The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

ปิโตรเลียมเคมี รายงาน

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by haneefa__, 2021-03-17 02:28:19

ปิโตรเลียมเคมี รายงาน

ปิโตรเลียมเคมี รายงาน

กระบวนการผลติ ท่ีเกย่ี วกับอุตสาหกรรมปิ โตรเลยี มเคมี (ผลติ ยางรถยนต์)
เสนอ

อาจารย์กชพรรณ หนูชนะ
จัดทาโดย

นางสาวสุนสิ า โพธ์ิทพิ ย์ 6240311341
นางสาวฮานีฟาร์ ไมเด็น 6240311348
นางสาวพาขวัญ ทองขาว 6240311358
นางสาวชนาภา ปรีชา 6240311365
นางสาวปนดั ดา สุดย่งิ 6240311371
นางสาววรรณวิษา เพชรบูรณ์ 6240311374

สาขาอาชีวอนามัยและความปลอดภัย
รายงานการศึกษาค้นคว้านเี้ ป็ นส่วนหนง่ึ ของรายวชิ า (924-208) กระบวนการผลติ

มหาวทิ ยาลยั สงขลานครินทร์ วทิ ยาเขตสุราษฎร์ธานี
ปี การศึกษา 2/2563



คานา

รายงานเล่มน้ีจดั ทาข้ึนเพื่อเป็นส่วนหน่ึงของ รายวิชา 924-208 กระบวนการผลิตในอุตสาหกรรมและ
อนั ตราย ของสาขาอาชีวอนามยั และความปลอดภยั ช้นั ปี ท่ี 2

โดยมีวตั ถุประสงคใ์ นการจดั ทาข้ึนเพื่อใหค้ วามรู้ในเร่ืองของการช้ีบ่งอนั ตรายและการประเมินความ
เสี่ยงในกระบวนการผลิตที่เก่ียวกบั อุตสาหกรรมปิ โตรเลียมเคมี (การผลิตยางรถยนต์) แก่ผทู้ ่ีสนใจ และเป็น
การพฒั นาทกั ษะในดา้ นกระบวนการคิดวิเคราะห์และดา้ นความรู้ของผูจ้ ดั ทา โดยในรายงานฉบบั น้ีท่านจะ
ไดร้ ับความรู้อย่างเต็มเปี่ ยมในเรื่องของเทคนิควิธีการช้ีบ่งอนั ตรายในการประเมินความเส่ียงไม่ว่าจะเป็ น
เทคนิค Job Safety Analysis (JSA) และเทคนิค What If

ผจู้ ดั ทาหวงั วา่ รายงานเล่มน้ีจะเป็นประโยชน์แก่ผูอ้ ่าน หรือนกั เรียน นกั ศึกษาที่กาลงั หาขอ้ มลู เรื่องน้ี
อยหู่ ากมีขอ้ แนะนาหรือขอ้ ผิดพลาดประการใด ผจู้ ดั ทาขอนอ้ มรับไวแ้ ละขออภยั มา ณ ที่น้ีดว้ ย

ผ้จู ดั ทา
สุนิสา โพธ์ิทิพย์ และคณะ

16 มีนาคม 2564



สารบัญ หน้า

เร่ือง ข
คานา 1
สารบัญ 2
อุตสาหกรรมปิ โตรเคมี 2
ผลิตภณั ฑป์ ิ โตรเคมี 2
อตุ สาหกรรมการผลิตยางยนต์ 4
โครงสร้างของยางรถยนต์ 5
กระบวนการผลิต 8
ตารางช้ีบง่ อนั ตรายและการประเมินความเสี่ยงในกระบวนการผลิตยางรถยนต์ ดว้ ยวธิ ี JSA 12
ตารางช้ีบ่งอนั ตรายและการประเมินความเส่ียงในกระบวนการผลิตยางรถยนต์ ดว้ ยวิธี What if
เอกสารอ้างองิ

1

อุตสาหกรรมปิ โตรเคมภี ณั ฑ์

อตุ สาหกรรมปิ โตรเคมี คืออุตสาหกรรมท่ีนาสารประกอบไฮโดรคาร์บอนที่ไดจ้ ากการกลนั่ น้ามนั ดิบ
และจากการแยกแกส๊ ธรรมชาติมาใชเ้ ป็นวตั ถดุ ิบเพื่อผลิตเคมีภณั ฑต์ า่ ง ๆ แบง่ ไดด้ งั น้ี

1. อตุ สาหกรรมปิ โตรเคมีภณั ฑข์ ้นั ตน้ (Upstream petrochemical industry)

