The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

ระเบียบว่าด้วยการวัดและประเมินผลวัดราชบพิธ2564.สมบูรณ์

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by worapolsrithep, 2021-11-29 21:09:08

ระเบียบว่าด้วยการวัดและประเมินผลวัดราชบพิธ2564.สมบูรณ์

ระเบียบว่าด้วยการวัดและประเมินผลวัดราชบพิธ2564.สมบูรณ์

ตวั ชี้วดั ท่ี 7.3 อนุรักษ์ สืบทอด ภมู ิปัญญาไทย

พฤตกิ รรมบง่ ชี ไมผ่ า่ น(0) ผ่าน(1) ดี(2) ดเี ยยี่ ม(3)
ไม่สนใจภมู ปิ ญั ญาไทย
7.3.1 นาภมู ปิ ญั ญาไทย สบื คน้ ภูมปิ ัญญาไทย สืบคน้ ภูมปิ ญั ญาไทย สบื คน้ ภมู ปิ ญั ญา
มาใชใ้ หเ้ หมาะสม ท่ีใชใ้ นทอ้ งถนิ่ ที่มอี ยู่ในท้องถิ่น เขา้ ไทย เขา้ รว่ มและ
ในวถิ ีชีวิต เข้ารว่ ม และชักชวน ร่วมและชกั ชวนคนใน ชักชวนคนใน
คนในครอบครวั หรือ ครอบครัว เพอ่ื น และ ครอบครัว เพอื่ น
7.3.2 รว่ มกจิ กรรมที่ เพอื่ นเขา้ ร่วมกจิ กรรม ผอู้ ่ืนเขา้ ร่วม กจิ กรรม และผ้อู น่ื เขา้ ร่วม
เก่ยี วขอ้ งกบั ภูมิ ท่ีเกย่ี วขอ้ งกับภูมิ ที่เกีย่ วข้องกบั ภูมิ กจิ กรรมที่เกย่ี วขอ้ ง
ปญั ญาไทย ปัญญาไทย และใช้ภมู ิ ปัญญาไทย ใชแ้ ละ กับภมู ิปญั ญาไทย
ปัญญาไทยใน แนะนาใหเ้ พือ่ นใช้ภูมิ ใชแ้ ละแนะนา
7.3.3 แนะนา ชีวติ ประจาวัน ปัญญาไทยใน ให้เพื่อนใช้
มสี ว่ นรว่ ม ในการ ชวี ิตประจาวัน ภูมปิ ญั ญาไทย
สบื ทอด ในชีวติ ประจาวัน
ภูมปิ ญั ญาไทย และมสี ่วนรว่ มใน
การสบื ทอด
ภมู ปิ ญั ญาไทย

เกณฑ์การให้คะแนน ระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย

ตวั ชวี้ ดั ที่ 7.1 ภาคภูมใิ จในขนบธรรมเนียมประเพณี ศิลปะวัฒนธรรมไทย และมคี วามกตญั ญูกตเวที

พฤติกรรมบ่งชี ไม่ผา่ น(0) ผา่ น(1) ดี(2) ดเี ย่ยี ม(3)
7.1.1 แต่งกายและมี ไมม่ สี ัมมาคารวะตอ่
ผใู้ หญ่ ปฏบิ ตั ติ นเป็นผมู้ ี ปฏบิ ัติตนเปน็ ผมู้ ี ปฏบิ ัตติ นเปน็ ผู้มมี ารยาท
มารยาทงดงาม มารยาทแบบไทย มารยาทแบบไทย แบบไทย มสี มั มาคารวะ
แบบไทย มสี มั มา มีสมั มาคารวะ มีสมั มาคารวะ กตัญญู กตัญญูกตเวทีต่อผูม้ ี
คารวะ กตญั ญู กตัญญกู ตเวทีตอ่ ผมู้ ี กตเวทตี ่อผมู้ ีพระคณุ พระคณุ แต่งกายแบบไทย
กตเวทีต่อผมู้ ี พระคุณ และแต่ง แตง่ กายแบบไทยด้วย ดว้ ยความภาคภูมใิ จ เข้า
พระคุณ กายแบบไทย ความภาคภูมิใจ เขา้ ร่วมและมีสว่ นรว่ ม ในการ
เข้ารว่ มหรือมสี ว่ น รว่ ม และมสี ว่ นรว่ ม จัดกจิ กรรมทเี่ กย่ี วขอ้ งกบั
7.1.2 ร่วมกจิ กรรมท่ี รว่ ม ในกจิ กรรมที่ ในการจดั กจิ กรรม ประเพณี ศลิ ปะและ
เกีย่ วข้องกับ เกยี่ วข้องกับ ทีเ่ ก่ียวข้องกับ วฒั นธรรมไทย ชักชวน
ประเพณี ศิลปะ ประเพณี ศลิ ปะ ประเพณี ศิลปะและ แนะนาผอู้ น่ื และ เปน็ ผ้นู า
และวฒั นธรรมไทย และวัฒนธรรมไทย วฒั นธรรมไทย หรอื แกนนาในการปฏิบตั ิ
ตามขนบธรรมเนียม
7.1.3 ชักชวน แนะนาให้ ประเพณี ศลิ ปะและ
ผู้อน่ื ปฏบิ ัตติ าม วฒั นธรรมไทย
ขนบธรรมเนยี ม
ประเพณี ศิลปะ
และวฒั นธรรมไทย

46
แนวปฏบิ ัติการวัดและประเมินผลการเรยี นรู้ ตามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขนั้ พ้ืนฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 (ปรับปรงุ พทุ ธศกั ราช 2560)

ตวั ชว้ี ดั ที่ 7.2 เห็นคณุ ค่าและใช้ภาษาไทยในการส่ือสารไดอ้ ยา่ งถูกต้องเหมาะสม

พฤติกรรมบง่ ชี ไมผ่ า่ น(0) ผ่าน(1) ดี(2) ดเี ย่ียม(3)
ไม่สนใจใช้ภาษาไทย
7.2.2 ใช้ภาษาไทยและ อยา่ งถูกต้อง ใช้ภาษาไทย เลขไทย ใชภ้ าษาไทย เลขไทย ใชภ้ าษาไทย
เลขไทย
ในการส่อื สาร ในการส่อื สารได้ ในการส่ือสารได้ เลขไทยในการ
ได้อย่างถูกตอ้ ง
เหมาะสม ถูกตอ้ งเหมาะสม และ ถกู ต้องเหมาะสม ส่ือสารไดถ้ กู ต้อง

แนะนา ชกั ชวนให้ และแนะนา ชกั ชวน เหมาะสม แนะนา

ผูอ้ ืน่ ใช้ภาษาไทยท่ี ใหผ้ อู้ ่ืนเหน็ คณุ คา่ ใน ชักชวนให้ผู้อน่ื เหน็

7.2.2 ชกั ชวน แนะนา ถูกต้อง การใชภ้ าษาไทยที่ คณุ คา่ ในการใช้
ให้ผู้อื่นเห็นคณุ คา่
ของการใช้ ถูกตอ้ ง ภาษาไทยทถ่ี กู ต้อง
ภาษาไทยที่
ถูกต้อง เปน็ ประจา เปน็

แบบอยา่ งท่ีดดี า้ น

การใช้ภาษาไทย

ตวั ชว้ี ัดท่ี 7.3 อนุรกั ษ์ สืบทอด ภมู ิปญั ญาไทย

พฤติกรรมบ่งชี ไม่ผ่าน(0) ผา่ น(1) ด(ี 2) ดีเยี่ยม(3)
7.3.1 นาภมู ปิ ัญญาไทย ไม่สนใจภมู ปิ ญั ญาไทย
สืบคน้ ภูมปิ ัญญาไทย สืบคน้ ภมู ิปัญญาไทยที่ สืบค้นภูมปิ ัญญา
มาใช้ใหเ้ หมาะสม
ในวถิ ชี วี ิต ท่ีมอี ยใู่ นทอ้ งถนิ่ เขา้ มอี ยูใ่ นทอ้ งถิ่น เข้า ไทยที่มอี ยู่ใน

รว่ มและชกั ชวนคนใน ร่วมและชักชวนคนใน ท้องถนิ่ เขา้ ร่วม

7.3.2 รว่ มกิจกรรมท่ี ครอบครัว เพ่ือน และ ครอบครัว เพ่ือน และ และชกั ชวนคนใน
เก่ียวขอ้ งกบั
ภูมปิ ญั ญาไทย ผ้อู นื่ เขา้ รว่ ม กจิ กรรม ผอู้ นื่ เข้าร่วมกจิ กรรมท่ี ครอบครัว เพ่ือน

ทเี่ ก่ยี วข้องกับภมู ิ เก่ียวข้องกับ ภมู ิ และผู้อ่นื เข้าร่วม

ปญั ญาไทย ใช้และ ปญั ญาไทย ใช้และ กจิ กรรมทเ่ี กยี่ วข้อง

7.3.3 แนะนา แนะนาให้เพอ่ื นใช้ภูมิ แนะนาใหเ้ พื่อนใชภ้ ูมิ กับ ภมู ิปญั ญาไทย
มสี ว่ นร่วม ในการ
สืบทอด ปญั ญาไทยใน ปัญญาไทยใน ใช้และแนะนาให้
ภูมิปญั ญาไทย
ชวี ติ ประจาวัน ชีวิตประจาวัน และมี ผ้อู ่ืนใชภ้ ูมิปัญญา

สว่ นรว่ มในการสืบ ไทยใน

ทอดภมู ิปญั ญาไทย ชวี ติ ประจาวนั และ

มสี ่วนร่วมในการ

สบื ทอดและ

เผยแพร่

ภมู ปิ ัญญาไทย

47
แนวปฏบิ ตั ิการวัดและประเมนิ ผลการเรียนรู้ ตามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขนั้ พื้นฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 (ปรับปรุง พุทธศกั ราช 2560)

ข้อท่ี 8 มีจิตสาธารณะ

นิยาม

มีจิตสาธารณะ หมายถึง คุณลักษณะท่ีแสดงออกถึงการมีส่วนร่วมในกิจกรรมหรือ
สถานการณ์ท่ีก่อให้เกิดประโยชน์แก่ผู้อื่น ชุมชน และสังคม ด้วยความเต็มใจ กระตือรือร้น โดยไม่หวัง
ผลตอบแทน

ผู้ที่มีจิตสาธารณะ คือ ผู้ที่มีลักษณะเป็นผู้ให้และช่วยเหลือผู้อ่ืน แบ่งปันความสุขส่วนตน
เพ่ือทาประโยชน์แก่ส่วนรวม เข้าใจ เห็นใจผู้ท่ีมีความเดือดร้อน อาสาช่วยเหลือสังคม อนุรักษ์สิ่งแวดล้อม
ด้วยแรงกาย สติปัญญา ลงมือปฏิบัติเพ่ือแก้ปัญหา หรือร่วมสร้างสรรค์สิ่งที่ดีงามให้เกิดในชุมชน โดยไม่หวัง
สง่ิ ตอบแทน

ตวั ชว้ี ัด 8.1 ช่วยเหลอื ผ้อู ื่นดว้ ยความเตม็ ใจโดยไมห่ วงั ผลตอบแทน
8.2 เขา้ ร่วมกจิ กรรมทเ่ี ปน็ ประโยชน์ต่อโรงเรียน ชุมชน และสงั คม

ตวั ชว้ี ัดและพฤตกิ รรมบง่ ช้ี

ตวั ชวี้ ัด 8.1.1 พฤติกรรมบ่งช้ี
8.1 ช่วยเหลือผูอ้ น่ื ดว้ ยความ 8.1.2 ช่วยพ่อแม่ ผปู้ กครอง ครทู างานดว้ ยความเตม็ ใจ

เต็มใจโดย ไมห่ วัง อาสาทางานให้ผู้อืน่ ด้วยกาลงั กาย กาลังใจ และกาลังสติปญั ญา
ผลตอบแทน โดยไมห่ วังผลตอบแทน

8.1.3 แบ่งปนั ส่ิงของ ทรัพย์สนิ และอน่ื ๆ และช่วยแก้ปัญหาหรอื

สรา้ งความสขุ ใหก้ บั ผู้อื่น

8.2 เขา้ รว่ มกจิ กรรมที่เปน็ 8.2.1 ดแู ล รักษาสาธารณสมบัตแิ ละส่ิงแวดลอ้ มดว้ ยความเต็มใจ
ประโยชนต์ ่อโรงเรยี น
ชมุ ชน และสังคม 8.2.2 เขา้ ร่วมกจิ กรรมท่เี ป็นประโยชนต์ อ่ โรงเรยี น ชุมชนและสงั คม

8.2.3 เข้ารว่ มกิจกรรมเพ่อื แกป้ ญั หาหรอื รว่ มสรา้ งส่งิ ท่ดี ีงามของส่วนรวม ตาม
สถานการณท์ ่ีเกดิ ข้นึ ด้วยความกระตือรอื รน้

48
แนวปฏบิ ัติการวัดและประเมนิ ผลการเรยี นรู้ ตามหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 (ปรบั ปรุง พทุ ธศักราช 2560)

เกณฑก์ ารใหค้ ะแนน ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น

ตวั ชี้วดั ที่ 8.1 ช่วยเหลอื ผู้อื่นด้วยความเต็มใจและพึงพอใจ

พฤตกิ รรมบ่งชี ไม่ผา่ น(0) ผา่ น(1) ด(ี 2) ดีเย่ียม(3)
ไม่ช่วยเหลอื พอ่ แม่
8.1.1 ช่วยพอ่ แม่ ช่วยพอ่ แม่ ผปู้ กครอง ช่วยพอ่ แม่ ผู้ปกครอง ช่วยพอ่ แม่
ผปู้ กครองและครู ผู้ปกครอง และครู และครทู างาน และครูทางาน อาสา ผปู้ กครองและครู
ทางานดว้ ย อาสาทางาน และ ทางาน ชว่ ยคดิ ทางาน อาสา
ความเต็มใจ แบง่ ปันสง่ิ ของให้ผู้อ่ืน ชว่ ยทา และแบง่ ปัน ทางาน ช่วยคดิ
ด้วยความเตม็ ใจ ส่ิงของใหผ้ ู้อ่นื ด้วย ช่วยทา แบ่งปัน
8.1.2 อาสาทางานให้ ความเตม็ ใจ สง่ิ ของ และช่วย
ผูอ้ ื่นด้วยกาลังกาย แกป้ ัญหาใหผ้ ้อู นื่
กาลังใจ และกาลัง ด้วยความเตม็ ใจ
สตปิ ญั ญา ด้วย
ความสมคั รใจ

