The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

ตัวอย่างแผนฯ วิทยาศาสตร์ชีวภาพ

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by pthubhom, 2021-03-29 10:06:23

ตัวอย่างแผนฯ วิทยาศาสตร์ชีวภาพ

ตัวอย่างแผนฯ วิทยาศาสตร์ชีวภาพ

แผนการจดั การเรียนรู้
รายวิชา วิทยาศาสตรช์ ีวภาพ รหสั วชิ า ว31101

กลุ่มสาระการเรียนรวู้ ิทยาศาสตร์
ช้ันมธั ยมศึกษาปีที่ 4

นายพงศกร ธปู หอม รหัสนิสติ 59205720

แผนการจัดการเรียนรู้นี้เปน็ ส่วนหนงึ่ ของการฝกึ ประสบการณ์วิชาชพี ครู
หลักสูตรการศกึ ษาบัณฑิต

สาขาวชิ าการศกึ ษา แขนงวิชาชีววทิ ยา
วิทยาลยั การศกึ ษา มหาวิทยาลยั พะเยา

ภาคการศกึ ษาที่ 1
พุทธศักราช 2563



แผนการจัดการเรียนรทู้ ี่ 1

กลมุ่ สาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์ โรงเรียนทาขุมเงินวิทยาคาร

รายวิชา ว31101 วิทยาศาสตรช์ ีวภาพ ชั้นมัธยมศกึ ษาปีที่ 4 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศกึ ษา 2563

หนว่ ยการเรียนรู้ที่ 1 การลำเลียงสารเขา้ และออกจากเซลล์ เร่อื ง กล้องจุลทรรศน์ใช้แสงเชิงประกอบ

จำนวน 5 ชั่วโมง เวลาสอน 1 ชัว่ โมง

ผสู้ อน นายพงศกร ธปู หอม

1. สาระสำคัญ

เซลล์มีการลำเลียงสารเข้าและออกจากเซลล์ โดยมีการควบคุมทั้งชนิดและปริมาณสารที่ผ่าน

เข้าออก กระบวนการนี้ทำให้เซลล์รักษาดุลยภาพไว้ได้และเซลล์สามารถทำงานได้ตามปกติ ซึ่ง

ส่งผลใหส้ ิ่งมีชีวติ ดำรงชีวติ อยู่ได้

เยื่อหุ้มเซลล์ทำหน้าที่เป็นเยื่อเลือกผ่านในการลำเลียงสาร โดยโครงสร้างและสมบัติของเยื่อหุ้ม

เซลล์มีความสัมพันธ์กับการลำเลียงสารซึ่งมีหลายวิธี เช่น การแพร่แบบธรรมดา ออสโมซิส การ

แพรแ่ บบฟาซิลิเทต แอกทีฟทรานสปอร์ต เอนโดไซโทซิส และเอกโซไซโทซิส

2. มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชีว้ ัด

สาระท่ี 1 วิทยาศาสตร์ชวี ภาพ

มาตรฐาน ว1.2 เข้าใจสมบัติของสิ่งมีชีวิต หน่วยพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต การลำเลียงสารผ่านเซลล์

ความสัมพันธ์ของโครงสร้าง และหน้าที่ของระบบต่าง ๆ ของสัตว์และมนุษย์ที่ทำงานสัมพันธ์กัน

ความสัมพันธ์ของโครงสร้างและหน้าที่ของอวัยวะต่าง ๆ ของพืชที่ทำงานสัมพันธ์กัน รวมทั้งนำ

ความรไู้ ปใช้ประโยชน์

ตัวชี้วัด ม.4/1 อธิบายโครงสร้างและสมบัติของเยื่อหุ้มเซลล์ที่สัมพันธ์กับการลำเลียงสาร และ