2. อุตสาหกรรมปิ โตรเคมีภณั ฑข์ ้นั กลาง (Intermediate petrochemical industry)

3. อตุ สาหกรรมปิ โตรเคมีภณั ฑข์ ้นั ปลาย (Downstream petrochemical industry)

1. อุตสาหกรรมปิ โตรเคมภี ณั ฑ์ข้ันต้น (Upstream petrochemical industry)
เป็นการนาสารประกอบไฮโดรคาร์บอนท่ีไดจ้ ากแก๊สธรรมชาติหรือน้ามนั ดิบ เช่น เมทานอล เอทิลีน และ
เบนซีน มาผลิตเป็นสารโมเลกุลขนาดเลก็ เรียกวา่ มอนอเมอร์ (monomer) เป็นวตั ถุดิบต้งั ตน้ ใน
อตุ สาหกรรมปิ โตรเคมีข้นั ต่อไป

2. อุตสาหกรรมปิ โตรเคมภี ัณฑ์ข้นั กลาง (Intermediate petrochemical industry)
เป็นการนาผลิตภณั ฑท์ ่ีเกิดจากปิ โตรเคมีข้นั ตน้ มาใชเ้ ป็นวตั ถุดิบในการผลิตเคมีภณั ฑข์ ้นั กลาง เช่น
ฟอร์มอลดีไฮด์ เอทิลีนออกไซด์ เอทิลเบนซีน เพอื่ ป้อนใหก้ บั อตุ สาหกรรมข้นั ปลาย เป็ นการนามอนอเมอร์
จากอตุ สาหกรรมปิ โตรเคมีภณั ฑข์ ้นั ตน้ มาผลิตพอลิเมอร์ท่ีมีขนาดโมเลกลุ ใหญข่ ้นึ ผลิตภณั ฑใ์ นข้นั น้ีอาจอยู่
ในรูปของพลาสติก วตั ถุดิบท่ีใชผ้ ลิตเสน้ ใยสังเคราะห์ ยางสังเคราะห์ สารซกั ลา้ ง สารเคลือบผวิ และ
ตวั ทาละลาย ผลิตภณั ฑจ์ ากอุตสาหกรรมข้นั ต่อเนื่องอาจนาไปใชเ้ ป็นสารต้งั ตน้ ในอตุ สาหกรรมต่าง ๆ

3. อุตสาหกรรมปิ โตรเคมภี ัณฑ์ข้ันปลาย (Downstream petrochemical industry)
เป็นการนาผลิตภณั ฑท์ ี่เกิดจากปิ โตรเคมีข้นั ตน้ หรือข้นั กลางไปผา่ นกระบวนการตา่ ง ๆ เพือ่ ผลิตเป็น
ผลิตภณั ฑข์ ้นั ปลาย ผลิตภณั ฑท์ ่ีไดใ้ นข้นั น้ีอาจอยใู่ นรูปของพลาสติก วตั ถดุ ิบที่ใชผ้ ลิตเสน้ ใยสงั เคราะห์
ยางสงั เคราะห์ สารซกั ลา้ ง สารเคลือบผิวและตวั ทาละลาย ผลิตภณั ฑจ์ ากอุตสาหกรรมข้นั ปลายน้ี
อาจนาไปใชเ้ ป็นสารต้งั ตน้ ในอตุ สาหกรรมต่าง ๆ

เป็นการนามอนอเมอร์จากอุตสาหกรรมปิ โตรเคมีภณั ฑข์ ้นั ตน้ มาผลิตพอลิเมอร์ท่ีมีขนาดโมเลกลุ
ใหญ่ข้นึ ผลิตภณั ฑใ์ นข้นั น้ีอาจอยใู่ นรูปของพลาสติก วตั ถุดิบที่ใชผ้ ลิตเสน้ ใยสงั เคราะห์ ยางสังเคราะห์
สารซกั ลา้ ง สารเคลือบผิว และตวั ทาละลาย ผลิตภณั ฑจ์ ากอุตสาหกรรมข้นั ตอ่ เนื่องอาจนาไปใชเ้ ป็นสาร
ต้งั ตน้ ในอตุ สาหกรรมต่าง ๆ

