The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by watprachasan, 2023-08-13 12:26:06

O(11) แผนดำเนินงานและการใช้งบประมาณประจำปีวิชาการ

20





























งานบริหารวิชาการ


21


โครงการ เข้าค่ายพักแรมลูกเสือ-เนตรนารี
แผนงาน บริหารวิชาการ


สอดคล้องกับยุทธศาสตร์ชาติ ข้อที่ 1 การจัดการศึกษาเพื่อความมั่นคง
สอดคล้องกับมาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของผู้เรียน


(1.1 ผลสัมฤทธิ์ทางวิชาการของผู้เรียน)

(1.2 คุณลักษณะที่พึงประสงค์ของผู้เรียน)

มาตรฐานที่ 3 กระบวนการจัดการเรียนการสอน

ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ

ลักษณะโครงการ ต่อเนื่อง

ผู้รับผิดชอบโครงการ นายสมชาย เทียมทอง

ระยะเวลาดำเนินการ เดือนมกราคม 2566

งบประมาณทั้งโครงการ 21,000 บาท (เงินพัฒนาผู้เรียน)

………………………………………………………………………………………………………………..
1. หลักการและเหตุผล

หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2551 กำหนดให้ผู้เรียนได้เรียนรู้กิจกรรมพัฒนาผู้เรียนไว้

3 กิจกรรม คือ กิจกรรมแนะแนว กิจกรรมบำเพ็ญประโยชน์ต่อสังคม และกิจกรรมตามความถนัด


และความสนใจ กิจกรรมลูกเสือ-เนตรนารี เปนกิจกรรมหนึ่งในกลุ่มกิจกรรมเพื่อบำเพ็ญประโยชน์ต่อ
สังคมและตามข้อบังคับคณะลูกเสือแห่งชาติ ว่าด้วยการปกครองหลักสูตรและวิชาพิเศษลูกเสือ พ.ศ.

2509 ได้เขียนไว้ ในข้อ 273 ว่าการเดินทางไกลและแรมคืน ให้ผู้กำกับกลุ่มหรือผู้กำกับลูกเสือ นำ

ึ่
ึ่

ลูกเสือไปฝึกเดินทางไกลและแรมคืนในปหนึ่งไม่น้อยกว่า 1 ครั้ง ครั้งหนงให้พักแรมอย่างน้อยหนงคืน
การเข้าค่ายพักแรมและการเดินทางไกลของลูกเสือและเนตรนารี เป็นส่วนหนึ่งของกิจกรรมพัฒนา
ผู้เรียนที่ทำให้ผู้เรียนมีคุณธรรม จริยธรรม สร้างความสนุกสนานและความสามัคคีในหมู่คณะ การจัด

กิจกรรมทำให้ผู้เรียนไม่เกิดความเบื่อหน่าย อยากที่จะเข้าร่วมทำกิจกรรม จึงต้องจัดโครงการนี้ขึ้นเพื่อ

พัฒนาคุณธรรม จริยธรรม ฝึกให้ลูกเสือและเนตรนารีมีความอดทน อยู่ในระเบียบวินัย มีความ

เสียสละ รู้จักช่วยเหลือตัวเองและผู้อื่น รู้จักการปรับเปลี่ยนและใช้ชีวิตอยู่ในสังคมและสามารถทำงาน

ร่วมกับผู้อื่นได้


22


2. วัตถุประสงค ์
2.1 เพื่อให้นักเรียนได้รับประสบการณ์ใหม่ ๆ


2.2 เพื่อให้นักเรียนมีระเบียบวินัย
2.3 เพื่อให้สร้างความสามัคคีในหมู่คณะ


2.4 เพื่อให้นักเรียนได้รับความสนุกสนาน เพลิดเพลินและสามารถนำประสบการณ์ไปใช้ใน

ชีวิตประจำวัน



3. เป้าหมาย

3.1 ด้านปริมาณ

3.1.1 ลูกเสือและเนตรนารี ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1-3 เข้าร่วมกิจกรรมการอยู่ค่าย

พักแรม ร้อยละ100

3.1.2 ลูกเสือและเนตรนารี ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4-6 เข้าร่วมกิจกรรมการอยู่ค่าย

พักแรม ร้อยละ100

3.1.3 ลูกเสือและเนตรนารี ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1-3 เข้าร่วมกิจกรรมการอยู่ค่าย

พักแรม ร้อยละ100

3.2 ด้านคุณภาพ

3.2.1 นักเรียนได้รับประสบการณ์ตรง

3.2.2 นักเรียนสามารถนำประสบการณ์ไปใช้ในชีวิตประจำวัน


23


4. เวลา และสถานที่ดำเนินการ
4.1 นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1-3 อยู่ค่ายพักแรม วันที่…………….…………….……………. พ.ศ. 2567

ณ……………………………………………………………………………………..........…………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………..........…………………………………………………………………………………………


4.2 นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4-6 อยู่ค่ายพักแรม วันที่…………….…………….……………. พ.ศ. 2567

ณ……………………………………………………………………………………..........…………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………..........…………………………………………………………………………………………

4.3 นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1-3 อยู่ค่ายพักแรม วันที่…………….…………….……………. พ.ศ. 2567
ณ……………………………………………………………………………………..........…………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………..........…………………………………………………………………………………………


5. การดำเนินงาน

ที่ กิจกรรม/ขั้นตอน ระยะเวลา ผู้รับผิดชอบ หมายเหตุ


1 ประชุมคณะครูวางแผนการปฏิบัติงาน ธันวาคม
นายสมชาย เทียมทอง
และมอบหมายการปฏิบัติงาน พ.ศ. 2566


2 กิจกรรมการเข้าค่าย
…………………………
ลูกเสือ – เนตรนารี นายสมชาย เทียมทอง
พ.ศ. 2567
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1-3

3 กิจกรรมการเข้าค่ายพักแรม
…………………………
ลูกเสือ – เนตรนารี นายสมชาย เทียมทอง
พ.ศ. 2567
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4-6

4 กิจกรรมการเข้าค่ายพักแรม
…………………………
ลูกเสือ – เนตรนารี นายสมชาย เทียมทอง
พ.ศ. 2567
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1-3

5 ประเมินผลการปฏิบัติงาน มีนาคม พ.ศ.2567 นายสมชาย เทียมทอง

6 สรุปรายงานผลการปฏิบัติงาน มีนาคม พ.ศ.2567 นายสมชาย เทียมทอง


24


6. งบประมาณ

ใช้งบประมาณแผนงาน บริหารวิชาการ (เงินพัฒนาผู้เรียน) โครงการเขาค่ายพักแรมลูกเสือ-

เนตรนารี รวมทั้งสิ้น 21,000 บาท (สองหมื่นหนึ่งพันบาทถ้วน) โดยขอถัวจ่ายทุกรายการภายในแต่ละ
กิจกรรม


เงินงบประมาณ
เงินนอก
ที่ กิจกรรม/รายการ ตอบ รวม
ใช้สอย วัสดุ รวม งบประมาณ
แทน

1 กิจกรรมการเข้าค่าย

ของลูกเสือ – เนตรนารี - 2,000 - 2,000 - 2,000

ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1-3

2 กิจกรรมการเข้าค่ายพักแรม

ของลูกเสือ – เนตรนารี - 8,000 - 8,000 - 8,000

ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4-6

3 กิจกรรมการเข้าค่ายพักแรม

ของลูกเสือ – เนตรนารี - 11,000 - 11,000 - 11,000

ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1-3

รวม - 21,000 - 21,000 - 21,000


25


7. การวัดและประเมินผล

ที่ ตัวชี้วัดความสำเร็จ วิธีการวัด เครื่องมือ

1 ร้อยละ 80 ของนักเรียนได้รับความรู้และ

ประสบการณ์ จากการฝึกอบรม

2 ร้อยละ 80 ของนักเรียนมีระเบียบวินัยและมีความ

สามัคคีในหมู่คณะ การปฏิบัติ แบบทดสอบ

3 ร้อยละ 80 ของนักเรียนสามารถนำความรู้ไปใช้ใน

ชีวิตประจำวันได้

4 ร้อยละ 80 ของนักเรียนรู้จักการช่วยเหลือสังคม



8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

8.1 นักเรียนได้รับความรู้และประสบการณ์จากการฝึกอบรม

8.2 นักเรียนมีระเบียบวินัยและมีความสามัคคีในหมู่คณะ

8.3 นักเรียนสามารถนำความรู้ไปใช้ในชีวิตประจำวันได้

8.4 นักเรียนรู้จักการช่วยเหลือสังคม





ลงชื่อ ผู้เสนอโครงการ

(นายสมชาย เทียมทอง)

ตำแหน่ง ครูชำนาญการพิเศษ





ลงชื่อ ผู้อนุมัติโครงการ


(นางสมมาศ นิศานารถ)

