เร่ือง โครงสรา้ งทางสงั คม
รายวชิ าสงั คมศกึ ษา 5 รหสั วชิ า ส 33101
ครผู สู้ อน
ครูกิตติ จันทะเคลื่อน
ครูชำนาญการ
กล่มุ สาระการเรยี นรู้ สังคมศกึ ษา ศาสนา และวฒั นธรรม
โรงเรียนห้วยน้ำหอมวทิ ยาคาร
สำนกั งานเขตพนื้ ท่ีการศึกษามัธยมศึกษานครสวรรค์
สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาข้นั พื้นฐาน
กระทรวงศึกษาธกิ าร
คำนำ
เนื้อหาการเรยี นรู้ เกยี่ วกบั โครงสร้างทางสังคม เปน็ สว่ นหนงึ่ ของ
รายวชิ าสงั คมศกึ ษา 5 รหสั วิชา ส 33101 ซึง่ เน้ือหานเี้ ป็นการสร้างขน้ึ
เพอื่ การเรยี น การสอน ใหก้ บั นกั เรียนชน้ั มธั ยมศกึ ษาปีที่ 6 เพื่อเปน็ การ
เรียนรถู้ ึงโครงสรา้ งทางสังคม
โดยการสรา้ งเป็นแบบ E-BOOK เพ่อื ง่ายต่อการศกึ ษา และ
เรียนรู้ และครผู ูส้ อน กพ็ ยายามหาเนื้อหา ทเ่ี ขา้ ใจง่าย และกะทดั รัด และ
นา่ จะเป็นประโยชน์สำหรบั ผเู้ รยี น ในยคุ สมยั ของการเรียนออนไลน์
ในช่วงของการแพรร่ ะบาดของเชื้อไวรัสโควดิ 19
สารบัญ หนา้
เรอ่ื ง
1. แบบทดสอบกอ่ นเรียน 1
2. ความหมายของโครงสร้างทางสังคม 2
3. ลักษณะโครงสร้างทางสังคม 3
4. องค์ประกอบโครงสร้างของสังคม 4
5
4.1 การจัดระเบียบทางสังคม 6
4.2 หนา้ ที่ของการจดั ระเบียบทางสังคม 7
5. สถาบนั ทางสังคม 8
6. หนา้ ทข่ี องสถาบนั ทางสงั คม 9
7. แบบทดสอบหลังเรียน
1. แบบทดสอบก่อนเรียน
1. โครงสรา้ งของสงั คมประกอบดว้ ยอะไรบ้าง
ก. กลุ่มสังคม,สถาบนั สังคม
ข. สงั คม,ประชาชน
ค. สถาบันสงั คม,ชมุ ชน
ง. ประชาชน,ชมุ ชน
2.ขอ้ ใดคอื ความหมายของ ความหมายของโครงสร้างของสงั คม (Social Structure)
ก. ส่วนประกอบของสังคม
ข. ประชาชนท่อี าศยั อยใู่ นสงั คม
ค. รากฐานของสังคม
ง. องคป์ ระกอบทม่ี ีส่วนตา่ งๆ สมั พนั ธ์กันอย่างมรี ะเบยี บ
3. สงั คมจะสงบสขุ เรียบรอ้ ยมแี ตค่ วามเจรญิ พลเมืองดีตอ้ งปฏบิ ตั ิตนอย่างไร
ก. พดู น้อยทำมาก
ข.พกั ผ่อนให้มากทส่ี ุด
ค. พูดใหน้ อ้ ยทส่ี ุด
ง. นงิ่ เฉยทำงานเร่อื ยๆ
2. ความหมายของโครงสรา้ งทางสังคม
โครงสร้างทางสังคม คือ ความสมั พันธข์ องกล่มุ คนหนึ่ง
ที่มาอยู่ร่วมกนั เปน็ สังคม โดยมีบรรทัดฐานทางสงั คมเป็นส่ิงยึดเหนยี่ ว