2

ผลติ ภณั ฑ์ปิ โตรเคมี คือ ผลิตภณั ฑท์ ี่ผลิตได้ โดยมีวตั ถดุ ิบหลกั มาจากการปิ โตรเลียม ซ่ึงมี
หลากหลายประเภทมาก ต้งั แตพ่ ลงั งานตา่ ง ๆ เช่นน้ามนั หรือ แกส๊ แลว้ อีกท้งั ใชเ้ ป็นวตั ถุดิบต้งั ตน้ ใน
โรงงานอุตสาหกรรม เช่น กา๊ ซต่าง ๆ ไปจนกระทง่ั เมด็ พลาสติก เส้นใยสงั เคราะห์ อะไรกแ็ ลว้ แตท่ ่ีมี
ตน้ กาเนิดมาจากปิ โตรเลียม อาจกล่าวไดว้ า่ เป็น ผลิตภณั ฑป์ ิ โตรเคมี เช้ือเพลิงปิ โตรเลียม

อุตสาหกรรมการผลติ ยางยนต์

ยางรถยนตท์ าหนา้ ท่ีในการรองรับน้าหนกั ยานยนตอ์ นั เกิดจากน้าหนกั บรรทกุ น้าหนกั ของตวั รถ
และ การถ่ายทอดแรงขบั เคลื่อนที่เกิดจากเครื่องยนตผ์ า่ นชุดคลทั ชช์ ุดเกียร์ชุดเพลาไปยงั ลอ้ ทาใหล้ อ้ เกิดการ
ขบั หมนุ ตลอดจนการสนั่ สะเทือนที่เกิดจากสภาพผิวถนนผดิ ปกติปัจจุบนั มีความเจริญกา้ วหนา้ ทางดา้ น
เทคโนโลยกี ารผลิตทาใหย้ างรถยนตม์ ีประสิทธิภาพมากข้นึ

โครงสร้างของยางรถยนต์

โครงสร้างของยางรถยนตม์ ีส่วนประกอบดงั ต่อไปน้ี

1) โครงผา้ ใบ (carcass) เนื่องจากยางรถยนตต์ อ้ งทาหนา้ ที่ในการกกั เก็บแรงดนั ของ อากาศไวแ้ ละ
ตอ้ งมีความยดื หยนุ่ พอที่จะทาการดูดซบั น้าหนกั และแรงกระแทกท่ีเปลี่ยนแปลงอยา่ ง รวดเร็ว ดว้ ยเหตุน้ี
จึงตอ้ งทาการออกแบบยางใหม้ ีความคงทน โดยการพนั เสน้ ดา้ ยรวมกบั เน้ือยาง เส้นดา้ ยท่ีใชท้ าดว้ ยไนลอน,
โพลีเอสเตอร์หรือใยเหลก็ การพนั โดยจดั แบง่ ตามลกั ษณะการวางมมุ เส้นดา้ ย โครงผา้ ใบแตล่ ะช้นั
ของเส้นดา้ ย จะตดั กนั ทามุม 30 - 40 องศา

2) ดอกยาง (tread) เป็นช้นั ของยางภายนอกท่ีทาหนา้ ที่ป้องกนั การชารุดและสึกหรอของ
โครงผา้ ใบ ซ่ึงมีสาเหตุมาจากสภาพพ้ืนผวิ ถนน ดอกยางเป็นส่วนท่ีทาหนา้ ท่ี สมั ผสั กบั พ้นื ถนนโดยตรง จึง
ตอ้ งมีการออกแบบดอกยางใหเ้ หมาะสมกบั การใชง้ านในสภาพต่าง ๆ ของถนน

3) แกม้ ยาง (side wall) เป็นช้นั ของยางท่ีปกคลุมบริเวณดา้ นขา้ งของยาง และทาหนา้ ท่ี ปกป้องโครง
ผา้ ใบอนั เกิดจากการชารุด เสียหาย ภายนอก รวมถึงทาหนา้ ท่ีใหย้ างมีความยดื หยนุ่ ได้ มากที่สุด นอกจากน้ี
แกม้ ยางยงั เป็นตาแหน่งบอกขนาดยางของบริษทั ผผู้ ลิต และบอกชนิดของยาง

4) ช้นั ผา้ ใบ (breaker) ทาหนา้ ที่รองรับระหวา่ งโครงผา้ ใบและดอกยาง ทาหนา้ ท่ีเพิม่ การยดึ เหนี่ยว
โครงสร้างท้งั 2 ส่วนเขา้ ดว้ ยกนั และยงั ช่วยลดการกระแทกจากผิวถนนมายงั โครงผา้ ใบให้นอ้ ยลง
โดยทว่ั ไปผา้ ใบที่ใชใ้ นการรองรับยางรถบรรทกุ จะทาดว้ ยไนลอน ส่วนรถยนตน์ ง่ั จะทาดว้ ยโพ ลีเอสเตอร์