ผู้อำนวยการโรงเรียนวัดประชาสรรค์


26


โครงการ การพัฒนาห้องเรียนคุณภาพ
แผนงาน บริหารวิชาการ


สอดคล้องกับยุทธศาสตร์ชาติ ยุทธศาสตร์ที่ 3 การพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพศักยภาพคน
ยุทธศาสตร์ที่ 4 ด้านการสร้างโอกาสบนความเสมอภาคและความเท่า


เทียมกันทางสังคม

สนองมาตรฐานการศึกษา มาตรฐานที่ 1 คุณภาพผู้เรียนตามจุดมุ่งหมายของหลักสูตรและตาม

มาตรฐานการศึกษา

มาตรฐานที่ 3 ขยายโอกาสทางการศึกษาให้ทั่วถึง และเสมอภาค

ลักษณะโครงการ (  ) โครงการใหม่ ( ) โครงการต่อเนื่อง

ผู้รับผิดชอบโครงการ นางสมทรง รอดโย

ระยะเวลาดำเนินการ เดือน พฤษภาคม 2566 ถึง มีนาคม 2567

งบประมาณทั้งโครงการ 18,000 บาท


1. หลักการและเหตุผล



การจัดการเรียนการสอนตามพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2542 และที่แก้ไข


เพิ่มเติม ตามเปาหมายของหลักสูตรการศึกษาของชาติ เนนให้สถาบันการศึกษา ครู ผู้สอนต้องจัดการ

เรียนการสอนโดยเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ เน้นพัฒนาศักยภาพผู้เรียนให้เต็มตามศักยภาพ ให้เป็นคนดี

คนเก่ง และมีความสุขกับการเรียน ในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนนั้นจะต้องมีบรรยากาศที่เอื้อ

ต่อการเรียนรู้ ตามแนวทางดำเนินงานในการส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพหารศึกษาตามนโยบาย

จุดเน้นของสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครสวรรค์ เขต 3 ได้ส่งเสริมให้มีการจัด

ห้องเรียนคุณภาพ มีบรรยากาศเอื้อต่อการเรียนรู้ สะอาด เปนระบบ มีสื่ออุปกรณ์เทคโนโลยีที่ทันสมัย

จัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ สร้างขวัญและกำลังใจให้ผู้เรียนประสบผลสำเร็จ เพื่อเป็น

แนวทางในการพัฒนาคุณภาพการศึกษาต่อไป


ดังนั้น ทางโรงเรียนวัดประชาสรรค์จึงเห็นความสำคัญในการพัฒนานักเรียนทั้งทางด้าน

วิชาการ ทางด้านความคิด จิตใจ และทักษะชีวิตอื่น ๆ ควบคู่กันจึงได้จัดทำโครงการการพัฒนา

ห้องเรียนคุณภาพ เพื่อพัฒนาความรู้ความสามารถของนักเรียนได้อย่างเต็มศักยภาพ และให้นักเรียนมี

คุณภาพตามมาตรฐานที่ได้กำหนดไว้


27


2. วัตถุประสงค์
1. เพื่อพัฒนาผู้เรียนให้มีประสิทธิภาพในการเรียนรู้ให้มีประสิทธิภาพเพิ่มมากขึ้น


2. เพื่อพัฒนาการสอนของครูผู้สอนให้มีประสิทธิภาพ
3. เพื่อพัฒนาศักยภาพนักเรียนให้ได้มาตรฐาน


3. เป้าหมาย

3.1 ด้านปริมาณ

3.1.1. นักเรียนทุกคนได้รับความรู้ตามกระบวนการเรียนรู้

3.1.2. นักเรียนร้อยละ 80 ผ่านกิจกรรมตามเกณฑ์การประเมินกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน

3.2 ด้านคุณภาพ

3.2.1. นักเรียนมีความรู้ความสามารถและพัฒนาความรู้ต่อไป

3.2.2 นักเรียนนำเอาความรู้ที่ได้รับไปใช้ในชีวิตประจำวันได้

4. เวลา และสถานที่ดำเนินการ เดือน พฤษภาคม 2566 ถึง มีนาคม 2567

5. กิจกรรมและขั้นตอนการดำเนินงาน


ที่ รายการ/กิจกรรมสำคัญ ระยะเวลา งบประมาณ ผู้รับผิดชอบ


1 ประชุมชี้แจงวัตถุประสงค์ความจำเป็น 1.พ.ค.2566 นางสมทรง รอดโย

ในการจัดทำโครงการ


2 ประชุมครูแต่งตั้งคณะกรรมการเพื่อ 20.พ.ค.2566 ผู้บริหารโรงเรียน

กำหนดแนวทางการดำเนินการ วิธีการ นางสมทรง รอดโย

และหน้าที่ความรับผิดชอบ


3 ขออนุมัติโครงการจากผู้บริหาร 21.พ.ค.2566 นางสมทรง รอดโย


4 ดำเนินงานการพัฒนาห้องเรียนให้มี 1.มิ.ย.2566 ครูประจำชั้น/ประจำวิชา

คุณภาพตามแผนงานที่กำหนด


5 สรุป และประเมินผลโครงการ 31. มี.ค.2567 นางสมทรง รอดโย


28


6. งบประมาณรายรับ ทั้งหมด จำนวน 18,000.บาท


(✓) งบอุดหนุน จำนวน 18,000 บาท


ค่าใช้จ่าย
ที่ กิจกรรม/รายการ รวม
ตอบแทน ใช้สอย วัสดุ รวม



จัดหาวัสดุ สื่อ อุปกรณ์เพื่อตกแต่ง 18,000 18,000 18,000

ห้องเรียน
รวม 18,000 18,000 18,000





7. การวัดและประเมินผล
ที่ ตัวชี้วัดความสำเร็จ วิธีการวัด เครื่องมือ


1 ทุกห้องเรียนมีวัสดุ อุปกรณ์ สื่อ เอกสารประกอบการเรียน
การสอน ร้อยละ 80



2 ห้องเรียนทุกห้องเรียนมีการปรับปรุงและพัฒนาห้องเรียนด้วย การนิเทศ

สื่อ อุปกรณ์ ร้อยละ 80 ภายใน แบบนเทศภายใน


3 ครูจัดการเรียนการสอนตามวิชาที่ต้องใช้สื่ออุปกรณ์ เอกสาร
ประกอบการเรียนการสอนได้เต็มความสามารถ ร้อยละ 80


29


8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

8.1. นักเรียนมีผลสัมฤทธิ์ในการเรียนได้ดีขึ้น



8.2. นักเรียนมีความสุขในการเรียน


8.3. นักเรียนได้รับความรู้ประสบการณ์ที่แปลกใหม่










ลงชื่อ ผู้เสนอโครงการ

(นางสมทรง รอดโย)

ตำแหน่ง ครูชำนาญการพิเศษ





ลงชื่อ ผู้อนุมัติโครงการ


( นางสมมาศ นิศานารถ )
ผู้อำนวยการโรงเรียนวัดประชาสรรค์


30


โครงการ คุณธรรมจริยธรรม
แผนงาน บริหารวิชาการ


สอดคล้องกับยุทธศาสตร์ชาติ ข้อที่ 3 การพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพคน
สอดคล้องกับมาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของผู้เรียน


(1.1 ผลสัมฤทธิ์ทางวิชาการของผู้เรียน)
(1.2 คุณลักษณะที่พึงประสงค์ของผู้เรียน)

มาตรฐานที่ 3 กระบวนการจัดการเรียนการสอน

ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ

ลักษณะโครงการ ต่อเนื่อง

ผู้รับผิดชอบโครงการ นายนพดล เขียวเมือง

ระยะเวลาดำเนินการ ตลอดปีการศึกษา

งบประมาณทั้งโครงการ 5,000 บาท (เงินพัฒนาผู้เรียน)

………………………………………………………………………………………………………………..
1.หลักการและเหตุผล

ปัจจุบันสถานการณ์ปัญหาความไม่ปลอดภัยที่เกิดขึ้นกับเยาวชนในสังคมมีให้เห็นมากมายทั้ง

ในเชิงปริมาณและความรุนแรง ซึ่งปัญหาเหล่านี้ล้วนส่งผลกระทบต่อพัฒนาการของเด็กทั้งด้าน

ร่างกายและจิตใจ สติปัญญา ครอบครัวสังคม และประเทศชาติ อีกทั้งยังขาดการดูแลคุ้มครองสวัสดิ

ภาพและความปลอดภัยจากสังคมอย่างจริงจัง

ตามนโยบายของโรงเรียนวัดประชาสรรค์ ในเรื่องของคุณธรรม จริยธรรมที่ดีตามวิถีพุทธและ

การคุ้มครองสิทธิเด็ก มีนโยบายในการดูแลเด็กให้มีประสิทธิภาพ ให้มีพัฒนาการที่มีความสมบูรณ์

พร้อมทั้งร่างกาย จิตใจ สติปัญญา และความรู้ โดยการปลูกฝังคุณธรรม จริยธรรมและการดำรงชีพ

