แผนปฏบัตการประจ าปงบประมาณ พ.ศ.๒๕๖๔ ๔๔


Click to View FlipBook Version