8.1.3 แบง่ ปนั สิ่งของ
ทรพั ยส์ ินและอ่ืนๆ
และช่วยแก้ปญั หา
หรือสร้างความสขุ
ใหก้ ับผอู้ ่นื

ตวั ชีว้ ดั ท่ี 8.2 เขา้ ร่วมกิจกรรมทเี่ ป็นประโยชนต์ อ่ โรงเรียน ชุมชน และสังคม

พฤตกิ รรมบง่ ชี ไม่ผ่าน(0) ผ่าน(1) ด(ี 2) ดเี ยีย่ ม(3)
8.2.1 ดูแล รักษา ไมส่ นใจดูแลรักษา
ดูแล รักษาทรพั ย์ ดูแล รักษาทรัพย์ ดูแล รกั ษาทรพั ย์
สาธารณสมบตั ิ ทรัพยส์ มบตั ิและ สมบตั ิ สิ่งแวดลอ้ ม สมบตั ิ ส่งิ แวดลอ้ ม สมบัติ สิง่ แวดลอ้ ม
และส่งิ แวดลอ้ ม ของห้องเรียน ของหอ้ งเรยี น ของห้องเรียน
ดว้ ยความเต็มใจ สิ่งแวดลอ้ มของโรงเรียน โรงเรียน และเขา้ โรงเรยี น ชุมชน และ โรงเรียน ชุมชน
รว่ มกจิ กรรมเพื่อ เข้ารว่ มกิจกรรมเพอ่ื และเขา้ รว่ ม
8.2.2 เขา้ ร่วมกจิ กรรมท่ี สงั คมและ สังคมและ กจิ กรรมเพ่ือสังคม
เปน็ ประโยชนต์ ่อ สาธารณประโยชน์ สาธารณประโยชน์ และ
โรงเรยี น ชุมชน ของโรงเรียนด้วย ของโรงเรยี นด้วย สาธารณประโยชน์
และสังคม ความเตม็ ใจ ความเตม็ ใจ ของโรงเรียนและ
ชุมชนดว้ ย
8.2.3 เขา้ รว่ มกิจกรรม ความเตม็ ใจ
เพอื่ แกป้ ญั หา หรอื
ร่วมสรา้ งส่ิงท่ดี ี
งามของส่วนรวม
ตามสถานการณ์ที่
เกดิ ขึ้นดว้ ยความ
กระตือรือร้น

49
แนวปฏบิ ตั ิการวัดและประเมินผลการเรยี นรู้ ตามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขั้นพืน้ ฐาน พทุ ธศักราช 2551 (ปรบั ปรุง พทุ ธศักราช 2560)

เกณฑก์ ารให้คะแนน ระดับมัธยมศกึ ษาตอนปลาย

ตัวชวี้ ดั ที่ 8.1 ช่วยเหลือผู้อ่ืนด้วยความเต็มใจและพึงพอใจ

พฤติกรรมบ่งชี ไมผ่ า่ น(0) ผา่ น(1) ด(ี 2) ดเี ย่ียม(3)

8.1.1 ช่วยพอ่ แม่ ไมช่ ว่ ยเหลอื พอ่ แม่ ช่วยพ่อแม่ ผปู้ กครอง ชว่ ยพอ่ แม่ ผู้ปกครอง ชว่ ยพ่อแม่
และครูทางาน อาสา ผปู้ กครองและครู
ผ้ปู กครอง ครู ผู้ปกครอง และครู และครทู างาน อาสา ทางาน ช่วยคดิ ชว่ ย ทางาน อาสาทางาน
ทางานดว้ ย ทางาน ชว่ ยคดิ ช่วย ทา แบ่งปันส่ิงของ ช่วยคดิ ชว่ ยทา
ทรพั ยส์ นิ และ อ่ืน ๆ แบง่ ปนั สิง่ ของ
ความเต็มใจ ทา และแบ่งปนั สิง่ ของ และชว่ ยแก้ปญั หาให้ ทรพั ยส์ ิน และอ่ืนๆ
ผู้อน่ื ด้วยความเตม็ ใจ และเตม็ ใจชว่ ย
8.1.2 อาสาทางานให้ ใหผ้ อู้ น่ื ดว้ ยความ แก้ปญั หาหรอื สร้าง
ผ้อู ่ืนด้วยกาลงั กาย เตม็ ใจ ความสขุ ใหแ้ กผ่ ู้อืน่
โดยไมห่ วัง
กาลังใจ และกาลัง ผลตอบแทน
เปน็ แบบอยา่ งท่ดี ี
สตปิ ัญญาด้วย

ความเตม็ ใจ

8.1.3 แบ่งปนั สิ่งของ
ทรัพยส์ ินและอืน่ ๆ
และช่วยแก้ปญั หา
หรอื สรา้ งความสขุ
ให้กับผู้อนื่

ตัวช้วี ัดท่ี 8.2 เขา้ รว่ มกจิ กรรมทเ่ี ปน็ ประโยชน์ตอ่ โรงเรียน ชมุ ชน และสังคม

พฤติกรรมบ่งชี ไม่ผา่ น(0) ผ่าน(1) ด(ี 2) ดีเย่ยี ม(3)
ดแู ล รกั ษาทรัพย์
8.2.1 ดูแล รกั ษา ไม่สนใจดแู ลรักษา ดูแล รกั ษาทรัพย์ ดูแล รกั ษาทรัพย์ สมบตั ิ สิ่งแวดล้อม
ของหอ้ งเรียน
สาธารณสมบัติ และ ทรัพย์สมบตั แิ ละ สมบัติ สงิ่ แวดลอ้ ม สมบตั ิ ส่ิงแวดล้อม โรงเรยี น ชุมชน และ
ส่งิ แวดลอ้ ม เปน็ ผนู้ า หรอื เข้า
ของห้องเรียน ของหอ้ งเรยี น ร่วมกิจกรรม เพือ่
สงั คมและ
ด้วยความเต็มใจ สิ่งแวดลอ้ มของ โรงเรยี น ชุมชน และ โรงเรยี น ชมุ ชน และ สาธารณประโยชน์
ของโรงเรยี น ชุมชน
8.2.2 เข้าร่วมกจิ กรรมที่ โรงเรียน เขา้ ร่วมกจิ กรรมเพ่ือ เข้ารว่ มกจิ กรรมเพ่อื และร่วมกิจกรรมเพ่ือ
เป็นประโยชนต์ ่อ สงั คมและ สงั คมและ แก้ปัญหาหรือร่วม
โรงเรยี น ชุมชน สาธารณประโยชน์ สาธารณประโยชน์ สร้างส่ิงทด่ี งี ามตาม
และสังคม ของโรงเรียนดว้ ย ของโรงเรียนและ สถานการณ์ท่เี กดิ ขึน้
ความเตม็ ใจ ชุมชน หรือร่วม

8.2.3 เขา้ รว่ มกจิ กรรม กิจกรรมเพอื่

เพ่อื แกป้ ญั หาหรือ แก้ปัญหาหรอื ร่วม

ร่วมสรา้ งส่งิ ท่ีดีงาม สรา้ งส่ิงทด่ี ีงามตาม

ของสว่ นรวมตาม สถานการณท์ ี่เกิดข้ึน

สถานการณท์ ี่

เกดิ ขึ้น

50
แนวปฏบิ ตั ิการวดั และประเมนิ ผลการเรียนรู้ ตามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขั้นพื้นฐาน พทุ ธศักราช 2551 (ปรบั ปรงุ พทุ ธศกั ราช 2560)

2. เกณฑก์ ารตัดสนิ การผา่ นแต่ละตัวบง่ ชี้

ผู้เรยี นตอ้ งมพี ฤตกิ รรมตามตวั บ่งชอี้ ยูใ่ นระดบั ผ่านขน้ึ ไป ถือวา่ ผา่ นแตล่ ะตัวบ่งชผ้ี ูท้ าหนา้ ทีป่ ระเมนิ ผล
คณุ ลักษณะอันพงึ ประสงค์ตามมาตรฐานสากล

3. เกณฑก์ ารประเมินคุณลกั ษณะอันพงึ ประสงค์
3.1 เกณฑ์การประเมินตวั บง่ ชี้
1) เกณฑ์ระดับคุณภาพ
ระดบั คุณภาพ
ดเี ย่ียม หมายถงึ ผ้เู รยี นมพี ฤติกรรมตามตวั บง่ ช้ี รอ้ ยละ 80 – 100
ของจานวนครง้ั ของการประเมินทง้ั หมด
ดี หมายถึง ผเู้ รียนมพี ฤติกรรมตามตัวบง่ ชี้ ร้อยละ 65 – 79
ของจานวนครง้ั ของการประเมินทัง้ หมด
ผา่ น หมายถงึ ผเู้ รยี นมพี ฤตกิ รรมตามตัวบง่ ชี้ ร้อยละ 50 – 64
ของจานวนคร้งั ของการประเมนิ ทง้ั หมด
ไม่ผา่ น หมายถงึ ผูเ้ รียนมพี ฤตกิ รรมตามตวั บง่ ชี้ รอ้ ยละต่า 50
ของจานวนครงั้ ของการประเมนิ ทงั้ หมด
2) เกณฑก์ ารตัดสนิ การผา่ นแต่ละตวั บง่ ช้ี
ผเู้ รียนตอ้ งมพี ฤติกรรมตามตัวบง่ ช้อี ยู่ในระดับผา่ นขึน้ ไป ถอื ว่าผ่านแตล่ ะตวั บ่งช้ี

3.2 เกณฑ์การประเมนิ คณุ ลักษณะอันพงึ ประสงค์
3.2.1 ให้คิดค่าฐานนิยม (Mode) จากเกณฑ์การประเมินตัวบ่งชี้มาเป็นระดับคุณภาพของ

คุณลักษณะอันพึงประสงคแ์ ต่ละข้อ
3.2.2 ให้คดิ ค่าฐานนยิ ม จากเกณฑก์ ารประเมินคุณลักษณะ 13 ข้อ สรุปเปน็ คุณลักษณะ

อนั พึงประสงคข์ องรายวชิ าน้ันๆ
3.2.3 ให้คิดค่าฐานนิยม จากคุณลักษณะอันพึงประสงค์รายวิชา สรุปเป็นคุณลักษณะอัน

พึงประสงคข์ องผู้เรยี นรายบคุ คล

3.3 เกณฑก์ ารตดั สินแต่ละคณุ ลักษณะ
ผเู้ รียนตอ้ งได้รบั การประเมนิ อยู่ในระดบั คุณภาพ ผ่านข้นึ ไป ถอื วา่ ผา่ น

แนวการพัฒนาและประเมินคณุ ลกั ษณะอันพึงประสงค์
1. ระดับผ้ปู ฏิบตั ิ

ในการพัฒนาและประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์น้ัน โรงเรียนกาหนดให้ผู้สอนทุกรายวิชา
ผ้รู บั ผดิ ชอบงาน / โครงการ / กจิ กรรม และกจิ กรรมพฒั นาผู้เรยี นท่ีนอกเหนือจากครผู สู้ อนรายวชิ าตา่ งๆ ได้
ดาเนินการดังนี้

1.1 ครูผู้สอนรายวิชาต่างๆ ทุกรายวิชา ให้จัดกิจกรรมการเรียนรู้ในรายวิชาของตนโดยสอดแทรก
คุณลักษณะอันพึงประสงค์ของสถานศึกษาในคุณลักษณะใดคุณลักษณะหน่ึงท่ีเหมาะสม และสอดคล้องกับ
การจดั กจิ กรรมการเรยี นรนู้ นั้ ๆ โดยให้ระบไุ ว้ในแผนการจดั กิจกรรมการเรยี นรู้ทกุ แผน

51

แนวปฏบิ ตั ิการวดั และประเมนิ ผลการเรยี นรู้ ตามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พืน้ ฐาน พุทธศักราช 2551 (ปรับปรงุ พทุ ธศักราช 2560)

1.2 ผู้รับผิดชอบงาน / โครงการ / กิจกรรม และกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนท้ังกิจกรรมแนะแนว
กิจกรรมชุมนุมต่างๆ ซึ่งเป็นกิจกรรมที่นอกเหนือจากรายวิชาต่างๆ ให้ดาเนินการจัดกิจกรรมพัฒนา
คุณลักษณะอันพึงประสงค์ โดยระบุไว้ในแผนการจัดกจิ กรรมการเรียนรู้

1.3 ผู้รับผิดชอบทั้ง ข้อ 1.1 และ 1.2 ดาเนินการพัฒนาพร้อมกับประเมินผลและปรับปรุงผู้เรียน
เป็นระยะๆ เพื่อแสดงพัฒนาการของผู้เรียน บันทึกร่องรอยหลักฐานการประเมินและปรับปรุงอย่างต่อเน่ือง
เมือ่ เสรจ็ สิ้นภาคเรยี น / ปลายปี หรือส้ินโครงการ / กิจกรรม ให้มีการประเมินและสรุปผลบันทึกลงใน แบบ
ปพ. 5 และระบุ จุดเด่น จุดด้อย ของผู้เรียนแต่ละคน ตามเกณฑ์ที่กาหนดไว้ พร้อมแนบข้อมูลบันทึก
หลักฐานร่องรอยการประเมินและปรับปรุงประกอบส่งให้คณะกรรมการของกลุ่มสาระการเรียนรู้ของตนเอง
ไดต้ รวจสอบความถกู ต้องสมบรู ณ์

1.4 คณะกรรมการแต่ละกลุ่มสาระรวบรวมผลการประเมนิ ทั้งหมด และสรุปผลการประเมินลงในใบ
แบบ ปพ. 5 สง่ คณะกรรมการประเมินคณุ ลักษณะของสถานศกึ ษาที่ได้รับการแต่งตง้ั เพ่ือดาเนินการต่อไป

2. ระดับคณะกรรมการประเมนิ คณุ ลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ของสถานศึกษา
ให้มีการประเมินและตัดสินผลการประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของผู้เรียนทุกภาคเรียน / ปี