อย่างเปนสุขให้แก่นักเรียน เพื่อให้นักเรียนเป็นผู้มีคุณธรรม จริยธรรม มีสติใช้การดำเนนชีวิตไม่ถูกชัก


นำไปในทางเสื่อม ทางงานคุณธรรม จริยธรรมนักเรียนเล็งเหนว่า การที่นักเรียนมีศักยภาพของความ

เป็นพลโลกต้องมีการพัฒนาควบคู่กับหลักคุณธรรมเพื่อให้เยาวชนเป็นผู้มีคุณธรรม จริยธรรม มีจิตใจที่

ดีงาม มีความเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ ส่งเสริมให้ประพฤติปฏิบัติตามหลักของศาสนา และมีความสุขในการทำ

หน้าที่ในฐานะพลเมืองดีของประเทศชาติต่อไป


31


2. วัตถุประสงค ์
2.1 เพื่อปลูกฝังคุณธรรม จริยธรรม ให้นักเรียนรู้จักนำหลักธรรมไปใช้ในการดำเนินชีวิต


2.2 เพื่อให้นักเรียนเกิดความตระหนักในการเป็นคนดีมีคุณธรรมนำชีวิตมีความเอื้ออาทรกับ
ผู้อื่น


2.3 เพื่อให้นักเรียนสามารถปฏิบัติตนเป็นพุทธศาสนิกชนที่ดีตามแนววิถีพุทธ



3. เป้าหมาย

3.1 ด้านปริมาณ

3.1.1 นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1-3 เข้าร่วมกิจกรรม ร้อยละ100

3.1.2 นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4-6 เข้าร่วมกิจกรรม ร้อยละ100

3.1.3 นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1-3 เข้าร่วมกิจกรรม ร้อยละ100

3.2 ด้านคุณภาพ

3.2.1 นักเรียนมีคุณธรรม จริยธรรมและมีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ที่ดี

3.2.2 นักเรียนสามารถปฏิบัติตนเป็นพุทธศาสนิกชนที่ดีตามแนววิถีพุทธ



4. เวลา และสถานที่ดำเนินการ

ตลอดปีการศึกษา 2566 ณ โรงเรียนวัดประชาสรรค์ ตำบลสุขสำราญ อำเภอตากฟ้า

จังหวัดนครสวรรค์


32


5. การดำเนินงาน

ที่ กิจกรรม/ขั้นตอน ระยะเวลา ผู้รับผิดชอบ หมายเหตุ

1 ประชุมคณะครูวางแผนการปฏิบัติงาน พฤษภาคม นางสมมาศ นิศานารถ

และมอบหมายการปฏิบัติงาน พ.ศ. 2566 นายนพดล เขียวเมือง

2 กิจกรรมสวดมนตร์นั่งสมาธิประจำวัน ตลอดปีการศึกษา ครูประจำชั้น

3 กิจกรรมออมทรัพย์ ตลอดปีการศึกษา ครูประจำชั้น

4 กิจกรรมจิตอาสา ตลอดปีการศึกษา คณะครู

5 กิจกรรมลานธรรมทุกวันศุกร์ ตลอดปีการศึกษา คณะครู

6 กิจกรรมอบรมธรรมศึกษา สิงหาคม พ.ศ.2566 นายนพดล เขียวเมือง

7 ประเมินผลการปฏิบัติงาน มีนาคม พ.ศ.2567 นายนพดล เขียวเมือง

8 สรุปรายงานผลการปฏิบัติงาน มีนาคม พ.ศ.2567 นายนพดล เขียวเมือง



6. งบประมาณ

ใช้งบประมาณแผนงาน บริหารวิชาการ (เงินพัฒนาผู้เรียน) โครงการคุณธรรมจริยธรรม

รวมทั้งสิ้น 5,000 บาท (ห้าพันบาทถ้วน) โดยขอถัวจ่ายทุกรายการภายในแต่ละกิจกรรม

เงินงบประมาณ
เงินนอก
ที่ กิจกรรม/รายการ ตอบ รวม
ใช้สอย วัสดุ รวม งบประมาณ
แทน
1 กิจกรรมสวดมนตร์นั่งสมาธิ
- - - - - -
ประจำวัน

2 กิจกรรมออมทรัพย์ - - - - - -

3 กิจกรรมจิตอาสา - - - - - -

4 กิจกรรมลานธรรมทุกวันศุกร์ - - - - - -

5 กิจกรรมอบรมธรรมศึกษา 3,000 2,000 - 5,000 - 5,000

รวม 3,000 2,000 - 5,000 - 5,000


33


7. การวัดและประเมินผล

ที่ ตัวชี้วัดความสำเร็จ วิธีการวัด เครื่องมือ

1 ร้อยละ 80 ของนักเรียนเป็นผู้มีคุณธรรม จริยธรรม
ปฏิบัติตนตามหลักธรรมที่ตนเองนับถือ

2 ร้อยละ 80 ของนักเรียนมีคุณธรรม จริยธรรมและมี การนิเทศ

แบบนเทศภายใน
คุณลักษณะอันพึงประสงค์ที่ดี ภายใน
3 ร้อยละ 80 ของนักเรียนสามารถปฏิบัติตนเป็น

พุทธศาสนิกชนที่ดีตามแนววิถีพุทธ



8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

8.1 นักเรียนเป็นผู้มีคุณธรรม จริยธรรมปฏิบัติตนตามหลักธรรมที่ตนเองนับถือ

8.2 นักเรียนมีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ที่ดี และมีพฤติกรรมเชิงบวกมากขึ้น

8.3 นักเรียนสามารถปฏิบัติตนเป็นพุทธศาสนิกชนที่ดีตามแนววิถีพุทธ







ลงชื่อ ผู้เสนอโครงการ

(นายนพดล เขียวเมือง)

ตำแหน่ง ครูผู้ช่วย





ลงชื่อ ผู้อนุมัติโครงการ

( นางสมมาศ นิศานารถ )

ผู้อำนวยการโรงเรียนวัดประชาสรรค์


34


โครงการ อบรมคอมพิวเตอร์
แผนงาน บริหารวิชาการ


สอดคล้องกับยุทธศาสตร์ชาติ ข้อที่ 3 การพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพคน
สอดคล้องกับมาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของผู้เรียน


(1.1 ผลสัมฤทธิ์ทางวิชาการของผู้เรียน)
(1.2 คุณลักษณะที่พึงประสงค์ของผู้เรียน)

มาตรฐานที่ 3 กระบวนการจัดการเรียนการสอน

ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ

ลักษณะโครงการ ต่อเนื่อง

ผู้รับผิดชอบโครงการ นายนพดล เขียวเมือง

ระยะเวลาดำเนินการ กันยายน 2566

งบประมาณทั้งโครงการ 5,000 บาท (เงินพัฒนาผู้เรียน)

………………………………………………………………………………………………………………..
1.หลักการและเหตุผล

การศึกษาไทยในปัจจุบันได้ทำการพัฒนาให้ก้าวทันต่อโลกและความก้าวหน้าของเทคโนโลยี

ซึ่งการเรียนการสอนและการเรียนรู้ต่างๆ ไม่ได้สามารถที่เรียนอยู่ในห้องเรียนได้อย่างเดียว และการ

ประเมิลผลการเรียนรู้ก็สามารถประเมิลผลได้หลายทาง ซึ่งครูเป็นผู้ที่ต้องส่งเสริมให้การเรียนรู้แก่

ผู้เรียนในหลายๆ ด้าน ซึ่งการเรียนรู้เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์เป็นสิ่งสำคัญยิ่งในการเรียนรู้ การสืบค้น


ข้อมูลต่างๆ มีความจำเป็นที่ต้องใช้ควบคู่การเรียนรู้กับหลายวิชา คอมพิวเตอร์มีความจำเปนต่อการ
ดำรงชีวิตประจำวันของนักเรียนเป็นอย่างมาก โดยเฉพาะโลกในยุคปัจจุบันที่มีความก้าวหน้าทาง

เทคโนโลยีเพิ่มขึ้น จึงจำเป็นอย่างยิ่งที่นักเรียนจะต้องพัฒนาตัวองให้เป็นผู้รู้ ทันโลก ทันเหตุการณ์

และสามารถปรับตัวให้เข้ากับโลกที่เปลี่ยนปลงไปได้

การจัดกิจกรรมอบรมคอมพิวเตอร์ก็เป็นรูปแบบหนึ่งของการจัดกิจกรรมในการเสริมสร้าง



ประสบการณ์การเรียนรู้ให้กับนักเรียน โรงเรียนวัดประชาสรรค์จึงได้เล็งเหนความสำคัญของปญหานี้
เป็นอย่างมาก จึงได้จัดทำโครงการนี้ขึ้นมาเพื่อให้เป็นไปตามหลักการและเหตุผลดังกล่าว