เปรียบเทียบการลำเลียงสารผ่านเยื่อหุ้มเซลลแ์ บบต่าง ๆ

3. จุดประสงค์การเรียนรู้

1. อธิบายโครงสรา้ งและขนั้ ตอนของกล้องจลุ ทรรศน์แบบใช้แสงเชิงประกอบ

2. ปฏิบัติการใช้กล้องจุลทรรศนแ์ บบใช้แสงเชงิ ประกอบ

3. มีความใฝ่เรียนรู้

4. สาระการเรียนรู้

เยื่อหุ้มเซลล์มีโครงสรา้ งเป็นเยือ่ หมุ้ เซลลส์ องชน้ั ทีม่ ีลพิ ิดเปน็ องคป์ ระกอบ และมีโปรตีนแทรกอยู่

สารทีล่ ะลายได้ในลิพิดและสารที่มีขนาดเลก็ สามารถแพร่ผ่านเยื่อหุ้มเซลล์ได้โดยตรง ส่วนสาร

ขนาดเล็กที่มีประจุต้องลำเลียงผ่านโปรตีนที่แทรกอยู่ที่เยื่อหุ้มเซลล์ ซึ่งมี 2 แบบ คือ การแพร่

แบบฟาซิลิเทต และแอกทีฟทรานสปอร์ต ในกรณีสารขนาดใหญ่ เช่น โปรตีน จะลำเลียงเข้าโดย

กระบวนการเอนโดไซโทซิส หรอื ลำเลียงออกโดยกระบวนการเอกโซไซโทซิส

5. สมรรถนะสำคญั ของผู้เรยี นและคุณลักษณะอันพึงประสงค์

สมรรถนะสำคัญของผเู้ รียน คณุ ลักษณะอันพึงประสงค์

1. ความสามารถในการส่อื สาร 1. มวี ินยั

2. ความสามารถในการคิด 2. ใฝ่เรยี นรู้

1) ทักษะการวิเคราะห์ 3. มงุ่ ม่ันในการทำงาน

2) ทักษะการสำรวจค้นหา

3) ทกั ษะการสอ่ื สาร

4) ทักษะการลงความเห็นจากข้อมูล

3. ความสามารถในการใช้ทักษะชีวติ

6. กิจกรรมการเรยี นรู้
สืบเสาะหาความรู้ (5Es Instructional Model)

ชว่ั โมงที่ 1
ข้นั นำ

กระต้นุ ความสนใจ (Engage)
1. ครูตั้งประเด็นคำถามโดยใช้ภาพถ่ายจากกล้องจุลทรรศน์ประเภทต่าง ๆ ตัวอย่างเช่น
ภาพถ่ายละอองเรณูจากล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอนแบบส่องกราด ภาพพารามีเซียมจาก
กล้องจุลทรรศน์แบบใช้แสง ภาพองค์ประกอบภายในเซลล์จากกล้องจลุ ทรรศน์อิเล็กตรอน
แบบส่องผา่ น ภาพส่วนประกอบของแมลงจากล้องสเตอริโอ

ขนั้ สอน
สำรวจคน้ หา (Explore)
1. ครูแบ่งกลุ่มนักเรียนกลุ่มละ 3-4 คน เพื่อศึกษาส่วนประกอบต่าง ๆ ของกล้องจุลทรรศน์
แบบใช้แสง
2. ฝึกปฏิบัติวิธีการใช้ การเก็บ การดูแลรักษากล้องจุลทรรศน์ หรือศึกษาควบคู่กับการดู
วิดีทัศนเ์ รอื่ งการใช้กล้องจลุ ทรรศน์
อธิบายความรู้ (Explain)
1. ครใู หน้ กั เรียนทบทวนขั้นตอนปฏิบตั ิวิธีการใช้กล้องจุลทรรศน์
2. ครูควรให้นักเรียนได้ตระหนังถึงข้อควรระวังในการใช้กล้องจุลทรรศน์ ตลอดจนการเก็บ
รกั ษากล้องจุลทรรศน์เพราะเป็นอุปกณณ์ทีร่ าคาแพงและอาจชำรุดงา่ ย

