The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

ระเบียบว่าด้วยการวัดและประเมินผลวัดราชบพิธ2564.สมบูรณ์

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by worapolsrithep, 2021-11-29 21:09:08

ระเบียบว่าด้วยการวัดและประเมินผลวัดราชบพิธ2564.สมบูรณ์

ระเบียบว่าด้วยการวัดและประเมินผลวัดราชบพิธ2564.สมบูรณ์

ระเบียบว่าดว้ ยการวัดและประเมินผลการเรยี นรู้โรงเรียนวัดราชบพธิ

ตามหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาข้ันพนื้ ฐาน พุทธศกั ราช 2551
(ฉบบั ปรับปรงุ พทุ ธศกั ราช 2560)

สานกั งานเขตพน้ื ทกี่ ารศกึ ษามธั ยมศึกษากรุงเทพมหานคร เขต 1
สานกั งานคณะกรรมการการศึกษาขนั้ พน้ื ฐาน
กระทรวงศกึ ษาธิการ

คานา

โรงเรียนวัดราชบพิธ ได้จัดทาระเบียบว่าด้วยการวัดและประเมินผลการเรียนรู้โรงเรียนวัดราชบพิธ
ตามหลักสตู รแกนกลางการศึกษาขน้ั พื้นฐาน พทุ ธศกั ราช 2551(ฉบับปรับปรงุ พทุ ธศกั ราช 2560) เพ่ืออธบิ าย
ขยายความให้ผู้เก่ียวข้องทุกฝ่ายต้ังแต่ผู้บริหาร ครูผู้สอน ผู้เรียนและผู้เก่ียวข้อง มีความเข้าใจท่ีชัดเจน
ตรงกันรวมทงั้ ร่วมกันรับผดิ ชอบ และทางานร่วมกันอยา่ งเป็นระบบ เอกสารประกอบด้วย 3 ตอน คอื

ตอนที่ 1 ระเบียบโรงเรยี นวัดราชบพิธ ว่าดว้ ยการวัดและประเมินผลการเรียนรู้โรงเรียนวัดราชบพิธ
ตามหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาขน้ั พืน้ ฐาน พุทธศักราช 2551 (ปรับปรงุ พุทธศกั ราช 2560)

ตอนที่ 2 แนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้โรงเรียนวัดราชบพิธ ตามหลักสูตรแกนกลาง
การศึกษาขั้นพืน้ ฐาน พุทธศกั ราช 2551 (ปรับปรงุ พุทธศกั ราช 2560)

ตอนที่ 3 แนวทางการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ของสถานศกึ ษา ภายใตส้ ถานการณ์การแพร่
ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)

คณะผู้จัดทาหวังเป็นอย่างยิ่งว่า เอกสารระเบียบว่าด้วยการวัดและประเมินผลการเรียนรู้โรงเรียน
วัดราชบพิธ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 (ปรับปรุง พุทธศักราช 2560)
คงจะเป็นประโยชน์ต่อผู้ท่ีเก่ียวข้องทุกฝ่ายที่จะช่วยสร้างความรู้ ความเข้าใจ และปฏิบัติการวัดและ
ประเมินผลผู้เรียนเป็นแนวทางเดียวกันและเป็นมาตรฐานเดียวกัน ส่งผลให้พัฒนาผู้เรียนได้ตามหลักการ
เจตนารมณ์ และวตั ถุประสงค์ของหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพน้ื ฐาน พทุ ธศักราช 2551 ตอ่ ไป

งานวัดและประเมินผล
กลมุ่ บริหารวิชาการ



ระเบยี บวา่ ดว้ ยการวดั และประเมนิ ผลการเรียนตามหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาข้นั พืน้ ฐานพทุ ธศักราช 2551 (ฉบบั ปรบั ปรงุ พุทธศกั ราช 2560)

สารบัญ หนา้

เรอื่ ง ข
คานา 1
สารบัญ
ตอนที่ 1 ระเบียบว่าด้วยการวัดและประเมินผลการเรียนรู้โรงเรยี นวัดราชบพธิ ตามหลักสตู ร 14

แกนกลางการศึกษาขน้ั พน้ื ฐาน พทุ ธศักราช 2551 (ฉบบั ปรับปรุง พุทธศักราช 2560) 63
ตอนที่ 2 แนวปฏิบตั ิการวดั และประเมนิ ผลการเรียนรู้ โรงเรยี นวัดราชบพิธตามหลักสูตร
70
แกนกลางการศึกษาขน้ั พื้นฐาน พทุ ธศักราช 2551 (ฉบับปรบั ปรุง พทุ ธศักราช 2560) 71
ตอนที่ 3 แนวทางการวัดและประเมนิ ผลการเรยี นรู้ของสถานศกึ ษา ภายใต้สถานการณ์ 72

การแพร่ระบาดของโรคตดิ เช้ือไวรสั โคโรนา 2019 (COVID-19) โรงเรียนวัดราชบพิธ
เอกสารอา้ งองิ
ภาคผนวก
คณะกรรมการดาเนินงาน



ระเบยี บวา่ ดว้ ยการวัดและประเมนิ ผลการเรยี นตามหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาขนั้ พน้ื ฐานพุทธศักราช 2551 (ฉบบั ปรับปรงุ พุทธศักราช 2560)

ตอนท่ี 1

ระเบยี บวา่ ดว้ ยการวดั และประเมนิ ผลการเรยี นรู้
โรงเรยี นวดั ราชบพิธ

ตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาข้นั พ้นื ฐาน พุทธศักราช 2551
(ฉบับปรบั ปรงุ พทุ ธศกั ราช 2560)

ระเบยี บโรงเรียนวดั ราชบพิธ
ว่าด้วยการวัดและประเมินผลการเรียนตามหลักสตู รแกนกลางการศึกษาขน้ั พน้ื ฐาน พุทธศกั ราช 2551

(ปรับปรงุ พุทธศักราช 2560)

โดยท่ีโรงเรียนวัดราชบพิธ ได้ประกาศใช้หลักสูตรโรงเรียนการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551
ตามประกาศกระทรวงศึกษาธิการ ซึ่งประกาศ ณ วันท่ี 20 พฤษภาคม พ.ศ. 2552 ให้โรงเรียนวัดราชบพิธ
เป็นโรงเรียนท่ีมีความพร้อมให้ใช้หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 (ปรับปรุง
พุทธศักราช 2560) จึงเป็นการสมควรที่กาหนดระเบียบโรงเรียนวัดราชบพิธ ว่าด้วยการวัดและประเมินผล
การเรียนตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 (ปรบั ปรงุ พุทธศกั ราช 2560) เพือ่ ให้
สามารถดาเนนิ การได้อยา่ งมีประสิทธภิ าพและสอดคลอ้ งกบั คาสง่ั ดงั กล่าว

ฉะน้นั อาศัยอานาจตามความในมาตรา 39 แหง่ พระราชบัญญัติระเบียบบรหิ ารราชการกระทรวงศึกษาธิการ
พ.ศ.2546 และกฎกระทรวงแบ่งส่วนราชการ คณะกรรมการบริหารหลักสูตรและวิชาการสถานศึกษา
โดยความเหน็ ชอบของคณะกรรมการสถานศึกษาขน้ั พ้นื ฐาน จึงวางระเบยี บไวด้ ังตอ่ ไปน้ี

ขอ้ 1 ระเบยี บนี้เรยี กวา่ “ระเบยี บโรงเรียนวัดราชบพธิ ว่าด้วยการวัดและประเมินผลการเรียนรู้
โรงเรียนวดั ราชบพิธ ตามหลักสตู รแกนกลางการศึกษาขน้ั พ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551

ขอ้ 2 ระเบยี บนี้ใหใ้ ชบ้ ังคบั ตั้งแต่ปกี ารศกึ ษา 2561 เป็นตน้ ไป
ข้อ 3 ให้ยกเลิกระเบียบ ข้อบังคับ หรือคาสั่งอื่นใด ในส่วนท่ีกาหนดไว้ในระเบียบน้ีซึ่งขัดหรือแย้ง
กับระเบยี บน้ี ใหใ้ ช้ระเบียบนแ้ี ทน
ข้อ 4 ระเบียบน้ีให้ใช้ควบคู่กับหลักสูตรโรงเรียนวัดราชบพิธ พุทธศักราช 2552 ตามหลักสูตร
แกนกลางการศึกษาขั้นพน้ื ฐาน พทุ ธศักราช 2551
ขอ้ 5 ให้ผูอ้ านวยการสถานศึกษารกั ษาการใหเ้ ปน็ ไปตามระเบยี บนี้

หมวด 1
หลกั การดาเนนิ การวัดและประเมนิ ผลการเรยี น

ขอ้ 6 การประเมินผลการเรยี น ให้เป็นไปตามหลักการดาเนนิ การตอ่ ไปนี้ โดยเปดิ โอกาสให้ทุกฝ่าย
ที่เก่ยี วข้องมสี ว่ นร่วม

6.1 สถานศึกษาเป็นผู้รับผิดชอบการประเมินผลการเรียนของผู้เรียน โดยความเห็นชอบของ
คณะกรรมการบรหิ ารหลกั สตู รและวชิ าการ

6.2 การวัดและประเมินผลการเรียนต้องสอดคล้องและครอบคลุมมาตรฐานการศึกษา
ทีก่ าหนดไวใ้ นหลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาข้นั พ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551

6.3 การประเมินผลการเรียนต้องประกอบด้วย การประเมินเพื่อปรับปรุงพัฒนาผู้เรียน
การจัดการเรียนการสอน และการประเมินผลเพ่ือตดั สินผลการเรยี น

1

ระเบยี บวา่ ด้วยการวดั และประเมนิ ผลการเรียนตามหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาข้ันพน้ื ฐานพุทธศกั ราช 2551 (ฉบบั ปรับปรงุ พุทธศกั ราช 2560)

6.4 การประเมินผลเป็นส่วนหน่ึงของกระบวนการจัดการเรยี นการสอน ต้องดาเนนิ ด้วยวธิ ีการ
ที่หลากหลายเหมาะสมกบั ส่งิ ท่ีตอ้ งการวดั ธรรมชาติของวชิ าและระดบั ชว่ งชน้ั

6.5 ให้มีการประเมินคณุ ลักษณะอนั พงึ ประสงค์ของผู้เรยี นในแต่ละช่วงช้ัน
6.6 ให้มีการประเมินความสามารถของผู้เรยี นในการอ่าน คิดวเิ คราะห์และเขียน ในแต่ละช่วงช้นั
6.7 ให้มีการประเมนิ คณุ ภาพผูเ้ รียนในระดับชาติ ในแต่ละชว่ งชัน้
6.8 เปดิ โอกาสให้ผ้เู รียนตรวจสอบผลการประเมินการเรียนได้
6.9 ให้มีการเทียบโอนผลการเรยี นระหวา่ งสถานศกึ ษา และรูปแบบการศึกษาตา่ ง ๆ

หมวดท่ี 2
วธิ กี ารประเมินผลการเรยี น

ขอ้ 7 การวดั และประเมินผลการเรียนรู้ เปน็ กระบวนการทใี่ ห้ผูส้ อนใช้พฒั นาคุณภาพผู้เรียน เพอื่ ให้
ได้ข้อมูลสารสนเทศ ที่แสดงพัฒนาการความก้าวหน้าและความสาเร็จทางการเรียนของผู้เรียน ให้เป็นการ
ประเมินเพ่อื ปรับปรงุ การเรยี นมากกว่าการตดั สนิ ผลการเรียน ประกอบด้วย

7.1 การวัดและประเมินผลระดับการศึกษาชั้นเรียน เป็นการวัดความก้าวหน้าทั้งด้านความรู้
ทกั ษะ กระบวนการ คณุ ธรรม จริยธรรม สมรรถนะ และคา่ นยิ มท่พี งึ ประสงค์

7.2 การประเมินผลระดับสถานศึกษาเพ่ือตรวจสอบความก้าวหน้าการเรียนรู้ เป็นรายภาค
สาหรับสถานศึกษาเพ่ือนาข้อมูลที่ได้ใช้เป็นแนวทางในการปรับปรุงและการพัฒนาการจัดกิจกรรมการเรียนรู้
และคณุ ภาพของผูเ้ รียนให้เปน็ ไปตามมาตรฐานการเรยี นรู้ รวมทงั้ พจิ ารณาตัดสนิ การเลอ่ื นระดับการศกึ ษา

7.3 การประเมินผลสัมฤทธิ์การเรียนรู้ระดับเขตพ้ืนที่การศึกษาและระดับชาติ เป็นการ
ประเมินด้วยแบบประเมินผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ตามมาตรฐานการเรียนรู้ระดับเขตพื้นที่การศึกษาและ
ระดับชาติ เพ่ือตรวจสอบคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษาและคุณภาพการศึกษาของชาติ เพ่ือนาผลการประเมิน
ไปวางแผนดาเนินการปรบั ปรุงแก้ไข การจดั กิจกรรมการเรียนรู้ และพัฒนาการผเู้ รียนใหไ้ ด้มาตรฐาน

7.4 การประเมินเพื่อตัดสินผลการเรียน เป็นการประเมินเพ่ือสรุปความสาเร็จในการเรียนรู้
ของผู้เรียน ในการจบหลักสูตรการศึกษาในระดับช้ันมัธยมศึกษาตอนต้นหรือช้ันมัธยมศึกษาตอนปลาย
ซึ่งจะทาใหผ้ เู้ รยี นไดร้ บั การรบั รองความรู้และวฒุ ิการศกึ ษาจากสถานศึกษา ให้ดาเนินการดังน้ี

7.4.1 วัดและประเมนิ ผลใหค้ รบองค์ประกอบทั้ง 4 ด้าน คือ กลุ่มสาระการเรียนรู้ 8 กลุ่ม
การอา่ น คิด วเิ คราะห์ และเขียนคุณลักษณะอันพึงประสงค์ และกจิ กรรมพัฒนาผู้เรียน

7.4.2 การประเมินผลการเรียนรู้ตามกลุ่มสาระการเรียนรู้ท้ัง 8 กลุ่ม เป็นการประเมิน
ความรู้ ความสามารถ ทักษะ เจตคติ ทักษะการคิด ทก่ี าหนดเป็นตัวชี้วัดหรือผลการเรียนรู้ ในหลกั สูตร ซึง่ จะ
นาไปสู่การสรุปผลการเรียนรขู้ องผ้เู รยี นตามมาตรฐานการเรียนรู้ ให้ดาเนินการดงั นี้

(1) การประเมินเพอื่ ปรับปรุงพฒั นาผู้เรียนและพฒั นาการจัดการเรยี นรู้
(ก) แจ้งใหผ้ เู้ รียนทราบมาตรฐานการเรียนรู้ ตวั ช้ีวัดหรอื ผลการเรียนรู้ วธิ ีการ

ประเมนิ ผลการเรียน เกณฑ์การผ่านตัวชี้วดั หรอื ผลการเรียนรู้ เกณฑ์ขั้นต่าของการผา่ นรายวิชา
(ข) ประเมินผลกอ่ นเรยี นในแต่ละหน่วยการเรยี นเพอื่ ศึกษาความรู้พืน้ ฐานของผเู้ รียน
(ค) วัดและประเมินผลระหว่างภาคเรียน เพ่ือการตรวจสอบพัฒนาการของ

ผู้เรียนกับตัวช้ีวัดหรือผลการเรียนรู้ สู่การซ่อมเสริมเพ่ือปรับปรุงแก้ไขข้อบกพร่องของผู้เรียน และส่งเสริม
ผู้เรียนที่มีความรู้ ความสามารถให้เกิดพัฒนาการสูงสุดตามศักยภาพ และเพ่ือนาคะแนนจากการวัดผลและ
ประเมินผลไปรวมกับการวัดผลปลายภาคเรียน โดยให้วัดและประเมินผลตามตัวชี้วัดหรือผลการเรียนรู้
ในหลกั สูตร โดยวธิ ีทห่ี ลากหลาย

2

ระเบียบวา่ ด้วยการวัดและประเมินผลการเรยี นตามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขนั้ พ้ืนฐานพทุ ธศกั ราช 2551 (ฉบับปรบั ปรงุ พุทธศกั ราช 2560)

งานวดั และประเมินผล กลมุ่ บริหารวชิ าการ โรงเรยี นวัดราชบพธิ

การวดั ผลและประเมนิ ผลระหวา่ งภาคเรียนประกอบด้วย
1) วดั ผลและประเมนิ ผลระหวา่ งเรียนเป็นระยะ ๆ ตลอดภาคเรียน
2) วดั ผลกลางภาค อย่างน้อย 1 คร้งั
3) ประเมินการอ่าน คดิ วเิ คราะห์และเขียน กจิ กรรมพฒั นาผู้เรยี น คณุ ลักษณะ

อันพึงประสงค์ สมรรถนะสาคัญของผู้เรียนตามหลักสูตร อันประกอบไปด้วยความสามารถในการส่ือสาร
ความสามารถในการคิด ความสามารถในการแก้ปัญหาความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต และความสามารถ
ในการใช้เทคโนโลยีไปพร้อม ๆ กับการดาเนินการวัดและประเมินผลตามกลุ่มสาระการเรียนรู้ในลักษณะ
การบูรณาการ

4) ประเมนิ ผลหลงั เรยี น เพื่อตรวจสอบการเรียนและพัฒนาการของผเู้ รียน
ง) วัดและประเมนิ ผลปลายภาคเรียน เพ่อื ตรวจสอบผลการเรียนโดยวดั ให้

ครอบคลุมตัวช้วี ัดหรือผลการเรียนรู้ทส่ี าคญั ตามหลักสูตร
(2) การประเมินผลเพื่อตัดสินผลการเรียน ให้นาคะแนนระหว่างภาคเรียนรวมกับ

คะแนนปลายภาคเรียน แล้วนามาเปลี่ยนเป็นระดับผลการเรียน
7.4.3 การประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียนส่ือความของผู้เรียน ให้ครูประจาวิชา

ดาเนินการวัดผลตามเกณฑ์ท่กี าหนด ดงั นี้
(1) ให้คณะกรรมการประเมินการอา่ น คดิ วเิ คราะห์ และเขียน ที่โรงเรียนแต่งตัง้ 1 คณะ

กาหนดตวั ชี้วดั ผลการเรยี น หรือความสามารถในการอ่าน คดิ วิเคราะห์ และเขยี น จากกลุม่ สาระการเรียนรู้
กาหนดเกณฑ์ตดั สนิ คณุ ภาพ “ดเี ยีย่ ม” “ดี” และ “ผา่ นเกณฑ์” ใหเ้ หมาะสมกบั ระดับการศกึ ษา

(2) ใหผ้ สู้ อนแตล่ ะกลุม่ สาระการเรียนรอู้ อกแบบประเมนิ ความสามารถในการอ่าน คดิ
วเิ คราะห์ และเขียน ใหเ้ หมาะสมกับผู้เรียนแตล่ ะระดับชัน้ และภาคเรยี น

(3) ใหพ้ ิจารณาประเมนิ ความสามารถในการอ่าน คดิ วิเคราะห์ และเขียน ของผูเ้ รียนใน
แตล่ ะรายวิชาจากผลงาน รายงาน โครงงาน กิจกรรมเสรมิ เช่น โครงการรกั การอ่าน การเขยี นหรือจาก
แบบทดสอบมาตรฐานประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขยี น

7.4.4 การประเมนิ คุณลักษณะอนั พึงประสงค์ของผเู้ รียน ใหค้ รผู ู้สอนดาเนินการวดั ผลไปพร้อม
กบั การประเมนิ ระดับชัน้ เรียน ตามเกณฑท์ ่ีกาหนดดงั นี้

(1) ให้ประเมนิ คุณลักษณะอันพึงประสงค์ ตามทีห่ ลกั สูตรแกนกลางการศึกษาขน้ั พนื้ ฐาน
กาหนด 8 คณุ ลักษณะ คือ รักชาติ ศาสน์ กษัตรยิ ์ ซื่อสัตย์สุจริต มวี นิ ัยใฝ่เรยี นรู้ อยอู่ ย่างพอเพียง มุ่งม่ันในการ
ทางาน รักความเปน็ ไทย และมีจติ สาธารณะ

(2) ให้มกี ารประเมินคณุ ลกั ษณะอนั พึงประสงค์ไปพร้อมๆ กบั การจัดการเรยี นรู้ หรือ
กจิ กรรม โครงการพิเศษต่างๆ ที่โรงเรียนหรือองคก์ รในท้องถ่ินจัดขนึ้

(3) ใหม้ กี ารประเมนิ คุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์เปน็ ระยะๆ เปน็ รายเดอื น รายภาค รายปี
เพ่อื ใหม้ ีการสั่งสมและเกิดการพัฒนาอย่างตอ่ เนื่อง

(4) ประเมินผลสรุปเม่อื จบปสี ดุ ท้ายของแต่ละระดับการศกึ ษา
7.4.5 การประเมินกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ซ่ึงมุ่งใหผู้เรียนพัฒนาตนเองตามศักยภาพ เสริมให
เป็นผูมีศีลธรรม จริยธรรม ระเบียบวินัย สรางจิตสานึก อยู่ร่วมกับผูอื่นไดอยางมีความสุข มี 3 กลุ่มกิจกรรม
คือ กิจกรรมแนะแนวซึ่งเป็นกิจกรรมที่สงเสริมและพัฒนาผูเรียน กิจกรรมนักเรียนซ่ึงส่งเสริมใหผู้เรียนมี
วนิ ยั เปน็ ผู้นาและผูตามทด่ี ี เชน่ ลูกเสือ นกั ศกึ ษาวชิ าทหาร กจิ กรรมชุมนมุ หรือชมรมซึ่งจดั ตามความถนัดหรือ
ความสนใจของผเู้ รียน หรอื เป็นผูม้ ีศลี ธรรม จริยธรรม เชน่ กจิ กรรมธรรมศึกษา และกจิ กรรมพัฒนาสังคมและ
สาธารณะประโยชนซ่ึงเปนกิจกรรมท่ีส่งเสริมใหผู้เรียนมีจิตสาธารณะ เช่น กิจกรรมอาสาพัฒนาต่าง ๆ ให้
ประเมนิ เป็น รายภาค รายปี ให้ปฏิบัติดังน้ี

3

ระเบยี บว่าด้วยการวดั และประเมนิ ผลการเรยี นตามหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาข้นั พืน้ ฐานพทุ ธศกั ราช 2551 (ฉบับปรบั ปรุงพุทธศกั ราช 2560)

(1) ให้หวั หน้างานกจิ กรรมพัฒนาผเู้ รียนและผ้รู ับผิดชอบ ดาเนนิ การวัดและประเมนิ ผล
เป็นรายกจิ กรรม ทั้งกิจกรรมแนะแนว กิจกรรมนกั เรียน และกจิ กรรมเพ่ือสงั คมและสาธารณประโยชน์

(2) ใหป้ ระเมินกจิ กรรมพฒั นาผู้เรยี นจากการปฏิบัติกิจกรรมตามจดุ ประสงค์ และเวลาใน
การเขา้ ร่วมกจิ กรรมตามเกณฑท์ ีก่ าหนดไว้ในแต่ละกิจกรรม

(3) ใหใ้ ช้ผลการประเมินกจิ กรรมพฒั นาผเู้ รยี นเป็นขอ้ มลู ในการเลื่อนชั้นเรยี น และจบ
การศกึ ษาในระดบั มธั ยมศึกษาตอนต้นและระดบั มธั ยมศึกษาตอนปลาย

ขอ้ 8 แนวการวดั และประเมินผลการเรียน
เพ่ือให้การวัดและประเมินผลการเรียนสอดคล้องกับหลักสูตรแกนกลางการศึกษา

ขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 และเป็นไปตามหลักการกระจายอานาจ การประเมินผู้เรียนตามหลักการวัด
และประเมินผลการเรยี น การตรวจสอบและกากับติดตามประเมินคุณภาพการประเมินผลการเรียนอย่างเป็น
ระบบและมปี ระสทิ ธภิ าพ จงึ กาหนดแนวดาเนนิ การวัดและประเมินผลการเรียนไวด้ ังนี้

8.1 คณะกรรมการบริหารหลักสูตรและวิชาการ กาหนดรูปแบบ ระบบ และระเบียบ
ประเมนิ ผล เพือ่ ใช้เปน็ แนวปฏิบัตใิ นการประเมนิ ผลการเรยี นของโรงเรยี น

8.2 กลุ่มสาระการเรียนรู้และครูผู้สอน กาหนดเป้าหมายในการวัดและการประเมินผล
การเรียนรู้รายภาค โดยวิเคราะห์จากมาตรฐาน ตัวช้ีวัดหรือผลการเรียนรู้ คุณลักษณะอันพึงประสงค์ และ
การอา่ น คดิ วิเคราะห์ และเขยี น

8.3 หัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้ ให้ความเห็นชอบเก่ียวรูปแบบ วิธีการ เครื่องมือ ที่ใช้ใน
การวดั และประเมนิ ผล และการตดั สินผลการเรียนรู้รายวิชา

8.4 ครูผู้สอนจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ตรวจสอบพัฒนาการของผู้เรียน วัดและประเมิน
ผลสัมฤทธ์ิของผู้เรียนด้วยวิธีการหลากหลายตามสภาพจริง โดยนาผลการเรียนรู้ระหว่างเรียนไม่น้อยกว่า
รอ้ ยละ 80 ไปรวมกบั ผลการสอบปลายภาค ใช้เป็นข้อมลู การประเมินผลสมั ฤทธิ์ของผู้เรยี นเปน็ รายบุคคล

8.5 ผู้อานวยการสถานศึกษาอนุมัติผลสัมฤทธิ์ของผู้เรียน การเล่ือนช้ันเรียน และการจบ
การศึกษาในระดับมัธยมศึกษาตอนต้น และระดบั มัธยมศึกษาตอนปลาย