35


2. วัตถุประสงค ์
2.1 เพื่อพัฒนาความรู้ทางด้านคอมพิวเตอร์ให้แก่นักเรียน


2.2 เพื่อให้นักเรียนสามารถใช้คอมพิวเตอร์ได้
2.3 เพื่อให้นักเรียนสามารถรู้จักตนเอง ยอมรับสภาพตัวตนและการพัฒนาตนเอง


2.4 เพื่อให้นักเรียนสามารถสืบค้นข้อมูลผ่านเครือข่ายคอมพิวเตอร์ได้

3. เป้าหมาย

3.1 ด้านปริมาณ

3.1.1 นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1-3 เข้าร่วมกิจกรรม ร้อยละ100

3.1.2 นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4-6 เข้าร่วมกิจกรรม ร้อยละ100

3.1.3 นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1-3 เข้าร่วมกิจกรรม ร้อยละ100

3.2 ด้านคุณภาพ

3.2.1 นักเรียนได้รับความรู้ทางด้านคอมพิวเตอร์

3.2.2 นักเรียนสามารถใช้คอมพิวเตอร์ได้ดี มีคุณธรรม และถูกต้อง



4. เวลา และสถานที่ดำเนินการ

ตลอดปีการศึกษา 2566 ณ โรงเรียนวัดประชาสรรค์ ตำบลสุขสำราญ อำเภอตากฟ้า

จังหวัดนครสวรรค์



5. การดำเนินงาน

ที่ กิจกรรม/ขั้นตอน ระยะเวลา ผู้รับผิดชอบ หมายเหตุ

1 ประชุมคณะครูวางแผนการปฏิบัติงาน ผู้อำนวยการโรงเรียน/
สิงหาคม พ.ศ.2566
และมอบหมายการปฏิบัติงาน นายนพดล เขียวเมือง

2 จ้างวิทยากรภายนอก กันยายน พ.ศ.2566 นายนพดล เขียวเมือง

3 ประเมินผลการปฏิบัติงาน ตุลาคม พ.ศ.2566 นายนพดล เขียวเมือง

4 สรุปรายงานผลการปฏิบัติงาน ตุลาคม พ.ศ.2566 นายนพดล เขียวเมือง


36


6. งบประมาณ
ใช้งบประมาณแผนงาน บริหารวิชาการ (เงินพัฒนาผู้เรียน) โครงการอบรมคอมพิวเตอร์


รวมทั้งสิ้น 5,000บาท (ห้าพันบาทถ้วน) โดยขอถัวจ่ายทุกรายการภายในแต่ละกิจกรรม

เงินงบประมาณ
เงินนอก
ที่ กิจกรรม/รายการ ตอบ รวม
ใช้สอย วัสดุ รวม งบประมาณ
แทน

1 จ้างวิทยากรภายนอก 1,000 4,000 - 5,000 - 5,000


รวม 1,000 4,000 - 5,000 - 5,000



7. การวัดและประเมินผล

ที่ ตัวชี้วัดความสำเร็จ วิธีการวัด เครื่องมือ

1 ร้อยละ 80 ของนักเรียนได้รับความรู้ทางด้าน

คอมพิวเตอร์
สอบถาม แบบสอบถาม
2 ร้อยละ 80 ของนักเรียนสามารถใช้คอมพิวเตอร์ได้ดี
มีคุณธรรม และถูกต้อง



8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

8.1 นักเรียนได้รับความรู้ทางด้านคอมพิวเตอร์

8.2 นักเรียนสามารถใช้คอมพิวเตอร์ได้ดี มีคุณธรรม และถูกต้อง



ลงชื่อ ผู้เสนอโครงการ

(นายนพดล เขียวเมือง)

ตำแหน่ง ครูผู้ช่วย



ลงชื่อ ผู้อนุมัติโครงการ


( นางสมมาศ นิศานารถ )

ผู้อำนวยการโรงเรียนวัดประชาสรรค์


37


โครงการ ทัศนศึกษาแหล่งเรียนรู้
แผนงาน บริหารวิชาการ


สอดคล้องกับยุทธศาสตร์ชาติ ข้อที่ 3 การพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพคน
สอดคล้องกับมาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของผู้เรียน


(1.1 ผลสัมฤทธิ์ทางวิชาการของผู้เรียน)
(1.2 คุณลักษณะที่พึงประสงค์ของผู้เรียน)

มาตรฐานที่ 3 กระบวนการจัดการเรียนการสอน

ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ

ลักษณะโครงการ ต่อเนื่อง

ผู้รับผิดชอบโครงการ นางสาวธัญญลักษณ์ ต่วนชะเอม

ระยะเวลาดำเนินการ ตุลาคม 2566

งบประมาณทั้งโครงการ 24,000 บาท (เงินพัฒนาผู้เรียน)

………………………………………………………………………………………………………………..
1.หลักการและเหตุผล

การจัดการศึกษาในปัจจุบันได้มุ่งเน้นให้ผู้เรียนได้เรียนรู้เรื่องราวต่างๆ ตามสภาพแวดล้อมที่

เป็นจริง จากประสบการณ์ของตนเอง โดยผสมผสานความรู้ต่างๆ อย่างสมดุล มุ่งเน้นในเรื่องของ

ความรู้ คุณธรรม กระบวนการเรียนรู้และบูรณาการความรู้ต่างๆ ตามความเหมาะสม รวมทั้งจัด

กิจกรรมให้ผู้เรียนได้เรียนรู้ จากประสบการณ์จริงโดยผสมผสานสาระความรู้ในด้านต่างๆ อย่างได้

สัดส่วนและสมดุลกัน

การศึกษาแหล่งเรียนรู้ เป็นกิจกรรมการเรียนการสอนที่สำคัญซึ่งจะช่วยให้ผู้เรียนได้มีโอกาส

เรียนรู้ด้วยตนเองทำให้ได้รับความรู้ ความเข้าใจในเรื่องที่ศึกษาอย่างแท้จริง ทั้งยังเป็นการเสริมสร้าง

ประสบการณ์การเรียนรู้ให้แก่ผู้เรียนอย่างสมบูรณ์มากยิ่งขึ้น เพราะการนำนักเรียนไปทัศนศึกษาถือว่า

เป็นวิธีการที่ทำให้ผู้เรียนได้รับประสบการณ์ตรงในการเรียนรู้และสามารถพัฒนาผู้เรียนในด้านร่างกาย

ด้านอารมณ์ ด้านสังคมและด้านสติปัญญา อีกทั้งเสริมสร้างความสามัคคีในหมู่คณะ ตลอดจนได้รับ


ึ้
การศึกษาทั้ง 8 สาระแบบบูรณาการจึงได้จัดทำโครงการนี้ขนเพื่อเปนเพิ่มพูนและส่งเสริมสมรรถภาพ
ของผู้เรียนให้ดียิ่งขึ้น


38


2. วัตถุประสงค ์
2.1 เพื่อส่งเสริมให้นักเรียนมีพัฒนาคุณลักษณะที่ดี มีหูตากว้างไกล รู้ทันเหตุการณ์


2.2 เพื่อส่งเสริมให้นักเรียนเกิดความคิด ความสร้างสรรค์ กล้าคิด กล้าตัดสินใจ แก้ไข
ปัญหา ได้ถูกต้องเหมาะสม


2.3 เพื่อส่งเสริมให้นักเรียนได้เปลี่ยนบรรยากาศ ในการเรียนรู้ด้วยตนเอง และได้รับ

ประสบการณ์ตรง



3. เป้าหมาย

3.1 ด้านปริมาณ

3.1.1 นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1-3 เข้าร่วมกิจกรรม ร้อยละ100

3.1.2 นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4-6 เข้าร่วมกิจกรรม ร้อยละ100

3.1.3 นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1-3 เข้าร่วมกิจกรรม ร้อยละ100

3.2 ด้านคุณภาพ

3.2.1 นักเรียนมีพัฒนาคุณลักษณะที่ดี มีหูตากว้างไกล รู้ทันเหตุการณ์

3.2.2 นักเรียนเกิดความคิด ความสร้างสรรค์ กล้าคิด กล้าตัดสินใจ แก้ไข

ปัญหา ได้ถูกต้องเหมาะสม

3.2.3 นักเรียนได้เปลี่ยนบรรยากาศ ในการเรียนรู้ด้วยตนเอง และได้รับ

ประสบการณ์ตรง



4. เวลา และสถานที่ดำเนินการ

เดือน ตุลาคม 2566 ณ ……………………………………………..……………………………………

…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….


