The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

รายงาน กตปน (ล่าสุด)

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

รายงาน กตปน (ล่าสุด)

รายงาน กตปน (ล่าสุด)

1

2

คำนำ

การปฏิบัติงานของคณะกรรมการติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผล และนิเทศการศึกษาของสานักงาน
เขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษาบุรีรัมย์ เขต 1 ยึดหลักการดาเนินงานแบบองค์รวม หลักการมีส่วนร่วม และ
ใช้มาตรฐานการศึกษาเป็นฐานการพัฒนาคุณภาพ อันจะส่งผลให้หนว่ ยงานและสถานศึกษาในสังกัดสานกั งาน
เขตพ้นื ที่การศึกษาสามารถพฒั นาเป็นองค์กรท่ีมีประสิทธิภาพ ประสิทธิผลในการบรหิ ารและดาเนนิ การพัฒนา
คุณภาพตามมาตรฐานการศึกษา เพ่ือให้การปฏิบัติงานของคณะกรรมการติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผลและ
นิเทศการศึกษาของเขตพ้ืนท่ีการศึกษา ประสบผลสาเร็จตามมาตรฐานการศึกษาข้ันพื้นฐาน จึงได้นานโยบาย
และมาตรฐานการจัดการศึกษาข้ันพื้นฐานมากาหนดเป็นกรอบแนวทางในการติดตามตรวจสอบ ประเมินผล
และนิเทศการศึกษา ประกอบด้วย 1) ด้านนโยบาย สพฐ. 2) ด้านนโยบายเร่งด่วน สพฐ. (QUICK POLICY)
3) ด้านจุดเน้น สพป.บุรีรัมย์ เขต 1 และ 4) ด้านการพัฒนางาน PA คณะกรรมการติดตาม ตรวจสอบ
ประเมินผล และนิเทศการศึกษาสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาบุรีรัมย์ เขต 1 หวังเป็นอย่างย่ิงว่า
ข้อมูลที่ไดจ้ ากการตดิ ตาม ตรวจสอบ ประเมนิ ผลและนเิ ทศการศกึ ษาในครัง้ น้ี จะสามารถนามาใชป้ รบั ปรุงและ
พัฒนาคุณภาพการปฏิบัติงานและการจัดการศึกษาของสถานศึกษา และสานักงานเขดพ้ืนที่การศึกษา
ประถมศึกษาบรุ รี ัมย์ เขต 1 ให้มคี ณุ ภาพ ได้มาตรฐาน และมปี ระสทิ ธภิ าพยง่ิ ขึ้นต่อไป