ข้ันสรุป
ขยายความเขา้ ใจ (Elaborate)
1. ครูให้ความรู้เพิ่มเติมเกี่ยวกับกล้องจุลทรรศน์ โดยกล้องจุลทรรศน์จำแนกได้เป็น 2 ชนิด
คือ 1) กล้องจุลทรรศน์ใช้แสง 2) กล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอน และกล้องจุลทรรศน์ใช้แสง
แบ่งออกเป็น 2 ชนิด ได้แก่ 1) กล้องจุลทรรศน์ใช้แสงเชิงประกอบ 2. กล้องจุลทรรศน์ใช้
แสงแบบสเตอริโอ และกล้องจุลทรรศน์ใช้แสงเชิงประกอบ จะได้ลักษณะภาพเสมือนหัว
กลับและกลับซ้ายขวา
ตรวจสอบ (Evaluate)
1. ครูประเมิลผล โดยการสังเกตการณ์ตอบคำตอบคำถาม การร่วมกันทำผลงาน และการ
นำเสนอผลงาน
2. ครวู ดั และประเมนิ การปฏิบตั ิการใชก้ ล้องจุลทรรศนแ์ บบใช้แสงเชิงประกอบ
3. ครูวัดและประเมนิ ผลจากการปฏิบตั ิการใชก้ ล้องจลุ ทรรศน์แบบใช้แสงเชิงประกอบ

7. การวดั และประเมินผล

รายการวัด วิธีการวัด เครือ่ งมือ เกณฑ์การ

ประเมิน

ด้านความรู้ (K)

1. อธิบายโครงสร้างและ - แบบฝกึ หดั - แบบตรวจแบบฝกึ หดั - ร้อยละ 60 ผ่าน

ข้ันตอนของกล้อง สว่ นประกอบและ สว่ นประกอบและ เกณฑ์

จุลทรรศนแ์ บบใช้แสง วิธีการใชข้ อง วิธีการใชข้ องกล้อง

เชงิ ประกอบ กล้องจลุ ทรรศน์ใช้ จุลทรรศน์ใช้แสงเชิง

แสงเชิงประกอบ ประกอบ

ด้านทกั ษะและ

กระบวนการ (P)

1. ปฏิบตั ิกิจกรรมลองทำ - การปฏิบตั ิการใช้ - แบบประเมินการ - ระดบั คณุ ภาพ

ดู แก๊ส กล้องจลุ ทรรศน์ ปฏิบตั ิการใช้กล้อง พอใช้ ผ่านเกณฑ์

คาร์บอนไดออกไซด์ แบบใช้แสงเชิง จุลทรรศน์แบบใช้แสง

กับอณุ หภมู ิอากาศ ประกอบ เชงิ ประกอบ

- การนำเสนอผลงาน - แบบประเมินการ - ระดบั คณุ ภาพ

- สงั เกตพฤติกรรม นำเสนอผลงาน พอใช้ ผ่านเกณฑ์

การทำงานกลมุ่ แบบสังเกตพฤติกรรม - ระดบั คุณภาพ

การทำงานกลุม่ พอใช้ ผ่านเกณฑ์

รายการวดั วิธีการวัด เครื่องมือ เกณฑก์ าร
ประเมิน
ด้านคณุ ลกั ษณะอนั พึง - สังเกตคุณลักษณะ - แบบประเมิน
ประสงค์ (A) - ระดบั คุณภาพ
1. มีความมงุ่ มั่นในการ อนั พึงประสงค์ คณุ ลกั ษณะอันพึง พอใช้ ผ่านเกณฑ์
ทำงาน

ประสงค์

8. สื่อ/แหลง่ การเรยี นรู้
8.1 ชิ้นงาน/ภาระงาน
1) แบบฝกึ หัดส่วนประกอบและวิธีการใช้ของกล้องจลุ ทรรศนใ์ ช้แสงเชิงประกอบ
8.1 สือ่ การเรยี นรู้
1) หนงั สือเรียนรายวิชาพืน้ ฐานวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี วิทยาศาสตรช์ ีวภาพ
2) วิดีทศั น์ เรอ่ื ง การใช้กล้องจุลทรรศน์ (https://youtu.be/USZ1eUA4-yM)
8.2 แหล่งการเรยี นรู้
1) หอ้ งเรียน
2) หอ้ งสมุด
3) บริเวณโรงเรียน