39


5. การดำเนินงาน

ที่ กิจกรรม/ขั้นตอน ระยะเวลา ผู้รับผิดชอบ หมายเหตุ

1 ประชุมคณะครูวางแผนการปฏิบัติงาน ผู้อำนวยการโรงเรียน/
กันยายน พ.ศ.2566
และมอบหมายการปฏิบัติงาน นางสาวธัญญลักษณ์ ต่วนชะเอม

2 กิจกรรมทัศนศึกษาแหล่งเรียนรู้ ตุลาคม พ.ศ.2566 นางสาวธัญญลักษณ์ ต่วนชะเอม

3 ประเมินผลการปฏิบัติงาน ตุลาคม พ.ศ.2566 นางสาวธัญญลักษณ์ ต่วนชะเอม

4 สรุปรายงานผลการปฏิบัติงาน ตุลาคม พ.ศ.2566 นางสาวธัญญลักษณ์ ต่วนชะเอม



6. งบประมาณ

ใช้งบประมาณแผนงาน บริหารวิชาการ (เงินพัฒนาผู้เรียน) โครงการทัศนศึกษาแหล่งเรียนรู้

รวมทั้งสิ้น 24,000 บาท (สองหมื่นสี่พันบาทถ้วน) โดยขอถัวจ่ายทุกรายการภายในแต่ละกิจกรรม

เงินงบประมาณ
เงินนอก
ที่ กิจกรรม/รายการ ตอบ รวม
ใช้สอย วัสดุ รวม งบประมาณ
แทน

1 กิจกรรมทัศนศึกษาแหล่งเรียนรู้ - 24,000 - 24,000 - 24,000



รวม - 24,000 - 24,000 - 24,000



7. การวัดและประเมินผล

ที่ ตัวชี้วัดความสำเร็จ วิธีการวัด เครื่องมือ

1 ร้อยละ 80 ของนักเรียนมีพัฒนาคุณลักษณะที่ดี มีหู

ตากว้างไกล รู้ทันเหตุการณ์
2 ร้อยละ 80 ของนักเรียนเกิดความคิด ความสร้างสรรค์ สอบถาม แบบสอบถาม

กล้าคิด กล้าตัดสินใจ แก้ไขปัญหาได้ถูกต้องเหมาะสม

3 ร้อยละ 80 ของนักเรียนได้เปลี่ยนบรรยากาศ ในการ

เรียนรู้ด้วยตนเอง และได้รับประสบการณ์ตรง


40


8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ
8.1 นักเรียนมีพัฒนาคุณลักษณะที่ดี มีหูตากว้างไกล รู้ทันเหตุการณ์


8.2 นักเรียนเกิดความคิด ความสร้างสรรค์ กล้าคิด กล้าตัดสินใจ แก้ไขปัญหา ได้ถูกต้อง
เหมาะสม


8.3 นักเรียนได้เปลี่ยนบรรยากาศ ในการเรียนรู้ด้วยตนเอง และได้รับประสบการณ์ตรง







ลงชื่อ ผู้เสนอโครงการ

(นางสาวธัญญลักษณ์ ต่วนชะเอม)

ตำแหน่ง ครู







ลงชื่อ ผู้อนุมัติโครงการ

( นางสมมาศ นิศานารถ )

ผู้อำนวยการโรงเรียนวัดประชาสรรค์


41


โครงการ ค่ายภาษาอังกฤษพาเพลิน
(English camp is fun)


แผนงาน บริหารวิชาการ
สอดคล้องกับยุทธศาสตร์ชาติ ข้อที่ 3 การพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพคน


สอดคล้องกับมาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของผู้เรียน

(1.1 ผลสัมฤทธิ์ทางวิชาการของผู้เรียน)
(1.2 คุณลักษณะที่พึงประสงค์ของผู้เรียน)

มาตรฐานที่ 3 กระบวนการจัดการเรียนการสอน

ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ

ลักษณะโครงการ ต่อเนื่อง

ผู้รับผิดชอบโครงการ นางสาวบุญธิดา แก้วทอง

ระยะเวลาดำเนินการ ธันวาคม 2566

งบประมาณทั้งโครงการ 6,720 บาท (เงินพัฒนาผู้เรียน)

………………………………………………………………………………………………………………..
1.หลักการและเหตุผล

ปัจจุบันนี้ ภาษาอังกฤษมีความสำคัญอย่างมากในการดำรงชีวิต ไม่ว่าจะเป็นการ

ติดต่อสื่อสารระหว่างประเทศการเจรจาติดต่อธุรกิจ การใช้ในการทำงาน และการศึกษาใน

สถานศึกษา ภาษาอังกฤษมีบทบาทสำคัญทางด้านการติดต่อสื่อสารระหว่างชนชาติต่างๆ ซึ่งไม่ได้

จำกัดเฉพาะเจ้าของภาษา (native speakers) ที่ใช้ภาษาอังกฤษเท่านั้น แต่ภาษาอังกฤษยิ่งทวี

ความสำคัญมากยิ่งขึ้น จนกลายเป็นภาษาสากลนานาชาติ (English as an international


language) ในการติดต่อสื่อสารระหว่างประเทศ เปนภาษาสำคัญในด้านการศึกษา จัดเป็นสื่อสำคัญ
นำไปสู่ความก้าวหนาทางวิชาการ และเป็นพื้นฐานสำคัญสำหรับการศึกษาในระดับสูงขนไป ประกอบ
ึ้

กับการเตรียมตัวพลเมืองของประเทศไทยเข้าสู่การเป็นประคมอาเซียน (ASEAN) ยิ่งมีความ

จำเป็นต้องเร่งรัดการจัดการเรียนการสอนภาษาอังกฤษให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น


ดังนั้น ข้าพเจ้าได้ตระหนกถึงความสำคัญของความรู้ทางภาษาอังกฤษสำหรับนักเรียนให้ได้มี
ประสบการณ์การเรียนรู้ภาษาอังกฤษอย่างสนุกสนาน จึงได้จัดกิจกรรมค่ายภาษาอังกฤษพาเพลิน

(English camp is fun) สำหรับนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 ถึง ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3

โรงเรียนวัดประชาสรรค์ ตำบลสุขสำราญ อำเภอตากฟ้า จังหวัดนครสวรรค์ การจัดค่าย


42



ภาษาอังกฤษเปนการจัดการเรียนการสอนที่สอดคล้องกับรายวิชาภาษาอังกฤษ เน้นให้ผู้เรียนมีความ
สนใจและมีทัศนคติที่ดีในการเรียนภาษาอังกฤษ ได้เรียนรู้ภาษาอังกฤษนอกห้องเรียนฝึกภาษาจาก


กิจกรรมต่างๆ เช่น การฟังเรื่องเล่านิทาน เกมจับคู่คำศัพท์และรูปภาพ และการใบ้คำศัพท์
ภาษาอังกฤษ เป็นต้น กิจกรรมเหล่านี้สามารถส่งเสริมผู้เรียนให้เรียนรู้ภาษาอังกฤษด้วยความ


สนุกสนาน กล้าแสดงออก และเพิ่มพูนประสบการณ์ ทักษะทางภาษาให้กับผู้เรียนเป็นอย่างดี



2. วัตถุประสงค ์

2.1 เพื่อให้นักเรียนมีความรู้เพิ่มมากขึ้นในการเรียนรู้วิชาภาษาอังกฤษ

2.2 เพื่อให้นักเรียนมีความสนุกสนานในการเรียนรู้วิชาภาษาอังกฤษ

2.3 เพื่อให้นักเรียนมีความมั่นใจในการใช้ภาษาอังกฤษ

2.4 เพื่อให้นักเรียนมีทัศนคติที่ดีต่อวิชาภาษาอังกฤษ

2.5 เพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนภาษาอังกฤษของนักเรียน



3. เป้าหมาย

3.1 ด้านปริมาณ

3.1.1 นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1-3 เข้าร่วมกิจกรรม ร้อยละ100

3.1.2 นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4-6 เข้าร่วมกิจกรรม ร้อยละ100

3.1.3 นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1-3 เข้าร่วมกิจกรรม ร้อยละ100

3.2 ด้านคุณภาพ

3.2.1 นักเรียนมีความรู้เพิ่มมากขึ้นในการเรียนรู้วิชาภาษาอังกฤษ

3.2.2 นักเรียนมีความสนุกสนานในการเรียนรู้วิชาภาษาอังกฤษ

3.2.3 นักเรียนมีความมั่นใจในการใช้ภาษาอังกฤษ

3.2.4 นักเรียนมีทัศนคติที่ดีต่อวิชาภาษาอังกฤษ

3.2.5 นักเรียนมีพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนภาษาอังกฤษที่ดีขึ้น


43


4. เวลา และสถานที่ดำเนินการ
เดือน ธันวาคม 2566 ณ โรงเรียนวัดประชาสรรค์ ตำบลสุขสำราญ อำเภอตากฟ้า


จังหวัดนครสวรรค์



5. การดำเนินงาน

ที่ กิจกรรม/ขั้นตอน ระยะเวลา ผู้รับผิดชอบ หมายเหตุ

1 ประชุมคณะครูวางแผนการปฏิบัติงาน พฤศจิกายน ผู้อำนวยการโรงเรียน/

และมอบหมายการปฏิบัติงาน พ.ศ.2566

2 กิจกรรม Christmas Day

3 กิจกรรมเข้าค่ายภาษาอังกฤษพาเพลิน ธันวาคม พ.ศ.2566 นางสาวบุญธิดา แก้วทอง

(English camp is fun)