5) แผน่ รองรับ (belt) นิยมใชก้ บั ยางรถยนตแ์ บบเรเดียล โดยจะรองรับไปตามเสน้ รอบวงของยาง
ระหวา่ งโครงผา้ ใบและดอกยาง ในรถยนตน์ ง่ั จะใชโ้ ครงสร้างแผน่ เหลก็ เรยอน หรือเส้นดา้ ยโพลีเอสเตอร์
แตใ่ นรถบรรทุกจะใชเ้ ป็นเส้นใยเหลก็

3

6) ขอบยาง (beads) ทาหนา้ ที่รักษายางใหอ้ ยใู่ นขอบกระทะลอ้ ซ่ึงเป็นผลมาจากแรง เหว่ยี งที่ทา
กบั ยางบริเวณขอบยางจะมีการพนั โดยรอบดว้ ยเสน้ ลวดแขง็

7) ขอบเสน้ ลวดลิ้นลมยาง (tire valve) ลิน้ ลมยางจะทาหนา้ ที่ใหล้ มไหลเขา้ ไดเ้ พยี งอยา่ ง เดียว แต่จะ
ไม่ยอมใหล้ มยางไหลออกได

กระบวนการผลติ

1. ตรวจสอบรับวตั ถดุ ิบ เป็นการนาวตั ถดุ ิบที่จะนาไปผลิตยางรถยนตม์ าที่โรงงานผลิตยางรถยนต์

2.ผสมยาง เคร่ืองผสมยางเป็นจุดเร่ิมตน้ ของกระบวนการผลิต ยางดิบ (ยางธรรมชาติและยางสังเคราะห์) และ
สารเคมีจะถกู นาไปบดผสมกนั ภายในหอ้ งผสมท่ีมีการควบคุม อุณหภมู ิ ความดนั และเวลาตามท่ี
สูตรกาหนดไว้ ท้งั น้ีเพ่ือใหไ้ ดย้ างท่ีมีคณุ สมบตั ิท้งั ทางดา้ นกายภาพและเคมีตามตอ้ งการ สูตรท่ีใชใ้ น
การผสมจะแตกตา่ งกนั ไปตามหนา้ ท่ีของส่วนประกอบท่ีจะนาไปผลิต

3. ตรวจสอบแผ่นยาง เป็นการตดั แผน่ ยางเป็นชิ้นเลก็ ๆเขา้ ไปใหห้ อ้ งตรวจสอบ ในห้องจะมีเคร่ืองมือ
ตรวจสอบความสามารถของยาง โดยวธิ ีการ บีบ อดั กด ดึง ในเครื่องทดสอบยาง เพื่อดูวา่ ยางที่ผลิตมาน้นั มี
ความแขง็ เพยี งพอท่ีจะไปผลิตเป็นยางรถยนตไ์ ดห้ รือไม่

4. ข้นั ตอนการสร้างยาง (Building) เครื่องสร้างยาง (Tyre Building Machine) นบั วา่ เป็นเคร่ืองท่ีมี
ความสาคญั มากในขบวนการผลิตยาง เพราะใชใ้ นการประกอบส่วน เช่น ผลิตขอบลวด ผลิตผา้ ใบ ผลิตเขม็
ขดั รัดหนา้ ยาง ผลิตหนา้ ยางใหเ้ ป็นโครงยางดิบ (Green Tyre) เคร่ืองสร้างยางไดร้ ับการออกแบบให้
เหมาะสมและทนั สมยั อยเู่ สมอ ท้งั น้ีเพ่ือช่วยเพิ่มประสิทธิภาพในการผลิต ส่วนประกอบต่างๆ ของยางจะถูก
นามาประกอบกนั เขา้ ตามลาดบั ทีละชิ้น ตรงตาแหน่งต่างๆ ท่ีไดม้ ีการออกแบบไวอ้ ยา่ งเท่ียงตรง เพอื่ ใหไ้ ด้
ขนาดและคณุ ภาพของยางตามตอ้ งการ

5. ข้นึ รูปยาง การข้ึนรูปยางตอ้ งใชก้ ระบวนการท่ีอาศยั เครื่องจกั รอตั โนมตั ิท่ีใชเ้ ทคโนโลยขี ้นั สูง เครื่องจกั ร
น้ีจะประกอบดว้ ยลอ้ หมนุ (Rotating Drum) ซ่ึงจะเป็นส่วนที่ใชใ้ นการข้ึนรูปยาง และส่วนท่ีเป็นตวั ป้อนยาง
ใหก้ บั เคร่ืองสร้างยาง