แบบประเมินการปฏิบตั ิการใชก้ ล้องจลุ ทรรศนแ์ บบใชแ้ สงเชิงประกอบ

คำชี้แจง ใหผ้ ปู้ ระเมินทำเครอ่ื งหมาย  ในชอ่ งทตี่ รงกับความเป็นจริง

ขั้นตอนการ บอก บอกหน้าที่

ลำดับ ชือ่ - สกลุ ปฏิบัติการใช้ สว่ นประกอบ ส่วนประกอบ รวม
ที่ กล้อง ของกล้อง ของกล้อง (15)

จุลทรรศน์ จลุ ทรรศน์ จลุ ทรรศน์ คะแนน

54321 54321 54321

1 นายอนวิ ัต ฟยี

2 นายณฐั วฒุ ิ หม่นื ทรา

3 นายพิทักษ์ ตยุ้ กาศ

4 นายวัชรพงษ์ นันตากาศ

5 นายจตุ รพล คำวงษา

6 นายชนญั ญู ขนเขยี ว

7 นายณฐั พงศ์ ใจยะกาศ

8 นายธีธชั ก๋าแกว้

9 นายนครนิ ทร์ คำกาศ

10 นายศิวกร ศริ พิ รสวรรค์

11 นายธญั พสิ ษิ ฐ์ ปญั ญาหลา้

12 นายอดเิ ทพ ใจดี

13 นายอดศิ ักด์ิ หัวนะราษฎร์

14 นางสาวอังคณา ยะกาศ

15 นางสาวกนั ธชิ า ขนาดฐิติ

16 นางสาวชุตกิ าญจน์ เขาทองพันธ์ุ

17 นางสาวนำ้ ผ้งึ ขนาดกนก

18 นางสาวปรชิ าติ ขนาดกำจร

19 นางสาวพลอยไพลิน ปโุ ปคำ

20 นางสาวศศิกานต์ หลา้ บุญตนั

21 นางสาวสรลั นชุ โสทะธง

22 นางสาวสุพตั รา ย่างกุลนนั ท์

23 นางสาวนนั ทิชา ชยั วงั

24 นางสาวเบญญาภา ลงุ นะ

25 นางสาวภัทรสร หม่ืนจ้ี
26 นางสาวมาริษา วงศ์เงนิ
27 นางสาวสพุ รรษา กอนแสง
28 นางสาวณฐั สุดา มาหมื่น
29 นางสาวนวนนั ท์ ผลศรธี ิ
30 นางสาวชลธชิ า พมิ พ์ลา
31 นางสาวสุนิสา ทิพย์ประเสริฐ
32 นางสาวอภสิ รา นุกาศ

ลงชือ่ .....................................ผปู้ ระเมิน
(นายพงศกร ธปู หอม)

ประเด็นการ เกณฑ์การให้คะแนน
ประเมิน
5 43 2 1
1. ขั้นตอนการ ปฏิบัติได้ ปฏิบัติ
ปฏิบัติการใช้ ถกู ต้องทกุ ปฏิบัติ ปฏิบัติ ปฏิบตั ิ ผดิ พลาด 4
กล้อง ขั้นตอน ข้ันตอนขนึ้ ไป
จลุ ทรรศน์ ผดิ พลาด 1 ผดิ พลาด 2 ผดิ พลาด 3

2. บอก ขั้นตอน ขั้นตอน ขั้นตอน
ส่วนประกอบ
ของกล้อง บอก บอก บอก บอก บอก
จุลทรรศน์
สว่ นประกอบ สว่ นประกอบ สว่ นประกอบ สว่ นประกอบ ส่วนประกอบ
3. บอกหน้าที่
สว่ นประกอบ ของกล้อง ของกล้อง ของกล้อง ของกล้อง ของกล้อง
ของกล้อง
จุลทรรศน์ จุลทรรศน์ จลุ ทรรศน์ จุลทรรศน์ จลุ ทรรศน์ จลุ ทรรศน์