8.6 งานทะเบียนและวัดผล รับผิดชอบการจัดทารายงานผลการประเมินการเรียนประจาปี
โดยความเห็นชอบของคณะกรรมการบริหารหลักสูตรและวิชาการของสถานศึกษา เสนอต่อสานักทดสอบ
ทางการศึกษา สานักงานคณะกรรมการการศกึ ษาข้นั พ้ืนฐาน กระทรวงศกึ ษาธิการ

8.7 งานทะเบียนและวัดผล รับผิดชอบและประสานงานการประเมินผลสัมฤทธ์ิการเรียนรู้
ระดับเขตพ้ืนท่ีการศึกษาและระดับชาติ เพื่อตรวจสอบคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษาและคุณภาพ
การศึกษาของชาติ เพื่อนาผลการประเมินไปวางแผนดาเนินการปรับปรุงแก้ไข การจัดกิจกรรมการเรียนรู้และ
พัฒนาการผู้เรียนให้ไดต้ ามมาตรฐานทกี่ าหนดไว้ในหลักสตู ร

หมวด 3
เกณฑก์ ารวัดและประเมินผลการเรียน

ขอ้ 9 การใหร้ ะดับผลการเรียน ให้ถือปฏิบัตดิ งั นี้
9.1 พิจารณาตัดสนิ ผลการเรียนเป็นรายวชิ า
(1) ผู้เรียนตอ้ งไดร้ ับการประเมนิ ทกุ ตวั ชี้วัดหรือผลการเรียนรทู้ กี่ าหนดไว้ในหลกั สตู ร

และผา่ นเกณฑ์ทส่ี ถานศึกษากาหนด
(2) ผู้เรยี นต้องไดร้ ับการตดั สินผลการเรียนทุกรายวิชา

4

ระเบยี บว่าด้วยการวดั และประเมนิ ผลการเรยี นตามหลักสตู รแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานพุทธศกั ราช 2551 (ฉบับปรบั ปรุงพทุ ธศักราช 2560)

(3) ผูเ้ รียนตอ้ งได้รับการประเมนิ และมีผลการประเมินตามเกณฑ์ทีส่ ถานศึกษากาหนด
ในการอ่าน คิดวิเคราะห์และเขียน คุณลักษณะอันพึงประสงค์ และกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน การเรียน
เป็น 4 ระดบั เทา่ นั้น

(4) วดั ผลปลายภาคเรียนเฉพาะผูท้ ่ีมีเวลาเรียนตลอดภาคเรยี นไม่นอ้ ยกว่าร้อยละ 80 ของ
เวลาเรียนทัง้ หมดในรายวชิ านนั้ การอนญุ าตให้ผเู้ รยี นเข้ารับการวัดผลปลายภาคเรยี นสาหรับผูท้ มี่ เี วลาเรียน
ไม่ถงึ ร้อยละ 80 ของเวลาเรียนทงั้ หมดในรายวิชานนั้ ให้อยใู่ นดุลพนิ จิ ของผอู้ านวยการสถานศึกษา

(5) ผูเ้ รียนท่มี เี วลาเรยี นไมถ่ งึ ร้อยละ 80 ของเวลาเรยี นในรายวชิ านั้นและไม่ไดร้ ับการผอ่ น
ผันให้เข้ารับการวัดผลปลายภาคให้ไดผ้ ลการเรียน “มส”

(6) ผู้เรยี นท่มี ผี ลการเรียน ไมผ่ ่านเกณฑข์ ้นั ต่าทกี่ าหนดไว้ ใหไ้ ดร้ ะดบั ผลการเรียน “0”
(7) ผู้เรยี นท่ีทจุ รติ ในการสอบหรือทจุ ริตในงานทม่ี อบหมายให้ทาในรายวิชาใด ครงั้ ใดก็ตาม
ให้ไดค้ ะแนน “0” ในครั้งนนั้
(8) ผเู้ รียนท่ไี ม่ไดเ้ ขา้ รับการวดั ผลปลายภาค หรือมเี หตสุ ดุ วสิ ัยท่ีมีหลักฐานชดั เจนทาให้
ประเมินผลการเรียนไม่ได้ ให้รายงานตอ่ ผู้อานวยการโรงเรียน และใหไ้ ด้ผลการเรียน “ร”

9.2 การให้ระดบั ผลการเรียน ใหป้ ฏิบัติดงั นี้
(1) การตดั สนิ ผลการเรียนรายวชิ าของกลุม่ สาระการเรียนรู้ เป็นระบบตวั เลข แสดงระดับการ

เรยี นในแต่ละรายวชิ า (8 ระดับ) รายวชิ าทีจ่ ะนบั หน่วยกติ “ได”้ จะตอ้ งได้ระดบั ผลการเรยี น ตัง้ แต่ 1 ขึน้ ไป
โดยให้ระดับผลการเรยี นดังนี้

ระดบั ผลการเรยี น ความหมาย ผลการประเมนิ ร้อยละ
4 ผลการเรียนดีเยี่ยม 80-100
3.5 ผลการเรยี นดมี าก 75-79
3 ผลการเรยี นดี 70-74
2.5 ผลการเรียนคอ่ นข้างดี 65-69
2 ผลการเรยี นปานกลาง 60-64
1.5 ผลการเรยี นพอใช้ 55-59
1 ผลการเรยี นผ่านเกณฑข์ ัน้ ตา่ 50-54
0 ผลการเรยี นตา่ กวา่ เกณฑ์ 0-49

(2 ) ให้ใชต้ วั อักษรแสดงผลการเรียนทมี่ เี งื่อนไขในแต่ละรายวชิ า ดังน้ี
มส. หมายถึง ไมม่ ีสทิ ธเ์ิ ข้ารับการประเมินผลปลายภาค
ร หมายถึง รอการตัดสนิ หรอื ยังตัดสนิ ไม่ได้

มผ. หมายถึง ไมผ่ ่านเกณฑ์การประเมิน

5
ระเบียบวา่ ดว้ ยการวัดและประเมนิ ผลการเรยี นตามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พืน้ ฐานพทุ ธศกั ราช 2551 (ฉบบั ปรับปรงุ พุทธศักราช 2560)

9.3 ให้ใชร้ ะดับคุณภาพแสดงผลการประเมนิ ความสามารถในการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขยี น หรือ
คุณลักษณะอันพงึ ประสงค์ โดยใหร้ ะดับผลการประเมนิ ดังนี้

(1) การประเมินกิจกรรมพฒั นาผ้เู รียน เป็นการประเมนิ ความสามารถและพัฒนาการของผเู้ รียน
ในการเขา้ รว่ มกจิ กรรมพัฒนาผ้เู รยี นในแตล่ ะภาคเรียนตามเกณฑ์ของแตล่ ะกจิ กรรม และตัดสินผลการประเมนิ
เป็น 2 ระดับ ดงั นี้

ผ หมายถงึ ผา่ นเกณฑ์การประเมนิ โดยมเี วลารว่ มกิจกรรมไม่น้อยกว่ารอ้ ยละ 80
ของเวลาท้ังหมดทจ่ี ัดกจิ กรรมของแต่ละภาค และผา่ นการประเมนิ ผล
การเรียนร้สู าคญั ของกิจกรรมตามทก่ี าหนด

มผ หมายถงึ ไมผ่ า่ นเกณฑ์การประเมนิ โดยมีเวลารว่ มกจิ กรรมต่ากว่าร้อยละ 80
ของเวลาทง้ั หมดที่จัดกจิ กรรมของแตล่ ะภาค และ/หรือ ไม่ผ่าน
การประเมนิ ผลการเรยี นรูส้ าคัญของกจิ กรรมตามที่กาหนด

(2) การประเมินคุณลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ เป็นการประเมินพฒั นาทางด้านคณุ ธรรม จริยธรรม
ค่านยิ มและคุณลักษณะอนั พึงประสงคข์ องผูเ้ รยี น 8 ด้าน ตามคุณลกั ษณะท่สี ถานศึกษากาหนด โดยประเมนิ เป็น
รายคุณลกั ษณะ ทุกภาคเรยี น และตดั สินผลการประเมินเป็น 4 ระดับ ดงั นี้

ระดบั 3 หมายถึง ผู้เรยี นมพี ฤติกรรมตามตัวบง่ ชี้ผา่ นเกณฑ์ ร้อยละ 80 ขึน้ ไป ของจานวนตวั
(ดีเยี่ยม) บ่งชี้คุณลกั ษณะน้นั ๆ แสดงว่าผเู้ รยี นมีคุณลักษณะนน้ั ๆ จนสามารถเปน็
แบบอยา่ งแกผ่ ู้อนื่ ได้
ระดับ 2 หมายถึง
(ดี) ผู้เรยี นมพี ฤติกรรมตามตัวบ่งช้ีผา่ นเกณฑ์ รอ้ ยละ 65-79 ของจานวนตัว
บง่ ชี้คุณลักษณะน้นั ๆ แสดงว่าผเู้ รียนมคี ณุ ลกั ษณะน้ัน ๆ ด้วยการปฏบิ ตั ิ
ระดบั 1 หมายถึง ดว้ ยความเต็มใจ
(ผ่านเกณฑ์)
ผเู้ รียนมพี ฤติกรรมตามตัวบ่งช้ีผ่านเกณฑ์ รอ้ ยละ 50-54 ของจานวนตวั
ระดบั 0 หมายถงึ บ่งชี้คณุ ลกั ษณะน้ัน ๆ ได้ปฏิบตั ิตนด้วยความพยายามปฏิบัติตนตาม
(ไม่ผ่านเกณฑ)์ คาแนะนา

ผเู้ รียนมพี ฤติกรรมตามตวั บ่งชี้ผ่านเกณฑ์ ต่ากวา่ ร้อยละ 50 ของจานวน
ตวั บง่ ชี้ในคณุ ลักษณะนั้น ๆ แสดงว่าผเู้ รียนมคี ณุ ลกั ษณะนั้น ๆ โดยตอ้ งมี
ผอู้ ่ืนคอยกระตุน้ เตอื น

การประเมนิ การจบระดับการศกึ ษา จะประเมนิ เปน็ “ผา่ น” และ “ไม่ผ่าน” การประเมนิ “ผา่ น”
ตอ้ งมผี ลการประเมินอยใู่ นระดับ “ผา่ นเกณฑ์” ข้นึ ไป

6
ระเบยี บว่าดว้ ยการวดั และประเมนิ ผลการเรยี นตามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขนั้ พืน้ ฐานพุทธศักราช 2551 (ฉบบั ปรบั ปรงุ พุทธศกั ราช 2560)

(3) การประเมินความสามารถอ่าน คดิ วเิ คราะห์ และเขียน เป็นการประเมนิ ทักษะการคิดและ
การถ่ายทอดความคดิ ด้วยทักษะการอา่ น การคิด วเิ คราะห์ และเขียน ตามเงอ่ื นไขและวิธกี ารทีส่ ถานศึกษา
กาหนดและตัดสินผลการประเมนิ เป็น 4 ระดบั ดังน้ี

ระดับ 3 หมายถงึ ความสามารถในการอา่ น คดิ วเิ คราะห์ และเขียน เม่ือเทยี บกบั
ระดับ 2 หมายถึง เกณฑ์ทส่ี ถานที่ศึกษากาหนดไวอ้ ย่ใู นระดบั “ดเี ยยี่ ม”
ระดับ 1 หมายถงึ ความสามารถในการอ่าน คดิ วเิ คราะห์ และเขียน เมื่อเทยี บกบั
ระดับ 0 หมายถงึ เกณฑ์ทส่ี ถานศึกษากาหนดไวอ้ ยู่ในระดบั “ด”ี

ความสามารถในการอา่ น คิด วิเคราะห์ และเขียน เมื่อเทียบกับ
เกณฑ์ที่สถานที่ศกึ ษากาหนดไว้อยใู่ นระดับ “ผา่ นเกณฑ์”
ความสามารถในการอา่ น คิด วิเคราะห์ และเขียน เมื่อเทยี บกบั
เกณฑ์ทส่ี ถานท่ีศกึ ษากาหนดไว้อยู่ในระดับ “ไม่ผา่ นเกณฑ์”

การประเมินการจบระดับการศึกษา จะประเมินเปน็ “ผา่ น” และ “ไมผ่ ่าน” การประเมนิ
“ผา่ น” น้นั ตอ้ งมผี ลการประเมินอยใู่ นระดบั “ผ่านเกณฑ์” ขึน้ ไป

(4) การตัดสนิ ผลการเรียนจบระดับการศกึ ษา เปน็ การนาผลการประเมนิ ในดา้ นตา่ ง ๆ มา
ประมวลสรปุ เพ่ือตัดสินใหผ้ เู้ รียนจบระดับการศึกษาช้ันมธั ยมศึกษาตอนต้นและมัธยมศึกษาตอนปลาย ตาม
เกณฑ์การตดั สินผลการเรียนแต่ละระดับการศึกษา

ขอ้ 10 การเปลีย่ นระดับผลการเรียน ใหถ้ ือปฏิบตั ิดังน้ี
10.1 การเปล่ียนระดับผลการเรียนจาก “0” ให้ครูผู้สอนดาเนินการพัฒนาผู้เรียน โดยซ่อมเสริม

ปรับปรุง แก้ไข ผู้เรียนในผลการเรียนรู้ท่ีไม่ผ่านเกณฑ์ข้ันต่า ในมาตรฐานการเรียนรู้ ตัวชี้วัดหรือผลการเรียนรู้
ท่ีผู้เรียนสอบไม่ผ่านก่อนแลว้ จึงประเมินด้วยวิธีการทมี่ ีประสิทธิภาพ จนผู้เรียนสามารถผ่านเกณฑ์การประเมนิ
และให้ระดบั ผลการเรียนใหม่ ไมเ่ กนิ “1” โดยดาเนินการ 2 คร้งั ตามวัน เวลาทส่ี ถานศึกษากาหนด ถ้าสอบ
แก้ตวั 2 ครงั้ แล้วยังได้ระดบั ผลการเรียน “0” อกี ใหป้ ฏิบัตดิ งั น้ี

(1) ถา้ เป็นรายวิชาพ้ืนฐานใหเ้ รียนซ้ารายวิชานนั้
(2) ถ้าเป็นรายวิชาเพ่ิมเตมิ ให้เรยี นซ้าหรือเปลี่ยนรายวิชาเรียนใหม่ ทง้ั นีใ้ ห้อยู่ในดุลยพนิ ิจ
ของผู้อานวยการสถานศึกษา

10.2 การเปล่ียนผลการเรยี น “ร” ให้ดาเนนิ การดังน้ี
(1) ในกรณีที่ผู้เรียนได้ผลการเรียน “ร” เพราะเหตุสุดวิสัยหรือการเจ็บป่วย เมื่อผู้เรียนได้

เขา้ สอบหรอื สง่ ผลงานเรยี บรอ้ ย หรอื แก้ปญั หาเสร็จสนิ้ แลว้ ใหไ้ ดร้ ะดับผลการเรียนตามปกติ (ตงั้ แต่ 0-4)
(2) การเปล่ยี นผลการเรียน “ร” ให้ดาเนนิ การแก้ไขตามสาเหตุให้เสร็จสิน้ ภายในปีการศึกษาน้ัน

ยกเว้นมีเหตุสุดวิสัยให้อยู่ในดุลยพินิจของผู้อานวยการสถานศึกษา ที่จะขยายเวลาแก้ “ร” ออกไปอีก 1 ภาคเรียน
แต่เม่ือพ้นกาหนดน้ี ให้ตัดสินผลการเรียนเป็น “0” แล้วให้ดาเนินการแก้ไขตามหลักเกณฑ์ ข้อ 10.1 และ
เมื่อทาตามขอ้ 10.1 แล้วยงั มผี ลการเรียน “0” อกี ใหป้ ฏบิ ัตดิ งั นี้

ก. ถา้ เปน็ รายวิชาพน้ื ฐาน ใหเ้ รียนซ้ารายวชิ านน้ั
ข. ถ้าเปน็ รายวชิ าเพ่ิมเตมิ ให้เรียนซ้าหรือเปลย่ี นรายวิชาเรียนใหม่ ทง้ั น้ีให้อยู่ในดุลยพินิจ
ของผู้อานวยการสถานศึกษา

7

ระเบียบว่าด้วยการวัดและประเมินผลการเรยี นตามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาข้นั พืน้ ฐานพทุ ธศักราช 2551 (ฉบับปรับปรุงพทุ ธศักราช 2560)

10.3 การเปล่ยี นผลการเรยี น “มส” มี 2 กรณีดงั น้ี
(1) กรณีผู้เรียนได้ผลการเรียน “มส” เพราะมีเวลาเรียนไม่ถึงร้อยละ 80 แต่มีเวลาเรียน

ไม่น้อยกว่าร้อยละ 60 ของเวลาเรียนท้ังหมด ให้ครูผู้สอนจัดให้ผู้เรียนเรียนเพิ่มเติม โดยใช้ชั่วโมงสอน ซ่อมเสริม
หรือเวลาว่าง หรือวันหยุด หรือมอบหมายงานให้ทา จนมีเวลาเรียนครบตามท่ีกาหนดไว้สาหรับรายวิชานั้น
แล้วจึงให้วัดผลปลายภาคเป็นกรณีพิเศษ ผลการสอบแก้ “มส” ให้ได้ระดับผลการเรียนไม่เกิน “1” การแก้
“มส” กรณีน้ีให้ดาเนินการให้เสร็จส้ินภายในปีการศึกษาน้ัน ถ้าผู้เรียนไม่มาดาเนินการแก้ “มส” ตามระยะเวลา
ที่กาหนดไว้น้ี ให้เรียนซ้า ยกเว้นมีเหตุสุดวิสัยให้อยู่ในดุลยพินิจของผู้อานวยการสถานศึกษา ท่ีจะขยายเวลา
การแก้ “มส” ออกไปอีก 1 ภาคเรียน แต่เม่ือพ้นกาหนดนี้แล้ว ถ้าเป็นรายวิชาพ้ืนฐานให้เรียนซ้า หรือเปลี่ยน
รายวิชาใหมไ่ ดใ้ นกรณีท่ีเปน็ รายวิชาเพิ่มเติม

(2) กรณผี ู้เรียนได้ผลการเรียน “มส” และมเี วลาเรยี นนอ้ ยกวา่ ร้อยละ 60 ของเวลาเรยี น
ท้ังหมด ใหด้ าเนินการดังน้ี

ก. ถ้าเป็นรายวิชาพนื้ ฐาน ให้เรยี นซา้ รายวิชาน้ัน
ข. ถา้ เปน็ รายวิชาเพม่ิ เติม ให้อยใู่ นดลุ ยพนิ จิ ของผู้อานวยการสถานศึกษา ใหเ้ รยี นซา้
หรือเปลย่ี นรายวชิ าใหม่

10.4 การเปลี่ยนผลการเรียน “มผ”
(1) ให้หัวหน้ากิจกรรมพัฒนาผู้เรียนและผู้รับผิดชอบกิจกรรมน้ัน จัดซ่อมเสริมให้ผู้เรียนทา

กิจกรรมจนครบตามเวลาท่ีกาหนด หรือปฏิบัติกิจกรรมเพื่อพัฒนาคุณลักษณะท่ีต้องปรับปรุงแก้ไข แล้วจึง
เปลีย่ นผลการเรียนจาก “มผ” เปน็ “ผ”

(2) ให้สถานศกึ ษาดาเนินการซอ่ มเสริมใหเ้ สรจ็ สิน้ ภายในภาคเรยี นน้ัน ยกเวน้ มีเหตุสุดวสิ ัย
ให้อยู่ในดุลยพนิ ิจของผอู้ านวยการสถานศึกษาทจี่ ะพิจารณาขยายเวลาออกไปอีกไม่เกนิ 1 ภาคเรียน แต่ต้อง
ดาเนนิ การให้เสรจ็ สิน้ ในปกี ารศกึ ษานนั้

10.5 การเปล่ียนผลการประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ หรือการอ่าน คิดวิเคราะห์ และ
เขียน ระดับ “ไม่ผ่านเกณฑ์” เป็น ”ผ่านเกณฑ์” ให้สถานศึกษาดาเนินการจัดกิจกรรมซ่อมเสริม ปรับปรุง
แก้ไข ตามวิธกี ารท่สี ถานศกึ ษากาหนด ให้ครผู ู้สอนดาเนินการให้เสร็จส้นิ ภายในปกี ารศกึ ษานั้นๆ

ข้อ 11 การเล่อื นชั้น ใหถ้ ือปฏิบัติดังนี้
ผเู้ รยี นจะได้รับการตัดสนิ ผลการเรียนทุกภาคเรยี น และไดร้ ับการเลือ่ นชั้นเม่ือสิน้ ปีการศึกษา

โดยตอ้ งมคี ุณสมบัติตามเกณฑ์ดังนี้
11.1 รายวิชาพน้ื ฐาน ไดร้ บั การตดั สนิ ผลการเรียนผ่านตามเกณฑ์ทสี่ ถานศึกษากาหนด
11.2 รายวิชาเพ่มิ เติม ไดร้ บั การตดั สนิ ผลการเรยี นผ่านเกณฑ์ทสี่ ถานศึกษากาหนด
11.3 ผูเ้ รยี นต้องได้รับการประเมินคุณลักษณะอนั พึงประสงค์ กิจกรรมพฒั นาผ้เู รียน และ

การอ่าน คิดวเิ คราะห์ และเขียน มีผลการประเมนิ ผ่านตามเกณฑท์ ี่สถานศกึ ษากาหนด
11.4 ระดับผลการเรยี นเฉลยี่ ในปกี ารศึกษาน้นั ไมต่ ่ากวา่ 1.00
11.5 รายวชิ าใดท่ไี ม่ผ่านเกณฑก์ ารประเมนิ ใหก้ ล่มุ สาระการเรียนรู้และครผู ้สู อนในรายวิชานนั้

สามารถสอนซ่อมเสริมและประเมินผู้เรียน เพ่ือให้ได้รับการแกไ้ ขผลการเรยี นในภาคเรยี นถดั ไป

8

ระเบยี บวา่ ด้วยการวัดและประเมินผลการเรียนตามหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาข้นั พ้นื ฐานพทุ ธศกั ราช 2551 (ฉบบั ปรับปรงุ พทุ ธศกั ราช 2560)

ข้อ 12 การสอนซ่อมเสรมิ เป็นการสอนเพ่อื แก้ไขข้อบกพร่อง กรณีทผ่ี ู้เรียนมคี วามรู้ ทักษะ
กระบวนการ คุณลกั ษณะอันพึงประสงค์ หรอื สมรรถนะผู้เรยี น ไมเ่ ป็นไปตามเกณฑ์ทกี่ าหนด โรงเรียน
สามารถดาเนนิ การซ่อมเสรมิ ในกรณีดังต่อไปน้ี

12.1 ผู้เรยี นมคี วามรู้หรอื ทกั ษะไมต่ รงตามตวั ช้ีวดั หรอื ผลการเรียนรู้ ไมเ่ พยี งพอที่จะศึกษา
ในแตล่ ะรายวิชาน้ัน กลมุ่ สาระการเรยี นรูแ้ ละครูผู้สอน สามารถจัดการสอนซ่อมเสรมิ เพื่อปรบั ความรู้หรือ
ทกั ษะพ้นื ฐานน้ันได้ โดยความเห็นชอบของผ้อู านวยการสถานศึกษา

12.2 การประเมนิ ระหวา่ งเรยี น ผู้เรียนไม่สามารถแสดงความรู้ ทักษะกระบวนการ หรอื
เจตคติ หรอื คุณลักษณะทก่ี าหนดไว้ตามมาตรฐานการเรียนรู้ ตัวชว้ี ดั หรอื ผลการเรียนรู้

12.3 ผลการเรียนไมถ่ ึงเกณฑ์หรือต่ากวา่ เกณฑ์การประเมิน โดยผู้เรยี นได้ระดบั ผลการเรยี น
“0” ต้องจัดการสอนซอ่ มเสรมิ กอ่ นจะใหผ้ เู้ รยี นสอบแก้ตวั

12.4 ผูเ้ รียนมผี ลการเรยี นไม่ผ่าน สามารถจัดสอนซ่อมเสริมในภาคฤดูร้อน ทัง้ นี้ให้อยูใ่ นดลุ ย
พินจิ ของผอู้ านวยการสถานศึกษา

ขอ้ 13 การเรยี นซา้ ให้ถือปฏิบตั ดิ งั น้ี
สถานศึกษาสามารถจัดให้ผู้เรยี นเรยี นซ้าได้ ใน 2 กรณี ดังนี้
13.1 กรณีเรียนซ้ารายวิชา เม่ือผู้เรียนได้รับการสอนซ่อมเสริมและสอบแก้ตัว 2 ครั้ง แล้ว

ไม่ผา่ นเกณฑก์ ารประเมิน ใหเ้ รียนซา้ รายวิชาน้ัน ทัง้ น้ใี หอ้ ยู่ในดุลยพินิจของผู้อานวยการสถานศกึ ษา ในการจัด
ให้เรียนซ้าในช่วงเวลาใดเวลาหนึ่ง ที่สถานศึกษาเห็นว่าเหมาะสม เช่น พักกลางวัน วันหยุด ช่ัวโมงว่างหลัง
เลิกเรียน ภาคฤดรู ้อน เปน็ ต้น

13.2 กรณเี รียนซา้ ช้ัน มี 2 ลกั ษณะ คอื
(1) ผ้เู รยี นมรี ะดับผลการเรียนเฉลย่ี ในปีการศึกษานั้น ต่ากว่า 1.00 และมีแนวโน้มวา่ จะ

เป็นปญั หาต่อการเรียนในระดับชัน้ ท่สี งู ขนึ้
(2) ผู้เรียนมีผลการเรียน 0, ร, มส เกินครึ่งหนึ่งของรายวิชาท่ีลงทะเบียนในปีการศึกษานั้น