6. อบยาง ในข้นั ตอนน้ีคนงานจะเป็นผนู้ าโครงยางดิบ (Green Tyre) เขา้ สู่เครื่องอบยาง (Curing Press)
ซ่ึงการอบยาง และขบวนการวลั คาไนซ์ จะทาใหย้ างท่ีเหนียวและมีความยดื หยนุ่ มากเกินไป เปล่ียนเป็นยาง
ท่ีมีความแขง็ ลดความยดื หย่นุ ใหน้ อ้ ยลง และใหม้ ีความทนทานมีอายกุ ารใชง้ านท่ียาวนาน ในการอบยาง
จะตอ้ งมีการควบคมุ เวลา อณุ หภูมิ ความดนั และการไหลของน้าร้อนใหพ้ อเหมาะท่ีจะทาใหเ้ กิดปฏิกิริยา
วลั คาไนซ์ท่ีสมบูรณ์

4

7. ตรวจสอบผลิตภณั ฑส์ าเร็จรูป ยางท่ีอบเสร็จแลว้ ทกุ ชนิดจะตอ้ งผา่ นการตรวจสอบทุกเสน้ ก่อนที่จะส่ง
เขา้ คลงั สินคา้ (Warehouse) และลกู คา้ ตอ่ ไป การตรวจสอบจะครอบคลมุ ถึงรูปลกั ษณ์ (Appearance) และ
ตาหนิต่างๆ ท่ีเกิดข้ึนกบั ตวั ยาง รวมท้งั ทาการคดั แยกส่วนที่เป็นยางเสียออกไป

ภาพกระบวนการผลิตยางรถยนต์

5

ตารางชี้บ่งอนั ตรายและการประเมินความเส่ียงในกระบวนการผลติ ยางรถยนต์ ด้วยวิธี JSA

พ้นื ที่/เคร่ืองจกั ร/กระบวนการผลิต/ข้นั ตอน/กิจกรรม กระบวนการผลติ ยางรถยนต์
บริษทั เอน็ .ดี.รับเบอร์ จากดั หมายเลขโครงการ..............................วนั ที่ทาการศึกษา 3 มีนาคม พ.ศ.2564

ข้นั ตอนการทางาน อนั ตรายพร้อมสาเหตุ มาตรการป้องกนั
1. ตรวจรับวตั ถุดิบ
-ถูกชน เมื่อพนกั งานขบั รถโฟลค์ ลิฟท์ -เวน้ ระยะห่างของกองยางแท่ง

ไปรับยางแทง่ อาจไปชนกบั กองยางแทง่ แตล่ ะกองใหร้ ถโฟลค์ ลิฟทเ์ ขา้ ได้

ทาใหเ้ กิดอบุ ตั ิเหตุ และจดั เสน้ ทางการเดินรถโฟล์

-ถูกยางแทง่ หล่นทบั เทา้ พนกั งาน คลิฟทใ์ หเ้ ป็นไปอยา่ งมีระเบียบ

-ล่ืนหกลม้ จากการวางวตั ถดุ ิบ -สวมใส่อปุ กรณ์ป้องกนั อนั ตราย

ระแกะระกะ คือหมวกนิรภยั และรองเทา้ นิรภยั

-เขม่าดาหลน่ ใส่พนกั งาน -จดั วางวตั ถุดิบใหเ้ ป็นระเบียบ

ไมข่ วางทางเดิน

2.ผสมยาง -การผสมยางมีสารเคมีผสมอยดู่ ว้ ยอาจ -ใส่หนา้ กากป้องกนั สารเคมี
ทาใหส้ ูดดมสารเคมีเขา้ ไปในร่างกาย -สวมชุดป้องกนั ความร้อน
ทาใหเ้ กิดโรคระบบทางเดินหายใจ -กาหนดคนควบคุมการผลิตใหม้ ี
-โดนความร้อนจากแผน่ ยางหรือไอ จานวนนอ้ ยท่ีสุดเพื่อลด
ความร้อนจากเครื่องจกั ร เกิดแผลผพุ อง การสมั ผสั
-อาจเกิดการระเบิดจากการท่ีหอ้ งผสม -ติดต้งั อุปกรณ์เซนเซอร์
ยางมีอุณหภมู ิที่มากกวา่ มาตรฐานที่ วดั อุณหภูมิ
กาหนด