ถกู ต้อง ผดิ พลาด 1 ผดิ พลาด 2 จุด ผดิ พลาด 3 จดุ ผดิ พลาด 4 จุด

ท้ังหมด จุด ขนึ้ ไป

บอกหน้าที่ บอกหน้าที่ บอกหน้าที่ บอกหน้าที่ บอกหน้าที่

ส่วนประกอบ ส่วนประกอบ ส่วนประกอบ สว่ นประกอบ สว่ นประกอบ

ของกล้อง ของกล้อง ของกล้อง ของกล้อง ของกล้อง

จลุ ทรรศน์ จลุ ทรรศน์ จลุ ทรรศน์ จลุ ทรรศน์ จุลทรรศน์

ถูกต้อง ผดิ พลาด 1 ผดิ พลาด 2 จดุ ผดิ พลาด 3 จดุ ผดิ พลาด 4 จดุ

ทั้งหมด จุด ขึน้ ไป

เกณฑก์ ารตดั สินคณุ ภาพ
คะแนน 14 - 15 หมายถึง ดีมาก
คะแนน 11 - 13 หมายถึง ดี
คะแนน 8 - 10 หมายถึง ปานกลาง
คะแนน 6 – 7 หมายถึง พอใช้
คะแนน 3 – 5 หมายถึง ปรบั ปรุง

เกณฑ์การประเมิน : ผา่ นเกณฑ์เฉลี่ยปานกลางขึน้ ไป ถือว่า ผ่านเกณฑ์ประเมิน

แบบประเมินการนำเสนอผลงาน

กลุ่มที่.................................. เรอ่ื ง..............................................................................................................................

รายวิชา............................................................... รหสั วิชา........................... ชั้นมธั ยมศกึ ษาปีที่.............................

คำชีแ้ จง ใหผ้ สู้ อนประเมินการนำเสนอผลงานของนกั เรียนตามรายการทกี่ ำหนด แล้วขีด  ลงในชอ่ ง ที่ตรง

กบั ระดบั คะแนน

ลำดับท่ี รายการประเมิน ระดบั คะแนน รวม หมาย
4321 เหตุ

1 นำเสนอเน้ือหาในผลงานได้ถกู ต้อง

2 ความสมบูรณข์ องเน้ือหา

3 ใช้แหลง่ ข้อมูลทีห่ ลากหลายและนา่ เชื่อถือ

4 การนำเสนอมีความน่าสนใจ

5 มีการจดั รูปแบบที่เหมาะสม

6 การมีส่วนร่วมของสมาชิกในกลมุ่

7 ความตรงต่อเวลาในการสง่ งาน

คะแนนรวม

ลงชื่อ.....................................ผปู้ ระเมิน
(นายพงศกร ธปู หอม)

เกณฑ์การตัดสินคุณภาพ
คะแนน 24 - 28 หมายถึง ดีมาก
คะแนน 18 - 23 หมายถึง ดี
คะแนน 13 – 17 หมายถึง พอใช้
คะแนน 7-12 หมายถึง ปรบั ปรุง

เกณฑก์ ารประเมิน : ผา่ นเกณฑ์เฉลี่ยพอใช้ข้ึนไป ถือว่า ผ่านเกณฑ์ประเมิน

ประเดน็ การ เกณฑก์ ารใหค้ ะแนน

ประเมิน 4 3 2 1

1. นำเสนอเนื้อหา เนื้อหาถูกต้อง เนื้อหาผดิ พลาด 1 เนื้อหาผดิ ลพาด 2 เนื้อหาผดิ ตั้งแต่ 3

ในผลงานได้ สมบรู ณ์ จดุ จุด จดุ ขึน้ ไป

ถูกต้อง

2. ความสมบูรณ์ เน้ือหาสมบรู ณ์ เนื้อหาไม่สมบรู ณ์ เน้ือหาไมส่ มบูรณ์ เน้ือหาไม่สมบรู ณ์