ท้ังน้ีหากเกิดลักษณะใดลักษณะหน่ึงหรือทั้งสองลักษณะ ให้สถานศึกษาแต่งตั้งคณะกรรมการ 1 คณะ
ขนึ้ พิจารณา หากเหน็ วา่ ไมม่ เี หตผุ ลอนั สมควรกใ็ หซ้ า้ ชนั้ โดยยกเลกิ ผลการเรยี นเดิม และใหใ้ ชผ้ ลการเรียนใหม่แทน
หากพิจารณาแลว้ ไม่ต้องเรียนซา้ ชั้น ให้อยู่ในดุลยพนิ ิจของผู้อานวยการสถานศกึ ษาในการแก้ไขผลการเรยี น

ข้อ 14 เกณฑก์ ารจบระดบั มธั ยมศึกษาตอนตน้
14.1 ผู้เรยี นเรยี นรายวิชาพ้นื ฐานและรายวชิ าเพมิ่ เตมิ ไม่เกิน 81 หนว่ ยกิต โดยเปน็ รายวิชา

พ้นื ฐาน 66 หน่วยกติ และรายวชิ าเพิ่มเตมิ ตามทส่ี ถานศึกษากาหนด ได้ผลการประเมนิ ในระดบั 1 ขึ้นไป
14.2 ผู้เรยี นตอ้ งได้หน่วยกิตตลอดหลักสตู ร ไม่น้อยกว่า 77 หน่วยกิต โดยเป็นรายวชิ าพ้ืนฐาน

66 หน่วยกิต และรายวิชาเพ่ิมเติมตามที่สถานศึกษากาหนด ไมน่ ้อยกวา่ 11 หน่วยกติ
14.3 ผเู้ รียนมีผลการประเมินการอา่ น คิดวเิ คราะห์ และเขียน ในระดับผ่านเกณฑ์การประเมนิ

ในระดบั “ดเี ยี่ยม” “ด”ี หรือ “ผ่านเกณฑ์” ตามท่ีสถานศกึ ษากาหนด
14.4 ผเู้ รยี นมผี ลการประเมินคุณลักษณะอันพงึ ประสงค์ ผา่ นเกณฑ์การประเมินในระดับ

“ดีเยี่ยม” “ดี” หรอื “ผา่ นเกณฑ์” สถานศึกษากาหนด

9

ระเบียบวา่ ด้วยการวัดและประเมินผลการเรยี นตามหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาข้นั พื้นฐานพทุ ธศักราช 2551 (ฉบบั ปรับปรุงพุทธศกั ราช 2560)

14.5 ผูเ้ รยี นเขา้ ร่วมกิจกรรมพัฒนาผูเ้ รยี นดงั น้ี
(1) กจิ กรรมแนะแนว กจิ กรรมลูกเสือ ชมุ นุมหรือชมรม และมีผลการประเมินผ่าน

เกณฑ์การประเมนิ ตามที่สถานศกึ ษากาหนด
(2) เรียนธรรมศึกษาและสอบได้ธรรมศึกษาชั้น ตรี โท หรือ เอก และหรือ/ผ่าน การเข้า

ค่ายปฏิบัติธรรมหรือคุณธรรม หรือทากิจกรรมเพ่ือการทานุบารุงหรือส่งเสริม ตามหลักศาสนาท่ีตนนับถือ
ไม่น้อยกว่า 30 ชวั่ โมง

(3) กิจกรรมเพ่ือสังคมและสาธารณประโยชน์ ไมน่ ้อยกว่า 45 ช่ัวโมง

ข้อ 15 เกณฑ์การจบระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย
15.1 ผู้เรียนเรียนรายวิชาพ้ืนฐานและเพิ่มเติมไม่น้อยกว่า 81 หน่วยกิต โดยเป็นรายวิชา

พน้ื ฐาน 41 หนว่ ยกิต และรายวิชาเพมิ่ เตมิ ตามที่สถานศึกษากาหนด ไดผ้ ลการประเมินในระดบั 1 ข้ึนไป
15.2 ผู้เรียนตอ้ งไดห้ นว่ ยกิตตลอดหลักสูตรไมน่ ้อยกว่า 77 หนว่ ยกติ โดยเปน็ รายวชิ าพื้นฐาน

41 หนว่ ยกิต และรายวิชาเพมิ่ เติม ไมน่ ้อยกวา่ 36 หนว่ ยกิต
15.3 ผู้เรียนมีผลการประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน ในระดับผ่านเกณฑ์การ

ประเมนิ ในระดับ “ดีเยยี่ ม” “ด”ี หรอื “ผา่ นเกณฑ”์ ตามท่ีสถานศกึ ษากาหนด
15.4 ผู้เรียนมีผลการประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ผ่านเกณฑ์การประเมินในระดับ

“ดีเยยี่ ม” “ดี” หรือ “ผา่ นเกณฑ์” ตามท่สี ถานศึกษากาหนด
15.5 ผเู้ รยี นเขา้ ร่วมกิจกรรมพฒั นาผูเ้ รียนดังนี้
(1) กจิ กรรมแนะแนว กิจกรรมลูกเสอื ผ้บู าเพญ็ ประโยชน์ ชุมนมุ หรือชมรมนกั ศึกษาวิชา

ทหาร และมผี ลการประเมินผ่านเกณฑ์การประเมินตามที่สถานศึกษากาหนด
(2) กจิ กรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์ ไม่น้อยกว่า 60 ช่ัวโมง

หมวด 4
การรายงานผลการเรียน

ข้อ 16 กาหนดใหส้ ถานศึกษารายงานผลการเรียนใหผ้ ู้เรียน ผู้ปกครอง และผูม้ สี ่วนเก่ยี วขอ้ งทราบ
ความกา้ วหน้าและผลสมั ฤทธิ์ทางการเรียน ดังนี้

16.1 ครผู ้สู อนรายงานผลการเรยี นของผู้เรยี นต่อผู้อานวยการสถานศึกษาเป็นรายภาค ดงั นี้
(1) ระหวา่ งภาค 1 ครั้ง
(2) ปลายภาคเรยี น 1 ครงั้

16.2 งานทะเบียนและวดั ผล สรปุ ผลสัมฤทธ์ิทางการเรยี นเปน็ รายภาค เสนอผู้อานวยการ
โรงเรียน และรายงานผลการเรียนให้ผูเ้ รยี น ผูป้ กครอง และผมู้ สี ว่ นเก่ียวขอ้ งทราบ ภาคเรียนละ 1 คร้งั

หมวด 5
เอกสารหลักฐานการศึกษา

ขอ้ 17 สถานศึกษาจดั ทาระเบียนแสดงผลการเรียน ประกาศนยั บัตร และแบบรายงานผู้สาเรจ็ การศกึ ษา ดงั น้ี
17.1 เอกสารหลกั ฐานการศึกษาท่ีตามที่กระทรวงศกึ ษาธิการกาหนด ประกอบดว้ ย
(1) ระเบยี นแสดงผลการเรียนหรือ Transcript (ปพ.1) เปน็ เอกสารบนั ทึกผลการเรียน

ของผู้เรียนตามสาระการเรียนรู้ รายวิชา และกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ที่ได้เรียนในแต่ละระดับการศึกษาของ
หลักสูตรการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน เพื่อใช้เป็นหลักฐานในการสมัครเข้าศึกษาต่อ สมัครทางาน หรือดาเนินการ
ในเร่อื งอ่ืนท่ีเก่ยี วข้อง ตามแบบท่กี ระทรวงศึกษาธกิ ารกาหนด

10

ระเบียบวา่ ดว้ ยการวัดและประเมินผลการเรียนตามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาข้ันพื้นฐานพทุ ธศกั ราช 2551 (ฉบบั ปรับปรุงพุทธศักราช 2560)

(2) ประกาศนียบัตรหรือใบประกาศนียบัตร (ปพ.2) เป็นเอกสารที่สถานศึกษาออก
ให้กับผู้สาเร็จการศึกษาและรับรองวุฒิการศึกษาของผู้เรียน ให้ผู้เรียนนาไปใช้เป็นหลักฐานแสดงระดับวุฒิ
การศกึ ษาของตน ตามแบบท่กี ระทรวงศึกษาธิการกาหนด

(3) แบบรายงานผู้สาเร็จการศึกษา (ปพ.3) เป็นแบบรายงานรายช่ือและข้อมูลของ
ผู้สาเร็จการศึกษาภาคบังคับหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐาน เพ่ือใช้เป็นหลักฐานสาหรับตรวจสอบ
ยืนยันและรับรองความสาเร็จและวุฒิการศึกษาของผู้สาเร็จการศึกษาแต่ละคน ต่อเขตพื้นที่การศึกษาและ
กระทรวงศกึ ษาธิการ ตามแบบท่กี ระทรวงศกึ ษาธกิ ารกาหนด

17.2 เอกสารหลกั ฐานการศึกษาอน่ื ๆ ที่สถานศึกษาจดั ทาข้ึนเพื่อบันทึกการประเมินและข้อมูล
ตา่ ง ๆ เกี่ยวกับผเู้ รียน

(1) แบบแสดงผลการพัฒนาคุณลักษณะอันพึงประสงค์ (ปพ.4) เป็นเอกสารรายงาน
พัฒนาการดา้ นคุณลักษณะของผูเ้ รียนเกี่ยวกับคุณธรรม จรยิ ธรรม ค่านิยม และคณุ ลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ของ
ผเู้ รยี น เปน็ รายบุคคล

(2) แบบแสดงผลการพัฒนาคุณภาพของผู้เรียน (ปพ.5) เป็นเอกสารสาหรับผู้สอนใช้บันทึก
เวลาเรียน ขอ้ มูลผลการวัดและประเมินผลการเรยี น ข้อมูลการพฒั นาคุณลักษณะอันพงึ ประสงค์ของผู้เรียนแต่
ละคนท่ีเรียนในห้องเรียน หรือกลุ่มเดียวกัน เพ่ือใช้เป็นข้อมูลในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ปรับปรุง แก้ไข
ส่งเสริม และตัดสินผลการเรียนของผู้เรียน รวมท้ังใช้เป็นหลักฐานสาหรับตรวจสอบ ยืนยัน สภาพการเรียน
การมีสว่ นร่วมในกจิ กรรมตา่ ง ๆ และผลสมั ฤทธิ์ของผ้เู รียนเป็นรายบุคคล

(3) แบบรายงานผลการพัฒนาคุณภาพผู้เรยี นรายบุคคล (ปพ.6) เปน็ เอกสารสาหรบั บันทกึ
ขอ้ มลู เกีย่ วกบั ผลการเรียน พัฒนาการในดา้ นตา่ ง ๆ และข้อมูลอื่น ๆ ของผเู้ รียน

(4) ใบรับรองผลการศึกษา (ปพ.7) เป็นเอกสารที่สถานศึกษาออกให้ผู้เรียนเป็นการเฉพาะกิจ
เพอื่ รบั รองสถานภาพทางการศึกษาของผู้เรยี นเป็นการช่วั คราว ทัง้ กรณผี ู้เรียนยังไม่สาเรจ็ การศึกษาและสาเร็จ
การศกึ ษาแล้ว

หมวด 6
การเทียบโอนผลการเรียน

ขอ้ 18 การเทยี บโอนผลการเรียน หมายถึง การนาผลการเรียนซ่งึ เป็นความรู้ทักษะและประสบการณ์
ของผ้เู รยี นทีเ่ กิดจากการศึกษาในระบบ การศกึ ษานอกระบบ การศกึ ษาตามอธั ยาศยั และผลการศกึ ษาจาก
ต่างสถานศึกษา มาประเมินเป็นส่วนหน่ึงของการศึกษา ตามหลักสูตรใดหลักสูต รหน่ึงที่กาลังศึกษา
โดยคณะกรรมการบริหารหลักสูตรและวิชาการของสถานศึกษา กาหนดจานวนรายวิชา จานวนหน่วยกิต
ท่ีสถานศึกษาจากัด ให้ผู้เรียนสามารถขอเทียบโอนได้ในการศึกษาตามหลักสูตรของสถานศึกษาแต่ละระดับ
การศึกษา ท้ังนผ้ี ูเ้ รยี นจะต้องเหลอื รายวิชาท่จี ะตอ้ งศึกษาในสถานศึกษาอกี อยา่ งน้อย 1 ภาคเรยี น

ข้อ 19 สถานศึกษาแต่งต้ังคณะกรรมการ 1 คณะ จานวน 3 คน เม่ือได้รับคาร้องขอเทียบโอน
ให้ดาเนินการเทียบโอนผลการเรียนโดยกาหนดสาระเทียบโอน จัดสร้างเครื่องมือ สาหรับการเทียบโอนผล
การเรยี น และดาเนินการเทียบโอนผลการเรียน โดยคณะกรรมการดาเนินการเทียบโอนผลการเรยี น ให้ผ้เู รียน
ดงั นี้

(1) ใหด้ าเนนิ การให้เสร็จภายในภาคเรียนแรกทผ่ี ้เู รียนเข้าศกึ ษาในสถานศึกษา ยกเวน้ กรณีมี
เหตจุ าเป็น ให้อยู่ในดุลพินิจของผอู้ านวยการสถานศึกษา

(2) ใหเ้ ทยี บโอนผลการเรียนเป็นรายวชิ า

11

ระเบียบวา่ ด้วยการวดั และประเมนิ ผลการเรียนตามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขนั้ พืน้ ฐานพทุ ธศกั ราช 2551 (ฉบบั ปรบั ปรุงพุทธศักราช 2560)

(3) ผู้เรียนย่ืนคาร้องเป็นลายลักษณ์อักษร พร้อมเอกสารหลักสูตรที่นามาขอเทียบและเอกสาร
การศึกษาท่ีได้รับ ขอเทียบความรู้ตามรายวิชาในหลักสูตรของสถานศึกษา ตามจานวนวิชาที่กาหนดไว้หลัก
หลกั สูตรของสถานศกึ ษา

(4) คณะกรรมการดาเนินการเทียบโอนผลการเรียน จัดให้มีการประเมินความรู้ความสามารถ
และประสบการณข์ องผู้เรียนใหม่ ตามผลการเรียนรขู้ องรายวิชาทีผ่ ู้เรยี นขอเทียบ

(5) คณะกรรมการดาเนินการเทียบโอนผลการเรยี น รายงานผลการเทียบโอนให้คณะกรรมการ
บริหารหลักสูตรและวิชาการของสถานศึกษาให้ความเห็นชอบ และเสนอผู้บริหารสถานศึกษาอนุมัติผลการ
เทียบโอนผลการเรียน

บทเฉพาะกาล

ข้อ 20 ในกรณีนักเรียนที่เรียนตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 ซึ่งควรจบ
การศึกษาตามหลักสูตรในปีการศึกษา 2560 หรือก่อนปีการศึกษา 2552 แต่ไม่สามารถจบหลักสูตรได้ตาม
กาหนด ให้ใชร้ ะเบยี บฉบบั น้โี ดยอนโุ ลม

ข้อ 21 กรณมี กี ารเปลยี่ นแปลงแกไ้ ข ใหเ้ สนอรา่ งต่อคณะกรรมการสถานศึกษาข้ันพ้นื ฐานอนุมัติและ
ให้ความเห็นชอบก่อนประกาศใช้

โรงเรียนวัดราชบพธิ
ประกาศใช้ ณ วนั ท่ี 1 ตุลาคม 2564

12
ระเบียบว่าด้วยการวัดและประเมนิ ผลการเรียนตามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขัน้ พน้ื ฐานพุทธศักราช 2551 (ฉบับปรับปรงุ พทุ ธศักราช 2560)

ตอนท่ี 2

แนวปฏิบัติการวัดและประเมนิ ผลการเรยี นรู้ โรงเรียนวัดราชบพิธ

ตามหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาข้ันพนื้ ฐาน พุทธศกั ราช 2551 (ปรับปรงุ พุทธศักราช 2560)

สว่ นท่ี 1 การประเมนิ ผลการเรียนรู้ 8 กลมุ่ สาระการเรยี นรู้
ส่วนที่ 2 การประเมินกจิ กรรมพฒั นาผ้เู รยี น
ส่วนที่ 3 การประเมนิ คณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์
สว่ นที่ 4 การประเมนิ การอา่ น คดิ วเิ คราะห์ และเขยี น
สว่ นที่ 5 การประเมนิ สมรรถนะสาคญั ของผเู้ รียน
สว่ นท่ี 6 เกณฑ์การตดั สนิ การเลอ่ื นชนั้ และจบหลักสตู ร
ส่วนที่ 7 การประเมนิ ผลสมั ฤทธทิ์ างการเรียนระดับชาติ

แนวปฏบิ ตั กิ ารวัดและประเมนิ ผลการเรียนรู้

เป้าหมายสาคัญของการประเมินผลการเรียนหลักสูตรสถานศึกษาตามแนวทา งหลักสูตรแกนกลาง
การศึกษาข้ันพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 คือ เพื่อนาผลการประเมินไปพัฒนาผู้เรียนให้บรรลุมาตรฐานการ
เรียนรู้ในแต่ละรายวิชา ของกลุ่มสาระการเรียนรู้ต่าง ๆ โดยการนาผลการประเมินไปใช้เป็นข้อมูลในการ
ปรับปรุง แก้ไข ส่งเสริมการเรียนรู้และพัฒนาการของผู้เรียนโดยตรง นาผลไปปรับปรุงแก้ไขผลการจัด
กระบวนการเรียนรู้ให้มีประสิทธิภาพย่ิงขึ้น รวมท้ังนาไปใช้ในการพิจารณาตัดสินความสาเร็จทางการศึกษา
ของผเู้ รียน ตลอดจนความสาเรจ็ ของผู้สอนอกี ดว้ ย

การวัดและประเมินผลการเรยี นรู้โรงเรยี นวัดราชบพิธตามหลักสตู รสถานศึกษาข้ันพื้นฐาน พุทธศักราช 2561
ตามหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาขนั้ พ้นื ฐาน พุทธศกั ราช 2551(ปรับปรงุ พุทธศักราช 2560) ประกอบด้วย

ส่วนที่ 1 การประเมนิ ผลการเรยี นรู้ตามกลุ่มสาระการเรยี นรู้ 8 กลุ่ม
การประเมนิ ผลการเรียนร้ตู ามกล่มุ สาระการเรยี นรู้ทั้ง 8 กลุ่ม โรงเรยี นได้ดาเนนิ การประเมินผล

ในลกั ษณะตา่ ง ๆ ดังต่อไปนี้
1. การประเมินผลก่อนเรียน

การประเมินผลก่อนเรียน กาหนดให้ครูผู้สอนในแต่ละรายวิชาทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้ที่ต้องประเมินผลก่อน
เรียน เพื่อหาสารสนเทศของผู้เรียนในเบื้องต้น สาหรับนาไปจัดกระบวนการเรียนรู้ให้สอดคล้องกับพื้นฐาน
ของผเู้ รยี น ตามแนวทางการจดั กระบวนการเรียนรู้ทเี่ นน้ ผู้เรียนเป็นสาคัญ แต่จะไม่นาผลการประเมนิ น้ีไปใช้
ในการพิจารณาตดั สินผลการเรยี น การประเมนิ ผลก่อนเรยี นประกอบด้วยการประเมนิ ดงั ต่อไปน้ี

1.1 การประเมนิ ความพรอ้ มและพืน้ ฐานของผู้เรียน
เป็นการตรวจสอบความรู้ ทักษะ และความพร้อมต่าง ๆ ของผู้เรียนท่ีเป็นพื้นฐานของเรื่อง

ใหม่ๆ ท่ีผู้เรียนต้องเรียนโดยใช้วิธีการที่เหมาะสม เพ่ือจะได้ทราบว่าผู้เรียนมีความพร้อมและพื้นฐานท่ีจะ
เรียนทุกคนหรือไม่ แล้วนาผลการประเมินมาปรับปรุง ซ่อมเสริม หรือเตรียมผู้เรียนให้มีความพร้อมและ
พื้นฐานพอเพียงทุกคนซ่ึงจะช่วยให้ผู้เรียนประสบความสาเร็จในการเรียนได้เป็นอย่างดี การประเมินพ้ืนฐาน
และความพร้อมของผู้เรียนก่อนเรียน จงึ มคี วามสาคัญและจาเปน็ ทผี่ สู้ อนทุกคนจะต้องดาเนนิ การ เพือ่ เตรียม
ผู้เรียนให้มีความพร้อมในการเรียนทุกครั้งจะทาใหก้ ารเรียนการสอนเป็นไปอย่างมีประสทิ ธภิ าพ และสามารถ
คาดหวงั ความสาเร็จได้อย่างแนน่ อน

การประเมนิ ความพรอ้ มและพน้ื ฐานของผู้เรยี นก่อนเรียนมีแนวปฏิบตั ิดังนี้
1) วเิ คราะหค์ วามรแู้ ละทักษะที่เป็นพื้นฐานก่อนเรียน
2) เลือกวธิ กี ารและจัดทาเครอ่ื งมือสาหรับประเมินความรู้ และทักษะพนื้ ฐานอย่าง
เหมาะสมและมปี ระสิทธภิ าพ
3) ดาเนนิ การประเมินความร้แู ละทักษะพืน้ ฐานของผเู้ รียน
4) นาผลการประเมนิ ไปดาเนนิ การปรบั ปรงุ ผเู้ รยี นใหม้ ีความรูแ้ ละทักษะพื้นฐานอยา่ ง
พอเพยี งก่อนดาเนนิ การสอน
5) จัดการเรียนการสอนในเร่อื งท่จี ัดเตรียมไว้

14

แนวปฏบิ ตั ิการวดั และประเมินผลการเรยี นรู้ ตามหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พื้นฐาน พุทธศกั ราช 2551 (ปรบั ปรุง พุทธศกั ราช 2560)

1.2 การประเมนิ ความรอบรู้ในเรื่องทีจ่ ะเรียนก่อนการเรียน
เป็นการประเมินผู้เรียนในเรื่องที่จะทาการสอน เพื่อตรวจสอบว่าผู้เรียนมีความรูแ้ ละทักษะใน

เรื่องทจ่ี ะเรยี นนัน้ มากนอ้ ยเพยี งไร เพอ่ื นาไปเป็นขอ้ มลู เบ้อื งตน้ ของผูเ้ รยี นแตล่ ะคนวา่ เริ่มต้นเรียนเรื่องนัน้ ๆ
โดยมีความรู้เดิมอยู่เท่าไรเพ่ือจะได้นาไปเปรียบเทียบกับผลการเรียนภายหลัง การเข้าร่วมกิจกรรมการเรียน
ตามแผนการเรียนรู้แล้ว ว่าเกิดพัฒนาการหรือเกิดการเรียนรู้เพ่ิมขึ้นหรือไม่เพียงไร ซึ่งจะทาให้ทราบถึง
ศักยภาพในการเรียนรูข้ องผูเ้ รยี น และประสทิ ธิภาพในการจดั กิจกรรมการเรียน ซึ่งจะใชเ้ ปน็ ประโยชน์ในการ
สนองตอบการเรยี นรขู้ องผเู้ รยี นแต่ละคนแต่ละกลุ่มตอ่ ไป แต่ประโยชน์ทเ่ี กดิ ขึ้นในเบ้ืองตน้ ของการประเมินผล
ก่อนเรียน ก็คือผู้สอนสามารถนาผลการประเมินไปใช้เป็นข้อมูลในการจดั เตรียม วิธีการจัดกิจกรรมการเรยี น
ใหส้ อดคล้องกับความรเู้ ดิมของผู้เรยี นว่าต้องจัดอย่างเข้มขน้ หรือมากน้อยเพียงไร จงึ จะทาใหแ้ ผนการเรียนรู้มี
ประสิทธิภาพ สามารถทาใหผ้ ู้เรียนเกดิ การเรียนรู้และพัฒนาการต่าง ๆ ตามตวั ชี้วดั ดว้ ยกนั ทุกคน ในขณะที่ไม่ทาให้
ผู้เรียนมีพื้นความรู้เดิมอยู่แล้วเกิดความรู้สึกเบ่ือหน่าย และเสียเวลาเรียนในส่ิงที่ตนรู้แล้ว การประเมินความ
รอบรู้ก่อนเรียนมีขั้นตอนการปฏิบัติเหมือนกับการประเมินความพร้อมและพ้ืนฐานของผู้เรียนต่างกันเฉพาะ
ความรู้ ทกั ษะท่จี ะประเมินเทา่ นนั้

2. การประเมินระหวา่ งเรยี น
การประเมินระหวา่ งเรยี นเปน็ การประเมนิ ท่มี ุ่งตรวจสอบพัฒนาการของผ้เู รยี นว่าบรรลจุ ดุ ประสงค์

การเรียนรู้ตามแผนการจัดการเรียนรู้ท่ีครูได้วางแผนไว้หรือไม่ เพื่อนาสารสนเทศท่ีได้จากการประเมินไปสู่
การปรับปรุงแก้ไขข้อบกพร่องของผู้เรียน และส่งเสริมผู้เรียนให้มีความรู้ความสามารถและเกิดพัฒนาการ
สูงสดุ ตามศักยภาพ

การประเมินผลระหว่างเรียนมแี นวทางในการปฏบิ ัตติ ามข้ันตอน ดงั นี้
2.1 วางแผนการเรียนรู้และการประเมินผลระหว่างเรยี น ผู้สอนจัดทาแผนการเรียนรู้ กาหนด
แนวทางการประเมินผลให้สอดคล้องกับตัวช้ีวัด ซึ่งในแผนการเรียนรู้จะระบุภาระงานท่ีจะทาให้ผู้เรียนบรรลุ
ตามตวั ช้ีวดั อยา่ งเหมาะสม
2.2 เลือกวิธีการประเมินที่สอดคล้องกับภาระงานหรือกิจกรรมหลักท่ีกาหนดให้ผู้เรียนปฏิบัติ
ท้ังน้ีวิธีการประเมินท่ีเหมาะสมอย่างย่ิงสาหรับการประเมินระหว่างเรียน ได้แก่ การประเมินจากสิ่งที่ผู้เรียน
ได้แสดงให้เห็นว่ามีความรู้ ทักษะ และความสามารถ ตลอดจนมีคุณลักษณะที่พึงประสงค์อันเป็นผลจาก
การเรียนรู้ ตามท่ีผู้สอนได้จัดกระบวนการเรียนรู้ให้วิธีการประเมินท่ีผู้สอนสามารถเลือกใช้ในการประเมิน
ระหว่างเรียน มีดังน้ี