3. ตรวจสอบแผน่ ยาง -ถูกเครื่องทดสอบความสามารถของยาง -สร้างการ์ดป้องกนั อตั ราย

หนีบมือ ทาใหเ้ กิดการบาดเจ็บ -สวมใส่ถงุ มือนิรภยั

4. ผลิตขอบลวด -ถูกขอบลวดบาดมือ -สวมใส่ถงุ มือนิรภยั

-ทา่ ทางการทางานท่ีซ้ากนั เป็นเวลานาน -มีการสบั เปลี่ยนพนงั งานเพื่อลด

ทาใหเ้ กิดการปวดเม่ือย เวลาในการทางานท่าเดิมซ้าๆ

6

ข้นั ตอนการทางาน อนั ตรายพร้อมสาเหตุ มาตรการป้องกัน
5. ผลิตผา้ ใบ -ใชโ้ พลีเอสเทอร์ในการฉาบอาจดูดดม -สวมใส่ถุงมือนิรภยั
สารเคมีเขา้ ไปในร่างกายทาใหเ้ กิดโรค -ใส่หนา้ กากป้องกนั สารเคมี
6. ผลิตเขม็ ขดั รัดหนา้ ยาง ระบบทางเดินหายใจ
-อาจโดนแผน่ ผา้ ใบบาดมือ -สวมใส่ถุงมือนิรภยั
-ถูกลวดในเขม็ ขดั รัดหนา้ ยางบาดมือ

7. ผลิตหนา้ ยาง -มือถกู หนีบหรือถูกดึงเขา้ ไปใน -สร้างการ์ดป้องกนั อตั ราย
เครื่องจกั ร ทาให้เกิดการบาดเจ็บ -สวมใส่ถงุ มือนิรภยั
-โดนความร้อนจากแผน่ ยางหรือ -แต่งกายเรียบร้อยไม่สวมใส่
ไอความร้อนจากเครื่องจกั ร เกิดแผล เครื่องประดบั
ผพุ อง -สวมชุดป้องกนั ความร้อน

8. ข้นึ รูปยาง -มือถูกหนีบหรือถกู ดึงเขา้ ไปใน -สร้างการ์ดป้องกนั อตั ราย
9. อบยาง
เครื่องจกั ร ทาให้เกิดการบาดเจบ็ -สวมใส่ถุงมือนิรภยั

-โดนความร้อนจากแผน่ ยางหรือไอ -แตง่ กายเรียบร้อยไม่สวมใส่

ความร้อนจากเครื่องจกั ร เกิดแผลผพุ อง เคร่ืองประดบั

-ปวดเม่ือยจากการยกยางท่ีข้ึนรูปเสร็จ -สวมชุดป้องกนั ความร้อน

แลว้ ออกจากเครื่องจกั ร -มีการสับเปล่ียนพนงั งานเพื่อ

ลดเวลาในการทางานทา่ เดิมซ้าๆ

-เม่ืออบยางยางอาจกระเดน็ ออกจาก -สร้างการ์ดป้องกนั อนั ตราย

เคร่ืองอบทาใหพ้ นกั งงานไดร้ ับบาดเจบ็ -สวมชุดป้องกนั ความร้อน

-โดนความร้อนจากยางหรือไอความ -ติดต้งั อุปกรณ์เซนเซอร์วดั

ร้อนจากเครื่องจกั เกิดแผลผพุ อง อุณหภมู ิ

-อาจเกิดการระเบิดหากมีอณุ หภมู ิในการ -ใส่หนา้ กากป้องกนั สารเคมี

อบที่มากกวา่ มาตรฐานท่ีกาหนด

-การอบจะมีกลิ่นของยางซ่ึงมีสารเคมี

ผสมอยดู่ ว้ ยอาจทาใหส้ ูดดมสารเคมีเขา้

ไปในร่างกายทาใหเ้ กิดโรคระบบ

ทางเดินหายใจ

7

ข้นั ตอนการทางาน อนั ตรายพร้อมสาเหตุ มาตรการป้องกัน
10. ตรวจสอบผลิตภณั ฑ์
สาเร็จรูป -มือถกู หนีบหรือถูกดึงเขา้ ไปใน -สร้างการ์ดป้องกนั อตั ราย