4 ประเมินผลการปฏิบัติงาน มกราคม พ.ศ.2567 นางสาวบุญธิดา แก้วทอง

5 สรุปรายงานผลการปฏิบัติงาน มกราคม พ.ศ.2567 นางสาวบุญธิดา แก้วทอง



6. งบประมาณ

ใช้งบประมาณแผนงาน บริหารวิชาการ (เงินพัฒนาผู้เรียน) โครงการค่ายภาษาอังกฤษพา

เพลิน (English camp is fun) รวมทั้งสิ้น 6,720 บาท (หกพันเจ็ดร้อยยี่สิบบาทถ้วน) โดยขอถัวจ่าย

ทุกรายการภายในแต่ละกิจกรรม

เงินงบประมาณ
เงินนอก
ที่ กิจกรรม/รายการ ตอบ รวม
ใช้สอย วัสดุ รวม งบประมาณ
แทน

1 กิจกรรม Christmas Day - 2,000 - 2,000 - 2,000



2 กิจกรรมเข้าค่ายภาษาอังกฤษพา
- 2,720 2,000 4,720 - 4,720
เพลิน (English camp is fun)

รวม - 4,720 2,000 6,720 - 6,720


44


7. การวัดและประเมินผล

ที่ ตัวชี้วัดความสำเร็จ วิธีการวัด เครื่องมือ

1 ร้อยละ 70 ของนักเรียนมีความรู้เพิ่มมากขึ้นในการ
เรียนรู้วิชาภาษาอังกฤษ

2 ร้อยละ 70 ของนักเรียนมีความสนุกสนานในการ

เรียนรู้วิชาภาษาอังกฤษ
3 ร้อยละ 70 ของนักเรียนมีความมั่นใจในการใช้
สอบถาม แบบสอบถาม
ภาษาอังกฤษ

4 ร้อยละ 70 ของนักเรียนมีทัศนคติที่ดีต่อวิชา

ภาษาอังกฤษ
5 ร้อยละ 70 ของนักเรียนมีพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการ

เรียนภาษาอังกฤษที่ดีขึ้น


8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

8.1 นักเรียนมีความรู้เพิ่มมากขึ้นในการเรียนรู้วิชาภาษาอังกฤษ

8.2 นักเรียนมีความสนุกสนานในการเรียนรู้วิชาภาษาอังกฤษ

8.3 นักเรียนมีความมั่นใจในการใช้ภาษาอังกฤษ

8.4 นักเรียนมีทัศนคติที่ดีต่อวิชาภาษาอังกฤษ

8.5 นักเรียนมีพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนภาษาอังกฤษที่ดีขึ้น





ลงชื่อ ผู้เสนอโครงการ

(นางสาวบุญธิดา แก้วทอง)

ตำแหน่ง ครู




ลงชื่อ ผู้อนุมัติโครงการ

( นางสมมาศ นิศานารถ )

ผู้อำนวยการโรงเรียนวัดประชาสรรค์


45


โครงการ ส่งเสริม สนับสนุนเอกสารงานวิชาการ
แผนงาน บริหารวิชาการ


สอดคล้องกับยุทธศาสตร์ชาติ ข้อที่ 6 การปรับสมดุลและพัฒนา ระบบการ
บริหารจัดการภาครัฐ


สอดคล้องกับมาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบริหารและการ
จัดการ

ลักษณะโครงการ ต่อเนื่อง

ผู้รับผิดชอบโครงการ นายนพดล เขียวเมือง นางสาวชุติมา ฉุนอิ่ม

ระยะเวลาดำเนินการ ตลอดปีการศึกษา

งบประมาณทั้งโครงการ 2,700 บาท (เงินอุดหนุน)

………………………………………………………………………………………………………………..
1. หลักการและเหตุผล


งานบริหารวิชาการเปนงานหลักของโรงเรียน เป็นหัวใจสำคัญของการบริหารจัดการโรงเรียน
โรงเรียนที่มีการบริหารจัดการที่ดี งานวิชาการก็จะประสบผลสำเร็จเป็นอย่างดี ผลสัมฤทธิ์ทางการ

เรียนของนักเรียนจะเปนตัวสะท้อนประสิทธิภาพในการทำงานของโรงเรียนว่ามีประสิทธิภาพมากน้อย

เพียงใด การบริหารงานวิชาการไม่ได้หมายถงเฉพาะการจัดการเรียนการสอนเท่านั้น แต่หมายรวมถึง

การจัดทำเอกสาร ปรับปรุงหลักสูตรสถานศึกษา ปรับปรุงหลักสูตรกลุ่มสาระต่างๆ แผนพัฒนา

คุณภาพการศึกษา แผนปฏิบัติการประจำปี รายงายผลการดำเนินงานโครงการ และรายงานการ

ประเมินตนเองของสถานศึกษา (SAR) ซึ่งเป็นงานหลักของงานวิชาการ

โรงเรียนวัดประชาสรรค์จัดการเรียนการสอนโดยมุ่งเน้นด้านวิชาการเป็นสำคัญ ให้


ความสำคัญกับเอกสารด้านวิชาการ ไม่ว่าจะเปน แบบเรียน แบบรายงานผลต่างๆ ที่ต้องมีการจัดทำ
อย่างเปนระบบ ดังนั้นทางโรงเรียนจึงได้จะจัดทำโครงการนี้ขึ้นเพื่อเป็นการสนับสนุนการบริหารงาน

ด้านวิชาการด้านเอกสารโดยเฉพาะ เพื่อประสิทธิภาพในการบริหารจัดการด้านวิชาการอย่างมี

ประสิทธิภาพ



2. วัตถุประสงค ์

2.1 เพื่อความสะดวก และความถูกต้องในการบริหารจัดการด้านเอกสารงานวิชาการ

2.2 เพื่อการบริหารจัดการด้านเอกสารงานวิชาการอย่างมีคุณภาพ


46


3. เป้าหมาย
3.1 ด้านปริมาณ


3.1.1 โรงเรียนมีการปรับปรุงหลักสูตรสถานศึกษา ปรับปรุงหลักสูตรกลุ่มสาระต่างๆ
แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา แผนปฏิบัติการประจำปี รายงายผลการดำเนินงาน-


โครงการ และรายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (SAR) เป็นไปด้วยความ

เรียบร้อย ร้อยละ 80

3.2 ด้านคุณภาพ

3.2.1 การบริหารงานวิชาการด้านเอกสารเป็นไปด้วยความเรียบร้อย ทันต่อเวลา

3.2.2 โรงเรียนมีข้อมูลสารสนเทศด้านการบริหารงานวิชาการที่มีประสิทธิภาพ เป็น

ประโยชน์ต่อนักเรียนและโรงเรียน

4. เวลา และสถานที่ดำเนินการ

ตลอดปีการศึกษา 2566 ณ โรงเรียนวัดประชาสรรค์ ตำบลสุขสำราญ อำเภอตากฟ้า
จังหวัดนครสวรรค์


5. การดำเนินงาน

ที่ กิจกรรม/ขั้นตอน ระยะเวลา ผู้รับผิดชอบ หมายเหตุ

1 ประชุมคณะครูวางแผนการปฏิบัติงาน พฤษภาคม
และมอบหมายการปฏิบัติงาน พ.ศ. 2566 ผู้อำนวยการโรงเรียน

2 ปรับปรุงหลักสูตรสถานศึกษา นายนพดล เขียวเมือง
มิถุนายน พ.ศ.2566
นางสาวชุติมา ฉุนอิ่ม
3 ปรับปรุงหลักสูตรกลุ่มสาระต่างๆ มิถุนายน พ.ศ.2566 นายนพดล นางสาวชุติมา

4 แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา มิถุนายน พ.ศ.2566 นายนพดล นางสาวชุติมา

5 แผนปฏิบัติการประจำปี มิถุนายน พ.ศ.2566 นางสมทรง รอดโย

6 รายงายผลการดำเนินงานโครงการ เมื่อสิ้นสุดโครงการ ผู้รับผิชอบโครงการ

7 รายงานการประเมินตนเองของ มีนาคม พ.ศ.2567 นายนพดล นางสาวชุติมา

สถานศึกษา (SAR)

8 ประเมินผลการปฏิบัติงาน มีนาคม พ.ศ.2567 นายนพดล นางสาวชุติมา

9 สรุปรายงานผลการปฏิบัติงาน มีนาคม พ.ศ.2567 นายนพดล นางสาวชุติมา


47


6. งบประมาณ
ใช้งบประมาณแผนงาน บริหารวิชาการ (เงินอุดหนุน) โครงการส่งเสริม สนับสนุนเอกสาร


งานวิชาการ รวมทั้งสิ้น 2,700 บาท (สองพันเจ็ดร้อยบาทถ้วน) โดยขอถัวจ่ายทุกรายการภายในแต่ละ
กิจกรรม