โดยสถานศึกษาแต่งต้ังคณะกรรมการประเมินและตัดสินผลการประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ระดับชั้นละ
3 – 5 คน ดาเนนิ การดังน้ี

2.1 คณะกรรมการทุกระดับช้ัน ศึกษาและทาความเข้าใจร่วมกันในเร่ืองของเกณฑ์การประเมิน
ระดบั คุณภาพ ตลอดจนแนวทางการประเมินท่สี ถานศึกษากาหนดไว้

2.2 คณะกรรมการประเมนิ แต่ละระดบั ชัน้ นาผลการประเมินคณุ ลักษณะอันพึงประสงคจ์ ากผู้ปฏิบัติ
ใน ข้อ 2.1 มาร่วมกันพิจารณาผลการประเมิน และข้อมูลจากการบันทึกร่องรอยหลักฐานที่แนบมาเป็น
รายบุคคลเทียบกับเกณฑ์ท่ีกาหนดไว้ แล้วตัดสินผลการประเมิน สรุปผลการประเมิน บันทึกลงใน แบบ
ปพ. 5 ระบุจุดเด่นจุดด้อยของผู้เรียนเป็นรายบุคคล ส่งคณะกรรมการบริหารหลักสูตรและวิชาการเห็นชอบ
และเสนอผู้บรหิ ารอนุมตั ิผลการประเมิน

2.3 กรณีที่คณะกรรมการไม่สามารถตัดสินผลการประเมิน เนื่องจากข้อมูลไม่เพียงพอ ให้
คณะกรรมการขอข้อมูลเพ่ิมเตมิ จากผู้รับผิดชอบ จนสามารถตัดสินผลการประเมนิ ได้

2.4 นายทะเบียนนาผลการตัดสนิ มาดาเนินการจัดทา ปพ.4 และหลักฐานการศึกษาอ่ืนท่ีเก่ียวข้อง
และประกาศให้ผูเ้ กย่ี วขอ้ งรับทราบต่อไป

3. การประเมินการเลอ่ื นชนั้ / การจบหลกั สูตร
คณะกรรมการบริหารหลักสตู รและวิชาการ นาผลการประเมินรายภาค / รายปี มารว่ มพิจารณาและ

ตดั สนิ ผลการเลอื่ นช้ัน / จบหลกั สูตร

52

แนวปฏบิ ตั ิการวัดและประเมนิ ผลการเรยี นรู้ ตามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขั้นพนื้ ฐาน พุทธศักราช 2551 (ปรบั ปรุง พุทธศกั ราช 2560)

แนวทางในการซอ่ มเสริมคณุ ลักษณะอันพึงประสงค์

1. คณะกรรมการประเมินคุณลักษณะร่วมกันพิจารณาว่า ผู้เรียนมีคุณลักษณะใดที่ต้องพัฒนา
ปรบั ปรุง

2. คณะกรรมการประเมินคุณลักษณะกาหนดแนวทางในการพัฒนาปรับปรุงพร้อมระยะเวลาโดย
มอบหมาย ให้ท่ีปรึกษาในระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน ดาเนินการติดตามช่วยเหลือแนะนาการปฏิบัติงาน
ตามแนวทางทค่ี ณะกรรมการกาหนด

3. กิจกรรม ในการพฒั นาปรับปรงุ ผเู้ รียน
3.1 กาหนดภาระงานหรือกิจกรรมที่สอดคล้องกับตัวบ่งชี้ของคุณลักษณะที่ต้องพัฒนา

ปรับปรงุ
3.2 ผู้เรียนร่วมกิจกรรมที่สอดคล้องกับคุณลักษณะที่ต้องพัฒนาปรับปรุงท้ังในและนอก

โรงเรียน
3.3 ผู้เรียนเสนอโครงงาน / งาน ท่ีสอดคล้องกับคุณลักษณะท่ีต้องพัฒนาปรับปรุงให้

คณะกรรมการประเมนิ คุณลกั ษณะเห็นชอบ
4. ผู้เรียนปฏิบัติตามแนวทางที่คณะกรรมการกาหนดหรือเห็นชอบ และรายงานผลการปฏิบัติให้ที่

ปรึกษาในระบบดูแลทราบเป็นระยะ ๆ พร้อมกับมีผู้รับรองผลการปฏิบัตโิ ดยที่ปรกึ ษาบนั ทึกข้อคิดเห็นในการ
ปฏบิ ัติกจิ กรรมจนเสรจ็ ส้นิ กจิ กรรม

5. ท่ีปรึกษาในระบบดแู ล บันทึกผลแสดงพัฒนาการคุณลกั ษณะของผู้เรียนที่แสดงร่องรอยหลกั ฐาน
การปฏบิ ัติกจิ กรรมต่าง ๆ รวบรวมผลการปฏิบัติส่งคณะกรรมการประเมนิ คณุ ลักษณะอนั พึงประสงค์

6. คณะกรรมการประเมินคุณลักษณะพิจารณาร่องรอยหลักฐานผลการปฏิบัติกิจกรรมเทียบกับ
เกณฑ์ท่ีกาหนด แล้วประเมินและตัดสินผลการซ่อมเสริมคุณลักษณะอันพึงประสงค์สรุปผลเสนอต่อคณะ
กรรมการบริหารหลกั สูตรและวชิ าการเห็นชอบ เพ่ือเสนอต่อผู้บรหิ ารสถานศึกษาอนุมัติต่อไป

7. นายทะเบยี นวดั ผลดาเนนิ การจดั ทา ปพ.4 และแจ้งแกผ่ ู้เกีย่ วข้องต่อไป

สว่ นที่ 4 การพัฒนาและประเมินความสามารถในการอา่ น คิดวเิ คราะห์ และเขยี น การอา่ นคิดวิเคราะห์
และเขียน จานวน 3 ข้อ คอื
1. อ่านและเขา้ ใจ สามารถคิดวเิ คราะห์ สังเคราะห์ไดอ้ ยา่ งมีเหตุผลเปน็ ระบบ และเขยี นเสนอความคิดได้

ตวั บง่ ชท้ี ี่ 1 เขยี นรายงานเรอ่ื งทีศ่ ึกษาคน้ คว้าได้
ตัวบ่งช้ีที่ 2 ตอบคาถามจากเรือ่ งท่ศี กึ ษาค้นควา้ ได้
ตัวบ่งชท้ี ่ี 3 เขียนแสดงความคดิ เห็นจากเรื่องที่อ่านได้
ตัวบง่ ชที้ ี่ 4 เขียนสรปุ จากเรือ่ งท่ีอ่านได้
2. นาความรู้ความเข้าใจที่ได้จากการอ่านไปใช้ในการแก้ปัญหา ตัดสินใจ คาดคะเนเรื่องราวหรือเหตุการณ์
และสรปุ เป็นแนวปฏบิ ัตไิ ด้
ตวั บ่งชีท้ ่ี 1 ทาโครงงาน / รายงานในเรือ่ งท่สี นใจไดต้ ามศักยภาพ
ตัวบง่ ชี้ที่ 2 นาเสนอโครงงาน / รายงานไดต้ ามศักยภาพ
ตัวบง่ ชที้ ่ี 3 เนอื้ หาในการทาโครงงาน / รายงานสอดคลอ้ งกับเร่ืองทีเ่ รียน
ตวั บ่งชี้ที่ 4 เขยี นขนั้ ตอนในการปฏิบัตงิ านได้
3. มคี วามคิดสรา้ งสรรค์ และสามารถเขียนถ่ายทอดความคดิ เพ่อื การส่อื สารได้
ตวั บง่ ชี้ท่ี 1 เขยี นเรื่องราวเชงิ สรา้ งสรรค์ได้ตามศกั ยภาพ
ตัวบ่งช้ที ่ี 2 เขียน / วาดภาพจากจินตนาการในเรือ่ งทีต่ นสนใจได้

53

แนวปฏบิ ัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาข้นั พ้ืนฐาน พทุ ธศักราช 2551 (ปรับปรุง พุทธศกั ราช 2560)

แนวทางและวธิ กี ารประเมิน
การประเมินความสามารถในการอ่าน คิด วิเคราะห์ และเขียน โรงเรียนจะใช้แนวทางการวัดและ

การประเมินจากการปฏิบัติจริง (Authentic Performance Measurement) จึงกาหนดแนวทางและ
วธิ ีการประเมินให้ครูผู้สอนทุกกลมุ่ สาระการเรยี นรนู้ าไปใชใ้ นการประเมนิ ดังน้ี

1. วิธีการประเมิน ขอบเขตการประเมนิ ระดับชัน้ มธั ยมศกึ ษาตอนต้นและมัธยมศกึ ษาตอนปลาย
1.1 ขอบเขตการประเมินระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น ตัวช้ีวัดความสามารถในการอ่าน

คิดวเิ คราะห์ และเขียน
1) สามารถคัดสรรสื่อที่ต้องการอ่านเพ่ือหาข้อมูลสารสนเทศได้ตามวัตถุประสงค์

ความสามารถ สร้างความเข้าใจและประยกุ ต์ใชค้ วามรจู้ ากการอ่าน
2) สามารถจับประเดน็ สาคัญและประเด็นสนับสนุน โต้แยง้
3) สามารถวิเคราะห์ วิจารณ์ ความสมเหตุสมผล ความน่าเช่ือถือ ลาดับความ

และความเป็นไปได้ ของเร่อื งทอี่ า่ น
4) สามารถสรปุ คุณคา่ แนวคดิ แง่คิดทไี่ ด้จากการอา่ น
5) สามารถสรปุ อภปิ ราย ขยายความ แสดงความคิดเหน็ โต้แยง้ สนับสนนุ โนม้

น้าวโดยการเขียน สือ่ สารในรูปแบบตา่ งๆ เชน่ ผังความคดิ เป็นต้น
1.2 ขอบเขตการประเมินระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย ตัวช้ีวัดความสามารถในการ

อา่ น คดิ วเิ คราะห์ และเขยี น
1) สามารถอ่านเพ่ือการศึกษาค้นคว้า เพิ่มพูนความรู้ ประสบการณ์ และการ

ประยุกตใ์ ชใ้ นชวี ติ ประจาวัน
2) สามารถจับประเดน็ สาคัญ ลาดับเหตกุ ารณจ์ ากการอ่านจากสอ่ื ท่ีมคี วามซบั ซ้อน
3) สามารถวิเคราะห์ส่ิงที่ผู้เขียนต้องการส่ือสารกับผู้อ่าน และสามารถวิพากษ์ให้

ข้อเสนอแนะในแง่มุมต่างๆ เอกสารประกอบหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551
แนวปฏบิ ตั ิการวัดแลละประเมินผลการเรียนรู้

4) สามารถประเมินความนา่ เชอ่ื ถือ คณุ คา่ แนวคิดทีไ่ ด้จากสิง่ ที่อ่านอย่างหลากหลาย
5) สามารถเขยี นแสดงความคิดเห็น โต้แย้ง สรปุ โดยมขี ้อมลู อธิบายสนับสนนุ อยา่ งเพียงพอ

2. เกณฑ์การประเมนิ ผลงาน : การเขียนจากการอา่ น คิด วิเคราะห์
2.1 การใช้กระบวนการอ่านอยา่ งมีประสิทธิภาพ
2.2 การแสดงความคดิ เห็นอย่างมีวจิ ารณญาณ
2.3 ใช้กระบวนการเขยี นสอื่ ความอยา่ งมปี ระสิทธิภาพ

3. เกณฑ์ระดับคุณภาพ ความสามารถในการอ่าน คิด วิเคราะห์ และเขยี น
เกณฑร์ ะดบั คณุ ภาพ : การอา่ น

ระดบั
ดีเยยี่ ม ระบุสาระของเร่อื งท่อี ่านไดถ้ ูกต้องครบถว้ น ลาดบั เร่อื งทีอ่ ่านได้ถูกตอ้ ง ระบุประเด็น
สาคญั ของเรือ่ งทีอ่ ่านไดถ้ ูกต้อง ระบจุ ดุ มงุ่ หมาย และเจตคตขิ องผเู้ ขยี น
ดี ระบุสาระของเร่อื งท่ีอ่านไดถ้ ูกต้องครบถ้วน ลาดับเรื่องทอ่ี า่ นได้ถกู ตอ้ ง ระบปุ ระเด็น
สาคญั ของเรอื่ งท่ีอ่านได้ถกู ต้อง ระบุจุดมุ่งหมาย และเจตคตขิ องผเู้ ขียนไมค่ รบถ้วน
ผ่าน ระบุสาระของเร่ืองท่ีอ่านได้ถูกต้องครบถ้วน ลาดับเรื่องท่ีอ่านค่อนข้างถูกต้อง
ระบปุ ระเดน็ สาคญั ของเรอ่ื งท่ีอ่านได้ไม่สมบูรณ์ ระบจุ ุดมงุ่ หมาย และเจตคติของผเู้ ขยี นเพยี งเลก็ น้อย
ไม่ผ่าน ระบุสาระของเร่ืองที่อ่านได้ไม่ครบถ้วน ลาดับเร่ืองที่อ่านผิดพลาดเล็กน้อย
ระบุประเดน็ สาคญั ของเรื่องท่อี ่านไมถ่ ูกต้อง ไม่ระบุจุดมุ่งหมาย และเจตคติของผู้เขียน

54

แนวปฏบิ ตั ิการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขัน้ พืน้ ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 (ปรบั ปรุง พทุ ธศกั ราช 2560)

เกณฑ์ระดับคณุ ภาพ : การคิดวเิ คราะห์
ระดับ
ดีเยี่ยม แสดงความคิดเหน็ ชดั เจน มเี หตุผลระบุขอ้ มูลสนบั สนุนท่นี ่าเช่อื ถอื มคี วามคดิ
ท่แี ปลกใหม่ เป็นประโยชนต์ อ่ สงั คมโดยสว่ นรวม
ดี แสดงความคิดเหน็ ค่อนข้างชดั เจน มีเหตผุ ลระบุขอ้ มูลสนบั สนนุ มีความคิด
ที่เป็นประโยชน์ต่อสังคมโดยสงั คมรอบข้างตนเอง
ผ่าน แสดงความคิดเหน็ ทีม่ เี หตุผลระบุขอ้ มูลสนับสนุนทพี่ อรบั ได้มคี วามคิดที่เป็น
ประโยชน์ตอ่ ตนเอง
ไม่ผา่ น แสดงความคิดเห็นมีเหตุผลไมช่ ดั เจน ขาดข้อมูลสนับสนนุ มีความคิดทยี่ ัง
มองไม่เห็นประโยชนท์ ช่ี ัดเจน