1) การประเมินด้วยการส่ือสารส่วนบคุ คล ไดแ้ ก่
(1) การถามตอบระหว่างทากิจกรรมการเรียน
(2) การพบปะสนทนาพูดคยุ กับผู้เรยี น
(3) การพบปะสนทนาพูดคุยกับผู้เกย่ี วข้องกับผเู้ รียน
(4) การสอบปากเปล่าเพ่ือประเมินความรู้ ความเขา้ ใจ และทศั นคติ
(5) การอา่ นบนั ทึกเหตุการณ์ต่าง ๆ ของผเู้ รียน
(6) การตรวจแบบฝึกหดั และการบา้ น พรอ้ มให้ข้อมูลป้อนกลบั

2) การประเมนิ จากการปฏบิ ตั ิ (Performance Assessment)
เปน็ วธิ ีการประเมินงานหรือกจิ กรรมทีผ่ สู้ อนมอบหมายให้ผ้เู รยี นปฏิบัติเพอ่ื ใหไ้ ด้ขอ้ มูล

สารสนเทศวา่ ผเู้ รียนเกิดการเรยี นรูม้ ากนอ้ ยเพียงใด
การประเมนิ การปฏบิ ตั ิผู้สอนต้องเตรียมการในสิ่งสาคัญ 2 ประการ คือ
(1) ภาระงานหรือกจิ กรรมที่จะให้ผูเ้ รียนปฏบิ ตั ิ (Tasks)
(2) เกณฑ์การให้คะแนน (Rubrics)

15

แนวปฏบิ ตั ิการวดั และประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขั้นพื้นฐาน พุทธศกั ราช 2551 (ปรับปรงุ พทุ ธศักราช 2560)

วิธีการประเมินการปฏบิ ตั ิ จะเปน็ ไปตามลักษณะงาน ดงั นี้
ก. ภาระงานหรือกิจกรรมที่ผู้สอนกาหนดให้ผู้เรียนทาเป็นรายบุคคล/กลุ่ม

จะประเมินวิธีการทางานตามขั้นตอนและผลงานของผู้เรยี น
ข. ภาระงานหรือกิจกรรมท่ีผู้เรียนปฏิบัติเป็นปกติในชีวิตประจาวันจะประเมินด้วย

วิธีการสงั เกต จดบันทึกเหตกุ ารณเ์ กี่ยวกบั ผ้เู รียน
ค. การสาธิต ได้แก่ การให้ผู้เรียนแสดงหรือปฏิบัติกิจกรรมตามที่กาหนด เช่น

การใชเ้ ครือ่ งมือปฏบิ ตั ิงาน การทากายบริหาร การเลน่ ดนตรี จะประเมินวิธกี ารและขน้ั ตอนในการสาธิตของ
ผู้เรยี นดว้ ยวิธีการสังเกต

ง. การทาโครงงาน การจัดการเรยี นรตู้ ามหลักสูตรการศกึ ษาขัน้ พ้ืนฐาน กาหนดให้
ผู้สอนต้องมอบหมายให้ผู้เรียนได้ปฏิบัติโครงงานอย่างน้อย 1 โครงงานในทุกช่วงช้ัน ดังนั้นผู้สอนจึงต้อง
กาหนดภาระงานในลกั ษณะของโครงงานให้ผเู้ รียนปฏิบตั ใิ นรปู แบบหน่ึง ใน 4 รปู แบบต่อไปนี้

(1) โครงงานสารวจ
(2) โครงงานส่ิงประดิษฐ์
(3) โครงงานแก้ปัญหาหรือการทดลองศึกษาค้นคว้า
(4) โครงงานอาชีพ

วิธีการประเมนิ ผลโครงงาน ใชก้ ารประเมิน 3 ระยะ คอื
1) ระยะก่อนทาโครงงาน โดยประเมินความพร้อมด้านการเตรียมการ และความเป็นไปได้
ในการปฏิบัตงิ าน
2) ระยะทาโครงงาน โดยประเมินการปฏิบัติจริงตามแผน วิธีการและข้ันตอนกาหนดไว้
และการปรับปรุงงานระหว่างปฏิบตั ิงาน
3) ระยะส้ินสุดการทาโครงงาน โดยประเมินผลงานและวิธีการนาเสนอผลการดาเนิน
โครงงาน
การกาหนดใหผ้ ู้เรียนทาโครงงาน สามารถทาได้ 3 แบบ คือ
1) โครงงานรายบุคคล เปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้เลือกปฏิบัติงานตามความสามารถ
ความถนัด และความสนใจ
2) โครงงานกลมุ่ เป็นการทาโครงงานขนาดใหญ่และซับซ้อนต้องใหผ้ ้เู รยี นที่มคี วามสามารถ
ต่างกนั หลายดา้ นชว่ ยกันทา การประเมนิ โครงงานควรเน้นการประเมินกระบวนการกลมุ่
3) โครงงานผสมระหว่างรายบุคคลกับกลุ่ม เป็นโครงงานที่ผู้เรียนทาร่วมกัน แต่เมื่อเสร็จ
งานแล้วให้แตล่ ะคนรายงานผลด้วยตนเอง โดยไม่ตอ้ งได้รับการชว่ ยเหลอื จากสมาชกิ ในกลุ่ม
ในการประเมินการปฏิบตั ิงานดังกล่าวมาข้างตน้ ผู้สอนจาเป็นต้องสรา้ งเครื่องมือเพื่อใช้
ประกอบการประเมินการปฏิบัติ เชน่
- แบบวัดภาคปฏิบตั ิ
- แบบสงั เกตพฤตกิ รรม
- แบบตรวจสอบรายการ
- เกณฑก์ ารให้คะแนน (Rubrics)

เปน็ ตน้

16

แนวปฏบิ ตั ิการวดั และประเมินผลการเรยี นรู้ ตามหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พืน้ ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 (ปรับปรงุ พุทธศกั ราช 2560)

3) การประเมินตามสภาพจริง (Authentic Assessment)
การประเมนิ สภาพจริงเป็นการประเมนิ จากการปฏบิ ตั ิงานหรือกิจกรรมอย่างใดอยา่ งหนึ่ง

โดยงานหรือกิจกรรมท่ีมอบหมายให้ผู้เรียนปฏิบัติจะเป็นงาน หรือสถานการณ์ที่เป็นจริง (Real life) หรือ
ใกล้เคียงกับชวี ติ จรงิ จงึ เปน็ งานทมี่ สี ถานการณ์ซบั ซ้อน (Complexity) และเปน็ องคร์ วม (Holistic) มากกว่า
งานปฏิบัติในกิจกรรมการเรียนทัว่ ไป

วธิ กี ารประเมนิ สภาพจรงิ ไมม่ ีความแตกตา่ งจากการปฏิบตั ิ (Performance Assessment)
เพียงแต่อาจมีความยุ่งยากในการประเมินมากกว่า เนื่องจากเป็นสถานการณ์จริง หรือต้องจัดสถานการณ์ให้
ใกล้จริง แต่จะเกิดประโยชน์กับผู้เรียนมาก เพราะจะทาให้ทราบความสามารถที่แท้จริงของผู้เรียนว่า
มจี ุดเด่นและข้อบกพร่องในเรือ่ งใด อันจะนาไปสกู่ ารแกไ้ ขทตี่ รงประเดน็ ที่สุด

4) การประเมนิ ดว้ ยแฟ้มสะสมงาน (Portfolio Assessment)
การประเมินด้วยแฟ้มสะสมงาน เป็นวิธีการประเมินท่ีช่วยส่งเสริมให้การประเมินตาม

สภาพจริงมีความสมบูรณ์สะท้อนศักยภาพที่แท้จริงของผู้เรียนมากขึ้น โดยการให้ผู้เรียนได้เก็บรวบรวม
(Collect) ผลงานจากการปฏิบัติจริงทั้งในชั้นเรียนหรือในชีวิตจริงที่เกี่ยวข้องกับการเรียนรู้ตามสาระการ
เรียนรู้ต่าง ๆ มาจัดแสดงอย่างเป็นระบบ (Organized) โดยมีจุดประสงค์เพ่ือสะท้อนให้เห็น (Reflect)
ความพยายาม เจตคติ แรงจูงใจ พัฒนาการ และความสัมฤทธ์ิผล (Achievement) ของการเรียนรู้ของ
ผู้เรียน การวางแผนดาเนินงาน การประเมินด้วยแฟ้มผลงานท่ีสมบูรณ์จะช่วยให้ผู้สอนสามารถประเมินจาก
แฟ้มสะสมงานแทนการประเมินจากการปฏบิ ตั จิ ริง

การประเมินดว้ ยแฟม้ สะสมงานมแี นวทางในการดาเนนิ งานดงั นี้
1) กาหนดโครงสร้างของแฟ้มสะสมงานจากวัตถุประสงค์ของแฟม้ สะสมงานวา่ ต้องการ
สะท้อนสิ่งใดเกี่ยวกับความสามารถและพัฒนาการของผู้เรียน ทั้งน้ีอาจพิจารณาจากตัวช้ีวัดตามสาระการ
เรียนรทู้ ีส่ ะท้อนไดจ้ ากการใหผ้ เู้ รียนจดั ทาแฟม้ สะสมงาน
2) กาหนดวิธีการเก็บรวบรวมผลงานให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ของแฟ้มสะสมงาน
เพอ่ื ให้ผู้เรียนได้ทาแฟ้มสะสมงาน
3) กาหนดให้วิธีการประเมินงานเพื่อพัฒนาชิ้นงาน ซ่ึงส่งผลถึงการพัฒนาผู้เรียนให้มี
ความสามารถสูงสุด ท้ังน้ีครูควรจัดทาเกณฑ์การให้คะแนน (Rubrics) สาหรับให้ผู้เรียนนาไปใชเ้ ปน็ ข้อช้ีนาใน
การพัฒนางาน
4) ส่งเสริมให้เกิดความร่วมมือในการพัฒนางาน โดยมีส่วนร่วมในการประเมินจาก
ทุกฝ่าย แล้วนาข้อมูลท่ีสอดคล้องกันไปเป็นสารสนเทศหลัก ในการให้ข้อมูลป้อนกลับ (Feedback) สาหรับ
ใหผ้ ู้เรียนใชใ้ นการปรับปรงุ แกไ้ ขข้อบกพร่อง
5) จดั ให้มกี ารนาเสนอผลงานท่ไี ด้สะสมไว้ โดยใชว้ ธิ ีการที่เหมาะสม ซึ่งผสู้ อนและผู้เรยี น
ควรวางแผนรว่ มกนั ในการคดั เลือกชน้ิ งานทดี่ ีทส่ี ุด ท้ังน้ีการนาเสนอชน้ิ งานแต่ละชิ้นควรมหี ลักฐานการพัฒนา
งานและการประเมินผลงานด้วยตนเอง เกณฑ์การประเมินผลงานประกอบไว้ด้วย ในการใช้วิธีการประเมิน
โดยแฟม้ สะสมงาน ผู้สอนควรคานึงดว้ ยวา่ แฟ้มสะสมงานมีหลายประเภท การเลอื กใช้แฟ้มสะสมงานประเภท
ใด ควรคานึงถึงรูปแบบและแนวทางในการพัฒนาแฟ้มสะสมงานให้เหมาะสม เพ่ือให้แฟ้มสะสมงานช่วย
พัฒนาความคิดสร้างสรรคข์ องผูเ้ รยี นด้วย

17

แนวปฏบิ ตั ิการวดั และประเมนิ ผลการเรยี นรู้ ตามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาข้ันพืน้ ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 (ปรบั ปรงุ พทุ ธศกั ราช 2560)

2.3 กาหนดสัดส่วนการประเมินระหว่างเรียนกับการประเมินผลปลายภาคเรียน หรือ
ปลายปี การประเมินระหวา่ งเรยี นมีวตั ถุประสงค์สาคัญ เพ่ือมุ่งนาสารสนเทศ มาพัฒนาผู้เรียนและปรับปรุง
กระบวนการจดั การเรียนของผเู้ รียน การประเมนิ ระหวา่ งเรียนทด่ี าเนินการอย่างถกู ต้อง เขม้ งวด และจรงิ จัง
จะให้ผลการประเมินท่ีสะท้อนภาพความสาเร็จ และศักยภาพของผู้เรียนได้ถูกต้อง สมบูรณ์ และน่าเช่ือถือ
ดังนั้น ควรให้น้าหนักความสาคัญของการประเมินระหว่างเรียนในสัดส่วนที่มากกว่าการประเมินตอน
ปลายภาคเรียนหรือปลายปี ท้ังน้ีโดยคานึงถึงธรรมชาติของรายวิชาและตัวช้ีวัดเปน็ สาคัญ แต่อย่างไรก็ตาม
ในการประเมินเพอ่ื ตัดสินผลการเรียนรายวิชาปลายภาคเรยี นหรือปลายปี ต้องนาผลการประเมินระหวา่ งเรียน
ไปใชใ้ นการตัดสินผลการเรยี นด้วย ทัง้ น้ีใหเ้ ปน็ ไปตามสดั ส่วนและแนวดาเนินการในระเบยี บทสี่ ถานศึกษา ผู้
กาหนด

2.4 จัดทาเอกสารบันทึกข้อมูลสารสนเทศของผู้เรียน ผู้สอนต้องจัดทาเอกสารบันทึก
ข้อมูลสารสนเทศเกี่ยวกับการประเมินผลระหว่างเรียนอย่างเป็นระบบชัดเจน เพื่อใช้เป็นแหล่งข้อมูลในการ
ปรับปรุง แก้ไข ส่งเสริมผู้เรียน ใช้เป็นหลักฐานสาหรับการส่ือสารกับผู้เกี่ยวข้องและใช้เป็นหลักฐานสาหรับ
ตรวจสอบการปฏิบัติงานของผู้สอน ซึ่งแสดงให้เห็นถึงความโปร่งใสและความยุติธรรมในการประเมิน
ท้งั นีใ้ หเ้ ป็นไปตามระเบียบที่สถานศึกษากาหนด

ขอ้ มูลหลกั ฐานการประเมนิ ระหว่างท่ีพงึ แสดง ไดแ้ ก่
1) วธิ กี ารและเคร่อื งมือที่ใชใ้ นการเก็บขอ้ มูล
2) ข้อมูลเกี่ยวกับความสามารถของผู้เรียนตามวิธีการประเมิน เช่น บันทึกการสังเกต
พฤติกรรม บันทึกคะแนนจากผลการประเมินชิ้นงาน บันทึกคะแนนการประเมินโครงงาน บันทึกเกี่ยวกับ
การประเมินแฟ้มสะสมงาน เป็นตน้

3. การประเมินเพอ่ื สรุปผลการเรยี น
การประเมินเพ่ือสรุปผลการเรียนเป็นการประเมิน เพื่อมุ่งตรวจสอบความสาเร็จของผู้เรียน

เม่อื ผ่านการเรยี นรู้ในชว่ งเวลาหน่งึ หรือสนิ้ สดุ การเรียนรายวิชาปลายปี/ปลายภาคประกอบดว้ ย
3.1 การประเมนิ หลงั เรียน
เป็นการประเมนิ ผเู้ รียนในเรอ่ื งท่ีไดเ้ รียนจบแลว้ เพ่ือตรวจสอบว่าผู้เรียนเกดิ การเรียนรู้

ตามตัวชี้วัดท่ีคาดหวังหรือไม่ เม่ือนาไปเปรียบเทียบกับผลการประเมินก่อนเรียนว่าผู้เรียนเกิดพัฒนาการข้ึน
มากน้อยเพียงไร ทาให้สามารถประเมินได้ว่าผู้เรียนมีศักยภาพในการเรียนรู้เพียงไร และกิจกรรมการเรียนที่
จัดข้ึนมีประสิทธิภาพในการพัฒนาผู้เรียนอย่างไร ข้อมูลจากการประเมินภายหลังการเรียน สามารถนาไปใช้
ประโยชน์ไดม้ ากมาย ได้แก่

1) ปรบั ปรงุ แกไ้ ขซอ่ มเสริมผู้เรยี นให้บรรลุตัวชว้ี ดั หรือจดุ ประสงค์ของการเรียน
2) ปรับปรงุ แกไ้ ขวธิ ีเรียนของผเู้ รยี นให้มีประสิทธภิ าพยิ่งข้นึ
3) ปรับปรุงแก้ไขและพัฒนาการจดั กิจกรรมการเรียน
การประเมินหลังเรียนนี้ ถ้าจะให้สอดคล้องกับการประเมินก่อนเรียนเพ่ือการ
เปรียบเทียบพัฒนาการของผู้เรียนสาหรับการวิจัยในช้ันเรียน ควรใช้วิธีการและเครื่องมือประเมินชุดเดียวกนั
หรือคขู่ นานกัน
3.2 การประเมินผลการเรยี นปลายภาค
เป็นการประเมินผลเพ่ือตรวจสอบผลสัมฤทธ์ิของผู้เรียนในการเรียนรายวิชาต่าง ๆ ตามตัวชี้วัด
การประเมินผลน้ีนอกจากจะมีจุดประสงค์เพ่ือการสรุปตัดสินความสาเร็จของผู้เรียน ในแต่ละรายวิชา
รายภาค เปน็ สาคญั แล้ว ยังใช้เป็นข้อมูลสาหรับปรับปรุงแก้ไข ซอ่ มเสริมผู้เรยี นที่ไม่ผ่านการประเมินตัวช้ีวัด
ของแต่ละรายวิชา ให้เกิดพฒั นาการและมีผลการเรียนตามตวั ชวี้ ัดอย่างครบถว้ นสมบรู ณ์ด้วย

18

แนวปฏบิ ตั ิการวดั และประเมินผลการเรยี นรู้ ตามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขัน้ พนื้ ฐาน พุทธศกั ราช 2551 (ปรบั ปรงุ พุทธศกั ราช 2560)

การประเมินผลการเรียนปลายภาค สามารถใช้วิธีการและเครื่องมือการประเมินได้อย่าง
หลากหลาย ให้สอดคล้องกับตัวชี้วัด เนื้อหาสาระ กิจกรรมและช่วงเวลาในการประเมิน อย่างไรก็ดีเพื่อให้
การประเมินผลการเรียนดังกล่าวมีส่วนท่ีเกี่ยวข้องสัมพันธ์และสนับสนุนการเรียนการสอน จึงให้นาผลการ
ประเมินผลระหว่างเรียนไปใช้เป็นข้อมูลในการประเมินผลการเรียนปลายภาค โดยสัดส่วนการประเมินผล
ระหว่างเรยี นมากกว่าการประเมินผลปลายภาคเรียน

วธิ กี ารปฏบิ ตั กิ ารประเมินผลตามกลมุ่ สาระการเรยี นรู้ 8 กลมุ่
การดาเนนิ การประเมนิ ผลตามกลุ่มสาระการเรยี นรู้ 8 กลมุ่ โรงเรียนได้กาหนดวิธกี ารปฏิบตั ิดงั น้ี
คณะกรรมการบรหิ ารหลักสูตรและวชิ าการรว่ มกันกาหนดหลักการประเมนิ ผล 8 กลุม่ สาระ ดังนี้
1. ทุกกลุ่มสาระให้มีการประเมินผลทุกรายวิชาให้ครอบคลุมท้ังด้านความรู้ ทักษะ กระบวนการ
และคณุ ลกั ษณะ โดยมีการประเมินผลดงั นี้

1.1 การประเมนิ ผลก่อนเรียน
1.1.1 ประเมินผลก่อนเรียนเพ่ือตรวจสอบความพร้อมและพื้นฐานของผู้เรียนและ

จดั กิจกรรมซอ่ มเสริมเพอ่ื ให้มีความรู้พ้ืนฐานเพยี งพอท่ีจะเรยี น
1.1.2 ประเมินก่อนเรียนเพื่อตรวจสอบความรอบรู้ในเนื้อหา และทักษะท่ีจะเริ่ม

เรียน เพ่อื เป็นขอ้ มลู เปรียบเทียบผลการเรยี นหลังเรียน แสดงการพัฒนาการของผู้เรียน
1.2 การประเมนิ ผลระหวา่ งเรยี น
1.2.1 การประเมินผลกลางภาค
1.2.2 ให้มีการประเมินผลเป็นระยะๆ และสอดคล้องกับตัวช้ีวัด โดยใช้การ

ประเมินผลตามสภาพจรงิ ดว้ ยวิธีการทีห่ ลากหลายท้ังวธิ ีการวัด เคร่อื งมอื และแหล่งข้อมลู เพอื่ ม่งุ ตรวจสอบ
พัฒนาการของผู้เรียน และนาผลการประเมินไปปรับปรุงแก้ไขจนผู้เรียนสามารถบรรลุตามเกณฑ์ขั้นต่าที่
กาหนดไว้ โดยใช้วิธีการที่หลากหลายเหมาะสมกับศักยภาพของแต่ละบุคคล ในกรณีท่ีผู้เรียนต้องการพัฒนา
ปรับปรุงผลการเรียนให้สูงข้ึน ให้ผู้สอนเปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้พัฒนาปรับปรุงแก้ไขผลงาน/ช้ินงานตนเองจน
เต็มศักยภาพของผูเ้ รียนภายในเวลาทกี่ าหนดให้

1.3 การประเมินรายภาค ในการประเมินผลปลายภาคสามารถประเมนิ จากการปฏบิ ตั ิ การ
สอ่ื สาร เชน่ การสมั ภาษณ์จากผลงาน / ช้นิ งาน โครงงานหรอื แบบทดสอบ ทัง้ นี้ใหส้ อดคล้องกับตัวชีว้ ัด

2. การกาหนดสัดส่วนระหว่างเรียนกับการประเมินปลายภาค ให้กลุ่มสาระการเรียนรู้แต่ละกลุ่ม
รว่ มกันกาหนดตามหลักการทคี่ ณะกรรมการการบรหิ ารหลักสูตรและวชิ าการดงั นี้

2.1 การประเมินผลระหว่างเรียน ใหม้ ีการประเมนิ ผลรอ้ ยละ 80 ของการประเมนิ ผลทงั้ หมด
ทกุ รายวิชา

2.2 การประเมินผลระหว่างเรียนและการประเมินผลปลายภาค ให้มีการประเมินทั้งด้าน
ความรู้ ทักษะ กระบวนการ และคณุ ลักษณะ

2.3 ในรายวิชาเดียวกันให้มีการกาหนดสัดส่วนระหว่างเรียนกับปลายภาค และวางแผน
ประเมินผลตลอดภาคเรยี นรว่ มกัน

2.4 ในกรณีท่ีมีการประเมินผลด้วยแบบทดสอบ ให้มีการประเมินโดยใช้วิธีการให้ผู้เรียน
ตอบแบบทดสอบอัตนยั โดยมีการใหค้ ะแนนคดิ เป็นอตั ราส่วนไมน่ อ้ ยกว่าร้อยละ 20 ของการทดสอบครั้งนนั้

19

แนวปฏบิ ัติการวดั และประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขนั้ พนื้ ฐาน พุทธศักราช 2551 (ปรบั ปรงุ พทุ ธศักราช 2560)

3. การจดั ทาเอกสารบนั ทกึ ขอ้ มูลสารสนเทศของผู้เรยี น ประกอบด้วย
3.1 ผู้สอนแต่ละรายวิชาจัดทาแผนการประเมินผลในรายวิชาของตนเองตลอดภาคเรียน

โดยมีหัวขอ้ ดังน้ี
3.1.1) การประเมนิ ผลก่อนเรียน
3.1.2) การประเมินระหวา่ งเรยี น
3.1.3) การประเมนิ ปลายภาค
3.1.4) อตั ราสว่ นน้าหนักคะแนนระหว่างความรู้ (K) ทกั ษะกระบวนการ (P) และ

คุณลักษณะ (A) และรายละเอียดน้าหนักคะแนนของแต่ละตัวช้ีวัด พร้อมท้ังระบุวิธีการวัด เคร่ืองมือวัด
และประเมนิ ผลในแตล่ ะตัวชว้ี ดั

3.1.5) กาหนดคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ประกอบด้วย คุณลักษณะตาม
ธรรมชาติวิชา และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของสถานศึกษา ท้ังน้ีให้ใช้แบบสรุปผลการประเมินตามแบบ
บนั ทึกทแี่ นบท้ายคมู่ ือน้ี

3.2 จัดทาแบบบันทึกข้อมูลผลการประเมินท่ีแสดงสารสนเทศของผู้เรียน ทั้งนี้เพื่อใช้เป็น
แหล่งข้อมูลในการปรับปรุงแก้ไข ส่งเสริมผู้เรียน และใช้เป็นหลักฐานสาหรับสื่อสารกับผู้เก่ียวข้อง และใช้
เป็นหลักฐานสาหรับตรวจสอบการปฏิบัติงานของผู้สอน ดังนั้นข้อมูลควรแสดงถึงร่องรอยการพัฒนา
พร้อมระบุข้อสังเกตที่เน้นข้อค้นพบที่เป็นจุดเด่นและจุดด้อยของผู้เรียนเป็นรายบุคคล ทั้งระหว่างเรียนและ
ปลายภาค