เครื่องจกั ร ทาใหเ้ กิดการบาดเจ็บ -สวมใส่ถงุ มือนิรภยั

-จะมีการทดสอบยางโดยการหมุนทาให้ -แต่งกายเรียบร้อยไมส่ วมใส่

ยางอาจกระเด็นออกจากเคร่ืองทดสอบ เครื่องประดบั

ทาใหพ้ นกั งงานไดร้ ับบาดเจ็บ -มีการสับเปลี่ยนพนงั งานเพ่ือลด

-ปวดเม่ือยจากการยกยางท่ีตรวจสอบ เวลาในการทางานท่าเดิมซ้าๆ

แลว้ ออกจากเครื่องจกั ร

8

ตารางชีบ้ ่งอนั ตรายและการประเมนิ ความเสี่ยงในกระบวนการผลติ ยางรถยนต์ ด้วยวธิ ี What if

พ้ืนที่/เครื่องจกั ร/กระบวนการผลิต/ข้นั ตอน/กิจกรรม กระบวนการผลติ ยางรถยนต์
บริษทั เอ็น.ดี.รับเบอร์ จากดั หมายเลขโครงการ..............................วนั ท่ีทาการศึกษา 3 มีนาคม พ.ศ.2564

คาถาม What if อนั ตรายหรือผล มาตรการป้องกนั และ ขอ้ เสนอแ การประเมินความเส่ียง

ท่ีเกิดข้นึ ตามมา ควบคุมอนั ตราย นะ โอกา ความ ผล ระดบั

ส รุนแรง ลพั ธ์ ความ

เส่ียง

1.จะเกิดอะไร ทาใหเ้ กิดความ ตรวจสอบอุปกรณ์ - 1122

ข้ึนถา้ การ ร้อนและเกิดการ เคร่ืองควบคมุ อุณหภูมิ

ควบคุม ระเบิดส่งผลต่อ ก่อนการทางานทุกคร้ัง

อณุ หภมู ิน้นั พนกั งานที่ทางาน และติดต้งั เซ็นเซอร์

ไมไ่ ดม้ าตรฐาน อยบู่ ริเวณน้นั เพื่อตรวจจบั ความร้อน

2.จะเกิดอะไร พนกั งานไดร้ ับ ตรวจสอบอตั ราส่วน - 2362

ข้นึ ถา้ ข้นั ตอน อนั ตรายจาก ในการผสมสารเคมี

การผสม สารเคมี ส่งผลตอ่ ใหแ้ น่ใจก่อนการผสม

สารเคมีเกิน ระบบทางเดิน ใหม้ ีความพร้อมตอ่

ขนาดท่ีต้งั ไว้ หายใจและ การทางานและให้

ผลิตภณั ฑท์ ี่ พนกั งานท่ีทางานใน

ออกมาไมไ่ ดต้ าม บริเวณน้นั สวมใส่

มาตรฐาน

3.จะเกิดอะไร ทาใหผ้ า้ ใบขาด ตอ้ งมีการตรวจสอบ - 2 3 6 2
ข้ึนถา้ อปุ กรณ์ และกระเดน็ ไป อปุ กรณ์ก่อน
อาบผา้ ใบเกิด โดนพนกั งานที่ กระบวนการทางาน
การบกพร่อง อยบู่ ริเวณน้นั เพอื่ การใชง้ านที่ดี

ปลอดภยั

9

คาถาม What if อนั ตรายหรือผล มาตรการป้องกนั ขอ้ เสนอแนะ การประเมินความเสี่ยง
ที่เกิดข้ึนตามมา และควบคุม โอกา ความ ผล ระดบั
4.จะเกิดอะไร อนั ตราย โรงงานตอ้ ง ส รุนแรง ลพั ธ์ ความ
ข้ึนถา้ พนกั งาน ไดร้ ับอนั ตราย จดั การอบรม
ขาดความรู้ จากเคร่ืองจกั ร พนกั นานตอ้ ง ใหค้ วามรู้ เส่ียง
ทางดา้ น ขณะทางาน ทา ทางานตามข้นั ตอน เก่ียวกบั การ 12 22
กระบวนการ ใหพ้ นกั งาน วิธีการอยา่ ง ทางานใหแ้ ก่
ผลิตยางรถยนต์ ไดร้ ับบาดเจบ็ เคร่งครัดเพ่ือ พนกั งาน ให้ 3262
จากการทางาน ป้องกนั อนั ตรายที่ พนกั งาน
5.จะเกิดอะไร จะเกิดต่อตวั ตระหนกั อยู่
ข้นึ ถา้ ขณะทา ยางอาจหลน่ ทบั พนกั งาน เสมอ
การเคลื่อนยา้ ย พนกั งานไดร้ ับ ตรวจสอบ
ยางเกิดตกหลน่ บาดเจ็บระหวา่ ง ควรทาการยดึ เคร่ืองจกั ร
เคลื่อนยา้ ยยางได้ อุปกรณ์และยางให้ ทุกๆ 1 ปี
แน่นสนิท ป้องกนั
การตกหล่นขณะ
เคล่ือนยา้ ยยาง