สานักงานเขตพน้ื ที่การศึกษาประถมศึกษาบรุ ีรมั ย์ เขต 1
ตุลาคม 2565

3

บทสรุปสำหรบั ผบู้ ริหำร
การติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผลและนิเทศการศึกษา สานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษา
บุรีรัมย์ เขต 1 ภาคเรียนท่ี 1 ปีการศึกษา 2565 ได้ทาการติดตาม ตรวจสอบการติดตามการบริหาร
จัดการศึกษาของโรงเรียนในสังกัด จานวน 201 โรง โดยใช้เครื่องมือเก็บรวบรวมข้อมูล คือ แบบติดตาม
ตรวจสอบ ประเมินผล และนิเทศการศึกษา ใน 5 ส่วน ประกอบด้วย ส่วนท่ี 1 ข้อมูลโรงเรียน ส่วนท่ี 2
ดา้ นนโยบาย สพฐ. สว่ นที่ 3 ดา้ นนโยบายเรง่ ดว่ น สพฐ. (QUICK POLICY) ส่วนที่ 4 ด้านจุดเน้น สานกั งานเขต
พ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษาบุรีรัมย์ เขต 1 ส่วนท่ี 5 ด้านการพัฒนางาน PA ซ่ึงมีผลสรุปและข้อเสนอแนะ
ดังนี้
1. สรปุ ผลกำรติดตำม ตรวจสอบ ประเมินผลและนิเทศกำรศึกษำ สว่ นท่ี 1 ขอ้ มลู โรงเรยี น
ผลการติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผลและนิเทศการศึกษา สานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษา
บุรีรัมย์ เขต 1 มีโรงเรียนในเขตพ้ืนที่บริการจานวน 4 อาเภอ ดังน้ี โรงเรียนในอาเภอเมืองบุรีรัมย์ ร้อยละ
42.29 โรงเรียนในอาเภอลาปลายมาศ ร้อยละ 33.83 โรงเรียนในอาเภอบ้านด่าน ร้อยละ 8.46 และโรงเรียน
ในอาเภอชานิ ร้อยละ 4.21 รวมจานวนโรงเรยี นทง้ั หมด 186 โรงเรยี น จาก 201 โรงเรยี นเรยี น คิดเป็นร้อยละ
92.54
2. สรุปผลกำรติดตำม ตรวจสอบ ประเมินผลและนเิ ทศกำรศกึ ษำ ส่วนท่ี 2 ดำ้ นนโยบำย สพฐ.
ผลการติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผลและนิทศการศึกษา ด้านนโยบาย สพฐ. สานักงานเขตพ้ืนท่ี
การศึกษาประถมศึกษาบุรีรัมย์ เขต 1 ในภาพรวม พบว่า ผลการปฏิบัติงานของโรงเรียนในสานักงานเขตพืน้ ท่ี
การศึกษาประถมศึกษาบุรีรัมย์ เขต 1 ด้านนโยบาย สพฐ. มีท้ังหมด 4 ด้าน ได้แก่ 1) ด้านความปลอดภัย
มีจานวนโรงเรียนท่ีมีผลการปฏิบัติงานระดับมากท่ีสุด คิดเป็นร้อยละ 74.19 ระดับมาก คิดเป็นร้อยละ 23.66
ระดับปานกลาง คิดเป็นร้อยละ 1.61 ระดับน้อยท่ีสุด คิดเป็นร้อยละ 0.54 2) ด้านโอกาสและการลดความ
เหล่ือมล้าทางการศึกษา มีจานวนโรงเรียนที่มีผลการปฏิบัติงานระดับมากท่ีสุด คิดเป็นร้อยละ 78.49 ระดับ
มาก คิดเป็นร้อยละ 18.82 ระดับปานกลาง คิดเป็นร้อยละ 2.15 ระดับน้อยท่ีสุด คิดเป็นร้อยละ 0.54
3) ด้านคุณภาพ มีจานวนโรงเรียน ท่ีมีผลการปฏิบัติงานระดับมากที่สุด คิดเป็นร้อยละ 57.53 ระดับมาก
คิดเป็น ร้อยละ 38.71 ระดับปานกลาง คิดเป็นร้อยละ 3.23 ระดับน้อยที่สุด คิดเป็นร้อยละ 0.54
4) ด้านประสิทธิภาพ มีจานวนโรงเรียนท่ีมีผลการปฏิบัติงานระดับมากที่สุด คิดเป็นร้อยละ 58.60 ระดับมาก
คิดเป็นร้อยละ 38.17 ระดับปานกลาง คดิ เปน็ ร้อยละ 2.69 ระดบั นอ้ ยทส่ี ุด คดิ เปน็ ร้อยละ 0.54
3. สรุปผลกำรติดตำม ตรวจสอบ ประเมินผลและนิเทศกำรศึกษำ ส่วนที่ 3 ด้ำนนโยบำยเร่งด่วน
สพฐ. (QUICK POLICY)
ผลการติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผลและนิทศการศึกษา ด้านนโยบายเร่งด่วน สพฐ. (QUICK POLICY)
สานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษาบุรีรัมย์ เขต 1 ในภาพรวม พบว่า มีจานวนโรงเรียน

4

ท่ีมีผลการปฏิบัติงานในระดับมากท่ีสุด คิดเป็นร้อยละ 60.30 ระดับมาก คิดเป็นร้อยละ 33.50 ระดับปานกลาง
คิดเป็นรอ้ ยละ 4.02 ระดับนอ้ ย คิดเปน็ รอ้ ยละ 0.30 และระดับน้อยที่สุด คดิ เปน็ รอ้ ยละ 1.87

4. สรุปผลกำรติดตำม ตรวจสอบ ประเมินผลและนิเทศกำรศึกษำ ส่วนที่ 4 ด้ำนจุดเน้น สำนักงำน
เขตพ้ืนท่กี ำรศกึ ษำประถมศกึ ษำบรุ ีรมั ย์ เขต 1