3.3 จัดทาแบบบันทึกการประเมินความสามารถในการอ่าน คิด วิเคราะห์ และเขียน
เพ่ือแสดงร่องรอยหลักฐานการพัฒนาความสามารถในการอ่าน คิด วิเคราะห์ และเขียน และสรุปผลการ
ประเมินตามแบบสรุปผลการประเมินแนบท้ายคู่มอื น้ี

3.4 จัดทาแบบบันทึกการประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ เพ่ือแสดงร่องรอยหลักฐาน
การพัฒนาคุณลกั ษณะผเู้ รียน และสรุปผลการประเมินตามแบบสรุปผลการประเมนิ แนบท้ายคมู่ ือนี้

3.5 นาผลการประเมนิ จากขอ้ 3.2, 3.3 และ 3.4 มาสรปุ และบันทกึ ลงใน แบบ ปพ.5

4. การตดั สินผลการเรียนกล่มุ สาระการเรียนรู้ 8 กล่มุ
4.1 การตัดสินผลการเรียนให้นาผลการประเมินระหว่างเรียนรวมกับผลการประเมิน

ปลายภาค โดยใชเ้ กณฑด์ ังนี้
ตารางแสดงคะแนน และระดับผลการเรยี น

ชว่ งคะแนนเปน็ รอ้ ยละ ความหมาย ระดบั ผลการเรยี น
80 – 100 ผลการเรียนดีเยี่ยม 4
75 – 79 ผลการเรยี นดีมาก 3.5
70 – 74 ผลการเรยี นดี 3
65 – 69 ผลการเรยี นค่อนข้างดี 2.5
60 – 64 ผลการเรียนนา่ พอใจ 2
55 – 59 ผลการเรียนพอใช้ 1.5
50 – 54 ผลการเรียนผ่านเกณฑข์ ้นั ต่าทีก่ าหนด 1
0 – 49 ผลการเรียนต่ากวา่ เกณฑ์ข้นั ต่าที่กาหนด 0

20
แนวปฏบิ ตั ิการวดั และประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาข้นั พ้นื ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 (ปรบั ปรงุ พุทธศกั ราช 2560)

เมอ่ื ครผู ู้สอนตัดสนิ ผลการเรยี นแล้วให้ดาเนนิ การดังน้ี
ส่งผลการตัดสินให้อนุกรรมการกลุ่มสาระพิจารณาให้การเห็นชอบ/แก้ไข แล้วส่งให้
คณะกรรมการบริหารหลักสูตรและวิชาการพจิ ารณาเห็นชอบ เพื่อนาเสนอผบู้ ริหารสถานศกึ ษาอนุมตั ิผลการเรยี น
ส่งผลการเรียนให้ ครูที่ปรึกษากรอกผลการเรียนลงในแบบ ปพ.6 และนายทะเบียนวัดผล
กรอกในแบบ ปพ.1

5. การให้ผลการเรียน “ร”
5.1 การให้ผลการเรียน “ร” หมายถึง ผ้เู รียนท่ีมีลักษณะดงั นี้
1) ผ้เู รียนไมไ่ ด้รับการประเมนิ หรอื ประเมนิ แล้วไม่ผ่านเกณฑ์ระหวา่ งเรยี น
2) ผเู้ รยี นไม่ได้รบั การประเมนิ ปลายภาค
5.2 วิธีการให้ผลการเรียน “ร” เม่ือผู้สอนพบว่าผูเ้ รียนไม่ได้เข้ารับการประเมินผลระหวา่ ง

เรียนหรือปลายภาค ให้ผู้สอนรายงานพร้อมหลักฐานประกอบการพิจารณาเสนอผู้บริหารเพื่ออนุมัติผลการ
เรยี น “ร” แล้วประกาศผลให้นักเรยี นทราบ

6. การใหผ้ ลการเรยี น “มส”
6.1 การให้ผลการเรยี น “มส” หมายถึง ผู้เรยี นมเี วลาเรียนไมถ่ งึ ร้อยละ 80

ของเวลาทัง้ หมด
6.2 วิธีการให้ผลการเรียน “มส” ให้ผู้สอนรายงานพร้อมแนบเวลาเรียนของผู้เรียน

เสนอผ้บู รหิ ารเพ่อื อนุมตั ผิ ลการเรยี น “มส” กอ่ นประเมินผลปลายภาค 2 สปั ดาห์
7. การแกไ้ ข “0”
7.1 ผเู้ รยี นนาใบแจ้งความจานงการแก้ไข “0” พบครูผู้สอนประจาวิชา
7.2 ผู้สอนดาเนินการพัฒนาผู้เรียนในผลการเรียนรู้ที่ไม่ผ่านเกณฑ์ จนผู้เรียนสามารถ

บรรลผุ ลตามเกณฑท์ ก่ี าหนดไว้ โดยใหผ้ ลการเรยี นไม่เกนิ “1”
7.3 ผู้สอนรวบรวมและสรุปผลการแก้ไข “0” ไปยังงานวัดผลของโรงเรียนเพื่อเสนอต่อ

ผบู้ ริหารอนุมัติ และแจ้งผู้เกีย่ วข้อง
8. การแก้ไข “ร”
8.1 ผูเ้ รยี นนาใบแจ้งความจานงการแก้ไข “ร” พบครผู ูส้ อนประจาวชิ า
8.2 ผู้สอนดาเนนิ การตามสาเหตุของผลการเรียน “ร” น้ันๆ โดยใหผ้ ลการเรียนตามเกณฑ์ข้อ 4
8.3 ผู้สอนรวบรวมและสรุปผลการแก้ไข “ร” ไปยังงานวัดผลของโรงเรียนผ่านคณะ

กรรมการบรหิ ารหลักสูตรและวชิ าการเห็นชอบ เพอ่ื เสนอต่อผู้บรหิ ารอนมุ ตั ิ แลว้ แจง้ ผูเ้ กย่ี วข้อง
9. การแก้ไข “มส”
9.1 ผูเ้ รียนนาใบแจง้ ความจานงไปพบครูผู้สอนประจาวิชา
9.2 ผู้สอนพิจารณาวา่ ผู้เรยี นมีข้อบกพรอ่ งอะไร ให้ดาเนนิ การพัฒนาแก้ไขในสิง่ น้นั จนบรรลุ

เกณฑข์ ัน้ ตา่ ทกี่ าหนดไว้ โดยใหผ้ ลการเรยี นไม่เกิน “1”
9.3 ผู้สอนรวบรวมและสรุปผลการแก้ไข “มส” ส่งงานวัดผลของโรงเรียนผ่านคณะ

กรรมการบรหิ ารหลกั สตู รและวิชาการเหน็ ชอบ เพอื่ เสนอผู้บริหารอนุมัติ แล้วแจง้ ผเู้ กี่ยวข้อง
10. การแก้ไข “0” “ร” และ “มส” ให้ดาเนินการตามประกาศโรงเรียนวัดราชบพิธ เรื่อง

แนวทางการปฏบิ ตั ิการดาเนนิ การสอบแก้ตวั ประกาศ ณ วันที่

21

แนวปฏบิ ตั ิการวัดและประเมินผลการเรยี นรู้ ตามหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พื้นฐาน พทุ ธศักราช 2551 (ปรบั ปรุง พทุ ธศักราช 2560)

สว่ นท่ี 2 การประเมนิ กจิ กรรมพัฒนาผูเ้ รยี น
กิจกรรมพัฒนาผู้เรียนเป็นกิจกรรมที่สถานศึกษาได้ให้ผู้เรียนในทุกระดับชั้นการศึกษาได้พัฒนา

ความสามารถของตนเองตามความถนัดและความสนใจให้เต็มศักยภาพ โดยมุ่งเน้นการพัฒนาองค์รวมของ
ความเป็นมนุษย์ท้ังด้านร่างกาย สติปัญญา อารมณ์ และสังคม การจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนโดยรวมของ
สถานศกึ ษา มกี ารดาเนินการอย่างมีเป้าหมายชัดเจน มีรูปแบบ และวิธีการทีค่ รทู ี่ปรกึ ษากิจกรรมและผู้เรียน
ร่วมกันกาหนด ผู้เรียนต้องผ่านเกณฑ์การประเมนิ กิจกรรมพัฒนาผเู้ รียนตามที่สถานศึกษากาหนด จึงจะผา่ น
เกณฑ์การประเมินระดับชน้ั

1. ลักษณะกจิ กรรมพฒั นาผู้เรียน แบง่ เปน็ 3 ลักษณะ คือ
1.1 กิจกรรมแนะแนว เป็นกิจกรรมท่ีส่งเสริมและพัฒนาความสามารถของผู้เรียนให้

เหมาะสมตามความแตกต่างระหว่างบุคคล สามารถค้นพบและพัฒนาศักยภาพของตนเสริมสร้างทักษะชีวิต
วุฒิภาวะทางอารมณ์ การเรียนรู้ในเชิงพหุปัญญา และการสร้างสัมพันธภาพที่ดี ซ่ึงครูทุกคนต้องทาหน้าที่
แนะแนวใหค้ าปรึกษาดา้ นชีวติ การศึกษาตอ่ และการพัฒนาตนเองสโู่ ลกอาชพี และการมีงานทา

1.2 กิจกรรมนักเรียน เป็นกิจกรรมที่ผู้เรียนเป็นผู้ปฏิบัติด้วยตนเองอย่างครบวงจรตั้งแต่
ศึกษาวิเคราะห์ วางแผน ปฏิบัติตามแผน ประเมิน และปรับปรุงการทางาน โดยเน้นการทางานร่วมกัน
อยา่ งเปน็ กลุ่ม ไดแ้ ก่ โครงงาน กจิ กรรมตามความสนใจชมุ นมุ วชิ าการ กิจกรรมพฒั นานิสยั รกั การอ่าน การ
คดิ วิเคราะห์ และเขยี น กจิ กรรมสาธารณประโยชน์ ลูกเสือ เนตรนารี ยวุ กาชาด และ ผู้บาเพญ็ ประโยชน์
และกจิ กรรมพัฒนาคณุ ลกั ษณะอนั พึงประสงค์ของผเู้ รียน

1.3 กจิ กรรมเพอื่ สังคมและสาธารณประโยชน์ เป็นกจิ กรรมทส่ี ่งเสริมให้ผูเ้ รียนบาเพญ็ ตนให้
เป็นประโยชน์ต่อสังคม ชุมชน และทอ้ งถนิ่ ตามความสนใจในลกั ษณะอาสาสมัครเพื่อแสดงถึงความรับผิดชอบ
ความดงี าม ความเสียสละต่อสังคม มจี ิตสาธารณะ เชน่ กิจกรรมอาสาพัฒนาต่างๆ กิจกรรมสร้างสรรค์สังคม

2. การประเมินกิจกรรมพฒั นาผเู้ รยี นรายกจิ กรรม
2.1 ผู้รับผิดชอบกิจกรรมประเมินการปฏิบัติกิจกรรมของผู้เรียนตามจุดประสงค์ของแต่ละ

กิจกรรม โดยประเมินจากพฤติกรรมการปฏิบัติกิจกรรมและผลการปฏิบัติกิจกรรมด้วยวิธีการที่หลากหลาย
ตามสภาพจรงิ

2.2 ผู้รับผิดชอบกิจกรรมตรวจสอบเวลาเข้าร่วมกิจกรรมของผู้เรียนว่าเป็นไปตามเกณฑ์ที่
สถานศึกษากาหนดไวห้ รือไม่

2.3 ตัดสินให้ผู้เรียนท่ีผ่านจุดประสงค์สาคัญของกิจกรรม มีผลงานชิ้นงานหรือหลักฐาน
ประกอบและมีเวลาเข้าร่วมกิจกรรมครบตามเกณฑ์ ให้เป็นผู้ผ่านการประเมินผลการรว่ มกิจกรรม ผู้เรียนที่มี
ผลการประเมินบกพร่องในเกณฑ์ใดเกณฑ์หนึ่ง จะเป็นผู้ไม่ผ่านการประเมินผลการร่วมกิจกรรม จะต้องซ่อม
เสริมข้อบกพรอ่ งใหผ้ ่านเกณฑก์ ่อน จึงจะได้รับการตัดสินให้ผา่ นกิจกรรม

3. การประเมนิ กิจกรรมพฒั นาผ้เู รยี นเล่ือนชน้ั /จบหลักสตู ร
เป็นการประเมินสรุปผลการผ่านกิจกรรมตลอดปีการศึกษาของผู้เรียนแต่ละคนเพ่ือนาผลไป

พิจารณาตดั สนิ การเลือ่ นชนั้ โดยมขี นั้ ตอนปฏิบตั ิดังนี้
3.1 คณะกรรมการท่ีได้รับแต่งต้ังรวบรวมผลการประเมินแต่ละกิจกรรมมาตัดสินตามเกณฑ์

การตดั สนิ การประเมนิ กจิ กรรมพัฒนาผู้เรียน และรายงานผลต่อผปู้ กครอง
3.2 คณะกรรมการสรุปผลการประเมินกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ให้คณะกรรมการบริหาร

หลกั สตู รและวชิ าการเพ่ือพิจารณาเหน็ ชอบ
3.3 ผ้บู ริหารสถานศึกษาพจิ ารณาตดั สนิ อนุมัติผลการประเมินรายภาค
3.4 คณะกรรมการบริหารหลักสูตรและวิชาการ รวบรวมผลการประเมินรายภาค ตัดสิน

ผลการเล่ือนช้นั /จบหลักสูตร เสนอผ้บู ริหารอนมุ ัติ

22

แนวปฏบิ ัติการวดั และประเมนิ ผลการเรียนรู้ ตามหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาขั้นพนื้ ฐาน พุทธศกั ราช 2551 (ปรบั ปรงุ พทุ ธศักราช 2560)

4. เกณฑ์ตัดสินผลการประเมนิ กิจกรรมพัฒนาผเู้ รียน
4.1 เกณฑก์ ารตัดสนิ รายกิจกรรมพจิ ารณาจาก
4.1.1) เข้าร่วมกิจกรรมไมน่ อ้ ยกวา่ รอ้ ยละ 80 ของเวลาทั้งหมด
4.1.2) ผเู้ รียนมีพฤตกิ รรมด้านการเรียนรไู้ ม่น้อยกวา่ ร้อยละ 70
4.1.3) ผเู้ รยี นปฏบิ ตั ิกจิ กรรมและผา่ นจดุ ประสงค์สาคญั ของแตล่ ะกจิ กรรมกาหนด ทุกข้อ
4.2 ผ้เู รยี นตอ้ งผ่านเกณฑ์ ขอ้ 4.1 ถือวา่ ผ่านรายกจิ กรรม
4.3 เกณฑ์การตัดสินกจิ กรรมพัฒนาผเู้ รยี น ผเู้ รยี นตอ้ งได้รับผลการประเมนิ ผา่ นทั้งกิจกรรม

แนะแนว กิจกรรมนกั เรียนทุกกิจกรรมและกจิ กรรมเพ่ือสงั คมและสาธารณประโยชนถ์ อื วา่ ผ่านกิจกรรมพฒั นาผู้เรยี น
4.4 เกณฑ์การผ่านเลื่อนช้ัน / จบหลักสูตร ผเู้ รียนต้องได้รับผลการประเมิน ผา่ น ทกุ กิจกรรมรายภาค

5. แนวทางการซอ่ มเสริมกจิ กรรมพฒั นาผเู้ รยี น
5.1 กรณีไม่ผ่านเน่ืองจากเวลาเข้าร่วมกิจกรรมไม่ครบ คณะกรรมการพัฒนาและการ

ประเมนิ กจิ กรรมพฒั นาผู้เรยี น กาหนดกิจกรรมให้ผู้เรียนไปปฏิบตั ิตามเวลาที่กาหนด ภายใต้การควบคุมดูแล
ของที่ปรึกษากิจกรรมนั้น ๆ จนกว่าผู้เรียนปฏิบัติกิจกรรมนั้นได้ อาจารย์ประจากิจกรรม สรุปรายงานผลการ
ปฏิบัติกจิ กรรมให้คณะกรรมการพิจารณาผลการประเมนิ กจิ กรรมพัฒนาผูเ้ รียน เพื่อตดั สินผลการผา่ นกิจกรรมรายภาค

5.2 กรณีไม่ผ่านจุดประสงค์สาคัญของกิจกรรมให้คณะกรรมการมอบหมายภาระงานที่
ผู้เรียนไม่ผ่านไปปฏบิ ัติภายใต้การดแู ลของอาจารย์ที่ปรึกษากิจกรรม จนกว่าผู้เรียนจะปฏิบัตติ ามภาระงานน้นั ได้
ให้ที่ปรึกษาสรุปผลการปฏิบัติส่งให้คณะกรรมการพิจารณาผลการประเมินการซ่อมเสริม เพื่อตัดสินผลการ
ผ่านกจิ กรรมเป็นรายภาค

5.3 คณะกรรมการสรุปผลการประเมินท้ังกรณีในข้อ 5.1 และข้อ 5.2 ส่งคณะกรรมการ
บริหารหลักสตู รและวชิ าการ เห็นชอบและเสนอผู้บรหิ ารอนมุ ตั ิตอ่ ไป

สว่ นที่ 3 การพัฒนาและประเมนิ ผลคุณลกั ษณะอนั พึงประสงค์
1. ความสาคญั ของคุณลกั ษณะอนั พึงประสงค์ของผู้เรียน

การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์เป็นหัวใจสาคัญในการพัฒนาประเทศ โดยที่มีการจัดการศึกษาเป็น
วิธีการหลักท่ีสาคัญที่สดุ การจัดการศึกษาให้ผ้เู รียนเป็นมนุษยท์ ี่สมบูรณ์ จึงจาเป็นต้องมีการพัฒนาผู้เรียนให้
เป็นผู้ที่มีการพัฒนาการทั้งด้านปัญญา จิตใจ ร่างกาย และสังคม การพัฒนาจิตใจจึงถือเป็นส่งิ ท่ีสาคัญอย่างยง่ิ
ดงั จะเหน็ ได้จากพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2542 มาตราท่ี 23 “การจัดการศกึ ษา ท้ังการศึกษา
ในระบบ นอกระบบ และการศึกษาตามอัธยาศัยต้องเน้นท้ังความรู้ คุณธรรม กระบวนการเรียนรู้ และ
บูรณาการตามความเหมาะสมของแต่ละระดับ” มาตรา 24 วรรค 4 “จัดการเรียนการสอนโดยผสมผสาน
สาระความรู้ตา่ ง ๆ อย่างเปน็ สดั ส่วนสมดลุ กนั รวมท้ังปลูกฝงั คุณธรรม คา่ นยิ มทีด่ งี าม และคณุ ลักษณะที่พึง
ประสงค์ไวใ้ นทกุ วชิ า

ด้วยเหตุดังกล่าวข้างต้น หลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 จึงกาหนดไว้
ในจุดหมายของหลักสูตรเป็นข้อแรก คือ มีคุณธรรม จริยธรรม และค่านิยมที่พึงประสงค์ เห็นคุณค่าของ
ตนเอง มีวินัยและปฏิบัติตนตามหลักธรรมของพระพุทธศาสนา หรือศาสนาที่ตนนับถือ ยึดหลักปรัชญาของ
เศรษฐกิจพอเพียง และกาหนดให้สถานศึกษาได้สร้างหลักสูตรสถานศึกษาด้วยตนเอง ท้ังนี้เพื่อให้เป็น
หลกั สูตรที่ตอบสนองต่อความเปล่ยี นแปลงทางเศรษฐกจิ และสังคม เป็นไปตามความตอ้ งการจาเป็นของชุมชน
ท้องถิ่นของตนอง โดยที่สถานศึกษาจะต้องร่วมกับชุมชนกาหนดเป้าหมายในการพัฒนาผู้เรียน ด้านคุณธรรม
จริยธรรมค่านิยมท่ีสอดคล้องกับสภาพปัญหา ความจาเป็นของชุมชน และท้องถิ่น และกาหนด เป็นเกณฑ์
การจบหลักสตู รขอ้ หนึง่ ในแตล่ ะระดับ คอื ผู้เรียนต้องผ่านการประเมนิ คณุ ลักษณะอนั พงึ ประสงคต์ ามเกณฑ์
ท่สี ถานศกึ ษากาหนด

23

แนวปฏบิ ัติการวดั และประเมินผลการเรยี นรู้ ตามหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาขนั้ พื้นฐาน พทุ ธศักราช 2551 (ปรบั ปรุง พุทธศักราช 2560)

2. คุณลกั ษณะอันพึงประสงค์
คุณลักษณะอันพึงประสงค์หลักสูตรสถานศึกษา โรงเรียนวดั ราชบพิธพุทธศักราช 2561 ตามหลักสูตร

แกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 (ฉบับปรับปรุง พุทธศักราช 2561) และหลักสูตรโรงเรยี น
มาตรฐานสากล มงุ่ พฒั นาผเู้ รียนใหม้ คี ณุ ลักษณะอันพงึ ประสงค์เพ่ือใหส้ ามารถอยู่รว่ มกับผู้อื่นในสงั คมได้อย่าง
มีความสุข ในฐานะเปน็ พลเมืองไทยและพลโลก ไดก้ าหนดให้มีการพัฒนาผูเ้ รยี น ดงั น้ี

1. รกั ชาติ ศาสน์ กษตั ริย์
2. ซ่ือสัตย์สจุ รติ
3. มีวินยั
4. ใฝ่เรียนรู้
5. อยู่อย่างพอเพยี ง
6. มุ่งมนั่ ในการทางาน
7. รกั ความเป็นไทย
8. มีจิตสาธารณะ

นิยาม ตวั ชวี้ ัด พฤตกิ รรมบง่ ช้ี และเกณฑ์การใหค้ ะแนนของคุณลักษณะอันพึงประสงค์

รายละเอียดของเนื้อหาในเอกสารนี้ จะกล่าวถึงแนวทางการประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของ
ผู้เรียน ของโรงเรียนวัดราชบพิธ ซึ่งครูผู้สอน/ครูท่ีปรึกษา ฯลฯ ควรจะศึกษาให้เข้าใจอย่างชัดเจน ก่อนที่จะ
นาไปใช้เป็นแนวทางในการพัฒนาคุณลกั ษณะอันพึงประสงค์ โดยเลือกและปรับใช้ได้ตามความเหมาะสมของ
แต่ละระดับชั้น โดยจะนาเสนอนิยาม ตัวช้ีวัด พฤติกรรมบ่งชี้ และเกณฑ์การให้คะแนนของคุณลักษณะอันพึง
ประสงค์ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 และโรงเรียนมาตรฐานสากล
ตามลาดับดงั ต่อไปนี้

คุณลักษณะอนั พงึ ประสงค์ท้งั 13 ประการ ไดแ้ ก่
1. รกั ชาติ ศาสน์ กษตั รยิ ์
2. ซื่อสัตย์สจุ ริต
3. มวี ินัย
4. ใฝเ่ รยี นรู้
5. อยู่อยา่ งพอเพยี ง
6. มุง่ มน่ั ในการทางาน
7. รกั ความเป็นไทย
8. มีจติ สาธารณะ

การนาคุณลักษณะอันพึงประสงค์ท้ัง 8 ประการดังกล่าว ไปพัฒนาผู้เรียนให้มีประสิทธิภาพและเกิด
ประสิทธิผลนั้น สถานศึกษาต้องมีความเข้าใจเกี่ยวกับคุณลักษณะอันพึงประสงค์อย่างชัดเจน โดยพิจารณา
จาก นิยาม ตวั ชว้ี ัดพฤติกรรมบ่งช้ี และเกณฑ์การให้คะแนนของคุณลกั ษณะอันพึงประสงค์ ซึง่ มีรายละเอียด
ดังน้ี

24

แนวปฏบิ ัติการวัดและประเมนิ ผลการเรียนรู้ ตามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขั้นพื้นฐาน พทุ ธศักราช 2551 (ปรับปรงุ พทุ ธศกั ราช 2560)

ขอ้ ท่ี 1 รกั ชาติ ศาสน์ กษัตริย์

นยิ าม

รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ หมายถึง คุณลักษณะท่ีแสดงออกถึงการเป็นพลเมืองดีของชาติ
ธารงไว้ซึ่งความเปน็ ชาตไิ ทย ศรัทธา ยดึ มั่นในศาสนา และเคารพเทดิ ทูนสถาบนั พระมหากษัตริย์

ผทู้ ี่รกั ชาติ ศาสน์ กษัตรยิ ์ คือ ผทู้ ่ีมลี ักษณะซ่ึงแสดงออกถึงการเป็นพลเมืองดีของชาติ มี
ความสามคั คปี รองดอง ภูมใิ จ เชดิ ชคู วามเปน็ ชาติไทย ปฏิบตั ติ นตามหลักศาสนาท่ีตนนบั ถือ และแสดงความ
จงรักภกั ดีตอ่ สถาบนั พระมหากษตั รยิ ์

ตวั ชีว้ ัด 1.1 เปน็ พลเมอื งดีของชาติ

1.2 ธารงไว้ซึ่งความเปน็ ชาติไทย

1.3 ศรัทธา ยดึ มั่นและปฏิบตั ติ นตามหลักศาสนา

1.4 เคารพเทดิ ทนู สถาบนั พระมหากษัตรยิ ์

ตวั ช้ีวัดและพฤตกิ รรมบง่ ชี้

ตวั ชวี้ ัด พฤตกิ รรมบ่งชี้
1.1 เป็นพลเมืองดี 1.1.1 ยืนตรงเคารพธงชาติ รอ้ งเพลงชาติ และอธิบายความหมาย

ของชาติ ของเพลงชาตไิ ด้ถกู ตอ้ ง

1.1.2 ปฏบิ ตั ติ นตามสทิ ธแิ ละ หนา้ ที่พลเมืองดีของชาติ

1.1.3 มีความสามัคคี ปรองดอง

1.2 ธารงไวซ้ ึ่งความเปน็ 1.2.1 เข้าร่วม ส่งเสริม สนบั สนุนกจิ กรรมที่สรา้ งความสามัคคี ปรองดอง