เงินงบประมาณ
เงินนอก
ที่ กิจกรรม/รายการ ตอบ รวม
ใช้สอย วัสดุ รวม งบประมาณ
แทน

1 ปรับปรุงหลักสูตรสถานศึกษา - 300 - 300 - 300

2 ปรับปรุงหลักสูตรกลุ่มสาระต่างๆ - 500 - 500 - 500

3 แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา - 300 - 300 - 300

4 แผนปฏิบัติการประจำปี - 300 - 300 - 300

5 รายงายผลการดำเนินงานโครงการ - 1,000 - 1,000 - 1,000

6 รายงานการประเมินตนเองของ
- 300 - 300 - 300
สถานศึกษา (SAR)

รวม - 2,700 - 2,700 2,700



7. การวัดและประเมินผล

ที่ ตัวชี้วัดความสำเร็จ วิธีการวัด เครื่องมือ

1 โรงเรียนมีการปรับปรุงหลักสูตรสถานศึกษา ปรับปรุงหลักสูตร


กลุ่มสาระต่างๆ แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา แผนปฏิบัติการ-
สอบถาม แบบสอบถาม
ประจำปี รายงายผลการดำเนินงานโครงการ และรายงานการ


ประเมินตนเองของสถานศึกษา (SAR) ร้อยละ 80


48



8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ


8.1 โรงเรียนมีการปรับปรุงหลักสูตรสถานศึกษา ปรับปรุงหลักสูตรกลุ่มสาระต่างๆ
แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา แผนปฏิบัติการประจำปี รายงายผลการดำเนินงานโครงการ


และรายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (SAR) เป็นไปด้วยความเรียบร้อย

8.2 การบริหารจัดการด้านเอกสารอย่างเป็นระบบ มีประสิทธิภาพ สะดวกต่อการ

สืบค้น







ลงชื่อ ผู้เสนอโครงการ

(นางสาวชุติมา ฉุนอิ่ม)

ตำแหน่ง ครู







ลงชื่อ ผู้อนุมัติโครงการ

( นางสมมาศ นิศานารถ )

ผู้อำนวยการโรงเรียนวัดประชาสรรค์


49


โครงการ เรียนรู้สู่อาชีพ
แผนงาน บริหารวิชาการ


สอดคล้องกับยุทธศาสตร์ชาติ ข้อที่ 2 การสร้างความสามารถในการแข่งขัน
สอดคล้องกับมาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของผู้เรียน


(1.3 ผลสัมฤทธิ์ทางวิชาการของผู้เรียน)
(1.4 คุณลักษณะที่พึงประสงค์ของผู้เรียน)

มาตรฐานที่ 3 กระบวนการจัดการเรียนการสอน

ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ

ลักษณะโครงการ ต่อเนื่อง

ผู้รับผิดชอบโครงการ นายสมชาย เทียมทอง

ระยะเวลาดำเนินการ ตลอดปีการศึกษา

งบประมาณทั้งโครงการ 6,000 บาท (เงินอุดหนุน)

………………………………………………………………………………………………………………..
1. หลักการและเหตุผล

หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 สนองการกระจายอำนาจ

ให้สังคมมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษาให้สอดคล้องกับสภาพและความต้องการของท้องถิ่นและเปิด

โอกาสให้สถานศึกษาได้จัดกิจกรรมการเรียนการสอน เพื่อส่งเสริมให้ผู้เรียนได้เรียนรู้จาก

ประสบการณ์ การฝึกปฏิบัติจริง สิ่งที่สนใจในท้องถิ่น และนำไปเป็นพื้นฐานในการประกอบอาชีพ


ตลอดทั้งหารายได้เสริมให้กับตนเองและครอบครัวเปนอย่างดี โรงเรียนจึงจัดโครงการเรียนรู้สู่อาชีพ
ให้แก่ผู้เรียนตามความสนใจ ได้แก่ กิจกรรมฝึกทักษะวิชาชีพ งานไฟฟ้าในบ้าน งานเชื่อมโลหะ การ

ประกอบและแปรรูปอาหารเพื่อสุขภาพคาวหวาน การนำวัสดุที่เหลือใช้มาประดิษฐ์เป็นของใช้และ

ของเล่น อีกทั้งโรงเรียนวัดประชาสรรค์ ได้เข้าร่วมพิธีลงนามความร่วมมือ บันทึกข้อตกลง (MOU)

ห้องเรียนอาชีพในโรงเรียนมัธยม กับ วิทยาลัยเทคโนโลยีและการจัดการตากฟ้า เพื่อเพิ่มความรู้ด้าน

ทฤษฎีและภาคปฏิบัติ ส่งเสริมให้นักเรียนได้รับประสบการณ์จริง สามารถนำไปปฏิบัติงานได้เมื่อจบ

หลักสูตร และสามารถนำไปต่อยอดสร้างเป็นอาชีพได้


50


2. วัตถุประสงค ์
2.1 เพื่อให้นักเรียนได้รับประสบการณ์ตรงและฝึกปฏิบัติจริง



2.2 เพื่อให้นักเรียนมีทักษะพื้นฐานในการประกอบอาชีพ และสามารถนำไปต่อยอดสร้างเปน
อาชีพได้




3. เป้าหมาย

3.1 ด้านปริมาณ

3.1.1 นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1-3 เข้าร่วมกิจกรรม ร้อยละ100

3.1.2 นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4-6 เข้าร่วมกิจกรรม ร้อยละ100

3.1.3 นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1-3 เข้าร่วมกิจกรรม ร้อยละ100

3.2 ด้านคุณภาพ

3.2.1 นักเรียนได้รับประสบการณ์ตรงและฝึกปฏิบัติจริง

3.2.2 นักเรียนมีทักษะพื้นฐานในการประกอบอาชีพ และสามารถนำไปต่อยอดสร้าง

เป็นอาชีพได้



4. เวลา และสถานที่ดำเนินการ

ตลอดปีการศึกษา 2566 ณ โรงเรียนวัดประชาสรรค์ ตำบลสุขสำราญ อำเภอตากฟ้า

จังหวัดนครสวรรค์ และ วิทยาลัยเทคโนโลยีและการจัดการตากฟ้า ตำบลตากฟ้า อำเภอตากฟ้า

จังหวัดนครสวรรค์


51


5. การดำเนินงาน

ที่ กิจกรรม/ขั้นตอน ระยะเวลา ผู้รับผิดชอบ หมายเหตุ

1 ประชุมคณะครูวางแผนการปฏิบัติงาน พฤษภาคม
นายสมชาย เทียมทอง
และมอบหมายการปฏิบัติงาน พ.ศ. 2566

2 กิจกรรมไฟฟ้าในบ้าน ภาคเรียนที่ 1/2566 นายสมชาย เทียมทอง

3 กิจกรรมเชื่อมโลหะ ภาคเรียนที่ 2/2566 นายสมชาย เทียมทอง

4 กิจกรรมประชาสรรค์บาร์เบอร์ ภาคเรียนที่ 2/2566 นายสมชาย เทียมทอง

5 ประเมินผลการปฏิบัติงาน มีนาคม พ.ศ.2567 นายสมชาย เทียมทอง

6 สรุปรายงานผลการปฏิบัติงาน มีนาคม พ.ศ.2567 นายสมชาย เทียมทอง


6. งบประมาณ


ใช้งบประมาณแผนงาน บริหารวิชาการ (เงินอุดหนุน) โครงการเรียนรู้สู่อาชีพ รวมทั้งสิ้น
6,000 บาท (หกพันบาทถ้วน) โดยขอถัวจ่ายทุกรายการภายในแต่ละกิจกรรม


เงินงบประมาณ
เงินนอก
ที่ กิจกรรม/รายการ ตอบ รวม
ใช้สอย วัสดุ รวม งบประมาณ
แทน

1 กิจกรรมไฟฟ้าในบ้าน - - 2,000 2,000 - 2,000

2 กิจกรรมเชื่อมโลหะ - - 2,000 2,000 - 2,000

3 กิจกรรมประชาสรรค์บาร์เบอร์ 2,000 2,000 2,000


รวม - - 6,000 6,000 6,000

7. การวัดและประเมินผล

ที่ ตัวชี้วัดความสำเร็จ วิธีการวัด เครื่องมือ

1 ร้อยละ 80 ของนักเรียนได้รับประสบการณ์ตรงและ

ฝึกปฏิบัติจริง

2 ร้อยละ 80 ของนักเรียนมีทักษะพื้นฐานในการ การปฏิบัติ แบบทดสอบ


ประกอบอาชีพ และสามารถนำไปต่อยอดสร้างเป็น
อาชีพได้


52


8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ
8.1 นักเรียนได้รับประสบการณ์ตรงและฝึกปฏิบัติจริง


8.2 นักเรียนมีทักษะพื้นฐานในการประกอบอาชีพ และสามารถนำไปต่อยอดสร้างเป็น
อาชีพได้








ลงชื่อ ผู้เสนอโครงการ

(นายสมชาย เทียมทอง)