เกณฑ์ระดับคณุ ภาพ : การเขยี น
ระดบั
ดเี ยีย่ ม มีจุดประสงค์ในการเขียนชัดเจนได้เนื้อหาสาระ รูปแบบการเขียนถูกต้องมีข้ันตอน
การเขียนชัดเจนง่ายต่อการติดตาม ใช้ไวยากรณ์และสะกดคาถูกต้องพัฒนาสานวน
ภาษาทส่ี อื่ ความหมายไดช้ ดั เจนกะทดั รดั
ดี มีจุดประสงค์ในการเขียนชัดเจนได้เนื้อหาสาระ รูปแบบการเขียนถูกต้องมีข้ันตอน
การเขียนชัดเจนง่ายต่อการติดตาม ใช้ไวยากรณ์และสะกดคาผิดพลาดไม่เกิน
3 แห่ง พัฒนาสานวนภาษาท่สี อื่ ความหมายไดช้ ัดเจน
ผา่ น มีจุดประสงค์ในการเขียนชัดเจนและค่อนข้างได้เน้ือหาสาระ รูปแบบการเขียน
ถูกต้องมีขั้นตอนการเขียนชัดเจนง่ายต่อการติดตาม ใช้ไวยากรณ์และสะกดคา
ผิดพลาดมากกวา่ 3 แห่ง ขาดการพฒั นาสานวนภาษาที่สอื่ ความหมายไดช้ ดั เจน
ไม่ผ่าน ขาดจุดประสงค์ในการเขียนและเนื้อหาสาระน้อย ใช้ไวยากรณ์และสะกดคา
ผิดพลาดมาก ขาดการพัฒนาสานวนภาษาทสี่ ่อื ความหมาย

4. การสรปุ ผลการประเมินความสามารถในการอา่ น คิด วิเคราะห์ และเขียน
4.1 ให้คิดคา่ ฐานนิยม (Mode) จากเกณฑก์ ารประเมนิ การอ่าน คดิ วิเคราะห์ และเขียน

มาเป็นระดับคุณภาพของแต่ละรายวิชา
4.2 ให้คิดค่าฐานนิยม จากเกณฑ์การประเมินการอ่าน คิด วิเคราะห์ และเขียน ของแต่

ละรายวชิ า สรุปเป็นผลการประเมินการอ่าน คิด วิเคราะห์ และเขยี น ของผ้เู รียนรายบุคคล

5. เกณฑ์การตัดสนิ ความสามารถในการอ่าน คดิ วิเคราะห์ และเขียน
5.1 ระดบั รายภาค
ผู้เรียนมีความสามารถในการอ่าน คิด วิเคราะห์ และเขียน อยู่ในระดับคุณภาพ

ผ่าน ข้นึ ไปถือวา่ ผ่าน
5.2 การเล่ือนชนั้ / จบหลกั สตู ร
ผู้เรยี นมคี วามสามารถในการอา่ น คดิ วิเคราะห์ และเขยี น ผา่ นทุกรายภาค

55

แนวปฏบิ ัติการวดั และประเมนิ ผลการเรียนรู้ ตามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พ้นื ฐาน พุทธศกั ราช 2551 (ปรบั ปรงุ พุทธศกั ราช 2560)

แนวทางการพัฒนาและการประเมินการอ่าน คิด วิเคราะห์ และเขยี น
ระดับผู้ปฏิบตั ิ

กลมุ่ ครูผู้สอนแต่ละกลมุ่ สาระการเรียนรู้
1. แต่ละกลุ่มสาระการเรียนรู้ร่วมกันกาหนดแนวทางในการพัฒนาความสามารถในการอ่าน
คิดวิเคราะห์ และเขียน ที่สอดคล้องกับธรรมชาติของแต่ละกลุ่มสาระ และสอดคล้องกับมาตรฐานการอ่าน
คดิ วิเคราะห์ และเขยี น ท่สี ถานศึกษากาหนด
2. ผู้สอนทุกรายวิชานาแนวทางท่ีกาหนดไว้ใน ข้อ 1 วางแผนการจัดกิจกรรมและดาเนินการจัด
กิจกรรมการเรียนรสู้ อดแทรกในการจดั การเรียนการสอนของตนเอง
3. ผู้สอนทุกรายวิชาดาเนินการประเมินและปรับปรุงความสามารถในการอ่าน คิดวิเคราะห์ และ
เขียน เป็นระยะๆ เมื่อส้ินภาคเรียน / ปลายปี ประเมินผลพร้อมบันทึกร่องรอยหลักฐานในการพัฒนา
ปรบั ปรุง และรวบรวมหลกั ฐานการประเมินไวท้ ห่ี มวดวิชาเพ่ือใชเ้ ป็นหลักฐานสาหรับตรวจสอบการปฏบิ ัติงาน
ของผ้สู อน ซ่ึงจะแสดงให้เห็นถึงความโปรง่ ใส และความยตุ ิธรรมในการประเมนิ
4. บนั ทึกสรปุ ผลการประเมนิ ความสามารถในการอา่ น คิด วเิ คราะห์ และเขียน ลงใน
แบบ ปพ.5 แบบสรปุ ผลการประเมนิ การอ่าน คิด วิเคราะห์ และเขยี น
5. ผู้สอนในแต่ละกลุ่มสาระร่วมกันตรวจสอบความถูกต้อง สมบูรณ์ของผลการประเมินแต่ละ
รายวิชา แล้วสรุปผลการประเมินในระดับกลุ่มสาระลงใน แบบ ปพ.5 แบบสรปุ ผลการอา่ น คดิ วเิ คราะห์
และเขยี น สง่ คณะกรรมการประเมนิ การอ่าน คดิ วิเคราะห์ และเขยี น ในระดบั โรงเรยี นต่อไป
กลุ่มผู้รับผิดชอบกิจกรรมพัฒนาเรียนรู้ และกลุ่มผู้รับผิดชอบงาน / โครงการ / กิจกรรมในระดับ
โรงเรยี น
1. วางแผนกาหนดกิจกรรมพัฒนาความสามารถในการอ่าน คิด วิเคราะห์ และเขียนที่สอดคล้อง
กบั กจิ กรรมในภาระงานที่ตนเองรบั ผิดชอบ
2. ดาเนินการจัดกิจกรรมพัฒนาตามแผนที่วางไว้ และประเมินพัฒนาปรับปรุงผู้เรียนเป็นระยะๆ
พร้อมบนั ทกึ ร่องรอยหลักฐาน
3. เม่ือส้นิ ภาคเรยี น ใหม้ ีการประเมนิ ผล และสรุปผลการประเมินตามเกณฑ์ทีส่ ถานศกึ ษากาหนดไว้
พร้อมให้ข้อสังเกตท่ีเป็นจุดเดน่ จุดด้อย ของผู้เรียน บันทึกใน แบบ ปพ. 5 และรวบรวมหลกั ฐานร่องรอย
การพัฒนาปรับปรุงไว้ท่ีผู้ปฏิบัติ เพื่อเป็นหลักฐานสาหรับตรวจสอบการปฏิบัติงานของผู้ปฏิบัติ ส่งผลการ
ประเมนิ ใหค้ ณะกรรมการประเมนิ ระดับโรงเรียนตอ่ ไป

ระดับคณะกรรมการประเมินการอา่ น คิดวเิ คราะห์ และเขียน ของสถานศกึ ษา
1. แต่งตั้งคณะกรรมการประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน จานวน 3 – 5 คน ในแต่ละ

ระดบั ชนั้ เปน็ รายภาค
2. คณะกรรมการประเมนิ ฯ ศกึ ษาเกณฑก์ ารประเมิน เพอื่ ใหเ้ กิดความเขา้ ใจตรงกนั
3. นาผลการประเมินการอ่านจากระดับผู้ปฏิบัตริ ่วมกันประเมิน เพื่อตัดสินความสามารถในการอา่ น

คดิ วเิ คราะห์ และเขียน ตามเกณฑ์ท่กี าหนดไว้
4. กรณีที่คณะกรรมการไม่สามารถตัดสินได้ คณะกรรมการขอข้อมูลจากผู้ปฏิบัติเพิ่มเติม หรือ

ทดสอบความสามารถซา้ แลว้ จึงตดั สนิ ผล
5. คณะกรรมการสรุปผลการประเมินเพื่อเสนอผบู้ รหิ ารโรงเรียนอนุมตั ผิ ลการประเมิน
6. นายทะเบียนวัดผลบันทึกลงใน ปพ.1 แล้วแจ้งผลการประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียนให้

อาจารยท์ ี่ปรกึ ษาเพ่อื แจ้งผ้ปู กครอง

56

แนวปฏบิ ัติการวัดและประเมนิ ผลการเรยี นรู้ ตามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาข้นั พืน้ ฐาน พุทธศักราช 2551 (ปรบั ปรุง พุทธศกั ราช 2560)

แนวทางในการซอ่ มเสรมิ และประเมนิ ผลการซอ่ มเสรมิ การอา่ น คดิ วเิ คราะห์ และเขียน
1. คณะกรรมการประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน ร่วมกันพิจารณาว่าผู้เรียนมีจุดที่ต้อง

พฒั นาปรับปรงุ ด้านใด แตง่ ตัง้ ท่ีปรกึ ษาโดยระบบดแู ลชว่ ยเหลือนกั เรียนเปน็ กรรมการดาเนินการซอ่ มเสริม

2. กาหนดภาระงานใหผ้ ู้เรียนพัฒนา ปรับปรงุ ในด้านท่ตี ้องพฒั นาปรบั ปรงุ โดย
2.1 กรณไี มผ่ ่านการประเมินการอ่าน
2.1.1 คณะกรรมการประเมินกาหนดภาระงานให้นักเรียนอ่าน บันทึกการอ่าน

พร้อมส่งเอกสารทไ่ี ดอ้ า่ นไม่น้อยกวา่ 5 เร่ือง หรือกรรมการกาหนดเรือ่ ง 5 เรอ่ื ง ให้อา่ นภายในเวลาท่กี าหนด
2.1.2 คณะกรรมการประเมินผลการอ่านโดยต้ังประเด็นคาถามท่ีสอดคล้องกับ

เกณฑ์การประเมนิ ผเู้ รียนตอบโดยการเขียนตอบหรือตอบปญั หาปากเปลา่ กไ็ ด้
2.1.3 หรอื อย่ใู นดลุ ยพนิ จิ ของคณะกรรมการฯ
2.1.4 คณะกรรมการประเมินตัดสินผลการอ่านให้ผ่าน และได้ระดับไม่เกิน

“ผ่าน” กรณีท่ีซ่อมเสริมไม่ผ่านให้คณะกรรมการประเมินกาหนดให้ผู้เรียนพัฒนาตามวิธีการ ข้อ 2.1.1 ถึง
2.1.3 จนกวา่ ผเู้ รยี นจะไดร้ ับการตัดสิน ผ่าน

2.2 กรณผี เู้ รียนไมผ่ า่ นการคิด วเิ คราะห์
2.2.1 คณะกรรมการประเมินกาหนดภาระงานใหผ้ ู้เรยี นไปฝึกคิดวิเคราะห์ ในเรอื่ ง

ทส่ี นใจภายใน 1 สัปดาห์
2.2.2 คณะกรรมการประเมิน ประเมินการคิดวิเคราะห์ โดยต้ังประเด็นคาถามท่ี

สอดคลอ้ งกับเกณฑ์การประเมิน ผ้เู รียนตอบโดยการเขยี นตอบ หรอื ตอบปากเปล่า
2.2.3 คณะกรรมการประเมินตัดสินผลการคิดวิเคราะห์ โดยให้ผลการประเมินไม่

เกิน “ผา่ น”
2.2.4 ในกรณีท่ีผลการประเมินไม่ผ่าน ให้คณะกรรมการประเมินกาหนดให้ผู้เรียน

พฒั นาตามวิธีการใน ขอ้ 2.2.1 – 2.2.3 จนกวา่ ผเู้ รยี นจะได้รบั การตัดสิน ผา่ น
2.3 กรณีทผ่ี ูเ้ รยี นไม่ผา่ นการประเมินการเขยี น
2.3.1 คณะกรรมการประเมิน กาหนดภาระงานใหผ้ ู้เรียนไปฝกึ เขียนในเร่ืองท่ีสนใจ

ภายใน 1 สัปดาห์ ภายใต้การควบคมุ ดูแลของครูที่ปรึกษาในระบบดูแลชว่ ยเหลอื
2.3.2 ผ้เู รยี นสง่ ผลงานการเขยี นท่ไี ด้พัฒนาแล้วแกค่ ณะกรรมการประเมนิ
2.3.3 คณะกรรมการประเมินทาการประเมินผลงานการเขียนประกอบการ

สัมภาษณน์ ักเรยี นเกย่ี วกบั กระบวนการพฒั นาการเขยี น
2.3.4 คณะกรรมการตดั สินผลการเขียนโดยให้ผลการประเมนิ ไมเ่ กนิ “ผา่ น”
2.3.5 ในกรณีที่ผลการประเมินยังไม่ผ่าน ให้คณะกรรมการประเมินกาหนดให้

ผเู้ รียนพฒั นาตามวิธีการ ข้อ 2.3.1 – 2.3.4 จนกวา่ ผ้เู รียนจะได้รบั การตัดสนิ ผา่ น

3. คณะกรรมการประเมินการอ่านตัดสินผลการประเมินการอ่าน ส่งผลการประเมินเสนอ
คณะกรรมการบริหารหลักสูตรและวิชาการของสถานศึกษาให้ความเห็นชอบ และรวบรวมส่งให้ผู้บริหาร
สถานศึกษาอนมุ ตั ิ นายทะเบียนวัดผลบนั ทกึ ลง ปพ.1 และแจ้งผูเ้ กย่ี วข้องต่อไป

57

แนวปฏบิ ัติการวัดและประเมินผลการเรยี นรู้ ตามหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พนื้ ฐาน พุทธศักราช 2551 (ปรับปรุง พทุ ธศักราช 2560)

ส่วนที่ 5 การพัฒนาและประเมินสมรรถนะสาคญั ของผู้เรียน 5 ข้อ ได้ยึดตามกรอบหลักสูตรแกนกลาง
การศกึ ษาขนั้ พ้นื ฐาน พุทธศักราช 2551