ชาตไิ ทย ท่เี ปน็ ประโยชนต์ ่อโรงเรียน ชมุ ชนและสงั คม

1.2.2 หวงแหน ปกปอ้ ง ยกยอ่ งความเปน็ ชาติไทย

1.3 ศรทั ธา ยดึ มัน่ และ 1.3.1 เข้ารว่ มกิจกรรมทางศาสนาท่ีตนนับถอื
ปฏิบตั ติ นตามหลัก 1.3.2 ปฏิบตั ติ นตามหลักของศาสนาทตี่ นนบั ถือ
ของศาสนา 1.3.3 เป็นแบบอยา่ งทดี่ ีของศาสนกิ ชน

1.4 เคารพเทิดทูน 1.4.1 เขา้ ร่วมและมีส่วนร่วมในการจัดกจิ กรรมที่เกี่ยวกบั สถาบัน
สถาบนั พระมหากษัตรยิ ์
พระมหากษตั ริย์
1.4.2 แสดงความสานกึ ในพระมหากรุณาธิคณุ ของพระมหากษัตริย์

1.4.3 แสดงออกซึ่งความจงรักภักดตี อ่ สถาบันพระมหากษตั รยิ ์

25
แนวปฏบิ ตั ิการวัดและประเมนิ ผลการเรียนรู้ ตามหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาข้ันพ้นื ฐาน พุทธศกั ราช 2551 (ปรบั ปรงุ พุทธศักราช 2560)

เกณฑก์ ารใหค้ ะแนน ระดบั มัธยมศึกษาตอนตน้

ตวั ชว้ี ดั ท่ี 1.1 เปน็ พลเมืองดขี องชาติ

พฤติกรรมบง่ ช้ี ไม่ผา่ น(0) ผ่าน(1) ด(ี 2) ดเี ย่ียม(3)

1.1.1 ยนื ตรงเคารพธง ไม่ยนื ตรงเคารพธงชาติ ยนื ตรงเมอ่ื ไดย้ ินเพลง ยนื ตรงเมื่อไดย้ นิ ยนื ตรงเม่ือไดย้ ิน

ชาติ รอ้ งเพลงชาติ ชาติ ร้องเพลงชาติ และ เพลงชาติ ร้องเพลง เพลงชาติ รอ้ งเพลง

และอธบิ าย อธิบายความหมายของ ชาติ และอธบิ าย ชาติ และอธิบาย

ความหมายของ เพลงชาตไิ ด้ถูกตอ้ ง ความหมายของ ความหมายของ

เพลงชาติไดถ้ กู ตอ้ ง ปฏบิ ัติตนตามสิทธแิ ละ เพลงชาตไิ ดถ้ ูกต้อง เพลงชาติไดถ้ ูกตอ้ ง

1.1.2 ปฏบิ ตั ติ นตามสิทธิ หนา้ ทข่ี องนกั เรียน ปฏิบตั ิตนตามสทิ ธิ ปฏิบัตติ นตามสทิ ธิ
หน้าท่พี ลเมอื งดีของ และใหค้ วามรว่ มมือ และหนา้ ทีข่ อง และหนา้ ท่ีของ
ชาติ ร่วมใจในการทากิจกรรม นกั เรยี น และให้ พลเมอื งดี และให้
กบั สมาชกิ ในชน้ั เรยี น ความร่วมมือ รว่ ม ความรว่ มมอื รว่ ม

1.1.3 มคี วามสามัคคี ใจในการทากจิ กรรม ใจในการทา

ปรองดอง กับสมาชกิ ใน กิจกรรมกบั สมาชกิ

โรงเรียน ในโรงเรยี นและ

ชมุ ชน

ตัวชวี้ ัดที่ 1.2 ธารงไวซ้ ่ึงความเป็นชาติไทย

พฤติกรรมบง่ ชี้ ไม่ผ่าน(0) ผา่ น(1) ด(ี 2) ดีเยยี่ ม(3)
ไมเ่ ขา้ รว่ มกิจกรรมท่ี เขา้ ร่วมกิจกรรม
1.2.1 เขา้ ร่วม สง่ เสรมิ สร้างความสามัคคี เขา้ รว่ มกจิ กรรมทสี่ รา้ ง และมสี ว่ นรว่ มใน เขา้ ร่วมกจิ กรรม
สนับสนุนกจิ กรรม ความสามคั คี การจัดกจิ กรรมที่ และมสี ว่ นร่วมใน
ท่ีสรา้ งความ ปรองดอง และเป็น สรา้ งความสามคั คี การจดั กิจกรรมท่ี
สามคั คี ประโยชนต์ ่อโรงเรยี น สร้างความสามัคคี
ปรองดอง ทเ่ี ป็น และชมุ ชน ปรองดอง และเป็น ปรองดอง และ
ประโยชนต์ อ่ ประโยชน์ต่อ เป็นประโยชน์ตอ่
โรงเรยี น ชมุ ชน โรงเรียน และชุมชน โรงเรยี น ชุมชน
และสังคม และสงั คม ชื่นชม
ในความเปน็ ชาติ
1.2.2 หวงแหน ปกป้อง ไทย
ยกย่อง ความเป็น
ชาตไิ ทย

26
แนวปฏบิ ตั ิการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาข้นั พน้ื ฐาน พุทธศกั ราช 2551 (ปรับปรงุ พทุ ธศกั ราช 2560)

ตัวชีว้ ัดท่ี 1.3 ศรัทธา ยึดมั่น และปฏิบตั ิตนตามหลักของศาสนา

พฤติกรรมบง่ ชี้ ไมผ่ า่ น(0) ผา่ น(1) ด(ี 2) ดเี ย่ยี ม(3)
ไม่เขา้ รว่ มกจิ กรรมทาง
1.3.1 เข้าร่วมกิจกรรม ศาสนาที่ตนนับถือ เขา้ รว่ มกิจกรรม เขา้ รว่ มกิจกรรมทาง เข้าร่วมกิจกรรม
ทางศาสนาทตี่ น ทางศาสนาทตี่ นนับถอื ศาสนาทีต่ นนับถือ ทางศาสนาที่ตนนับ
นบั ถอื และปฏิบตั ิตนตามหลัก และปฏบิ ตั ติ นตาม ถอื ปฏิบตั ติ นตาม
ของศาสนาตามโอกาส หลักของศาสนา หลัก ของศาสนา
1.3.2 ปฏิบัติตนตามหลัก อย่างสมา่ เสมอ อยา่ งสมา่ เสมอ
ของศาสนาท่ีตน และเป็นแบบอย่าง
นบั ถอื ท่ีดีของศาสนิกชน

1.3.3 เป็นแบบอยา่ ง ท่ดี ี
ของศาสนกิ ชน

ตัวชว้ี ดั ท่ี 1.4 เคารพเทิดทูนสถาบนั พระมหากษตั รยิ ์

พฤติกรรมบง่ ช้ี ไมผ่ ่าน(0) ผ่าน(1) ดี(2) ดเี ย่ยี ม(3)

1.4.1 เขา้ รว่ มและมีส่วนรว่ ม ไม่เข้ารว่ มกิจกรรมท่ี เขา้ รว่ มกิจกรรมท่ี เขา้ ร่วมกจิ กรรม เขา้ ร่วมกิจกรรม
ในการจัดกจิ กรรมท่ี เกย่ี วกบั สถาบัน เกีย่ วกับสถาบนั และมสี ว่ นรว่ มใน และมสี ว่ นร่วมใน
เกีย่ วกับสถาบนั พระมหากษตั ริย์ พระมหากษตั รยิ ์ การจดั กิจกรรมที่ การจัดกจิ กรรมที่
พระมหากษตั รยิ ์ เก่ียวกับสถาบนั เกย่ี วกับสถาบนั
ตามท่ีโรงเรียนและ พระมหากษตั รยิ ์ พระมหากษตั ริย์
1.4.2 แสดงความสานึกใน ชุมชนจดั ขนึ้
พระมหากรณุ าธคิ ณุ ตามที่โรงเรยี นและ ตามที่โรงเรยี นและ
ของพระมหากษัตรยิ ์ ชุมชนจดั ข้นึ ชุมชนจดั ขน้ึ
ชน่ื ชมในพระราช-
1.4.3 แสดงออกซ่งึ ความ กรณียกจิ
จงรักภกั ดีต่อสถาบัน
พระมหากษตั ริย์ พระปรีชาสามารถ

ของ
พระมหากษตั รยิ ์

และพระราชวงศ์

27
แนวปฏบิ ตั ิการวดั และประเมนิ ผลการเรยี นรู้ ตามหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาขัน้ พ้ืนฐาน พุทธศกั ราช 2551 (ปรบั ปรงุ พทุ ธศักราช 2560)

เกณฑ์การให้คะแนน ระดับมธั ยมศึกษาตอนปลาย

ตัวชวี้ ดั ท่ี 1.1 เป็นพลเมอื งดีของชาติ

พฤติกรรมบง่ ช้ี ไมผ่ ่าน(0) ผ่าน(1) ดี(2) ดเี ย่ยี ม(3)
ไมย่ ืนตรงเคารพธงชาติ
1.1.1 ยนื ตรงเคารพธง ยนื ตรงเม่อื ได้ยินเพลง ยืนตรงเมอ่ื ไดย้ ินเพลง ยนื ตรงเม่ือไดย้ นิ
ชาติ รอ้ งเพลงชาติ ชาติ ร้องเพลงชาติ ชาติ ร้องเพลงชาติ เพลงชาติ รอ้ งเพลง
และอธบิ าย และอธบิ าย และอธิบาย ชาติ และอธบิ าย
ความหมายของ ความหมายของเพลง ความหมายของเพลง ความหมายของ
เพลงชาตไิ ดถ้ ูกตอ้ ง ชาตไิ ดถ้ ูกต้อง ชาตไิ ด้ถูกต้อง เพลงชาติไดถ้ กู ตอ้ ง
ปฏิบตั ิตนตามสิทธิ ปฏบิ ัติตนตามสิทธิ ปฏิบตั ติ นและ
1.1.2 ปฏิบัติตนตามสทิ ธิ และหน้าท่ขี อง และหน้าที่ของ ชักชวนผูอ้ ่นื ปฏิบัติ
หนา้ ทพ่ี ลเมอื งดขี อง นักเรยี น และให้ พลเมอื งดี และให้ ตามสิทธิและหนา้ ที่
ชาติ ความร่วมมอื ร่วมใจ ความรว่ มมือ รว่ มใจ ของพลเมืองดี
ในการทากจิ กรรมกบั ในการทากิจกรรมกบั และใหค้ วาม
1.1.3 มคี วามสามคั คี สมาชกิ ในโรงเรยี น สมาชกิ ในโรงเรียน รว่ มมอื ร่วมใจใน
ปรองดอง และชมุ ชน การทากจิ กรรมกับ
สมาชิกในโรงเรียน
ชุมชน และสังคม

ตัวชว้ี ัดที่ 1.2 ธารงไวซ้ ึ่งความเปน็ ชาตไิ ทย

พฤติกรรมบง่ ชี ไม่ผ่าน(0) ผา่ น(1) ดี(2) ดีเยย่ี ม(3)
ไมเ่ ข้าร่วมกิจกรรมที่
1.2.1 เขา้ รว่ ม สง่ เสรมิ สรา้ งความสามคั คี เขา้ ร่วมกิจกรรม และ เขา้ รว่ มกิจกรรม และ เป็นผนู้ าหรือเปน็
สนบั สนุนกิจกรรม มีสว่ นรว่ มในการจัด มีส่วนรว่ มในการจัด แบบอยา่ ง ในการ
ทส่ี รา้ งความ กิจกรรมทส่ี ร้าง กจิ กรรมทสี่ ร้างความ จดั กิจกรรม ท่ีสรา้ ง
สามัคคี ความสามคั คี สามคั คี ปรองดอง ความสามคั คี
ปรองดอง ทเ่ี ปน็ ปรองดอง และเปน็ และเปน็ ประโยชน์ต่อ ปรองดอง และ
ประโยชน์ต่อ ประโยชน์ตอ่ โรงเรียน โรงเรียน ชมุ ชน และ เปน็ ประโยชน์ตอ่
โรงเรยี น ชมุ ชน และชุมชน สงั คม ชื่นชมในความ โรงเรียน ชุมชน
และสังคม เปน็ ชาติไทย และสังคม ชน่ื ชม
ปกปอ้ ง
1.2.2 หวงแหน ปกปอ้ ง ในความเป็นชาติ
ยกย่องความเป็น ไทย
ชาติไทย

28
แนวปฏบิ ัติการวดั และประเมนิ ผลการเรียนรู้ ตามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พืน้ ฐาน พุทธศักราช 2551 (ปรบั ปรงุ พทุ ธศักราช 2560)

ตวั ช้วี ดั ที่ 1.3 ศรัทธา ยดึ มั่น และปฏบิ ัตติ นตามหลักของศาสนา

พฤตกิ รรมบง่ ช้ี ไมผ่ ่าน(0) ผ่าน(1) ด(ี 2) ดเี ย่ยี ม(3)
ไม่เขา้ ร่วมกิจกรรมทาง
1.3.1 เขา้ ร่วมกจิ กรรม ศาสนาทต่ี นนับถือ เขา้ ร่วมกิจกรรม เข้ารว่ มกิจกรรมทาง เข้ารว่ มกิจกรรม
ทางศาสนาทต่ี น ทางศาสนา ศาสนาท่ีตนนบั ถือ ทางศาสนาที่ตนนับ
นบั ถอื ทตี่ นนบั ถือ และปฏบิ ตั ติ นตาม ถอื ปฏบิ ตั ิตนตาม
และปฏิบตั ิตนตาม หลักของศาสนาอย่าง หลักของศาสนา
1.3.2 ปฏิบัตติ นตามหลัก หลกั ของศาสนาตาม สม่าเสมอ อยา่ งสม่าเสมอ
ของศาสนาที่ตน โอกาส และเปน็ แบบอย่าง
นบั ถอื ทด่ี ขี องศาสนกิ ชน

1.3.3 เป็นแบบอยา่ งท่ีดี
ของศาสนิกชน

ตัวชีว้ ดั ท่ี 1.4 เคารพเทดิ ทูนสถาบันพระมหากษัตริย์

พฤติกรรมบ่งชี ไมผ่ ่าน(0) ผา่ น(1) ดี(2) ดเี ยยี่ ม(3)
1.4.1 เขา้ รว่ มและมีส่วนร่วม ไมเ่ ข้ารว่ มกจิ กรรมท่ี
เกย่ี วข้องกบั สถาบัน เขา้ รว่ มกิจกรรมที่ เข้ารว่ มกจิ กรรม เขา้ ร่วมกิจกรรม
ในการจัดกจิ กรรมท่ี พระมหากษตั ริย์ เก่ยี วกับสถาบนั
เก่ียวกบั สถาบนั พระมหากษตั รยิ ์ และมสี ่วนรว่ มในการ และมสี ่วนร่วมใน
พระมหากษตั รยิ ์ ตามทีโ่ รงเรยี นและ
ชมุ ชนจดั ข้ึน จัดกิจกรรมท่ี การจดั กิจกรรมที่

เก่ียวกับสถาบัน เกย่ี วกับสถาบนั

1.4.2 แสดงความสานกึ ใน พระมหากษตั รยิ ์ พระมหากษตั รยิ ์
พระมหากรณุ าธคิ ณุ
ของพระมหากษัตรยิ ์ ตามท่ีโรงเรียนและ ตามทีโ่ รงเรียนและ

ชมุ ชนจัดขน้ึ ชมุ ชนจดั ขนึ้

ช่นื ชมในพระราช-

1.4.3 แสดงออกซ่งึ ความ กรณียกิจ พระ
จงรกั ภักดตี อ่ สถาบัน
พระมหากษตั ริย์ ปรชี าสามารถของ

พระมหากษตั รยิ ์

และพระราชวงศ์

29
แนวปฏบิ ตั ิการวดั และประเมนิ ผลการเรยี นรู้ ตามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขัน้ พื้นฐาน พทุ ธศักราช 2551 (ปรับปรุง พทุ ธศกั ราช 2560)

ขอ้ ท่ี 2 ซอ่ื สตั ยส์ จุ ริต

นยิ าม

ซื่อสัตย์สุจริต หมายถึง คุณลักษณะที่แสดงออกถึงการยึดม่ันในความถูกต้องประพฤติ
ตรงตามความเป็นจริงต่อตนเองและผอู้ น่ื ท้งั ทางกาย วาจา ใจ

ผู้ท่ีมีความซื่อสัตย์สุจริต คือ ผู้ท่ีประพฤติตรงตามความเป็นจริงท้ังทางกาย วาจา ใจ และ
ยึดหลกั ความจรงิ ความถกู ต้องในการดาเนินชีวิต มคี วามละอายและเกรงกลัวตอ่ การกระทาผิด

ตัวชี้วัด 2.1 ประพฤติตรงตามความเปน็ จรงิ ตอ่ ตนเองทง้ั ทางกาย วาจา ใจ
2.2 ประพฤติตรงตามความเปน็ จริงตอ่ ผู้อ่นื ทั้งทางกาย วาจา ใจ

ตวั ชว้ี ัดและพฤตกิ รรมบง่ ช้ี พฤตกิ รรมบง่ ชี้
2.1.1 ให้ข้อมลู ทถี่ ูกต้องและเป็นจริง
ตวั ชี้วัด 2.1.2 ปฏิบตั ิตนโดยคานึงถงึ ความถกู ต้องละอายและเกรงกลัว
2.1 ประพฤติตรงตาม
ตอ่ การกระทาผิด
ความเป็นจรงิ ต่อ 2.1.3 ปฏบิ ตั ติ ามคามั่นสัญญา
ตนเองทั้งทางกาย 2.2.1 ไม่ถือเอาสิง่ ของหรือผลงานของผอู้ ืน่ มาเป็นของตนเอง
วาจา ใจ 2.2.2 ปฏิบตั ติ นต่อผูอ้ น่ื ดว้ ยความซ่ือตรง
2.2.3 ไม่หาประโยชน์ในทางทีไ่ มถ่ ูกต้อง
2.2 ประพฤตติ รงตาม
ความเปน็ จริงต่อ
ผอู้ ่นื ทัง้ ทางกาย
วาจา ใจ

30
แนวปฏบิ ัติการวัดและประเมนิ ผลการเรียนรู้ ตามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขนั้ พน้ื ฐาน พุทธศักราช 2551 (ปรับปรุง พุทธศกั ราช 2560)

เกณฑก์ ารให้คะแนน ระดบั มธั ยมศึกษาตอนตน้

ตัวชวี้ ัดท่ี 2.1 ประพฤตติ รงตามความเปน็ จรงิ ต่อตนเองทัง้ ทางกาย วาจา ใจ

พฤตกิ รรมบง่ ชี ไมผ่ ่าน(0) ผา่ น(1) ด(ี 2) ดเี ยี่ยม(3)
2.1.1 ใหข้ อ้ มลู ที่ถกู ตอ้ ง ไมใ่ ห้ขอ้ มลู ที่ถูกตอ้ งและ
เปน็ จรงิ ให้ขอ้ มลู ท่ีถกู ตอ้ งและ ใหข้ ้อมูลทถี่ กู ตอ้ ง ให้ขอ้ มูลทถี่ กู ต้อง
และเปน็ จรงิ เป็นจรงิ ปฏบิ ตั ิในสิ่งท่ี และเปน็ จรงิ ปฏบิ ัติ และเปน็ จรงิ
ถูกต้อง ทาตาม ในส่ิงท่ถี กู ต้อง ปฏิบัตใิ นสง่ิ ที่
2.1.2 ปฏบิ ตั ิตนโดย สญั ญาท่ีตนใหไ้ วก้ บั ทาตามสญั ญาทตี่ น ถูกตอ้ ง ทาตาม
คานึงถงึ ความ เพ่ือน พอ่ แม่ หรือ ใหไ้ วก้ ับเพื่อน สญั ญาท่ีตนให้ไว้
ถูกตอ้ งละอาย ผปู้ กครอง และครู พ่อแม่ หรือ กับเพอื่ น พ่อแม่
และเกรงกลวั ละอายและเกรงกลวั ท่ี ผู้ปกครอง และครู หรือผู้ปกครอง
ตอ่ การกระทาผิด จะทาความผดิ ละอายและเกรงกลวั และครู ละอายและ
ทจี่ ะทาความผดิ เกรงกลัวทจี่ ะทา
2.1.3 ปฏิบตั ติ าม คาม่ัน ความผดิ เป็น
สัญญา แบบอย่างที่ดดี ้าน
ความซือ่ สตั ย์

ตวั ชี้วดั ที่ 2.2 ประพฤตติ รงตามความเป็นจริงต่อผู้อ่นื ทั้งทางกาย วาจา ใจ

พฤตกิ รรมบง่ ชี ไมผ่ า่ น(0) ผา่ น(1) ดี(2) ดีเย่ยี ม(3)
นาสงิ่ ของของคนอืน่ มา
2.2.1 ไม่ถอื เอาสง่ิ ของ เป็นของตนเอง ไมน่ าสงิ่ ของ และ ไมน่ าสิ่งของ และ ไม่นาส่งิ ของ และ
หรอื ผลงานของ ผลงานของผอู้ น่ื มาเป็น ผลงานของผู้อ่นื มา ผลงานของผู้อ่ืนมา
ผู้อ่นื มาเปน็ ของ ของตนเอง ปฏิบัติตน เปน็ ของตนเอง เปน็ ของตนเอง
ตนเอง ตอ่ ผอู้ ่ืนดว้ ยความ ปฏิบตั ติ นต่อผอู้ นื่ ปฏบิ ตั ติ นตอ่ ผู้อน่ื
ซอ่ื ตรง ดว้ ยความซื่อตรง ด้วยความซือ่ ตรง
2.2.2 ปฏบิ ัติตนต่อผ้อู น่ื ไมห่ าประโยชน์ ไมห่ าประโยชน์
ดว้ ยความซือ่ ตรง ในทางท่ี ในทางทไี่ มถ่ ูกต้อง
ไม่ถูกต้อง และเปน็ แบบอย่าง
2.2.3 ไมห่ าประโยชน์ ท่ีดีแก่เพอ่ื นด้าน
ในทางทไ่ี มถ่ กู ตอ้ ง ความซือ่ สตั ย์

31
แนวปฏบิ ัติการวดั และประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พ้ืนฐาน พุทธศกั ราช 2551 (ปรับปรุง พทุ ธศกั ราช 2560)

เกณฑก์ ารให้คะแนน ระดับมธั ยมศกึ ษาตอนปลาย

ตวั ชี้วดั ท่ี 2.1 ประพฤติตรงตามความเป็นจริงต่อตนเองทง้ั ทางกาย วาจา ใจ

พฤติกรรมบง่ ชี ไม่ผ่าน(0) ผา่ น(1) ด(ี 2) ดเี ยย่ี ม(3)
2.1.1 ให้ข้อมลู ทถ่ี กู ตอ้ ง ไมใ่ หข้ อ้ มลู ทถ่ี ูกต้องและ
เปน็ จรงิ ใหข้ ้อมลู ทถี่ ูกต้องและ ให้ขอ้ มลู ท่ถี ูกต้องและ ให้ขอ้ มลู ที่ถูกต้อง
และเปน็ จรงิ เป็นจริง ปฏิบัตใิ นสง่ิ เปน็ จรงิ ปฏิบตั ใิ นสิง่ และเปน็ จริง
ท่ถี กู ตอ้ ง ทาตาม ท่ถี ูกต้อง ทาตาม ปฏิบัติในสิ่งที่
2.1.2 ปฏิบตั ิตนโดย สญั ญาท่ีตนให้ไว้กับ สัญญาทตี่ นให้ไวก้ บั ถกู ตอ้ ง ทาตาม
คานึงถึงความ เพอ่ื น พอ่ แม่ หรือ เพอ่ื น พอ่ แม่ หรือ สญั ญาท่ีตนใหไ้ ว้
ถูกตอ้ งละอาย ผู้ปกครอง และครู ผ้ปู กครอง และครู กับเพ่ือน พอ่ แม่
และเกรงกลวั ต่อ ละอายและเกรงกลวั ละอายและเกรงกลัว หรือผปู้ กครอง
การกระทาผดิ ทีจ่ ะทาความผดิ ท่ีจะทาความผดิ และครู ละอาย
และเกรงกลวั ท่ีจะ
2.1.3 ปฏบิ ัตติ ามคามัน่ ทาความผิด เป็น
สัญญา แบบอย่างท่ดี ดี ้าน
ความซ่อื สตั ย์

ตัวชวี้ ัดที่ 2.2 ประพฤตติ รงตามความเป็นจรงิ ตอ่ ผู้อน่ื ทั้งทางกาย วาจา ใจ

พฤตกิ รรมบ่งชี ไม่ผา่ น(0) ผา่ น(1) ดี(2) ดเี ยย่ี ม(3)
2.2.1 ไมถ่ อื เอาสิ่งของ นาส่ิงของของคนอน่ื มา
เป็นของตนเอง ไมน่ าสง่ิ ของและ ไมน่ าสงิ่ ของและ ไม่นาส่ิงของและ
หรอื ผลงานของ ผลงานของผู้อืน่ มา ผลงานของผอู้ ่นื มา ผลงานของผูอ้ น่ื มา
ผอู้ ื่นมาเปน็ ของ เปน็ ของตนเอง เป็นของตนเอง เป็นของตนเอง
ตนเอง ปฏบิ ัติตนตอ่ ผู้อื่นดว้ ย ปฏบิ ตั ิตนต่อผอู้ ืน่ ดว้ ย ปฏิบัติตนต่อผ้อู น่ื
ความซ่อื ตรง ความซ่ือตรง ไมห่ า ดว้ ยความซ่อื ตรง
2.2.2 ปฏบิ ัตติ นต่อผู้อื่น ประโยชน์ในทางท่ีไม่ ไมห่ าประโยชน์
ดว้ ยความซ่ือตรง ถกู ตอ้ ง ในทางทีไ่ ม่ถกู ตอ้ ง
และเป็นแบบอย่าง
2.2.3 ไมห่ าประโยชน์ ท่ีดีด้านความ
ในทางท่ี ซอื่ สตั ย์
ไม่ถูกตอ้ ง