3. ลักษณะโครงสร้างทางสังคม
1. มีคนจำนวนหนึ่งที่มีการติดต่อระหว่างกัน หรือ การกระทำ
ระหว่างสังคม คือ บุคคลตั้งแต่ 2 คนขึ้นไป ที่มีการติดต่อระหว่าง
กัน เช่น การคบค้าสมคม การขดั แย้งกัน ฯ
2. มีบรรทัดฐาน กฎเกณฑ์หรือระเบียบแบบแผน คือ เป็น
แนวทางให้บุคคลในสังคมยึดถือร่วมกัน เพ่ือให้การติดต่อระหว่างกันดำเนินไป
ดว้ ยดี
3. มีเป้าหมายหรือวัตถุประสงค์ คือ ความต้องการให้โครงสร้าง
ของตนเองมีชื่อเสียง เป็นที่ยอมรับ มีความปลอดภัย เจริญก้าวหน้าในด้าน
ตา่ งๆ ทใี่ หป้ ระโยชนแ์ ก่สมาชกิ
4. มีลักษณะเคลื่อนไหวเปลี่ยนแปลงได้ คือ โครงสร้างทางสังคม
นน้ั สามารถเปลย่ี นแปลงและการพัฒนาท่ดี ขี ึน้ ของสงั คมพร้อมกนั
4. องค์ประกอบของโครงสร้างทางสังคม
องค์ประกอบของโครงสร้างทางสังคมประกอบด้วย 2 องคป์ ระกอบ คือ
4.1 การจัดระเบียบทางสังคม หมายถึง กลุ่มคนที่มีความเป็น
ระเบียบแบบแผนและมกี ระบวนการจดั ระเบียบภายในกลุ่ม
1.1 กลุม่ คนท่ีเป็นระเบียบ เปน้ กลุ่มคนทมี่ าติดต่อกันตามหน้าท่ี
และระเบียบกฏเกณฑ์
1.2 กระบวนการจดั ระเบยี บทางสังคม เป็นเรื่องคนตั้งแต่ 2 คน
ขึ้นไป ที่มีความสัมพันธ์กัน แต่ละคนจำเป็นต้องมีบรรทัดฐาน สถานภาพ และ
บทบาทของตน
- บรรทัดฐาน คือ แบบแผน กฎเกณฑ์ มาตรฐานในการปฏิบตั ิ
- สถานภาพ คือ เป็นตำแหน่งทเี่ ราต้องรับผดิ ชอบได้จากการเป็นสมาชิก
- บทบาท คอื หน้าทที่ ต่ี อ้ งทำตามสถานภาพท่ีเราได้รับ
4.2 หนา้ ท่ีของการจดั ระเบียบทางสงั คม
1. สร้างระเบียบท่ีจำเป็นในการอยรู่ ่วมกนั เปน็ สงั คม
2. อบรมสัง่ สอนระเบียบแบบแผนตา่ งๆ ใหส้ มาชิกมคี วามรู้ ความ
เขา้ ใจ รวมทั้งฝึกฝนให้เกิดความชำนาญ สามารถนำเอาไปใชไ้ ด้
3. สง่ั สมและรกั ษาระเบยี บแบบแผนใหอ้ ยยู่ ่งั ยนื นาน
4. ปรับปรงุ ระเบยี บแบบแผนใหเ้ ขา้ กับยุสมยั
5. สถาบันทางสงั คม
สถาบันทางสังคม หมายถึง กฎเกณฑ์หรือระเบยี บแบบแผนของสังคม ท่ี
เป็นแนวทางการประพฤติในสังคม และแต่ละสังคมมีความต้องการและความจำเป็น
หลายอย่าง จึงจำเป็นตอ้ งมสี ถาบนั ทางสงั คมหลายสถาบัน เชน่
2.1 สถาบนั ครอบครวั สนองความตอ้ งการของมนุษยใ์ นด้านการกำเนิดบุตร