ตำแหน่ง ครูชำนาญการพิเศษ







ลงชื่อ ผู้อนุมัติโครงการ

( นางสมมาศ นิศานารถ )

ผู้อำนวยการโรงเรียนวัดประชาสรรค์


53


โครงการ พัฒนาทักษะการเรียนรู้วิชาภาษาไทย
แผนงาน บริหารวิชาการ


สอดคล้องกับยุทธศาสตร์ชาติ ข้อที่ 3 การพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพคน
สอดคล้องกับมาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของผู้เรียน


(1.1 ผลสัมฤทธิ์ทางวิชาการของผู้เรียน)
(1.2 คุณลักษณะที่พึงประสงค์ของผู้เรียน)

มาตรฐานที่ 3 กระบวนการจัดการเรียนการสอน

ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ

ลักษณะโครงการ ต่อเนื่อง

ผู้รับผิดชอบโครงการ นางสมทรง รอดโย

ระยะเวลาดำเนินการ ตลอดปีการศึกษา

งบประมาณทั้งโครงการ 15,000 บาท (เงินอุดหนุน)

25,000บาท (เงินนอกงบประมาณ)

รวม 40,000บาท

………………………………………………………………………………………………………………..
1.หลักการและเหตุผล

ภาษาไทยมีความสำคัญทั้งในฐานะที่เป็นภาษาประจำชาติ เป็นมรดกทางวัฒนธรรมของชาติ

การใช้ภาษาจึงเป็นทักษะที่ผู้ใช้ต้องฝึกฝนให้เกิดความชำนาญไม่ว่าจะเป็นการอ่าน คิดวิเคราะห์

การเขียน การพูด และการดู รวมทั้งต้องใช้ให้ถูกต้องตามหลักเกณฑ์ทางภาษาเพื่อสื่อสารให้เกิด

ประสิทธิภาพและใช้อย่างคล่องแคล่ว มีวิจารณญาณ มีคุณธรรม และมีนิสัยรักการอ่าน ถ้านักเรียนมี

ความรู้ความสามารถในกลุ่มนี้อย่างเหมาะสมกับระดับชั้นแล้ว จะทำให้การเรียนการสอนในกลุ่ม

ประสบการณ์อื่นจะดำเนินได้ด้วยความราบรื่นและมีประสิทธิภาพ

สภาพปัจจุบัน ผลจากการประเมินด้านการอ่านของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 และชั้น

ประถมศึกษาปีที่ 6 พบว่านักเรียนมีผลการประเมินการอ่านอยู่ในระดับปรับปรุงและอ่านไม่ได้ จำนวน


หนึ่ง โรงเรียนวัดประชาสรรค์มีความต้องการให้นักเรียนมีความรู้ ความสามารถในการอ่านและเขยน

ในกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทยอยู่ในเกณฑ์ดี โดยจัดให้การเรียนการสอนมุ่งเน้นผู้เรียนเปนสำคัญ
พร้อมทั้งพัฒนาการอ่าน เขียน ฟัง ดู และการพูดไปพร้อมกัน เพื่อให้นักเรียนมีโอกาสเรียนรู้ด้วย

ตนเอง ซึ่งจะช่วยให้นักเรียนได้พัฒนาอย่างเต็มศักยภาพอีกทางหนึ่ง


54


2. วัตถุประสงค์
2.1 เพื่อยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทยให้มีค่าเฉลี่ยสูงกว่า


ร้อยละ 70
2.2 เพื่อให้ผู้เรียนมีทักษะในการแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง รักการเรียนรู้ และพัฒนาตนเอง


อย่างต่อเนื่อง

2.3 เพื่อให้นักเรียนมีความสามารถในการคิดอย่างเป็นระบบ คิดสร้างสรรค์ตัดสินใจแก้ปัญหา

ได้อย่างมีสติสมเหตุสมผล

2.4 เพื่อพัฒนาผู้เรียนมีความรู้และทักษะที่จำเป็นตามหลักสูตร

2.5 เพื่อซ่อมเสริมนักเรียนที่อ่านไม่คล่อง เขียนไม่คล่องให้มีพัฒนาการดียิ่งขึ้น



3. เป้าหมาย

3.1 ด้านปริมาณ

3.1.1 ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทยนักเรียนชั้น

ประถมศึกษาปีที่ 1- 6 มีค่าเฉลี่ยสูงกว่าร้อยละ 70

3.2 ด้านคุณภาพ

3.2.1 นักเรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทยชั้น

ประถมศึกษาปีที่ 1- 6 มีค่าเฉลี่ยสูงกว่าเป้าหมายที่ตั้งไว้

3.2.2 ผู้เรียนมีทักษะในการแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง รักการเรียนรู้ และพัฒนา

ตนเองอย่างต่อเนื่อง

3.2.3 ผู้เรียนคิดอย่างเป็นระบบ คิดสร้างสรรค์ตัดสินใจแก้ปัญหาได้อย่างมีสติ

สมเหตุสมผล

3.2.4 ผู้เรียนมีความรู้และทักษะที่จำเป็นตามหลักสูตร

3.2.5 ผู้เรียนที่อ่านไม่คล่อง เขียนไม่คล่องได้รับการสอนให้มีพัฒนาการดียิ่งขึ้น


55


4. เวลา และสถานที่ดำเนินการ
ตลอดปีการศึกษา 2566 ณ โรงเรียนวัดประชาสรรค์ ตำบลสุขสำราญ อำเภอตากฟ้า


จังหวัดนครสวรรค์



5. การดำเนินงาน

ที่ กิจกรรม/ขั้นตอน ระยะเวลา ผู้รับผิดชอบ หมายเหตุ

1 ประชุมคณะครูวางแผนการปฏิบัติงาน พฤษภาคม
ผู้อำนวยการโรงเรียน
และมอบหมายการปฏิบัติงาน พ.ศ. 2566

2 จ้างวิทยากรภายนอก ตลอดปีการศึกษา นางสมทรง รอดโย

3 ประเมินผลการปฏิบัติงาน มีนาคม พ.ศ.2567 นางสมทรง รอดโย

4 สรุปรายงานผลการปฏิบัติงาน มีนาคม พ.ศ.2567 นายสมชาย เทียมทอง



6. งบประมาณ

ใช้งบประมาณแผนงาน บริหารวิชาการ (เงนอุดหนุน) โครงการพัฒนาทักษะการเรียนรู้วิชา

ภาษาไทย รวมทั้งสิ้น 40,000บาท (สี่หมื่นบาทถ้วน) โดยขอถัวจ่ายทุกรายการภายในแต่ละกิจกรรม

เงินงบประมาณ
เงินนอก
ที่ กิจกรรม/รายการ ตอบ รวม
ใช้สอย วัสดุ รวม งบประมาณ
แทน

1 จ้างวิทยากรภายนอก 15,000 - - 15,000 25,000 40,000

รวม 15,000 - - 15,000 25,000 40,000


56


7. การวัดและประเมินผล

ที่ ตัวชี้วัดความสำเร็จ วิธีการวัด เครื่องมือ

1 ร้อยละ 80 ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1- 6 มี

ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนในกลุ่มสาระการเรียนรู้

ภาษาไทย มีค่าเฉลี่ยสูงกว่าร้อยละ 70

2 ร้อยละ 80 ของนักเรียนมีทักษะในการแสวงหาความรู้

ด้วยตนเอง รักการเรียนรู้ และพัฒนาตนเองอย่าง

ต่อเนื่อง

3 ร้อยละ 80 ของนักเรียนผู้เรียนคิดอย่างเป็นระบบ ทดสอบ แบบทดสอบ

คิดสร้างสรรค์ตัดสินใจแก้ปัญหาได้อย่างมีสติ

สมเหตุสมผล

4 ร้อยละ 80 ของนักเรียนมีความรู้และทักษะที่จำเป็น


ตามหลักสูตร
5 ร้อยละ 80 ของนักเรียนที่อ่านไม่คล่อง เขียนไม่คล่อง

ได้รับการสอนให้มีพัฒนาการดียิ่งขึ้น



8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ


8.1 นักเรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทยสูงกว่าเป้าหมายที่
กำหนดไว้


8.2 นักเรียนมีมีทักษะการอ่าน คิดวิเคราะห์และเขียน
8.3 นักเรียนมีทักษะการฟัง การดู การพูดและการใช้ภาษา


8.4 นักเรียนมีการพัฒนาเต็มตามศักยภาพทางด้านภาษาไทย โดยยึดหลักคุณธรรมนำ

ความรู้

8.5 นักเรียนอ่านคล่องและเขียนคล่องตามเกณฑ์ของชั้นเรียน


57



ลงชื่อ ผู้เสนอโครงการ


(นางสมทรง รอดโย)
ตำแหน่ง ครูชำนาญการพิเศษ








ลงชื่อ ผู้อนุมัติโครงการ

( นางสมมาศ นิศานารถ )

ผู้อำนวยการโรงเรียนวัดประชาสรรค์


Click to View FlipBook Version