32
แนวปฏบิ ตั ิการวัดและประเมนิ ผลการเรียนรู้ ตามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขั้นพนื้ ฐาน พทุ ธศักราช 2551 (ปรับปรงุ พทุ ธศักราช 2560)

ข้อที่ 3 มีวนิ ยั

นิยาม

มีวินัย หมายถึง คุณลักษณะท่ีแสดงออกถึงการยึดม่ันในข้อตกลง กฎเกณฑ์ และระเบียบ
ข้อบงั คับของครอบครวั โรงเรยี น และสังคม

ผู้ที่มีวินัย คือ ผู้ที่ปฏิบัติตนตามข้อตกลง กฎเกณฑ์ ระเบียบ ข้อบังคับของครอบครัว
โรงเรยี น และสังคมเป็นปกติวิสัย ไมล่ ะเมดิ สิทธิของผอู้ ่นื

ตวั ชีว้ ัด 3.1 ปฏบิ ตั ติ ามขอ้ ตกลง กฎเกณฑ์ ระเบียบข้อบงั คับของครอบครัว โรงเรียน และสังคม

ตัวชีว้ ดั และพฤติกรรมบ่งช้ี

ตวั ชี้วดั พฤติกรรมบง่ ช้ี
ปฏิบัติตน ตามขอ้ ตกลง กฎเกณฑ์ ระเบียบ ขอ้ บงั คับ
3.1 ปฏบิ ัติตาม ข้อตกลง 3.1.1
กฎเกณฑ์ ระเบยี บ ของครอบครัว โรงเรยี นและสังคม ไมล่ ะเมดิ สิทธขิ องผูอ้ ื่น
ข้อบังคบั ของครอบครวั
โรงเรยี น และสงั คม 3.1.2 ตรงต่อเวลาในการปฏิบตั กิ จิ กรรมต่าง ๆ ในชวี ิตประจาวัน และ

รบั ผิดชอบในการทางาน

เกณฑก์ ารให้คะแนน ระดบั มัธยมศึกษาตอนต้น

ตวั ช้วี ดั ท่ี 3.1 ปฏิบัติตามขอ้ ตกลง กฎเกณฑ์ ระเบียบ ข้อบงั คับของครอบครวั โรงเรียนและสังคม

พฤตกิ รรมบ่งชี ไมผ่ า่ น(0) ผา่ น(1) ดี(2) ดเี ยีย่ ม(3)
ไมป่ ฏิบตั ติ นตาม
3.1.1 ปฏบิ ตั ติ นตาม ข้อตกลง กฎเกณฑ์ ปฏิบัตติ ามข้อตกลง ปฏบิ ตั ิตามขอ้ ตกลง ปฏบิ ัติตามข้อตกลง
ข้อตกลง กฎเกณฑ์ ระเบียบ ข้อบงั คบั ของ กฎเกณฑ์ ระเบยี บ
ระเบยี บขอ้ บงั คบั ครอบครวั และโรงเรยี น กฎเกณฑ์ ระเบยี บ กฎเกณฑ์ ระเบยี บ ข้อบังคบั ของ
ของครอบครวั ครอบครัว
โรงเรียน และ ขอ้ บงั คบั ของครอบครวั ข้อบังคบั ของ โรงเรียน และ
สงั คม ไมล่ ะเมิด สงั คม ไมล่ ะเมิด
สทิ ธิของผอู้ นื่ และโรงเรยี น ตรงตอ่ ครอบครวั และ สิทธิของผอู้ นื่
ตรงตอ่ เวลา
เวลาในการปฏบิ ตั ิ โรงเรยี น ตรงตอ่ ในการปฏบิ ตั ิ
กิจกรรมต่าง ๆ
กิจกรรมตา่ ง ๆ ใน เวลาในการปฏบิ ตั ิ ในชีวติ ประจาวัน
และรับผิดชอบใน
ชวี ิตประจาวัน กจิ กรรมต่าง ๆ ใน การทางาน

3.1.2 ตรงตอ่ เวลาในการ ชีวติ ประจาวนั และ
ปฏบิ ตั ิกจิ กรรม
ตา่ ง ๆ ใน รบั ผิดชอบในการ
ชวี ิตประจาวนั
และรับผิดชอบใน ทางาน
การทางาน

33
แนวปฏบิ ตั ิการวดั และประเมินผลการเรยี นรู้ ตามหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาขัน้ พ้นื ฐาน พุทธศกั ราช 2551 (ปรับปรงุ พุทธศักราช 2560)

ตวั ช้วี ดั ที่ 3.1 ปฏบิ ตั ติ ามขอ้ ตกลง กฎเกณฑ์ ระเบียบข้อบังคับของครอบครัว โรงเรียนและสังคม

พฤตกิ รรมบง่ ชี ไม่ผา่ น(0) ผ่าน(1) ด(ี 2) ดีเย่ียม(3)

3.1.1 ปฏบิ ตั ติ นตาม ไม่ปฏิบตั ิตนตาม ปฏิบัตติ ามขอ้ ตกลง ปฏิบัตติ ามขอ้ ตกลง ปฏบิ ัตติ ามขอ้ ตกลง

ข้อตกลง ขอ้ ตกลง กฎเกณฑ์ กฎเกณฑ์ ระเบยี บ กฎเกณฑ์ ระเบยี บ กฎเกณฑ์ ระเบยี บ

กฎเกณฑ์ ระเบยี บ ระเบยี บ ข้อบงั คบั ของ ขอ้ ตกลง ของ ขอ้ ตกลงของ ข้อตกลง ของ

ขอ้ บงั คับของ ครอบครวั และโรงเรยี น ครอบครวั และ ครอบครัว โรงเรยี น ครอบครัว โรงเรยี น

ครอบครัว โรงเรยี น ตรงตอ่ เวลา และสังคม ไมล่ ะเมดิ และสังคม ไม่

โรงเรียน และ ในการปฏบิ ตั ิกิจกรรม สทิ ธิของผู้อืน่ ตรงต่อ ละเมดิ สทิ ธขิ อง

สังคมไมล่ ะเมดิ ต่าง ๆ ใน เวลา ผูอ้ ื่น ตรงตอ่

สิทธขิ องผอู้ นื่ ชีวิตประจาวนั ในการปฏิบัติกิจกรรม เวลา

3.1.2 ตรงต่อเวลาใน และรบั ผดิ ชอบ ตา่ ง ๆ ใน ในการปฏิบัติ
การปฏิบตั ิ ในการทางาน ชวี ิตประจาวนั กิจกรรมต่าง ๆ
กิจกรรมต่าง ๆ ในชวี ติ ประจาวัน
ในชีวติ ประจาวัน และรับผิดชอบ
และรับผิดชอบใน
การทางาน ในการทางาน และรับผดิ ชอบใน

การทางาน ปฏบิ ตั ิ

เปน็ ปกติวิสยั และ

เปน็ แบบอยา่ งทด่ี ี

34
แนวปฏบิ ัติการวัดและประเมนิ ผลการเรียนรู้ ตามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาข้นั พ้นื ฐาน พุทธศักราช 2551 (ปรับปรงุ พุทธศกั ราช 2560)

ขอ้ ท่ี 4 ใฝเ่ รยี นรู้

นิยาม

ใฝ่เรียนรู้ หมายถึง คุณลักษณะที่แสดงออกถึงความต้ังใจ เพียรพยายามในการเรียน
แสวงหาความร้จู ากแหลง่ เรียนร้ทู ้ังภายในและภายนอกโรงเรียน

ผู้ท่ีใฝ่เรียนรู้ คือ ผู้ท่ีมีลักษณะซึ่งแสดงออกถึงความตั้งใจ เพียรพยายามในการเรียนและ
เข้าร่วมกิจกรรมการเรียนรู้ แสวงหาความรู้จากแหล่งเรียนรู้ท้ังภายในและภายนอกโรงเรียนอย่างสม่าเสมอ
ดว้ ยการเลือกใช้สอ่ื อยา่ งเหมาะสม บันทกึ ความรู้ วิเคราะห์ สรุปเปน็ องคค์ วามรู้ แลกเปลี่ยนเรยี นรู้ ถ่ายทอด
เผยแพร่ และนาไปใช้ในชีวติ ประจาวนั ได้

ตัวช้ีวดั 4.1 ตั้งใจ เพียรพยายามในการเรียนและเขา้ รว่ มกิจกรรมการเรียนรู้
4.2 แสวงหาความรจู้ ากแหลง่ เรียนรู้ ตา่ ง ๆ ท้ังภายในและภายนอกโรงเรียน
ดว้ ยการเลือกใช้สอื่ อย่างเหมาะสม สรุปเป็นองคค์ วามรู้ และสามารถนาไปใช้
ในชีวิตประจาวนั ได้

ตัวชีว้ ัดและพฤติกรรมบ่งชี้

ตัวชวี้ ัด 4.1.1 พฤติกรรมบ่งช้ี
4.1.2
4.1 ตัง้ ใจ เพียรพยายาม 4.1.3 ตง้ั ใจเรียน
ในการเรยี นและเข้าร่วม เอาใจใส่และมีความเพยี รพยายามในการเรยี นรู้
กิจกรรมการเรยี นรู้ สนใจเขา้ ร่วมกจิ กรรมการเรยี นรู้ตา่ ง ๆ

4.2 แสวงหาความรูจ้ าก 4.2.1 ศึกษาค้นคว้าหาความรูจ้ ากหนงั สอื เอกสาร สง่ิ พิมพ์ ส่อื เทคโนโลยตี า่ ง ๆ แหล่ง
แหลง่ เรียนรู้ ต่าง ๆ เรียนรูท้ ้งั ภายในและภายนอกโรงเรียน และเลือกใช้ส่อื ไดอ้ ยา่ งเหมาะสม
ทัง้ ภายในและภายนอก
โรงเรียน ดว้ ยการ 4.2.3 บันทึกความรู้ วิเคราะหต์ รวจสอบ จากสงิ่ ที่เรียนรู้ สรปุ เปน็ องคค์ วามรู้
เลอื กใชส้ ่อื อย่าง 4.2.3 แลกเปลย่ี นความรู้ ด้วยวธิ กี ารต่าง ๆ และนาไปใชใ้ นชวี ิตประจาวัน
เหมาะสม สรปุ เปน็ องค์
ความรู้ และสามารถ
นาไปใช้ใน
ชีวติ ประจาวนั ได้

35
แนวปฏบิ ตั ิการวัดและประเมินผลการเรยี นรู้ ตามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาข้ันพ้นื ฐาน พุทธศักราช 2551 (ปรับปรุง พทุ ธศักราช 2560)

เกณฑ์การให้คะแนน ระดับมธั ยมศกึ ษาตอนต้น

ตัวชว้ี ัดท่ี 4.1 ตั้งใจ เพียรพยายาม ในการเรียนและเข้ารว่ ม กจิ กรรม

พฤตกิ รรมบง่ ชี ไม่ผ่าน(0) ผา่ น(1) ด(ี 2) ดเี ยี่ยม(3)
4.1.1 ต้งั ใจเรยี น ไม่ตั้งใจเรยี น
เข้าเรยี นตรงเวลา เขา้ เรยี นตรงเวลา เขา้ เรยี นตรงเวลา
4.1.2 เอาใจใส่และมี ตัง้ ใจเรยี น เอาใจใสใ่ น ตงั้ ใจเรยี น เอาใจใส่ ตงั้ ใจเรยี น เอาใจใส่
ความเพียร การเรียน มสี ่วนร่วม และมคี วามเพียร และมคี วามเพยี ร
พยายามในการ ในการเรยี นรแู้ ละเข้า พยายามในการเรยี นรู้ พยายามในการ
เรยี นรู้ รว่ มกจิ กรรมการเรียนรู้ มีสว่ นร่วมในการเรียนรู้ เรยี นรู้ มสี ว่ นรว่ ม
ต่าง ๆ เปน็ บางครง้ั และเขา้ รว่ มกจิ กรรม ในการเรยี นรแู้ ละเข้า
4.1.3 เขา้ ร่วมกจิ กรรม การเรยี นรตู้ า่ ง ๆ ร่วมกจิ กรรมการ
การเรยี นรูต้ ่าง ๆ บอ่ ยครั้ง เรยี นรตู้ า่ ง ๆ ทง้ั
ภายในและภายนอก
โรงเรียนเปน็ ประจา

ตวั ชี้วัดท่ี 4.2 แสวงหาความรจู้ ากแหล่งเรียนรู้ ต่าง ๆ ทงั้ ภายในและภายนอกโรงเรยี น ดว้ ยการเลือกใช้สื่อ
อย่างเหมาะสม สรุปเป็นองคค์ วามรู้ สามารถนาไปใช้ชวี ิตประจาวนั ได้

พฤติกรรมบ่งชี ไมผ่ า่ น(0) ผา่ น(1) ดี(2) ดเี ยยี่ ม(3)
4.2.1 ศึกษาค้นควา้ หา ไมศ่ กึ ษาคน้ ควา้ หาความรู้
ศกึ ษาค้นควา้ ความรู้ ศกึ ษาค้นคว้าหาความรู้ ศกึ ษาคน้ ควา้ หา
ความรจู้ ากหนังสือ จากหนังสอื เอกสาร จากหนงั สือ เอกสาร ความรจู้ ากหนงั สอื
เอกสาร สง่ิ พมิ พ์ สิ่งพมิ พ์ ส่อื เทคโนโลยี ส่งิ พมิ พ์ สือ่ เอกสาร ส่ิงพิมพ์ สือ่
ส่ือเทคโนโลยตี า่ ง ๆ แหล่งเรียนรู้ ทงั้ เทคโนโลยแี ละ เทคโนโลยี และ
แหลง่ เรียนรู้ท้ัง ภายในและภายนอก สารสนเทศ แหลง่ สารสนเทศ แหลง่
ภายในและภายนอก โรงเรยี น เลอื กใชส้ ือ่ เรยี นรู้ ทัง้ ภายในและ เรยี นรทู้ ้งั ภายใน
โรงเรยี น และ ไดอ้ ยา่ งเหมาะสม ภายนอกโรงเรยี น และภายนอก
เลือกใช้สื่อได้อยา่ ง และ และเลือกใช้ส่อื ได้ โรงเรยี น เลือกใช้
เหมาะสม มกี ารบนั ทึกความรู้ อย่างเหมาะสม ส่อื ไดอ้ ยา่ งเหมาะสม
มกี ารบนั ทึกความรู้ มีการบันทกึ ความรู้
4.2.2 บันทกึ ความรู้ วเิ คราะหข์ ้อมลู สรปุ วิเคราะห์ขอ้ มลู
วิเคราะหข์ ้อมลู จาก เปน็ องคค์ วามรู้ และ สรุปเป็นองค์ความรู้
สิง่ ที่เรยี นรู้ สรุป แลกเปลย่ี นเรยี นรกู้ บั และแลกเปลยี่ น
เปน็ องคค์ วามรู้ ผู้อน่ื ได้ เรียนรู้ ดว้ ยวธิ ีการ
ท่ีหลากหลาย และ
4.2.3 แลกเปล่ยี นเรยี นรู้ นาไปใช้ใน
ด้วยวธิ กี ารตา่ งๆ ชวี ิตประจาวันได้
และนาไปใชใ้ น
ชีวติ ประจาวัน

36
แนวปฏบิ ตั ิการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาขนั้ พนื้ ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 (ปรับปรงุ พุทธศกั ราช 2560)

เกณฑก์ ารให้คะแนน ระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย

ตัวช้วี ดั ท่ี 4.1 ตั้งใจ เพยี รพยายาม ในการเรียนและเข้ารว่ ม กจิ กรรม

พฤตกิ รรมบง่ ชี ไม่ผ่าน(0) ผา่ น(1) ดี(2) ดเี ยีย่ ม(3)

4.1.1 ตัง้ ใจเรยี น ไม่ตง้ั ใจเรียน เขา้ เรียนตรงเวลา เขา้ เรยี นตรงเวลา เขา้ เรียนตรงเวลา

4.1.2 เอาใจใสแ่ ละมี ต้ังใจเรยี น เอาใจใส่ ตั้งใจเรยี น เอาใจใส่ ตัง้ ใจเรียน เอาใจ
ความเพียร และมีความเพียร และมีความเพียร ใส่ และมคี วาม
พยายามในการ พยายามในการเรยี นรู้ พยายามในการเรยี นรู้ เพยี รพยายามใน
เรียนรู้ มสี ่วนรว่ มในการ มสี ว่ นร่วมในการ การเรยี นรู้ มสี ่วน
เรียนรู้และเขา้ รว่ ม เรยี นร้แู ละเขา้ รว่ ม รว่ มในการเรียนรู้

4.1.3 เข้ารว่ มกิจกรรม กิจกรรมการเรียนรู้ กจิ กรรมการเรียนรู้ และเข้ารว่ ม

การเรยี นรูต้ า่ ง ๆ ตา่ ง ๆ บางครง้ั ตา่ ง ๆ ท้งั ภายในและ กิจกรรมการเรยี นรู้

ภายนอกโรงเรียน ตา่ ง ๆ ทั้งภายใน

บอ่ ยคร้ัง และภายนอก

โรงเรียนเปน็ ประจา

และเปน็ แบบอยา่ ง

ทด่ี ี

ตวั ช้วี ดั ที่ 2 แสวงหาความรู้จากแหลง่ เรียนรู้ ต่าง ๆ ทง้ั ภายในและภายนอกโรงเรยี น ดว้ ยการเลือกใชส้ ื่อ

อยา่ งเหมาะสม สรปุ เปน็ องคค์ วามรู้ สามารถนาไปใชช้ วี ติ ประจาวนั ได้

พฤติกรรมบง่ ชี ไมผ่ า่ น(0) ผ่าน(1) ดี(2) ดเี ย่ยี ม(3)

4.2.1 ศึกษาค้นควา้ หา ไม่ศึกษาค้นควา้ หาความรู้ ศึกษาคน้ คว้าความรู้ ศกึ ษาค้นควา้ หาความรู้ ศึกษาค้นคว้าหา

ความรู้จากหนังสอื จากหนงั สอื เอกสาร จากหนังสอื เอกสาร ความรจู้ ากหนังสอื

เอกสาร ส่ิงพิมพ์ สิ่งพมิ พ์ ส่อื เทคโนโลยี สิ่งพมิ พ์ สือ่ เอกสาร ส่ิงพมิ พ์

ส่ือเทคโนโลยีต่าง ๆ แหลง่ เรียนรู้ ทง้ั เทคโนโลยีและ ส่ือเทคโนโลยี และ

แหล่งเรียนร้ทู ั้ง ภายในและภายนอก สารสนเทศ แหลง่ สารสนเทศ แหลง่

ภายในและภายนอก โรงเรียน เลอื กใช้สื่อ เรียนรู้ ทัง้ ภายในและ เรยี นรู้ ทง้ั

โรงเรยี น และ ไดอ้ ยา่ งเหมาะสม ภายนอกโรงเรยี น ภายในและ

เลือกใชส้ ือ่ ไดอ้ ย่าง และ และเลือกใชส้ อ่ื ได้ ภายนอกโรงเรยี น

เหมาะสม มกี ารบันทกึ ความรู้ อย่างเหมาะสม เลอื กใชส้ อื่

4.2.2 บนั ทึกความรู้ มกี ารบนั ทึกความรู้ ได้อยา่ งเหมาะสม
วเิ คราะห์ข้อมลู วเิ คราะห์ข้อมลู สรปุ มกี ารบนั ทึกความรู้
จากส่งิ ท่เี รียนรู้ เป็นองค์ความรู้ วิเคราะห์ขอ้ มูล
สรปุ เป็นองค์ แลกเปลย่ี นเรยี นรู้กับ สรุปเป็นองค์ความรู้
ความรู้ ผูอ้ ่ืนไดแ้ ละนาไปใชใ้ น แลกเปลยี่ นเรยี นรู้
ชวี ติ ประจาวนั ได้ ด้วยวิธกี ารท่ี
4.2.3 แลกเปลี่ยนเรยี นรู้ หลากหลาย และ

ด้วยวธิ กี ารต่าง ๆ เผยแพร่แก่บคุ คล

เพอ่ื นาไปใชใ้ น ทัว่ ไปนาไปใช้ใน

ชวี ติ ประจาวัน ชวี ติ ประจาวนั ได้

37
แนวปฏบิ ตั ิการวดั และประเมนิ ผลการเรยี นรู้ ตามหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พืน้ ฐาน พทุ ธศักราช 2551 (ปรับปรุง พุทธศกั ราช 2560)

ข้อที่ 5 อยอู่ ยา่ งพอเพยี ง

นยิ าม

อยู่อย่างพอเพียง หมายถึง คุณลักษณะที่แสดงออกถึงการดาเนินชีวิตอย่างพอประมาณ มี
เหตผุ ล รอบคอบ มีคุณธรรม มภี ูมิคุ้มกันในตัวท่ดี ี และปรับตัวเพือ่ อยใู่ นสังคมไดอ้ ยา่ งมีความสขุ

ผทู้ อ่ี ย่อู ยา่ งพอเพยี ง คอื ผู้ทด่ี าเนนิ ชวี ติ อยา่ งประมาณตน มีเหตผุ ล รอบคอบ ระมดั ระวัง
อยู่ร่วมกับผู้อื่นด้วยความรับผิดชอบ ไม่เบียดเบียนผู้อ่ืน เห็นคุณค่าของทรัพยากรต่าง ๆ มีการวางแผน
ป้องกนั ความเสีย่ งและพร้อมรับการเปล่ียนแปลง

ตวั ช้ีวัด 5.1 ดาเนินชีวิตอย่างพอประมาณ มีเหตุผล รอบคอบ มคี ุณธรรม
5.2 มีภมู ิคุ้มกันในตัวท่ีดี ปรบั ตัวเพ่อื อยู่ในสังคมไดอ้ ยา่ งมคี วามสุข

ตัวช้ีวดั และพฤติกรรมบง่ ช้ี พฤตกิ รรมบ่งช้ี
5.1.1 ใชท้ รัพย์สนิ ของตนเอง เชน่ เงนิ สิ่งของ เคร่ืองใช้ ฯลฯ อย่าง
ตวั ชวี้ ัด
5.1 ดาเนนิ ชีวติ อย่าง ประหยัด ค้มุ คา่ และเกบ็ รักษาดูแลอยา่ งดี รวมทง้ั การใช้เวลาอย่าง

พอประมาณ เหมาะสม
มเี หตผุ ล รอบคอบ
มีคุณธรรม 5.1.2 ใช้ทรัพยากรของส่วนรวมอยา่ งประหยดั คมุ้ คา่ และเก็บรกั ษาดแู ลอย่างดี

5.2 มีภูมคิ ุ้มกนั ในตวั ที่ดี 5.1.3 ปฏิบัติตนและตัดสนิ ใจดว้ ยความรอบคอบ มเี หตุผล
ปรบั ตัวเพอ่ื อยู่ใน
สงั คมได้อย่างมี 5.1.4 ไมเ่ อาเปรยี บผอู้ นื่ และไมท่ าใหผ้ ูอ้ น่ื เดือดร้อน พรอ้ มให้อภยั เมื่อผู้อนื่ กระทา
ความสุข ผดิ พลาด

5.2.1 วางแผนการเรยี น การทางานและการใชช้ วี ิตประจาวันบนพน้ื ฐาน

ของความรู้ ข้อมูล ข่าวสาร

5.2.2 รเู้ ท่าทันการเปลี่ยนแปลงของสังคมและสภาพแวดลอ้ ม ยอมรบั และ ปรับตัว
เพ่อื อยู่ร่วมกบั ผู้อืน่ ได้อยา่ งมคี วามสขุ

38
แนวปฏบิ ตั ิการวดั และประเมนิ ผลการเรียนรู้ ตามหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พื้นฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 (ปรับปรงุ พทุ ธศกั ราช 2560)

เกณฑ์การใหค้ ะแนน ระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนต้น

ตวั ชว้ี ดั ท่ี 5.1 ดาเนินชวี ิตอย่างพอประมาณ มีเหตุผล รอบคอบ มีคณุ ธรรม

พฤติกรรมบง่ ชี ไมผ่ ่าน(0) ผ่าน(1) ด(ี 2) ดีเย่ียม(3)

5.1.1 ใชท้ รัพยส์ นิ ของตนเอง ใช้เงนิ และของใช้ ใชท้ รพั ย์สินของ ใช้ทรัพยส์ นิ ของ ใชท้ รัพย์สินของ
ตนเองและทรพั ยากร ตนเองและทรัพยากร ตนเองและ
เชน่ เงิน ส่ิงของ สว่ นตวั อย่างไม่ ของส่วนรวมอย่าง ของสว่ นรวม อย่าง ทรัพยากรของ
ประหยดั คุ้มคา่ ประหยดั คมุ้ ค่า เกบ็ ส่วนรวม อย่าง
เคร่ืองใช้ ฯลฯ อยา่ ง ประหยดั เก็บรักษาดแู ลอย่างดี รักษาดูแลอยา่ งดี ประหยดั คมุ้ คา่
รอบคอบ มเี หตผุ ล รอบคอบ มเี หตผุ ล เกบ็ รกั ษาดูแล
ประหยดั คมุ้ คา่ และเกบ็ ไมเ่ อาเปรยี บผ้อู นื่ และ อย่างดี รอบคอบ
ไมท่ าใหผ้ ู้อ่ืน มเี หตผุ ล
รกั ษาดแู ลอยา่ งดี รวมทั้ง เดอื ดร้อน ไมเ่ อาเปรยี บผอู้ นื่
ไมท่ าให้ผู้อนื่
การใชเ้ วลาอยา่ งเหมาะสม เดอื ดรอ้ น และให้
อภยั เมอ่ื ผู้อนื่
5.1.2 ใชท้ รัพยากรของ กระทาผดิ พลาด
ส่วนรวมอย่างประหยดั
คุ้มคา่ และเก็บรกั ษา
ดูแล อย่างดี