ของเน้ือหา ครบถว้ นในทกุ ขาดหายไป 1 ด้าน ขาดหายไป 2 ด้าน ขาดหายไปต้ังแต่ 3

ด้าน ด้านขึน้ ไป

3. ใช้แหลง่ ข้อมูลที่ ใช้แหล่งข้อมูลที่ ใช้แหล่งข้อมลู ที่ ใช้แหล่งข้อมลู ที่ ใช้แหลง่ ข้อมูลที่

หลากหลายและ นา่ เชื่อถือมากกวา่ นา่ เชือ่ ถือจำนวน น่าเชื่อถือจำนวน น่าเชือ่ ถือเพียง

น่าเชื่อถือ 5 แหล่ง 5-4 แหลง่ 3-2 แหลง่ แหล่งเดียว

4. การนำเสนอมี การนำเสนอ การนำเสนอ การนำเสนอ การนำเสนอ

ความนา่ สนใจ นา่ สนใจในระดบั นา่ สนใจในระดบั นา่ สนใจในระดบั น่าสนใจในระดบั

มากทีส่ ุด มาก ปานกลาง น้อย

5. มีการจัดรูปแบบ การจัดวางรูปแบบ การจัดวางรปู แบบ การจดั วางรูปแบบ การจดั วางรูปแบบ

ทีเ่ หมาะสม เหมาะสมในระดบั เหมาะสมในระดบั เหมาะสมในระดบั เหมาะสมในระดบั

มากที่สุด มาก ปานกลาง น้อย

6. การมีส่วนร่วม แสดงออกถึงความ แสดงออกถึงความ แสดงออกถึงความ แสดงออกถึงความ

ของสมาชิกใน สามคั คีกันในกลุม่ สามคั คีกนั ในกล่มุ สามัคคีกันในกลมุ่ สามคั คีกนั ในกลมุ่

กลมุ่ เป็นอยา่ งมาก ในบางคร้ัง น้อย

7. ความตรงตอ่ ตรงตอ่ เวลาในการ ตรงตอ่ เวลาในการ ตรงตอ่ เวลาในการ ตรงตอ่ เวลาในการ

เวลาในการสง่ ทำกิจกรรมทุก ทำกิจกรรมสว่ น ทำกิจกรรมร้อยละ ทำกิจกรรมน้อย

งาน กิจกรรม ใหญ่ 50 ของกิจกรรม

ทั้งหมด

แบบประเมินพฤติกรรมการทำงานกลุ่ม

คำชีแ้ จง ใหผ้ ปู้ ระเมินทำเครอ่ื งหมาย  ในชอ่ งทตี่ รงกบั ความเปน็ จริง

มีส่วนรว่ มใน มีความ รับผิดชอบใน มีขัน้ ตอนใน ใชเ้ วลาในการ
กลมุ่ การแสดง กระตอื รอื รน้ งานทไ่ี ดร้ ับ การทำงาน ทำงานอย่าง คะแนน
ที่ ความคดิ เห็น ในการทำงาน มอบหมาย อย่างเปน็ เหมาะสม รวม

ระบบ

4321 4 3 2 1 4321 4321 4321

1

2

3

4

5

ลงชือ่ .....................................ผปู้ ระเมิน
(นายพงศกร ธปู หอม)

เกณฑก์ ารใหค้ ะแนน หมายถึง นกั เรียนสามารถปฏิบตั ไิ ด้มากกว่าร้อยละ 71
หมายถึง นกั เรียนสามารถปฏิบัตไิ ด้รอ้ ยละ 61 - 70
มาก = 4 คะแนน หมายถึง นักเรียนสามารถปฏิบตั ไิ ด้รอ้ ยละ 51 - 60
ปานกลาง = 3 คะแนน หมายถึง นักเรียนสามารถปฏิบตั ไิ ด้น้อยกวา่ ร้อยละ 50
น้อย = 2 คะแนน

น้อยที่สุด = 1 คะแนน

เกณฑ์การตัดสินคณุ ภาพ
คะแนน 18 - 20 หมายถึง ดีมาก
คะแนน 13 - 17 หมายถึง ดี
คะแนน 9 – 12 หมายถึง พอใช้
คะแนน 5 – 8 หมายถึง ปรบั ปรงุ