การประเมนิ สมรรถนะสาคัญของผเู้ รียน 5 ขอ้ มดี งั นี้
1. ความสามารถในการส่ือสาร หมายถึง ใช้ภาษาถ่ายทอดความคิด ความรู้ ความเข้าใจ ความรู้สึกและ
ทัศนะของตนเอง เพื่อเปลี่ยนข้อมูลข่าวสารและประสบการณ์อันจะเป็นประโยชน์ต่อการพัฒนาตนเองและ
สงั คม รวมทง้ั การเจรจาต่อรองเพอ่ื ขจัดและลดปญั หาความขดั แย้งตา่ งๆ การเลือกรับหรือไม่รับข้อมลู ขา่ วสาร
ด้วยหลกั แหตุผลและความถูกต้อง ตลอดจนการเลือกใชว้ ธิ ีการส่ือสารทมี่ ีประสทิ ธิภาพโดยคานึงถึงผลกระทบ
ท่มี ตี อ่ ตนเองและสังคม โดยมตี วั ชีว้ ดั ดงั นี้

ตวั ชว้ี ดั ที่ 1 มีความสามารถในการรับและสง่ สาร
ตัวชี้วัดที่ 2 มีความสามารถในการถ่ายทอดความรู้ ความคิด ความเข้าใจของตนเอง โดยใช้ภาษา
อย่างเหมาะสม
ตัวช้วี ดั ท่ี 3 ใช้วิธกี ารสื่อสารที่เหมาะสม มีประสทิ ธภิ าพ
ตัวชี้วัดที่ 4 เจรจาตอ่ รอง เพื่อขจัดและลดปัญหาความขดั แยง้ ตา่ ง ๆ ได้
ตัวชว้ี ัดท่ี 5 เลือกรบั และไม่รับข้อมลู ข่าวสารด้วยเหตผุ ลและถกู ตอ้ ง

2. ความสามารถในการคิด หมายถงึ รู้จกั คดิ วิเคราะห์ คดิ สังเคราะห์ คดิ อยา่ งสรา้ งสรรค์ คดิ อย่างมีจารณ
ญาณ และคิดเป็นระบบ เพื่อนาไปสู่การสร้างองค์ความรู้หรือสารสนเทศ เพ่ือการตัดสินใจเก่ียวกับตนเอง
และสังคมไดอ้ ย่างเหมาะสม โดยมีตัวชี้วดั ดงั นี้
ตัวช้วี ดั ที่ 1 มีความสามารถในการคิดวิเคราะห์ สังเคราะห์

ตัวชว้ี ัดท่ี 2 มีทกั ษะในการคดิ นอกกรอบอย่างสร้างสรรค์
ตัวช้ีวดั ท่ี 3 สามารถคิดอยา่ งมีวจิ ารณญาณ
ตัวช้ีวดั ท่ี 4 มีความสามารถในการสร้างองคค์ วามรู้
ตัวชว้ี ดั ที่ 5 ตัดสนิ ใจแก้ปัญหาเก่ียวกับตนเองได้อยา่ งเหมาะสม

3. ความสามารถในการแก้ปัญหา หมายถงึ เขา้ ใจความสัมพันธแ์ ละการเปลย่ี นแปลงของเหตุการณต์ ่างๆ ใน
สังคมแสวงหาความรู้ ประยุกต์ความรู้มาใช้ในการป้องกัน และแก้ไขปัญหาได้อย่างถูกต้องเหมาะสมบน
พ้ืนฐานของหลักเหตุผลคุณธรรมและข้อมูลสารสนเทศ รวมท้ังการตัดสินใจท่ีมีคุณภาพ โดยคานึงถึง
ผลกระทบทเี่ กดิ ขน้ึ ตอ่ ตนเอง สงั คมและสิ่งแวดลอ้ ม โดยมีตัวช้วี ัดดงั นี้
ตวั ช้วี ัดท่ี 1 สามารถแก้ปญั หาและอุปสรรคตา่ ง ๆ ทเี่ ผชิญได้

ตัวชว้ี ัดที่ 2 ใชเ้ หตผุ ลในการแก้ปญั หา
ตวั ช้ีวดั ที่ 3 เขา้ ใจความสมั พนั ธ์และการเปลีย่ นแปลงในสังคม
ตวั ชีว้ ัดที่ 4 แสวงหาความรู้ ประยุกต์ความรมู้ าใชใ้ นการปอ้ งกันและแก้ไขปญั หา
ตัวชว้ี ดั ท่ี 5 สามารถตัดสนิ ใจไดเ้ หมาะสมตามวัย

4. ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต หมายถึง ใช้กระบวนการต่างๆ ในการดาเนินชีวิตประจาวัน เรียนรู้
ด้วยตนเองอย่างต่อเนื่อง ทางานและอยู่ร่วมกันในสังคมด้วยการสร้างเสริมความสัมพันธ์อันดีระหว่างบุคคล
จัดการปัญหาและความขัดแย้งต่างๆ อย่างเหมาะสม รู้จักปรับตัวให้ทันกับการเปลี่ยนแปลงของสังคม
สภาพแวดลอ้ ม และหลีกเลี่ยงพฤติกรรมไม่พงึ ประสงคท์ ี่มผี ลกระทบต่อตนเองและผอู้ ่ืน โดยมีตวั ชีว้ ดั ดงั นี้
ตวั ชวี้ ดั ที่ 1 เรียนรดู้ ้วยตนเองได้เหมาะสมตามวยั

58

แนวปฏบิ ตั ิการวัดและประเมนิ ผลการเรียนรู้ ตามหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาขัน้ พ้นื ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 (ปรบั ปรงุ พทุ ธศักราช 2560)

ตัวชว้ี ัดที่ 2 สามารถทางานกลุม่ ร่วมกบั ผู้อื่นได้
ตัวชีว้ ัดท่ี 3 นาความรู้ท่ีได้ไปใช้ประโยชน์ในชวี ติ ประจาวนั
ตวั ชว้ี ดั ที่ 4 จดั การปญั หาและความขดั แยง้ ได้เหมาะสม
ตัวชว้ี ัดท่ี 5 หลกี เล่ียงพฤตกิ รรมไม่พึงประสงค์ที่สง่ ผลกระทบต่อตนเอง
5. ความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยี หมายถงึ รู้จกั เลอื กและใช้เทคโนโลยดี ้านต่างๆ ทักษะกระบวนการทาง
เทคโนโลยี เพ่ือพัฒนาตนเองและสังคมในด้านการเรียนรู้ การสื่อสาร การทางาน การแก้ปัญหาอย่าง
สร้างสรรค์ ถกู ตอ้ งเหมาะสมและมคี ุณธรรม โดยมตี ัวชวี้ ดั ดังนี้
ตัวชี้วัดท่ี 1 เลอื กและใชเ้ ทคโนโลยีได้เหมาะสมตามวัย
ตัวชวี้ ัดท่ี 2 มีทักษะกระบวนการทางเทคโนโลยี
ตัวชว้ี ดั ท่ี 3 สามารถนาเทคโนโลยีไปใชพ้ ัฒนาตนเอง
ตัวชีว้ ดั ที่ 4 ใชเ้ ทคโนโลยีในการแกป้ ัญหาอยา่ งสร้างสรรค์
ตัวชว้ี ดั ที่ 5 มคี ณุ ธรรม จริยธรรมในการใชเ้ ทคโนโลยี

แนวทางและวธิ กี ารประเมนิ
การประเมินคุณภาพสมรรถนะสาคัญของผู้เรียน โรงเรียนจะใช้แนวทางการวัดและประเมินผลจาก

การปฏิบัติจริง (Authentic Performance Measurement) จึงกาหนดแนวทางและวิธีการประเมินให้
ครผู ู้สอนทกุ กลุ่มสาระการเรยี นรู้นาไปใชใ้ นการประเมนิ ดังนี้

1. วิธกี ารประเมนิ ขอบเขตการประเมินระดับชน้ั มัธยมศกึ ษาตอนตน้ และมธั ยมศึกษาตอนปลาย
1.1 ขอบเขตการประเมินระดบั ช้นั มัธยมศกึ ษาตอนต้น คณุ ภาพสมรรถนะสาคัญของผ้เู รียน
1) ความสามารถในการสอ่ื สาร หมายถึง ใชภ้ าษาถ่ายทอดความคิด ความรู้ ความเข้าใจ

ความรูส้ กึ และทัศนะของตนเอง เพ่อื เปลย่ี นขอ้ มูลขา่ วสารและประสบการณ์อันจะเปน็ ประโยชน์ตอ่ การพัฒนา
ตนเองและสังคม รวมทั้งการเจรจาต่อรองเพ่ือขจัดและลดปัญหาความขัดแย้งต่างๆ การเลือกรับหรือไม่รับ
ข้อมูลข่าวสารด้วยหลักแหตุผลและความถูกต้อง ตลอดจนการเลือกใช้วิธีการสื่อสารท่ีมีประสิทธิภาพโดย
คานงึ ถึงผลกระทบทีม่ ีต่อตนเองและสงั คม

2) ความสามารถในการคิด หมายถงึ รจู้ ักคดิ วิเคราะห์ คดิ สังเคราะห์ คดิ อย่างสรา้ งสรรค์
คิดอย่างมีจารณญาณ และคิดเป็นระบบ เพ่ือนาไปสู่การสร้างองค์ความรู้หรือสารสนเทศ เพื่อการตัดสินใจ
เก่ียวกับตนเองและสงั คมได้อย่างเหมาะสม

3) ความสามารถในการแก้ปัญหา หมายถึง เข้าใจความสัมพันธ์และการเปล่ียนแปลงของ
เหตกุ ารณต์ ่างๆ ในสงั คมแสวงหาความรู้ ประยุกต์ความร้มู าใชใ้ นการป้องกัน และแกไ้ ขปญั หาไดอ้ ยา่ งถูกต้อง
เหมาะสมบนพื้นฐานของหลักเหตุผลคุณธรรมและข้อมูลสารสนเทศ รวมท้ังการตัดสินใจท่ีมีคุณภาพ โดย
คานึงถึงผลกระทบทีเ่ กิดขึ้นตอ่ ตนเอง สงั คมและสง่ิ แวดล้อม

4) ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต หมายถึง ใช้กระบวนการต่างๆ ในการดาเนิน
ชวี ิตประจาวนั เรียนร้ดู ้วยตนเองอย่างต่อเนอื่ ง ทางานและอย่รู ว่ มกันในสังคมดว้ ยการสรา้ งเสรมิ ความสัมพันธ์
อันดีระหว่างบุคคล จัดการปัญหาและความขัดแย้งต่างๆ อย่างเหมาะสม รู้จักปรับตัวให้ทันกับการ
เปลี่ยนแปลงของสังคมสภาพแวดลอ้ ม และหลกี เล่ียงพฤติกรรมไมพ่ ึงประสงคท์ ่ีมผี ลกระทบต่อตนเองและผู้อนื่

5) ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี หมายถึง รู้จักเลือกและใช้เทคโนโลยีด้านต่างๆ
ทักษะกระบวนการทางเทคโนโลยี เพื่อพัฒนาตนเองและสังคมในด้านการเรียนรู้ การสื่อสาร การทางาน
การแกป้ ญั หาอยา่ งสรา้ งสรรค์ ถกู ตอ้ งเหมาะสมและมีคณุ ธรรม

59

แนวปฏบิ ัติการวัดและประเมนิ ผลการเรียนรู้ ตามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขัน้ พื้นฐาน พุทธศกั ราช 2551 (ปรบั ปรุง พทุ ธศกั ราช 2560)

1.2 ขอบเขตการประเมนิ ระดับชั้นมธั ยมศึกษาตอนปลาย คุณภาพสมรรถนะสาคญั ของผูเ้ รียน
1) ความสามารถในการส่ือสาร หมายถึง ใช้ภาษาถ่ายทอดความคิด ความรู้ ความเข้าใจ

ความรสู้ กึ และทศั นะของตนเอง เพือ่ เปลย่ี นขอ้ มูลข่าวสารและประสบการณ์อนั จะเปน็ ประโยชน์ต่อการพัฒนา
ตนเองและสังคม รวมทั้งการเจรจาต่อรองเพื่อขจัดและลดปัญหาความขัดแย้งต่างๆ การเลือกรับหรือไม่รับ
ข้อมูลข่าวสารด้วยหลักแหตุผลและความถูกต้อง ตลอดจนการเลือกใช้วิธีการสื่อสารท่ีมีประสิทธิภาพโดย
คานงึ ถึงผลกระทบท่ีมตี ่อตนเองและสังคม

2) ความสามารถในการคิด หมายถึง รู้จักคิดวิเคราะห์ คิดสังเคราะห์ คิดอย่างสร้างสรรค์
คิดอย่างมีจารณญาณ และคิดเป็นระบบ เพื่อนาไปสู่การสร้างองค์ความรู้หรือสารสนเทศ เพ่ือการตัดสินใจ
เกีย่ วกับตนเองและสงั คมไดอ้ ยา่ งเหมาะสม

3) ความสามารถในการแก้ปัญหา หมายถึง เข้าใจความสัมพันธ์และการเปล่ียนแปลงของ
เหตกุ ารณ์ต่างๆ ในสงั คมแสวงหาความรู้ ประยุกต์ความรู้มาใชใ้ นการป้องกัน และแก้ไขปัญหาได้อย่างถูกต้อง
เหมาะสมบนพื้นฐานของหลักเหตุผลคุณธรรมและข้อมูลสารสนเทศ รวมท้ังการตัดสินใจท่ีมีคุณภาพ โดย
คานงึ ถึงผลกระทบทเี่ กิดข้นึ ตอ่ ตนเอง สังคมและสงิ่ แวดลอ้ ม

4) ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต หมายถึง ใช้กระบวนการต่างๆ ในการดาเนิน
ชีวิตประจาวัน เรยี นรูด้ ว้ ยตนเองอย่างตอ่ เนือ่ ง ทางานและอยรู่ ว่ มกนั ในสังคมดว้ ยการสรา้ งเสรมิ ความสัมพันธ์
อันดีระหว่างบุคคล จัดการปัญหาและความขัดแย้งต่างๆ อย่างเหมาะสม รู้จักปรับตัวให้ทันกับการ
เปลยี่ นแปลงของสงั คมสภาพแวดล้อม และหลีกเลี่ยงพฤติกรรมไม่พึงประสงค์ที่มีผลกระทบต่อตนเองและผู้อ่นื

5) ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี หมายถึง รู้จักเลือกและใช้เทคโนโลยีด้านต่างๆ ทักษะ
กระบวนการทางเทคโนโลยเี พื่อพัฒนาตนเองและสังคมในด้านการเรียนรู้ การสือ่ สาร การทางาน การแก้ปัญหา
อยา่ งสรา้ งสรรค์ ถกู ต้องเหมาะสมและมคี ณุ ธรรม

2. เกณฑ์การให้คะแนนระดับคณุ ภาพสมรรถนะสาคญั ของผู้เรียน ให้ 3 คะแนน
คะแนนระดับคุณภาพ ให้ 2 คะแนน
ดเี ยี่ยม - พฤติกรรมทปี่ ฏบิ ัตชิ ัดเจนและสม่าเสมอ ให้ 1 คะแนน
ดี - พฤติกรรมที่ปฏิบัตชิ ดั เจนและบอ่ ยครัง้ ให้ 0 คะแนน
ผา่ น - พฤตกิ รรมทีป่ ฏิบตั ิบางครัง้
ดีเยีย่ ม - ไมเ่ คยปฏบิ ัติพฤติกรรม

เกณฑ์การสรุปผล ดเี ย่ยี ม 13 – 15 คะแนน
ดี 9 – 12 คะแนน
ผ่าน 1–8 คะแนน
ไม่ผา่ น 0 คะแนน

60
แนวปฏบิ ตั ิการวดั และประเมนิ ผลการเรียนรู้ ตามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาข้นั พ้ืนฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 (ปรบั ปรุง พทุ ธศกั ราช 2560)

สว่ นท่ี 6 เกณฑก์ ารตัดสนิ การเลอ่ื นช้ัน และเกณฑก์ ารจบหลักสูตร

การตดั สินการเลอ่ื นช้ัน
ในการตดั สินผลการเรียนของกลมุ่ สาระการเรยี นรู้ การอา่ น คิด วิเคราะหแ์ ละเขียน คณุ ลักษณะอัน

พึงประสงค์ และกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนนั้น ผู้สอนต้องคานึงถึงการพัฒนาผู้เรียนแต่ละคนเป็นหลัก และต้อง
เก็บข้อมูลของผู้เรียนทุกด้านอย่างสม่าเสมอและต่อเน่ืองในแต่ละภาคเรี ยนรวมท้ังสอนซ่อมเสริมผู้เรียนให้
พฒั นาจนเตม็ ตามศักยภาพ

ระดับมธั ยมศึกษา
1) ตัดสินผลการเรียนเป็นรายวิชา ผู้เรียนต้องมีเวลาเรียนตลอดภาคเรียนไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
ของเวลาเรยี นทง้ั หมดในรายวิชาน้ัน ๆ
2) ผู้เรียนต้องได้รับการประเมินทุกตัวชี้วดั และผ่านตามเกณฑ์ที่สถานศึกษากาหนด คือ ตัวชี้วัดที่
ต้องผา่ น ไม่นอ้ ยกว่าร้อยละ 50 ของแต่ละรายวิชา
3) ผเู้ รยี นตอ้ งไดร้ ับการตดั สินผลการเรยี นทุกรายวชิ า
4) ผู้เรียนต้องได้รับการประเมิน และมีผลการประเมินผ่านตามเกณฑ์ท่ีสถานศึกษากาหนด ในการ
อ่าน คดิ วิเคราะหแ์ ละเขยี น คุณลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ และกจิ กรรมพัฒนาผเู้ รียน
การพิจารณาเลื่อนช้ันในระดับมัธยมศึกษา ถ้าหากผู้เรียนมีข้อบกพร่องเพียงเล็กน้อย และ
สถานศกึ ษาพจิ ารณาเหน็ วา่ สามารถพัฒนาและสอนซ่อมเสริมได้ ใหอ้ ยใู่ นดุลพินิจของสถานศึกษาที่จะผ่อนผัน
ใหเ้ ล่ือนชน้ั ได้ แตห่ ากผู้เรยี นไม่ผา่ นรายวิชาจานวนมากและมีแนวโน้มว่าจะเป็นปญั หาตอ่ การเรียนในระดับช้ัน
ที่สูงข้ึน สถานศึกษาจะตั้งคณะกรรมการพิจารณาให้เรียนซ้าช้ันได้ โดยท้ังน้ีจะคานึงถึงวุฒิภาวะและความรู้
ความสามารถของผูเ้ รียนเป็นสาคญั

เกณฑก์ ารจบการศึกษา

กาหนดเกณฑ์กลางสาหรับการจบการศกึ ษาเป็น 2 ระดบั คอื ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น และ
ระดบั มธั ยมศึกษาตอนปลาย

2.1. เกณฑก์ ารจบระดับมัธยมศกึ ษาตอนตน้
1. ผู้เรียนเรียนรายวิชาพ้ืนฐานและเพิ่มเติมโดยรายวิชาพ้ืนฐาน 66 หน่วยกิต และรายวิชาเพ่ิมเติม

ตามทส่ี ถานศึกษากาหนด
2. ผู้เรียนต้องได้หน่วยกิต ตลอดหลักสูตรไม่น้อยกว่า 77 หน่วยกิต โดยเป็นรายวิชาพื้นฐาน 66

หน่วยกิต และรายวิชาเพิม่ เตมิ ไมน่ ้อยกว่า 11 หนว่ ยกติ
3. ผู้เรียนมีผลการประเมิน การอ่าน คิดวิเคราะห์และเขียน ในระดับผ่านเกณฑ์การประเมินตามท่ี

สถานศึกษากาหนด
4. ผู้เรียนมีผลการประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ในระดับผ่านเกณฑ์การประเมินตามท่ี

สถานศึกษากาหนด
5. ผเู้ รียนเข้ารว่ มกจิ กรรมพัฒนาผู้เรียนและมีผลการประเมนิ ผ่านเกณฑ์การประเมนิ ตามทส่ี ถานศึกษา

กาหนด

61

แนวปฏบิ ตั ิการวัดและประเมนิ ผลการเรยี นรู้ ตามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขั้นพ้นื ฐาน พทุ ธศักราช 2551 (ปรบั ปรงุ พทุ ธศกั ราช 2560)

2.2. เกณฑ์การจบระดบั มัธยมศึกษาตอนปลาย
1. ผู้เรียนเรียนรายวิชาพ้ืนฐานและเพิ่มเติม โดยเป็นรายวิชาพื้นฐาน 41 หน่วยกิต และรายวิชา

เพ่ิมเตมิ ตามทส่ี ถานศกึ ษากาหนด
2. ผู้เรียนต้องได้หน่วยกิต ตลอดหลักสูตรไม่น้อยกว่า 77 หน่วยกิต โดยเป็นรายวิชาพื้นฐาน 41

หนว่ ยกิต และรายวชิ าเพิม่ เตมิ ไมน่ อ้ ยกวา่ 36 หน่วยกติ
3. ผู้เรียนมีผลประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์และเขียน ในระดับผ่านเกณฑ์การประเมินตามท่ี

สถานศกึ ษากาหนด
4. ผู้เรียนมีผลการประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ในระดับผ่านเกณฑ์การ ประเมินตามท่ี

สถานศกึ ษากาหนด
5. ผู้เรียนเข้าร่วมกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนและมีผลประเมินผ่านเกณฑ์การประเมินตามท่ีสถานศึกษา

กาหนด

ส่วนท่ี 7 การประเมนิ ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนระดับชาติ (National test)

ในการประเมินผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนด้วยแบบประเมินผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนที่เป็นระดับ การ
ทดสอบทางการศึกษาในระดับชาติขั้นพื้นฐาน (Ordinary National Education Test ย่อ O-Net)
กระทรวงศึกษาธิการได้กาหนดให้มีการประเมินเพื่อตรวจสอบคุณภาพการศึกษาทุกระดับชั้น เพื่อให้การ
ดาเนินงานเป็นไปอย่างมปี ระสิทธภิ าพ โรงเรียนจึงไดก้ าหนดแนวทางปฏิบัติไว้ดังนี้

1. ผ้แู ทนสถานศกึ ษาเขา้ รับการประชมุ ช้ีแจงวธิ กี ารดาเนินการทดสอบรว่ มกบั สานักงานเขตพ้ืนท่ี
2. จัดสง่ รายช่อื คณะกรรมการดาเนนิ งานประเมินคณุ ภาพการศึกษา ประกอบดว้ ยประธานกรรมการ
คณะกรรมการกลาง กรรมการควบคุมห้องสอบ คณะกรรมการตรวจคาตอบชนิดเขียนตอบ และกรรมการ
รับ – ส่งขอ้ สอบ ส่งไปใหส้ านกั งานเขตพ้ืนทเ่ี พอื่ แต่งต้ัง
3. คณะกรรมการบริหารหลักสูตรและวิชาการประชุมช้ีแจงคณะกรรมการดาเนินการประเมิน
คุณภาพตามคาส่ังจากข้อ 2 ถึงวิธีการดาเนินการสอบเพ่ือให้เกิดความเข้าใจและปฏิบัติได้ตรงกัน ตามแนว
ปฏิบัติในคู่มือการประเมินผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนของนักเรียนเพื่อให้เกิดความยุติธรรม และเป็นไปตามการ
ดาเนนิ การสอบแบบทดสอบมาตรฐานอย่างเคร่งครัด
4. คณะกรรมการกลางจัดพิมพ์รายชื่อพร้อมกาหนดรหัส / เลขท่ีนักเรียนตามจานวนนักเรียน /
ห้องเรียน ท่ีกาหนดไว้ในคู่มือ นาไปประกาศไว้หน้าห้องสอบแต่ละห้อง เพ่ือให้นักเรียนได้ทราบว่าตนเอง
เลขท่ีเทา่ ไร สอบห้องท่เี ท่าใด พร้อมตดิ เลขที่ของนกั เรยี นไว้บนโต๊ะทีน่ งั่ สอบ
5. คณะกรรมการบริหารหลักสูตรและวิชาการประชุมชี้แจงนักเรียนให้ตระหนักถึงความสาคัญของ
การประเมินผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนระดับชาติ ทั้งในด้านส่วนตัว ระดับโรงเรียน ระดับเขต และระดับชาติ
ควรใหค้ วามร่วมมอื ตง้ั ใจในการสอบอย่างเตม็ ความสามารถ
6. กรณีท่ีนักเรียนไม่ได้รับการประเมินตามวันเวลาที่กาหนด ให้สถานศึกษาแต่งตั้งผู้รับผิดชอบ
ตดิ ตาม และประสานงานกบั เขตพืน้ ทด่ี าเนนิ การประเมนิ ให้เสรจ็ สิน้ ภายใน 2 สัปดาห์ หลงั จากทราบรายชอื่
นกั เรยี นทีย่ ังไม่ได้รบั การประเมนิ
7. เมื่อสานักงานเขตพื้นที่แจ้งผลการประเมินมายังสถานศึกษา ให้นาผลการประเมินมาทบทวน
คุณภาพร่วมกันระหว่างคณะกรรมการบริหารหลักสูตรและวิชาการ กับคณะกรรมการสถานศึกษา และแจ้ง
ผลการประเมินให้ผู้เกี่ยวข้องทราบผลและดาเนินการต่อไป โดยเฉพาะผู้เรียนและครูผู้สอนนาไปพิจารณาใน
การพัฒนาปรับปรุงตนเองตอ่ ไป

62

แนวปฏบิ ตั ิการวัดและประเมนิ ผลการเรยี นรู้ ตามหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาขนั้ พืน้ ฐาน พุทธศกั ราช 2551 (ปรับปรงุ พุทธศักราช 2560)

ตอนที่ 3

แนวทางการวัดและประเมินผลการเรยี นรู้ของสถานศกึ ษา ภายใตส้ ถานการณก์ ารแพร่ระบาด
ของโรคตดิ เชอ้ื ไวรสั โคโรนา 2019 (COVID-19)
ปีการศกึ ษา 2564 โรงเรียนวดั ราชบพธิ

แนวทางการวัดและประเมนิ ผลการเรยี นร้ขู องสถานศกึ ษา ภายใต้สถานการณ์การแพร่ระบาด
ของโรคติดเชอื้ ไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)
ปีการศกึ ษา 2564 โรงเรียนวดั ราชบพธิ

สานักงานเขตพ้ืนทีก่ ารศึกษามธั ยมศึกษา กรุงเทพมหานคร เขต 1

เนื่องจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเช้ือไวรสั โคโรนา 2019 (COVID-19) ในเขตพืน้ ท่ี
กรุงเทพมหานคร ทาให้ทางโรงเรียนดาเนินการจัดการเรียนการสอนออนไลน์ต้ังแต่เปิดภาคเรียนที่ 1 -2
ประจาการศึกษา 2564 ท้ังนี้ทางโรงเรียนได้กาหนดการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ในสถานการณ์โควิด -19
ตามแนวทางการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ของสถานศึกษาในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเช้ือ
ไวรสั โคโรนา 2019 (COVID-19) ดังน้ี

1. การนบั เวลาเรียน
1.1 การนับเวลาเรียนตามหลักสูตรในแต่ละรายวิชาเป็นไปตามลักษณะของการจัดกิจกรรม

การเรียนการสอนในแต่ละคร้ังนับรวมกัน ทั้งแบบการเรียนแบบประสานเวลา (Synchronous) และการเรียน
แบบไมป่ ระสานเวลา (Asynchronous) ให้นับเวลาเรียนตามกิจกรรม หรือการปฏบิ ตั ิกิจกรรมตามตารางเรียน
และตามท่ีครูแต่ละวิชากาหนด โดยภาระงานหรือกิจกรรมนัน้ มีการระบุไว้อย่างชัดเจนในกาหนดการสอนของ
แต่ละรายวิชา

1.2 กรณที ่ีนักเรียนมีเวลาเรยี นไม่ถงึ ร้อยละ 60 ในรายวิชาใด ๆ โรงเรียนจัดให้ครูผู้สอนติดตาม
ดว้ ยวิธกี ารตา่ ง ๆ ดงั นี้