5.1.3 ปฏิบัติตนและตดั สนิ ใจ
ดว้ ยความรอบคอบ
มีเหตผุ ล

5.1.4 ไมเ่ อาเปรยี บผอู้ ่ืนและ
ไม่ทาใหผ้ ูอ้ ่นื เดอื ดรอ้ น
พร้อมใหอ้ ภัย เมอ่ื ผอู้ ่นื
กระทาผดิ พลาด

ตัวชี้วดั ที่ 5.1 มีภมู คิ ุ้มกนั ในตัวท่ีดี ปรับตวั เพ่ืออยใู่ นสังคมไดอ้ ย่างมคี วามสุข

พฤตกิ รรมบ่งชี ไม่ผ่าน(0) ผา่ น(1) ด(ี 2) ดเี ยี่ยม(3)
5.2.1 วางแผนการเรียน ไมว่ างแผนการเรยี นและ
การใช้ชวี ิตประจาวนั ใช้ ความรู้ ข้อมลู ใช้ ความรู้ ขอ้ มลู ใช้ ความรู้ ขอ้ มลู
การทางานและการ ข่าวสาร ในการวาง
ใชช้ ีวติ ประจาวนั บน แผนการเรียน ข่าวสารในการวาง ขา่ วสารในการวาง
พน้ื ฐานของ ความรู้ การทางานและใช้
ข้อมูลข่าวสาร ในชีวิตประจาวัน แผนการเรยี น แผนการเรยี น
รับรู้การเปลีย่ นแปลง
5.2.2 รูเ้ ท่าทันการ ของครอบครวั ชมุ ชน การทางาน และใช้ การทางานและใชใ้ น
เปลย่ี นแปลงของ และสภาพแวดล้อม
สังคม และ ในชวี ิตประจาวนั ชีวิตประจาวัน
สภาพแวดลอ้ ม
ยอมรับ และปรับตวั ยอมรับการเปลี่ยนแปลง ยอมรบั การ
อย่รู ่วมกับผ้อู ่นื ได้
อยา่ งมคี วามสุข ของครอบครัว ชมุ ชน เปลี่ยนแปลงของ

สงั คม และ ครอบครวั ชมุ ชน

สภาพแวดลอ้ ม สังคมสภาพแวดลอ้ ม

และปรบั ตวั อยู่

ร่วมกบั ผู้อน่ื

ได้อย่างมคี วามสุข

39
แนวปฏบิ ตั ิการวดั และประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาข้นั พื้นฐาน พุทธศักราช 2551 (ปรบั ปรงุ พทุ ธศักราช 2560)

เกณฑ์การใหค้ ะแนน ระดบั มธั ยมศึกษาตอนปลาย

ตัวช้ีวดั ท่ี 5.1 ดาเนนิ ชวี ิตอยา่ งพอประมาณ มีเหตผุ ล รอบคอบ มีคุณธรรม

พฤตกิ รรมบ่งชี ไมผ่ ่าน(0) ผา่ น(1) ดี(2) ดเี ยี่ยม(3)

5.1.1 ใช้ทรพั ย์สินของ ใช้เงนิ และของใช้สว่ นตัว ใชท้ รัพยส์ นิ ของ ใชท้ รพั ยส์ นิ ของ ใชท้ รัพย์สินของ
ตนเองและทรพั ยากร
ตนเอง เช่น เงนิ อย่างไม่ประหยัด ตนเองและทรพั ยากร ตนเองและทรัพยากร ของส่วนรวม อย่าง
สิ่งของ เครือ่ งใช้ ประหยดั คมุ้ ค่า เก็บ
ฯลฯ อย่าง ของส่วนรวม อยา่ ง ของส่วนรวม อย่าง รักษาดแู ล อย่างดี
ประหยดั คุ้มคา่ ประหยดั คุ้มคา่ เก็บ ประหยดั ค้มุ คา่ ตดั สินใจด้วยความ
และเกบ็ รักษา รกั ษาดูแลอยา่ งดี เก็บรกั ษาดแู ลอย่างดี รอบคอบ มเี หตผุ ล
ดูแลอย่างดี รอบคอบ มเี หตผุ ล รอบคอบ มเี หตผุ ล ไมเ่ อาเปรยี บผอู้ น่ื ไม่
รวมท้งั การใช้เวลา ไมเ่ อาเปรยี บผอู้ น่ื และ ไมเ่ อาเปรยี บผูอ้ นื่ ไม่ ทาให้ผอู้ ่ืนเดอื ดรอ้ น
อยา่ งเหมาะสม ไม่ทาใหผ้ อู้ ่นื ทาใหผ้ ูอ้ ื่นเดือดร้อน ให้อภยั เมือ่ ผอู้ นื่
5.1.2 ใช้ทรพั ยากรของ เดือดร้อน และใหอ้ ภยั เมื่อผ้อู ืน่ กระทาผดิ พลาดและ
สว่ นรวมอย่าง กระทาผดิ พลาด เปน็ แบบอย่างที่ดี

ประหยดั คุ้มค่า

และเกบ็ รักษา

ดแู ลอยา่ งดี

5.1.3 ปฏบิ ตั ติ นและ

ตัดสนิ ใจด้วย

ความรอบคอบ

มเี หตผุ ล

5.1.4 ไม่เอาเปรียบผอู้ ่ืน

และไม่ทาใหผ้ ู้อ่นื

เดือดรอ้ น พรอ้ ม

ให้อภัย เมอ่ื ผู้อื่น

กระทาผดิ พลาด

ตัวช้ีวัดท่ี 5.2 มีภูมิคุม้ กนั ในตวั ทด่ี ี ปรบั ตัวเพ่ืออย่ใู นสงั คมไดอ้ ย่างมีความสขุ

พฤติกรรมบง่ ชี ไม่ผ่าน(0) ผ่าน(1) ด(ี 2) ดเี ยี่ยม(3)

5.2.1 วางแผนการเรียน ไม่วางแผนการเรยี นและ ใช้ความรู้ ขอ้ มูล ใช้ความรู้ ข้อมูล ใชค้ วามรู้ ข้อมลู
ข่าวสารในการวาง
การทางานและการ การใชช้ ีวติ ประจาวัน ข่าวสารในการวาง ขา่ วสารในการวาง แผนการเรียน การ
ใช้ชีวติ ประจาวัน แผนการเรียน การ แผนการเรียน การ ทางานและการใช้
บนพนื้ ฐานของ ทางานและการใช้ใน ทางานและการใชใ้ น ในชวี ติ ประจาวัน
ความรู้ ขอ้ มลู ชวี ติ ประจาวัน และ ชีวติ ประจาวัน รู้เทา่ ทันกบั การ
ข่าวสาร ยอมรบั การ ยอมรบั การ เปลีย่ นแปลงของ
5.2.2 รเู้ ทา่ ทนั การ เปลีย่ นแปลงของ เปลีย่ นแปลงของ ครอบครัว ชุมชน
เปล่ยี นแปลงของ ครอบครวั ชมุ ชน ครอบครัว ชุมชน สังคม และ
สังคม และ สงั คม และ สังคม และ สภาพแวดลอ้ ม
สภาพแวดลอ้ ม สภาพแวดลอ้ ม สภาพแวดลอ้ ม และ และปรับตวั เพ่อื
ยอมรับ และ ปรบั ตัวอยรู่ ว่ มกบั อยรู่ ว่ มกับผู้อน่ื
ปรับตัวเพื่ออยู่ ผ้อู นื่ ไดอ้ ยา่ งมี ไดอ้ ย่างมีความสขุ
ร่วมกับผอู้ ่ืนได้
ความสขุ
อยา่ งมีความสุข

40
แนวปฏบิ ตั ิการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขัน้ พื้นฐาน พุทธศักราช 2551 (ปรบั ปรงุ พุทธศกั ราช 2560)

ข้อที่ 6 มุ่งมน่ั ในการทางาน

นิยาม

มุ่งม่ันในการทางาน หมายถึง คุณลักษณะท่ีแสดงออกถึงความต้ังใจและรับผดิ ชอบในการ
ทาหน้าที่การงาน ดว้ ยความเพียรพยายาม อดทน เพ่อื ให้งานสาเรจ็ ตามเป้าหมาย

ผู้ที่มุ่งม่ันในการทางาน คือ ผู้ที่มีลักษณะซึ่งแสดงออกถึงความตั้งใจปฏิบัติหน้าท่ีท่ีได้รับ
มอบหมายด้วยความเพียรพยายาม ทุ่มเทกาลังกาย กาลังใจ ในการปฏิบัติกิจกรรมต่าง ๆ ให้สาเร็จลุล่วง
ตามเป้าหมายทกี่ าหนดดว้ ยความรับผิดชอบ และมีความภาคภมู ใิ จในผลงาน

ตัวชีว้ ัด 6.1 ต้ังใจและรบั ผดิ ชอบในหนา้ ทก่ี ารงาน

6.2 ทางานดว้ ย ความเพียรพยายาม และ อดทนเพื่อให้งานสาเร็จตามเปา้ หมาย

ตัวชว้ี ัดและพฤติกรรมบ่งช้ี

ตัวช้วี ัด พฤตกิ รรมบ่งช้ี

6.1 ตง้ั ใจและรบั ผดิ ชอบ 6.1.1 เอาใจใส่ตอ่ การปฏิบัตหิ นา้ ทท่ี ่ไี ดร้ บั มอบหมาย

ในการปฏบิ ัตหิ นา้ ที่ 6.1.2 ตง้ั ใจและรับผดิ ชอบในการทางานใหส้ าเรจ็

การงาน 6.1.3 ปรับปรงุ และพัฒนาการทางานด้วยตนเอง

6.2 ทางานดว้ ย ความเพยี ร 6.2.1 ทมุ่ เททางาน อดทน ไม่ย่อท้อตอ่ ปญั หาและอปุ สรรคในการทางาน

พยายาม และ อดทน 6.2.2 พยายามแกป้ ญั หาและอุปสรรคในการทางานใหส้ าเรจ็

เพ่ือใหง้ านสาเรจ็ ตาม 6.2.3 ชืน่ ชมผลงานด้วยความภาคภมู ใิ จ

เปา้ หมาย

เกณฑ์การให้คะแนน ระดับมธั ยมศึกษาตอนตน้

ตวั ชว้ี ดั ที่ 6.1 ต้ังใจและรับผดิ ชอบในการปฏบิ ตั หิ น้าที่การงาน

พฤติกรรมบ่งชี ไมผ่ า่ น(0) ผ่าน(1) ดี(2) ดเี ยีย่ ม(3)
6.1.1 เอาใจใสต่ ่อการ ไมต่ ั้งใจปฏิบตั ิหนา้ ทีก่ าร
งาน ต้งั ใจและรับผิดชอบ ตงั้ ใจและรบั ผิดชอบ ตัง้ ใจและ
ปฏิบัตหิ นา้ ทีท่ ่ี ในการปฏบิ ัติหนา้ ที่ท่ี ในการปฏิบตั หิ นา้ ที่ท่ี รับผดิ ชอบในการ
ได้รบั มอบหมาย ไดร้ ับมอบหมายให้ ได้รับมอบหมายให้ ปฏิบัตหิ น้าที่ท่ี
สาเรจ็ มีการปรับปรงุ สาเรจ็ มีการปรบั ปรงุ ไดร้ บั มอบหมายให้
6.1.2 ตง้ั ใจและ การทางานให้ดขี ้นึ และพฒั นาการทางาน สาเรจ็
รับผิดชอบใน ให้ดีขน้ึ มกี ารปรบั ปรงุ และ
การทางานให้
สาเรจ็ พฒั นาการทางาน
ใหด้ ขี นึ้ ด้วยตนเอง
6.1.3 ปรับปรงุ และ
พฒั นาการทางาน
ด้วยตนเอง

41
แนวปฏบิ ตั ิการวดั และประเมนิ ผลการเรยี นรู้ ตามหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาข้นั พ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 (ปรบั ปรุง พุทธศกั ราช 2560)

ตวั ชว้ี ัดที่ 6.2 ทางานดว้ ย ความเพียรพยายาม และ อดทนเพอื่ ให้งานสาเรจ็ ตามเปา้ หมาย

พฤตกิ รรมบ่งชี ไมผ่ า่ น(0) ผ่าน(1) ด(ี 2) ดีเย่ียม(3)
ไมข่ ยัน อดทน
6.2.1 ทุ่มเททางาน ทางานดว้ ยความขยนั ทางานดว้ ยความขยัน ทางานด้วยความ
อดทน ไมย่ อ่ ทอ้ ในการทางาน อดทน และพยายาม อดทน และพยายาม ขยนั อดทน และ
ต่อปัญหาและ ให้งานสาเร็จตาม ใหง้ านสาเร็จตาม พยายามใหง้ าน
อุปสรรคในการ เป้าหมาย และชืน่ ชม เปา้ หมาย ไม่ยอ่ ท้อ สาเรจ็ ตาม
ทางาน ผลงานด้วยความ ต่อปัญหาในการ เป้าหมายภายใน
ภาคภูมิใจ ทางาน และช่ืนชม เวลาที่กาหนด
6.2.2 พยายามแก้ปัญหา ผลงานดว้ ยความ ไม่ยอ่ ทอ้ ต่อปัญหา
และอปุ สรรคใน ภาคภมู ใิ จ แก้ปัญหาอปุ สรรค
การทางานให้ ในการทางาน และ
สาเรจ็ ชื่นชมผลงานด้วย
ความภาคภมู ิใจ
6.2.3 ชืน่ ชมผลงานดว้ ย
ความภาคภมู ใิ จ

42
แนวปฏบิ ตั ิการวัดและประเมนิ ผลการเรยี นรู้ ตามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขนั้ พืน้ ฐาน พุทธศักราช 2551 (ปรบั ปรงุ พุทธศักราช 2560)

เกณฑก์ ารใหค้ ะแนน ระดับมธั ยมศกึ ษาตอนปลาย

ตัวชีว้ ัดท่ี 6.1 ตั้งใจและรับผิดชอบในการปฏบิ ัติหนา้ ที่การงาน

พฤติกรรมบ่งชี ไมผ่ ่าน(0) ผา่ น(1) ด(ี 2) ดเี ยี่ยม(3)
6.1.1 เอาใจใสต่ ่อ ไม่ตงั้ ใจปฏบิ ตั ิหนา้ ทก่ี าร
งาน ตั้งใจและรับผิดชอบ ตง้ั ใจและรบั ผดิ ชอบ ต้ังใจและ
การปฏบิ ัตหิ น้าที่ที่ ในการปฏิบตั ิหนา้ ที่ท่ี ในการปฏบิ ัติหนา้ ทีท่ ่ี รับผดิ ชอบใน
ได้รบั มอบหมาย ไดร้ ับมอบหมายให้ ไดร้ บั มอบหมายให้ การปฏิบตั หิ น้าทที่ ี่
สาเรจ็ มีการปรับปรงุ สาเรจ็ มกี ารปรบั ปรงุ ไดร้ ับมอบหมายให้
6.1.2 ตัง้ ใจและ และพัฒนา และพฒั นา สาเรจ็
รบั ผิดชอบใน การทางานใหด้ ีขึน้ การทางานใหด้ ขี น้ึ มีการปรบั ปรุงและ
การทางานให้ ดว้ ยตนเอง พฒั นาการทางาน
สาเรจ็ ให้ดีขนึ้ ดว้ ยตนเอง
และเปน็ แบบอยา่ ง
6.1.3 ปรับปรงุ และ ทีด่ ี
พัฒนาการทางาน
ดว้ ยตนเอง

ตวั ชี้วัดที่ 6.2 ทางานดว้ ยความเพยี รพยายาม และอดทนเพื่อใหง้ านสาเร็จตามเป้าหมาย

พฤตกิ รรมบ่งชี ไม่ผา่ น(0) ผา่ น(1) ดี(2) ดเี ยีย่ ม(3)
ไม่ขยนั อดทน
6.2.1 ทุม่ เททางาน ทางานดว้ ยความขยัน ทางานดว้ ยความขยนั ทางานดว้ ยความ
อดทน ไมย่ อ่ ท้อ ในการทางาน อดทน และพยายาม อดทน และพยายาม ขยนั อดทน และ
ตอ่ ปัญหาและ ใหง้ านสาเร็จตาม ใหง้ านสาเรจ็ ตาม พยายามใหง้ าน
อปุ สรรคในการ เปา้ หมาย ไมย่ อ่ ท้อ เปา้ หมายภายในเวลา สาเรจ็ ตาม
ทางาน ตอ่ ปัญหาใน ทีก่ าหนด ไม่ยอ่ ทอ้ เปา้ หมายกอ่ นเวลา
การทางาน และช่ืน ต่อปัญหา แกป้ ัญหา ทก่ี าหนด ไม่ยอ่ ท้อ
6.2.2 พยายามแก้ปัญหา ชมผลงานดว้ ย อุปสรรคในการ ตอ่ ปัญหาแกป้ ญั หา
และอปุ สรรคใน ความภาคภมู ิใจ ทางาน และชืน่ ชม อุปสรรคในการ
การทางานให้ ผลงานด้วยความ ทางาน และชนื่ ชม
สาเรจ็ ภาคภูมิใจ ผลงานดว้ ยความ
ภาคภมู ิใจ
6.2.3 ชืน่ ชมผลงานด้วย
ความภาคภมู ิใจ

43
แนวปฏบิ ตั ิการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขัน้ พนื้ ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 (ปรับปรุง พทุ ธศักราช 2560)

ขอ้ ที่ 7 รักความเปน็ ไทย

นยิ าม

รักความเป็นไทย หมายถึง คุณลักษณะที่แสดงออกถึงความภาคภูมิใจ เห็นคุณค่า
ร่วมอนุรักษ์ สืบทอดภูมิปัญญาไทย ขนบธรรมเนียมประเพณี ศิลปะและวัฒนธรรม ใช้ภาษาไทยในการ
สอ่ื สารไดอ้ ยา่ งถกู ตอ้ งและเหมาะสม

ผู้ท่ีรักความเป็นไทย คือ ผู้ท่ีมีความภาคภูมิใจ เห็นคุณค่า ช่ืนชม มีส่วนร่วมในการ
อนุรักษ์ สบื ทอด เผยแพร่ภูมิปัญญาไทย ขนบธรรมเนียมประเพณี ศลิ ปะและวัฒนธรรมไทย มีความกตญั ญู
กตเวที ใช้ภาษาไทยในการสอื่ สารอย่างถกู ตอ้ งเหมาะสม

ตัวชี้วัด 7.1 ภาคภมู ิใจในขนบธรรมเนยี มประเพณี ศิลปะ วฒั นธรรมไทย และมคี วาม
กตญั ญกู ตเวที

7.2 เห็นคณุ คา่ และใช้ภาษาไทยในการส่อื สารไดอ้ ยา่ งถูกต้องเหมาะสม
7.3 อนรุ ักษ์ และสืบทอดภมู ิปญั ญาไทย

ตัวชวี้ ดั และพฤติกรรมบ่งช้ี

ตัวช้วี ัด พฤติกรรมบง่ ช้ี
7.1.1 แตง่ กายและมมี ารยาทงดงามแบบไทย มีสัมมาคารวะ กตัญญกู ตเวที
7.1 ภาคภูมิใจใน
ขนบธรรมเนียม ต่อผมู้ ีพระคณุ
ประเพณี ศลิ ปะ 7.1.2 รว่ มกจิ กรรมท่เี ก่ียวขอ้ งกับประเพณี ศลิ ปะและวฒั นธรรมไทย
วฒั นธรรมไทย 7.1.3 ชกั ชวน แนะนาให้ผ้อู นื่ ปฏิบตั ิตามขนบธรรมเนยี มประเพณี
และมคี วามกตัญญู
กตเวที ศลิ ปะและวฒั นธรรมไทย

7.2 เห็นคณุ ค่าและ 7.2.1 ใชภ้ าษาไทยและเลขไทยในการสื่อสารได้อย่างถกู ต้องเหมาะสม

ใชภ้ าษาไทย 7.2.2 ชักชวน แนะนา ใหผ้ ู้อ่นื เหน็ คุณคา่ ของการใช้ภาษาไทยท่ีถูกตอ้ ง
ในการสือ่ สารได้

อย่างถกู ต้อง เหมาะสม

7.3 อนรุ ักษ์ สืบทอด 7.3.1 นาภมู ปิ ญั ญาไทยมาใช้ให้เหมาะสมในวถิ ชี วี ิต

ภูมิปัญญาไทย 7.3.2 ร่วมกิจกรรมท่เี กยี่ วขอ้ งกบั ภมู ปิ ัญญาไทย

7.3.3 แนะนา มีส่วนรว่ มในการสืบทอดภมู ปิ ัญญาไทย

44
แนวปฏบิ ตั ิการวดั และประเมินผลการเรยี นรู้ ตามหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาข้นั พ้นื ฐาน พุทธศกั ราช 2551 (ปรบั ปรงุ พุทธศกั ราช 2560)

เกณฑ์การใหค้ ะแนน ระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนตน้

ตัวชีว้ ัดท่ี 7.1 ภาคภมู ใิ จในขนบธรรมเนียมประเพณี ศลิ ปะ วฒั นธรรมไทย และมคี วามกตัญญกู ตเวที

พฤตกิ รรมบ่งชี ไม่ผ่าน(0) ผ่าน(1) ด(ี 2) ดเี ยีย่ ม(3)

7.1.1 แตง่ กายและมี ไม่มสี มั มาคารวะตอ่ ปฏบิ ัตติ นเป็นผมู้ ี ปฏิบัตติ นเป็นผมู้ ี ปฏบิ ตั ติ นเปน็ ผมู้ ี
มารยาทงดงาม ผู้ใหญ่
แบบไทย มสี มั มา มารยาทแบบไทย มารยาทแบบไทย มารยาทแบบไทย
คารวะ กตญั ญู
กตเวทตี อ่ ผมู้ ี มีสัมมาคารวะ กตัญญู มีสมั มาคารวะ กตญั ญู มสี ัมมาคารวะ
พระคณุ
กตเวทตี ่อผมู้ พี ระคณุ กตเวทตี ่อผมู้ ีพระคณุ กตญั ญกู ตเวทตี ่อผู้

และแต่งกายแบบไทย และแต่งกาย มีพระคณุ แต่ง

7.1.2 ร่วมกิจกรรมท่ี เขา้ ร่วมหรอื มสี ว่ น แบบไทยด้วยความ กายแบบไทยด้วย
เก่ียวข้องกบั ร่วม ในกิจกรรมท่ี ภาคภมู ใิ จ เข้ารว่ ม ความภาคภูมิใจ
ประเพณี ศลิ ปะ เกยี่ วข้องกับประเพณี หรือมีสว่ นรว่ ม ใน เข้ารว่ มหรอื มีส่วน
และวฒั นธรรม ศิลปะและวฒั นธรรม กิจกรรมที่เกยี่ วขอ้ ง รว่ ม ในการจัด
ไทย ไทย กับประเพณี ศลิ ปะ กจิ กรรมทเี่ กย่ี วข้อง
และวฒั นธรรมไทย กบั ประเพณี
ศิลปะและ

7.1.3 ชักชวน แนะนาให้ วัฒนธรรมไทย
ผู้อ่นื ปฏบิ ตั ติ าม
ขนบธรรมเนยี ม ชกั ชวน แนะนา
ประเพณี ศิลปะ
และวัฒนธรรม เพื่อนและคนอื่น
ไทย
ปฏบิ ตั ติ าม

ขนบธรรมเนยี ม

ประเพณี ศลิ ปะ

และวัฒนธรรมไทย

ตวั ชว้ี ัดที่ 7.2 เห็นคณุ ค่าและใชภ้ าษาไทยในการสอ่ื สารไดอ้ ย่างถูกต้องเหมาะสม

พฤตกิ รรมบ่งชี ไม่ผ่าน(0) ผ่าน(1) ดี(2) ดเี ยย่ี ม(3)
7.2.1 ใช้ภาษาไทยและ ไมส่ นใจใชภ้ าษาไทย
ใชภ้ าษาไทย ใช้ภาษาไทย ใชภ้ าษาไทย
เลขไทยในการ อยา่ งถกู ต้อง เลขไทย ในการ เลขไทยในการส่อื สาร เลขไทยในการ
ส่ือสารไดอ้ ย่าง สือ่ สารไดถ้ ูกต้อง ได้ถกู ต้องเหมาะสม ส่อื สารได้ถูกตอ้ ง
ถกู ต้องเหมาะสม เหมาะสม และ และแนะนา ชักชวน เหมาะสม และ
แนะนาให้ผู้อื่นใช้ ใหผ้ ูอ้ น่ื ใช้ภาษาไทยท่ี แนะนา ชกั ชวนให้
7.2.2 ชักชวน แนะนา ภาษาไทยทถ่ี ูกต้อง ถกู ต้อง ผู้อนื่ ใช้ภาษาไทยท่ี
ให้ผ้อู ื่นเห็นคณุ ค่า ถูกต้องเป็นประจา
ของการใช้ เป็นแบบอยา่ งทด่ี ี
ภาษาไทยที่ ด้านการใช้
ถกู ต้อง ภาษาไทย

45
แนวปฏบิ ัติการวดั และประเมนิ ผลการเรียนรู้ ตามหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาข้ันพื้นฐาน พุทธศกั ราช 2551 (ปรบั ปรุง พุทธศกั ราช 2560)


Click to View FlipBook Version