และใหก้ ารอบรมสั่งสอนเลย้ี งดูสมาชกิ ใหม่
2.2 สถาบนั การเมอื งการปกครอง ควบคมุ สงั คมไมใ่ ห้เกิดความไม่สงบ รกั ษา
ความเป็นระเบยี บ ความเรียบรอ้ ยในสงั คม
2.3 สถาบนั เศรษฐกจิ สนองความต้องการในดา้ นการผลิต การจำหนา่ ยจา่ ย
แจกและการบรกิ ารต่างๆ เพอื่ ให้มนษุ ยด์ ำรงชวี ิตอยไู่ ด้
2.4 สถาบันการศกึ ษา เป็นสถาบนั ทถ่ี ่ายทอดวัฒนธรรมของสังคม
2.5 สถาบันศาสนา ความเชื่อความศรทั ธาของมนษุ ย์ตอ่ สภาพแวดล้อม
รอบตัว สถาบันนจี้ ะควบคมุ พฤตกิ รรมของมนษุ ยใ์ หอ้ ยใู่ นระเบยี บ
6. หน้าทีข่ องสถาบันสังคม
1. ดูแลการเพ่ิมหรือขาดของจำนวนสมาชกิ ในสังคม และใหก้ ารเล้ียงดู ให้
ความอบอ่นุ แก่สมาชกิ
2. ให้การศึกษาอบรมเกี่ยวกันการเป็นสมาชิกที่ดีของสังคม รวมทั้งอาชีพที่ใช้
ในการดำรงชวี ติ
3. ให้ความรคู้ วามเข้าใจเกยี่ วกับการสอ่ื สาต่างๆ เพอื่ การดำรงชีวติ อย่ใู นสงั คม
4. สง่ เสรมิ และรกั ษาความเปน็ ระเบียบและความม่นั คงของสังคม
5. ผลติ สงิ่ ที่จำเป็นในการดำรงชวี ติ
6. จัดหา ส่งเสริม ผลิตเครื่องเครื่องใช้ที่จำเป็นแก่การดำรงชีวิต และการ
พัฒนาชีวิตใหม้ ีคณุ ภาพสูงขนึ้
7. ใหค้ วามรแู้ ละสง่ เสรมิ เกย่ี วกบั สุขภาพอนามัยของสมาชิกในสังคม
7. แบบทดสอบหลงั เรยี น
1. ขอ้ ใดไมใ่ ชอ่ งค์ประกอบทางสงั คม
ก. กลุ่มสังคม ข. สถาบนั สงั คม
ค. ประชาชน ง. สถานภาพและบทบาท
2. ข้อใดไมใ่ ช่องค์ประกอบของสถาบันทางสังคม
ก. กลมุ่ ทางสงั คมหรือองคก์ ารทางสังคม
ข. สถานภาพและบทบาท
ค. เอกลักษณ์
ง. บรรทดั ฐานทางสังคม
3. โครงสร้างของสังคมประกอบด้วยอะไรบ้าง
ก. กลมุ่ สังคม,สถาบันสงั คม ข. สังคม,ประชาชน
ค. สถาบันสังคม,ชมุ ชน ง. ประชาชน,ชุมชน
4.ขอ้ ใดคอื ความหมายของ ความหมายของโครงสรา้ งของสังคม (Social Structure)
ก. สว่ นประกอบของสังคม
ข. ประชาชนท่อี าศยั อยใู่ นสังคม
ค. รากฐานของสังคม
ง. องคป์ ระกอบท่มี ีส่วนต่างๆ สมั พนั ธก์ นั อย่างมีระเบียบ
5. สังคมจะสงบสุขเรยี บร้อยมีแตค่ วามเจรญิ พลเมืองดตี ้องปฏิบตั ิตนอย่างไร
ก. พดู นอ้ ยทำมาก ข.พักผ่อนให้มากท่ีสุด
ค. พดู ให้น้อยทสี่ ุด ง. น่ิงเฉยทำงานเรื่อยๆ