1.2.1 การเรยี นซ่อมเสรมิ เพิ่มเติม
1.2.2 การเขา้ เรยี นระบบ On-demand
1.2.3 การมอบหมายงานจากการศึกษาด้วยตนเองในรูปแบบต่าง ๆ (On Hand) ทั้งน้ี
นักเรียนท่ีมีเวลาเรียนไม่ถึงร้อยละ 60 ต้องปฏิบัติตามวิธีการดังกล่าวตามที่ครูผู้สอนในรายวิชาน้ันกาหนด
จนกว่าเวลาเรียนครบรอ้ ยละ 60
1.3 หากนักเรยี นไมเ่ ขา้ เรยี น ซอ่ มเสรมิ หรือไม่ปฏบิ ัติตามแนวทางดังกล่าวข้อใดข้อหนง่ึ ข้างต้น
ซงึ่ ครูประจาวชิ าไดต้ ดิ ตามนักเรียนแลว้ นกั เรยี นจะได้รับผลการเรยี นในรายวิชาน้ัน ๆ เป็น "ร"

2. การตดิ ตามการเขา้ เรียนออนไลนข์ องนกั เรยี น
การติดตามการเข้าเรียนออนไลน์ของนักเรยี น จะดาเนินการสารวจรายชอ่ื นักเรยี นที่เข้าเรยี น

รายวัน โดยมแี นวทางการดาเนินงานดงั น้ี
2.1 บทบาทหนา้ ทีข่ องครูผู้สอน
2.1.1 การจัดการการเรยี นการสอนรูปแบบออนไลน์ (Online Learning)
ครผู ู้สอนดาเนนิ การจัดการเรียนการสอนรูปแบบออนไลน์ ดังน้ี
1) ให้ครูผู้สอนดาเนินการจัดการเรียนการสอนแบบเผชิญหน้ารูปแบบออนไลน์

(Online Learning) โดย ผา่ นระบบหอ้ งเรียนออนไลน์ (Google Classroom) ท่ีโรงเรียนกาหนด
2) ให้ครูผู้สอนใช้ตารางสอนตามตารางปกติ โดยจัดกิจกรรมการเรียนการสอน

คาบละ 40 นาที ตามตารางเรียน เพ่ือให้นักเรียนมีช่วงพักและเตรียมเข้าเรียนในคาบเรียนต่อไป ประกอบกับ
ครผู สู้ อนมเี วลาในการเตรยี มการสอนในคาบเรียนต่อไปเช่นกัน ให้ใช้จนกว่าจะมีประกาศเปลยี่ นแปลง

3) ครผู ู้สอนสามารถจดั กจิ กรรมการเรยี นการสอนไดห้ ลากหลายตามบริบทของวชิ าเรียน
4) ครูผู้สอนควรมอบหมายงานตามความเหมาะสม โดยยังคงใช้แนวปฏิบัติการลด
ภาระงานของทางโรงเรยี น โดยงดเว้นการสัง่ งานทใ่ี ห้นักเรียนมารวมตัวกันทางาน

64

2.1.2 ส่ือการเรียนการสอน
1) ใบความรู้ หรอื หนงั สอื เรียน
2) ใบงาน
3) ส่ือวิดีโอการสอนที่ครูผลิตข้ึนเอง สื่อการสอนท่ีผลิตจากการถ่ายทอดสด หรือสื่อ

วดิ โี อจากแหลง่ เรียนรู้ตา่ ง ๆ ทเี่ กยี่ วขอ้ งกบั เนือ้ หาสาระฯ ในแต่ละรายวชิ า
2.1.3 การบนั ทึกการลงเวลาเรยี นของนักเรยี นผา่ นระบบการบันทึกออนไลน์ (Online Learning)
ให้ครูผู้สอนบันทึกการลงเวลาเรียนของนักเรียนทุกวัน ทันทีที่ครูผู้สอนสอนรายวิชานั้น ๆ

เสร็จสิ้น เพื่อตรวจสอบการเข้าเรียนของนักเรียนในแต่ละรายวิชาตามแบบรายงานท่ีกลุ่มบริหารวิชาการ
ดาเนินการจัดส่งให้

2.2 บทบาทหน้าทข่ี องครูท่ปี รึกษา
2.2.1 ให้ครูที่ปรึกษาดาเนินการ พบปะนักเรียนในท่ีปรึกษาทุกวัน ในคาบ Homeroom

เวลา 08.00-08.20 น.
2.2.2 เช็คสถติ ิการเข้าเรยี นออนไลน์รายวนั กรณีนกั เรียน เข้าเรียนสาย ขาดเรยี น หรือลา

โรงเรยี น ให้กากับติดตามอย่างใกล้ชดิ และเป็นปัจจบุ นั เพอื่ จะไดไ้ มเ่ ปน็ ปัญหาเรือ่ งเวลาเรยี น
2.2.3 ดาเนินการแจ้งผู้ปกครองของนักเรียนท่ีมีเวลาเรียนน้อยกว่าร้อยละ 60 ของเวลา

เรียนผ่านช่องทางที่เหมาะสมเป็นรายบุคคล โดยใช้วิธสี ่งข้อความผ่านไลน์ หรือโทรศัพท์แจ้งผู้ปกครอง เพื่อให้
ผู้ปกครองทราบถึงพฤติกรรมการเรียนของนักเรียน รวมไปถึงสอบถามปัญหาในการเข้าเรียนออนไลน์ของ
นกั เรยี นดว้ ย

2.2.4 ดาเนินการสื่อสาร ช้ีแจง และทาความเข้าใจกับนักเรียนถึงความจาเป็นในการปรับ
วิธกี ารจัดการเรียนการสอน และสารวจสภาพปัญหา ตลอดจนการเตรียมความพร้อมนักเรียนก่อนการเข้าเรียน
รายวัน ทั้งนี้ ขอความร่วมมือหัวหน้าระดับกากับติดตามและประสานความร่วมมือระหว่างครูท่ีปรึกษา
นักเรยี น และผปู้ กครอง

2.3 บทบาทหนา้ ทข่ี องผปู้ กครอง
ในกรณีทผี่ ปู้ กครองพบปัญหาในการเรียนของนักเรียนให้ประสานงานกับครูที่ปรึกษาเพ่ือ

รว่ มกันพจิ ารณาและแกไ้ ขปญั หาเปน็ รายกรณี ดงั น้ี
2.3.1 ประสานขอความรว่ มมอื จากผู้ปกครองและเครอื ขา่ ยผปู้ กครองกาชบั นกั เรียนปฏบิ ัติ

กิจกรรมท่ีได้รับมอบหมายจากครูผู้สอนในแต่ละรายวิชาและให้ดาเนินการอย่างครบถ้วน เน่ืองจากเป็น
สว่ นหนง่ึ ของการติดตามผู้เรียน และการประเมนิ ผลการเรียนในแต่ละรายวชิ า

2.3.2 ประสานงานกับครูที่ปรึกษาในการกากับ ติดตาม และสนับสนุนนักเรียนในด้าน
อปุ กรณ์ วิธีการ และกาลังใจ ในการเรยี นผ่านระบบออนไลน์

2.3.3 อานวยความสะดวกแก่บุตรหลาน ครูท่ีปรึกษา ครูผู้สอน และกากับติดตาม
ควบคุมดูแลนักเรียนในการเรยี นอย่ทู ่ีบ้าน

2.3.4 วัดและประเมินผลคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของนักเรียน (ตามแบบประเมินที่
โรงเรียนกาหนด)

65

2.4 บทบาทหนา้ ทข่ี องนกั เรยี น
1) เข้าเรียนในรูปแบบเผชิญหน้า (Google Meet) ผ่านระบบออนไลน์ (Online

Learning) ด้วยระบบห้องเรียนออนไลน์ (Google Classroom) ท่ีโรงเรียนกาหนด ตามตารางเรียนของ
รายวิชาน้ัน ๆ โดยนักเรียนเปิดกล้องให้ครูผู้สอนได้ตรวจสอบการเข้าชั้นเรียน ครูประจาวิชาจะมอบหมาย
ใบความรู้และใบงานให้นักเรียนได้ศึกษา อีกทั้งให้นักเรียนได้ศึกษาแหล่งเรียนรู้จากส่ือการสอนท่ีครูผลิต
ข้นึ เอง หรือสอ่ื จากแหล่งเรียนร้ตู ่าง ๆ ท่เี กย่ี วข้องกับเนอ้ื หาสาระฯ ในแต่ละรายวิชา บนระบบ Google Classroom

2) ในช่วงการจัดการเรียนการสอนผ่านระบบออนไลน์ (Online Learning) ให้นักเรียน
ใช้ตารางเรียนเวลาคาบละ 40 นาที ตามตารางเรียน โดยแต่ละวิชาจะมีช่วงพักให้นักเรียน 10 นาที เพื่อให้
นกั เรียนมีชว่ งพกั และเตรยี มเขา้ เรยี นในคาบเรียนตอ่ ไป จนกว่าจะมีประกาศเปลี่ยนแปลง

3) การเข้า Homeroom ให้นักเรยี นเขา้ พบพูดคุยกบั ครูท่ีปรึกษา เวลา 08.00-08.20 น.
ของทุกวนั เพ่ือเตรียมความพร้อมการเข้าเรียนในแต่ละวนั

4) นกั เรยี นทาแบบทดสอบ ภาระงาน หรือกิจกรรมงานใด ๆ ทค่ี รูผู้สอนมอบหมาย และ
สง่ งานตามเวลาทกี่ าหนดเพ่ือการนบั เวลาเรียน

3. การวดั และประเมินคณุ ภาพผเู้ รียน ตามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาข้ันพืน้ ฐาน พ.ศ.2551
รายวิชาพ้นื ฐาน และรายวิชาเพ่มิ เติม
3.1 ครวู ดั และประเมนิ ผลตามสภาพจริง ตามความพรอ้ มและเหมาะสมกบั บริบทของนักเรียน
3.2 การตดั สนิ ผลการเรยี นรายวชิ า แบง่ เปน็ คะแนนระหว่างเรยี น และคะแนนกลางภาค

คะแนนหลังกลางภาค และคะแนนปลายภาค มรี ายละเอยี ดดังน้ี
3.2.1 คะแนนระหว่างเรียนหรือคะแนนกลางภาค สัดส่วน 50 คะแนน โดยมีแนวปฏิบตั ิ

ในการวัดและประเมนิ ผล ดว้ ยวิธีการที่หลากหลาย กาหนดระยะเวลาชดั เจน ยืดหย่นุ แก่ผูเ้ รียน ดังน้ี
1) ทาแบบทดสอบออนไลน์ตามตารางเรยี น
2) การประเมนิ ผลคะแนนจากจัดทาช้นิ งาน/ ใบงาน/ กิจกรรม/ ภาคปฏบิ ตั ิ/

การนาเสนอผลงานระหวา่ งภาค ตามทีค่ รูผูส้ อนมอบหมายใหน้ กั เรยี นปฏิบัติ
3) สงั เกตพฤตกิ รรม/ ตอบคาถาม/ การพูดคุย/ สอบปากเปลา่ ขณะเรยี นออนไลน์
4) การบรู ณาการชน้ิ งาน
5) การนาเสนองานในรูปแบบตา่ ง ๆ

เพอ่ื บรรลตุ ามมาตรฐานและตวั ช้ีวัดของหลักสูตร โดยวดั และประเมินผลตามสภาพจริง
คานึงถงึ คุณภาพของนักเรยี นเป็นสาคญั

3.2.2 คะแนนหลังกลางภาค และปลายภาค สัดส่วน 50 คะแนน โดยมีแนวปฏิบัติ
ในการวดั และประเมนิ ผล ดว้ ยวธิ ีการทหี่ ลากหลาย กาหนดระยะเวลาชดั เจน ยืดหยนุ่ แกผ่ ู้เรยี น ดงั น้ี

1) ทาแบบทดสอบออนไลนต์ ามตารางเรียน
2) การประเมินผลคะแนนจากจดั ทาชนิ้ งาน/ ใบงาน/ กิจกรรม/ ภาคปฏิบตั /ิ
การนาเสนอผลงานปลายภาค ตามท่คี รผู สู้ อนมอบหมายใหน้ กั เรยี นปฏิบัติ
3) สงั เกตพฤติกรรม/ ตอบคาถาม/ การพดู คยุ / สอบปากเปล่า ขณะเรยี นออนไลน์
4) การบรู ณาการชิน้ งาน
5) การนาเสนองานในรูปแบบต่าง ๆ
เพื่อบรรลุตามมาตรฐานและตัวชี้วัดของหลักสูตร โดยวดั และประเมินผลตามสภาพจริง
คานึงถงึ คณุ ภาพของนกั เรียนเปน็ สาคญั

66

กิจกรรมพัฒนาผู้เรยี น
1. กจิ กรรมพฒั นาผู้เรียน แบ่งเป็น 3 ลกั ษณะ คอื

1.1 กิจกรรมแนะแนว เป็นกิจกรรมท่ีส่งเสริมและพัฒนาความสามารถของผู้เรียนให้
เหมาะสมตามความแตกต่างระหว่างบุคคล สามารถค้นพบและพัฒนาศักยภาพของตนเสริมสร้างทักษะชีวิต
วุฒิภาวะทางอารมณ์ การเรยี นรใู้ นเชิงพหปุ ัญญา และการสร้างสัมพันธภาพท่ีดี ซงึ่ ครูต้องทาหน้าที่แนะแนว
ใหค้ าปรกึ ษาด้านชีวิต การศกึ ษาต่อและการพัฒนาตนเองสูโ่ ลกอาชพี และการมงี านทา

1.2 กจิ กรรมนกั เรียน เป็นกจิ กรรมท่ีผ้เู รยี นเปน็ ผู้ปฏบิ ตั ดิ ว้ ยตนเองอยา่ งครบวงจรตั้งแต่
ศึกษาวิเคราะห์ วางแผน ปฏิบัติตามแผน ประเมิน และปรับปรุงการทางาน โดยเน้นการทางานร่วมกัน
อย่างเป็นกลุ่ม ได้แก่ โครงงาน กิจกรรมตามความสนใจชุมนุมวชิ าการ กิจกรรมพัฒนานิสยั รักการอ่าน การคิด
วเิ คราะห์ และเขยี น กิจกรรมสาธารณประโยชน์ ลูกเสอื เนตรนารี ยวุ กาชาด และ ผู้บาเพ็ญประโยชน์ และ
กิจกรรมพัฒนาคณุ ลักษณะอนั พึงประสงคข์ องผู้เรยี น