6.จะเกิดอะไร พนกั งานไดร้ ับ ตรวจสอบและเช็ค ตรวจสอบ 2 3 6 2

ข้นึ ถา้ ขณะข้ึน อนั ตรายจาก สภาพของ เคร่ืองจกั ร

รูปยาง เครื่องจกั รน้นั เครื่องจกั รก่อน ทุกๆ 1 ปี

เคร่ืองจกั รเกิด เช่น มือของพนกั และหลงั การ

การบกพร่อง ไปโดน ทางานทุกคร้ัง

เคร่ืองจกั ร

10

คาถาม What if อนั ตรายหรือผล มาตรการป้องกนั ขอ้ เสนอแนะ การประเมินความเสี่ยง
ท่ีเกิดข้ึนตามมา และควบคุม
อนั ตราย โอกา ความ ผล ระดบั
ส รุนแรง ลพั ธ์ ความ

เส่ียง

7.จะเกิดอะไร ทาใหย้ างเกิดการ จะตอ้ งกาหนดเวลา - 4142
ข้ึนถา้ เวลาใน ระเบิด ยาง ที่เป็นคา่ มาตรฐาน
การควบคมุ ยาง กระเด็น ส่งผล เพ่อื ป้องกนั
มากเกินไป อนั ตรายต่อ อนั ตรายและ
พนกั งานที่ทางาน ผลกระทบท่ีจะ
อยบู่ ริเวณน้นั เกิดข้ึนตามมา

8.จะเกิดอะไร พนกั งานไดร้ ับ จะตอ้ งทาการปิ ด - 2122
ข้นึ ถา้ ไม่ไดป้ ิ ด อนั ตรายจาก ปากถุงบรรจุ - 2122
ถงุ บรรจุ สารเคมี เขา้ สู่ สารเคมีทกุ คร้ังเพือ่
สารเคมี ระบบทางเดิน ป้องกนั ไมใ่ ห้
หายใจได้ สารเคมีน้นั เขา้ สู่
9.จะเกิดอะไร ร่างกายของ
ข้นึ ถา้ วางลอ้ พนกั งานเกิดการ พนกั งาน
ยางรถยนต์ สะดุด หกลม้ จดั ระเบียบการวาง
ระเกะระกะ ส่งผลกระทบตอ่ ลอ้ อยา่ งใหเ้ ป็น
การทางานของ ระเบียบเพื่อให้
พนกั งานได้ สะดวกตอ่ การ
ทางานของ
พนกั งาน

11

คาถาม What if อนั ตรายหรือผล มาตรการป้องกนั ขอ้ เสนอแนะ การประเมินความเสี่ยง
ที่เกิดข้ึนตามมา และควบคมุ
อนั ตราย โอกา ความ ผล ระดบั

จะตอ้ งทาการมดั ส รุนแรง ลพั ธ์ ความ
เชือกรัดลอ้ ยางให้
แน่น เพื่อไมใ่ หล้ อ้ เส่ียง
ยางน้นั ตกหลน่ ลง
10.จะเกิดอะไร ยางรถยนตห์ ลน่ มา -3 262
ข้ึนถา้ ขณะ มาทบั พนกั งานที่
ขนส่งยาง ยนื อยดู่ า้ นล่าง
รถยนตเ์ กิดการ เกิดการบาดเจ็บ
ตกหล่นลงมา ได้
จากรถ

12

เอกสารอ้างองิ
ปิ โตรเลยี ม. (2563). [ออนไลน์]. เขา้ ถึงไดจ้ าก : https://th.wikipedia.org/wiki. (วนั ท่ีคน้ ขอ้ มูล : 13

มีนาคม 2564).
สานกั งานมาตรฐานผลิตภณั ฑอ์ ตุ สาหกรรม. (2554). ข้อกาหนดฉลากเขียวสาหรับผลิตภัณฑ์ยางรถยนต์.

[ออนไลน์]. เขา้ ถึงไดจ้ าก : http://rubber.oie.go.th. (วนั ท่ีคน้ ขอ้ มูล : 13 มีนาคม 2564).
Juan Omar. (2558). ข้นั ตอนการผลติ ยาง. [ออนไลน์]. เขา้ ถึงไดจ้ าก : https://www.autotirechecking.com.

(วนั ท่ีคน้ ขอ้ มูล : 13 มีนาคม 2564).


Click to View FlipBook Version