เกณฑก์ ารประเมิน : ผา่ นเกณฑเ์ ฉลี่ยพอใช้ข้นึ ไป ถือวา่ ผ่านเกณฑ์ประเมิน

แบบประเมินคณุ ลกั ษณะอนั พึงประสงค์

คำชี้แจง ใหผ้ ปู้ ระเมินทำเครอ่ื งหมาย  ในชอ่ งทตี่ รงกบั ความเปน็ จริง

ลำดบั ชือ่ - สกุล มีวนิ ยั ใฝเ่ รียนรู้ มีความมุ่งมน่ั รวม
ที่ ในการทำงาน (15)
คะแนน

54321 54321 54321

1 นายอนิวตั ฟยี

2 นายณฐั วุฒิ หมื่นทรา

3 นายพทิ ักษ์ ตุย้ กาศ

4 นายวชั รพงษ์ นนั ตากาศ

5 นายจุตรพล คำวงษา

6 นายชนัญญู ขนเขยี ว

7 นายณัฐพงศ์ ใจยะกาศ

8 นายธีธัช ก๋าแก้ว

9 นายนครนิ ทร์ คำกาศ

10 นายศวิ กร ศริ พิ รสวรรค์

11 นายธัญพิสษิ ฐ์ ปญั ญาหลา้

12 นายอดิเทพ ใจดี

13 นายอดิศักด์ิ หวั นะราษฎร์

14 นางสาวองั คณา ยะกาศ

15 นางสาวกันธิชา ขนาดฐติ ิ

16 นางสาวชุติกาญจน์ เขาทองพันธุ์

17 นางสาวนำ้ ผ้งึ ขนาดกนก

18 นางสาวปริชาติ ขนาดกำจร

19 นางสาวพลอยไพลิน ปโุ ปคำ

20 นางสาวศศกิ านต์ หลา้ บุญตนั

21 นางสาวสรลั นชุ โสทะธง

22 นางสาวสุพัตรา ยา่ งกุลนันท์

23 นางสาวนนั ทิชา ชยั วงั

24 นางสาวเบญญาภา ลงุ นะ

25 นางสาวภัทรสร หมืน่ จี้

26 นางสาวมารษิ า วงศเ์ งนิ
27 นางสาวสุพรรษา กอนแสง
28 นางสาวณฐั สดุ า มาหม่นื
29 นางสาวนวนันท์ ผลศรธี ิ
30 นางสาวชลธชิ า พมิ พ์ลา
31 นางสาวสุนสิ า ทิพย์ประเสรฐิ
32 นางสาวอภสิ รา นกุ าศ

ลงชื่อ.....................................ผปู้ ระเมิน
(นายพงศกร ธปู หอม)

เกณฑ์การใหค้ ะแนน หมายถึง นกั เรียนสามารถปฏิบัตไิ ด้มากกว่าร้อยละ 80
หมายถึง นกั เรียนสามารถปฏิบัตไิ ด้รอ้ ยละ 71 - 80
มากที่สดุ = 5 คะแนน หมายถึง นักเรียนสามารถปฏิบัตไิ ด้รอ้ ยละ 61 - 70
มาก = 4 คะแนน หมายถึง นกั เรียนสามารถปฏิบัตไิ ด้รอ้ ยละ 51 - 60
ปานกลาง = 3 คะแนน หมายถึง นักเรียนสามารถปฏิบตั ไิ ด้น้อยกวา่ ร้อยละ 50
น้อย = 2 คะแนน

น้อยที่สดุ = 1 คะแนน

เกณฑ์การตัดสินคณุ ภาพ
คะแนน 13 - 15 หมายถึง ดีมาก
คะแนน 10 - 12 หมายถึง ดี
คะแนน 6 – 9 หมายถึง พอใช้
คะแนน 3 – 5 หมายถึง ปรบั ปรุง

เกณฑ์การประเมิน : ผา่ นเกณฑเ์ ฉลีย่ พอใช้ข้ึนไป ถือว่า ผ่านเกณฑ์ประเมิน




Click to View FlipBook Version