1.3 กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์ เป็นกิจกรรมท่ีส่งเสรมิ ใหผ้ ู้เรียนบาเพ็ญตน
ให้เป็นประโยชน์ต่อสังคม ชุมชน และท้องถ่ิน ตามความสนใจในลักษณะอาสาสมัคร เพ่ือแสดงถึง
ความรับผิดชอบ ความดีงาม ความเสียสละต่อสังคม มีจิตสาธารณะ เช่น กิจกรรมอาสาพัฒนาต่าง ๆ
กิจกรรมสร้างสรรค์สังคม โดยนักเรียนดาเนินการจัดทากิจกรรมต่าง ๆ ท่ีแสดงถึงการมีจิตอาสาเพ่ือสังคมและ
สาธารณประโยชน์ และส่งหลกั ฐานการดาเนนิ กิจกรรมมายังครทู ป่ี รึกษาเพ่ือบนั ทึกผลการทากิจกรรมได้ตลอดภาคเรยี น

2. การประเมินกจิ กรรมพฒั นาผู้เรยี นรายกิจกรรม
2.1 ผรู้ ับผิดชอบกจิ กรรมประเมินการปฏิบัตกิ จิ กรรมของผู้เรียนตามจุดประสงคข์ องแต่ละ

กิจกรรม โดยประเมินจากพฤติกรรมการปฏิบัติกิจกรรมและผลการปฏิบัติกิจกรรมด้วยวิธีการที่หลากหลาย
ตามสภาพจรงิ

2.2 ผู้รบั ผิดชอบกจิ กรรมตรวจสอบเวลาเข้ารว่ มกิจกรรมของผู้เรียนวา่ เป็นไปตามเกณฑ์ที่
สถานศกึ ษากาหนดไว้หรอื ไม่

2.3 ตัดสินให้ผู้เรียนที่ผ่านจุดประสงค์สาคัญของกิจกรรม มีผลงานชิ้นงานหรือหลักฐาน
ประกอบและมีเวลาเข้าร่วมกิจกรรมครบตามเกณฑ์ ให้เป็นผู้ผ่านการประเมินผลการร่วมกิจกรรม ผู้ เรียน
ที่มีผลการประเมินบกพร่องในเกณฑ์ใดเกณฑ์หน่ึง จะเป็นผู้ไม่ผ่านการประเมินผลการร่วมกิจกรรม จะต้อง
ซอ่ มเสรมิ ขอ้ บกพรอ่ งให้ผ่านเกณฑ์ก่อน จงึ จะได้รบั การตดั สนิ ให้ผ่านกจิ กรรม

การวัดและประเมินผลคุณลักษณะอนั พึงประสงค์
การจัดการเรียนการสอนในภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2564 โรงเรียนได้ดาเนินการใน
รูปแบบออนไลน์ (Online) และการศึกษาด้วยตนเองในรูปแบบต่าง ๆ (On Hand) ท้ังประสานเวลาและ
ไม่ประสานเวลา การวัดและประเมินผลด้านคุณลักษณะอันพึงประสงค์ (Attributes) จึงใช้การสังเกตและ
ตรวจสอบพฤติกรรมการเรียนจากที่บ้านของนักเรียนเป็นหลัก โดยให้ "ผู้ปกครอง" มีส่วนร่วมในการประเมิน
พฤติกรรมของผู้เรียนผ่านการดาเนินชีวิตประจาวัน การทากิจกรรมท่ีบ้าน การเรียนออนไลน์ และการทางาน
ทไ่ี ดร้ ับมอบหมาย โดยผปู้ กครองจะได้รบั แจ้งใหป้ ระเมินผลคณุ ลักษณะอนั พึงประสงค์ผา่ นระบบออนไลน์ ดังน้ี

1) รักชาติ ศาสน์ กษัตรยิ ์
2) ซอ่ื สัตยส์ ุจริต
3) มวี นิ ัย
4) ใฝเ่ รยี นรู้
5) อยูอ่ ย่างพอเพียง
6) มงุ่ ม่ันในการทางาน
7) รกั ความเปน็ ไทย
8) มีจติ สาธารณะ

67

โดยแบง่ การประเมินเป็นระดบั พฤตกิ รรม ดงั นี้1 ผลการประเมนิ
ค่าคะแนน ดีเยี่ยม
ดี
3 ผา่ น
ไม่ผ่าน
2

1

0

4. การเปล่ียนผลการเรียน "ร"
4.1 นักเรียนท่ีมีผลการเรียน "ร" ให้นักเรียนติดต่อประสานการแก้ไขผลการเรียนและ

รับภาระงานกับครูผู้สอน ผ่านระบบออนไลน์ที่ครูผู้สอนได้แจ้งไว้รูปแบบใดรูปแบบหนึ่ง เช่น ไลน์ (Line)
เฟซบุ๊ก (Facebook) เป็นต้น หากนักเรียนดาเนินการภาระงานท่ีได้รับมอบหมายเรยี บรอ้ ยแล้ว ให้ดาเนินการ
สง่ ครูผ้สู อนประจาวิชาผา่ นระบบออนไลน์ท่คี รูผู้สอนไดแ้ จ้งไว้ ตามวนั เวลาทก่ี าหนด

5. การสอนซ่อมเสริม
การสอนซอ่ มเสรมิ เปน็ สว่ นหนึ่งของกระบวนการจัดการเรยี นรแู้ ละเปน็ การให้โอกาสแก่

นกั เรียนได้มีเวลาเรยี นรสู้ ง่ิ ต่าง ๆ เพิม่ ขึ้น จนสามารถบรรลุตามมาตรฐานการเรียนร้/ู ตวั ชี้วัดทก่ี าหนดให้ โดย
การจดั การสอนซอ่ มเสรมิ ชว่ งสถานการณ์การแพรร่ ะบาดของโรคติดเช้อื ไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) หรือ
การปิดสถานศึกษาเน่อื งด้วยเหตพุ เิ ศษ สามารถดาเนนิ การได้ ดังนี้

5.1 ผลการเรียนไม่ถึงเกณฑ์ และ/หรือต่ากว่าเกณฑ์การประเมิน โดยนักเรียนได้ระดับ
ผลการเรียน "0" ต้องจัดการสอนซ่อมเสริมก่อนจะให้นักเรียนสอบแก้ตัวผ่านระบบออนไลน์ท่ีครูผู้สอนได้แจ้ง
และกาหนดไว้

5.2 นักเรียนมีเวลาเรียนไม่ถึงร้อยละ 60 ในรายวิชาใด โรงเรียนจัดให้ครูผู้สอนติดตาม
ด้วยวิธีการต่าง ๆ เช่น การเรียนช่อมเสริมเพ่ิมเติม การเข้าเรียนระบบ On-demand หรือการมอบหมายงาน
จากการศึกษาด้วยตนเองในรูปแบบต่าง ๆ (On Hand) จนกว่าเวลาเรียนครบร้อยละ 60 หากนักเรียนไม่เข้า
เรียนช่อมเสริมหรือไม่ปฏิบัติตามแนวทางดังกล่าว จะได้รับการประเมินผลเป็น "ร" ตามแนวทางข้อท่ี 1
(การนบั เวลาเรียน)

โรงเรยี นวัดราชบพิธ
ประกาศใช้ ณ วนั ที่ 1 ตลุ าคม 2564

68

กระบวนการวัดและประเมนิ ผลการจัดการเรียนการสอนออนไลน์ ปกี ารศึกษา 2564
โรงเรียนวัดราชบพิธ

ฝา่ ยบรหิ ารประชุมวางแผนและกาหนดแนวทาง
การวดั และประเมนิ ผลออนไลน์

งานวัดและประเมินผลดาเนินการขับเคลอื่ น

กาหนดรปู แบบการวดั และประเมนิ ผล

ผ้สู อนแจง้ แนวทางการวัดและประเมินผลตามรายวิชาให้นกั เรียนและผู้ปกครองรับทราบ

จัดการเรียนรู้ On-time ครูจัดการเรยี น จดั การเรียนรโู้ ดย
ตามตารางเรยี น การสอนออนไลน์ สรา้ งส่ือการเรยี นรู้

รูปแบบการวดั และประเมนิ ผล

1. ทาแบบทดสอบออนไลน์
2. การประเมินผลคะแนนจากทาชนิ้ งาน/ใบงาน/กจิ กรรม/ภาคปฏบิ ัติ
3. สังเกตพฤตกิ รรม/ตอบคาถาม/การพดู คยุ /สอบปากเปลา่ ขณะออนไลน์

4. การบรู ณาการช้นิ งาน
5. การนาเสนองานในรปู แบบตา่ ง ๆ

หวั หนา้ กลุม่ สาระฯ นเิ ทศ ตดิ ตาม แกป้ ญั หา ครทู ีป่ รกึ ษา
ช่วยเหลอื สนับสนุน

ครผู สู้ อนดาเนินการวัดและ นกั เรยี นไมร่ ว่ มมือ
ประเมินผลออนไลน์

นกั เรยี นรว่ มมอื

บันทึกคะแนนผา่ นงานวดั และประเมินผล
โดยกาหนดสดั สว่ นคะแนนระหวา่ งเรียน : หลังกลางภาคเรยี น 50:50 (ตามตัวช้วี ัด/ผลการเรยี นร)ู้

แจ้งผลคะแนนระหว่างเรยี นใหน้ ักเรียนและผปู้ กครองรบั ทราบ

69

เอกสารอ้างอิง

ซนาธิป ท้ยุ แป. (2564). การวัดและประเมินคุณภาพผ้เู รียน ตามหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาขั้นพ้นื ฐาน
พุทธศักราช 2551 ภายใต้สถานการณก์ ารแพร่กระจายของเชือ้ โรคโคโรนา 2019. กรุงเทพฯ:
สานกั ทดสอบทางการศกึ ษา สพฐ. (เอกสารเผยแพร่)

ถนอม บุญโต. (2564). ซกั ซอ้ มความเขา้ ใจเกีย่ วกับแนวปฏบิ ตั ิการนบั เวลาเรียน การสอนชดเชย
การจดั การเรียนรู้ตามหลกั สตู ร ปีการศกึ ษา 2564 และการอนุมตั ิการจบการศึกษาภาคเรียนท่ี 2
ปีการศกึ ษา 2563 (หลังวนั ท่ี 15 พฤษภาคม 2564). กรงุ เทพฯ: สานักงานเขตพน้ื ที่การศกึ ษา
มธั ยมศึกษา กรุงเทพมหานคร เขต 1. (ลงวันที่ 1 มิ.ย. 2564)

รตั นา แสงบัวเผอ่ื น, วษิ ณุ ทรัพยส์ มบตั .ิ การวดั และประเมินคณุ ภาพผู้เรียน ตามหลักสตู รแกนกลาง
การศกึ ษาขัน้ พื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ภายใตส้ ถานการณก์ ารแพร่กระจายของเชื้อโรคโคโรนา
2019. กรุงเทพฯ: สานกั ทดสอบทางการศึกษา สพฐ. (เอกสารเผยแพร่)

สานกั วิชาการและมาตรฐานการศึกษา. (2553). แนวทางการพฒั นา การวดั และประเมินคุณลกั ษณะ
อันพงึ ประสงค์ ตามหลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาชน้ั พน้ื ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551. กรุงเทพฯ:
สานกั คณะกรรมการการศกึ ษาข้ันพืน้ ฐาน กระทรวงศกึ ษาธิการ.

70

ภาคผนวก

71

นายปราโมทย์ ทวีตั๊งตระกลู คณะกรรมก
นายวรพล ศรีเทพ
นายอนวัช ไขข่ าว ผู้อานวยการโรงเรยี
นางสาวพรสดุ า พูนสถาพรตระกูล รองผอู้ านวยการกล
นางสาวนรี นชุ อดุ มโคตร ผู้ชว่ ยรองผอู้ านวยก
นางสาวนันทพร จันทรว์ ริ ิยะกุล หัวหนา้ งานทะเบีย
นางสาวพอฤทัย ประเสรฐิ ศักดิ์ หวั หน้ากล่มุ สาระก
นายพิพฒั น์พงษ์ ดามาก หัวหนา้ กลุ่มสาระก
นางสาวลกั ษมี ต้งั ศิรธิ งชยั หัวหน้ากลมุ่ สาระก
นายชยั วฒุ ิ สวสั ดช์ิ ยั หวั หน้ากลุ่มสาระก
นายปัญญา เกลา้ กระโทก หวั หน้ากลมุ่ สาระก
นายปณั ณวฒั น์ สรุ กรี ตกิ ุล หวั หน้ากลุ่มสาระก
นางสาวพิชญภ์ รณ์ เกอ้ื อรุณ หวั หนา้ กลุ่มสาระก
นางสาวสุวนี ลลิตเลิศลา้ หัวหน้ากลุ่มสาระก
นางสาวนัชชา ไวยศลิ ป์ หวั หนา้ กจิ กรรมพฒั
นางสาวพรชนก เหลอื งไตรรัตน์ ผชู้ ว่ ยรองผอู้ านวยก
ผู้ชว่ ยงานวัดและป
ผชู้ ว่ ยงานวัดและป

72

การดาเนินงาน ประธานกรรมการ
รองประธานกรรมการ
ยน กรรมการ
ลมุ่ บรหิ ารวิชาการ กรรมการ
การและหวั หนา้ งานหลักสตู รสถานศึกษา กรรมการ
ยน กรรมการ
การเรียนรภู้ าษาไทย กรรมการ
การเรียนรู้คณิตศาสตร์ กรรมการ
การเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ฯ กรรมการ
การเรยี นรสู้ ังคมศึกษา ฯ กรรมการ
การเรียนรู้ภาษาตา่ งประเทศ กรรมการ
การเรยี นรู้ศิลปะ กรรมการ
การเรียนรสู้ ุขศกึ ษาและพลศึกษา กรรมการ
การเรียนรู้การงานอาชพี กรรมการและเลขานุการ
ฒนาผ้เู รยี น กรรมการและผู้ช่วยเลขานุการ
การและหวั หนา้ งานวดั และประเมนิ ผล กรรมการและผ้ชู ่วยเลขานกุ าร
ประเมนิ ผล
ประเมินผล


Click to View FlipBook Version