ผลการตดิ ตาม ตรวจสอบ ประเมินผลและนิทศการศึกษา ดา้ นจดุ เน้น สพป.บุรีรมั ย์ เขต 1 สานกั งานเขต
พ้ืนท่กี ารศกึ ษาประถมศกึ ษาบุรีรัมย์ เขต 1 ในภาพรวมพบวา่ มจี านวนโรงเรียนท่มี ผี ลการปฏบิ ัตงิ าน ในระดับมาก
ที่สุด คิดเป็นร้อยละ 53.35 ระดับมาก คิดเป็นร้อยละ 37.57 ระดับปานกลาง คิดเป็นร้อยละ 8.16 ระดับน้อย
คิดเป็นร้อยละ 0.38 ระดบั นอ้ ยท่ีสุด คดิ เป็นรอ้ ยละ 0.55

5. สรุปผลกำรติดตำม ตรวจสอบ ประเมินผลและนเิ ทศกำรศกึ ษำ ส่วนที่ 5 ด้ำนกำรพัฒนำงำน PA
ผลการติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผลและนิทศการศึกษา ด้านการพัฒนางาน PA สานักงานเขตพื้นที่
การศกึ ษาประถมศกึ ษาบรุ รี มั ย์ เขต 1 ในภาพรวม พบวา่ มีจานวนโรงเรยี นที่มผี ลการปฏิบัติงานในระดับมากท่ีสุด
คิดเป็นร้อยละ 54.84 ระดับมาก คิดเป็นร้อยละ 42.74 ระดับปานกลาง คิดเป็นร้อยละ 1.88 และระดับน้อยที่สุด
คดิ เป็นรอ้ ยละ 0.54
ข้อเสนอแนะ
จากผลการตดิ ตาม ตรวจสอบ ประเมนิ ผลและนิเทศการศึกษา สานกั งานเขตพ้ืนทีก่ ารศึกษาประถมศกึ ษา
บุรีรัมย์ เขต 1 ภาคเรียนที่ 1 ประจาปี 2565 สามารถนามาใช้เป็นข้อมูลในการวางแผนพัฒนาคุณภาพ
การบรหิ ารงานทัง้ ในระดบั สานกั งานเขตพืน้ ทก่ี ารศกึ ษาและระดับโรงเรยี น ดงั น้ี
กำรดำเนินงำนตำมนโยบำยและจุดเน้นของสำนักงำนคณะกรรมกำรกำรศึกษำข้ันพื้นฐำนและ
สำนักงำนเขตพ้ืนท่ีกำรศึกษำ กำรดำเนินงำนตำมนโยบำยเร่งด่วน สพฐ. (QUICK POLICY) และ
กำรดำเนินงำน กำรพัฒนำงำน PA
ระดบั เขตพ้นื ทีก่ ำรศึกษำ ควรเสริมสร้างความเข้าใจทชี่ ัดเจน เกย่ี วกับนโยบายและจดุ เน้นต่าง ๆ ท้งั ดา้ น
ความรู้ วิธีการ และแนวทางการนาสู่การปฏิบัติให้สาเร็จในโรงเรียน เพื่อให้โรงเรียนสามารถดาเนินงานได้บรรลุ
ตามวัตถุประสงค์และเป้าหมายที่กาหนด เนื่องจากมีการปรับเปล่ียนนโยบายและจุดเน้นของหน่วยงานต้นสังกัด
ในทุกปี
ระดบั สถำนศึกษำ ควรศึกษาและวางแผนการดาเนนิ งาน กาหนดให้มีผู้รับผิดชอบชัดเจน และควรบูรณา
การกบั หน่วยงานทเ่ี กี่ยวข้อง เพอ่ื สร้างศักยภาพในการทางาน และใหเ้ หน็ ผลลัพธท์ ี่เกดิ ข้นึ อย่างเปน็ รูปธรรม
ระดับผู้บริหำร ควรศึกษามาตรฐานตาแหน่ง ด้านการบริหารกิจการของสถานศึกษา การวางแผน
การปฏิบัติงาน การควบคุม กากับ ดูแลเก่ียวกับการบริหารงานวิชาการ การบริหารงบประมาณ การบริหารงาน
บุคคล การบริหารงานท่ัวไปและงานอื่น ๆ ทเี่ ก่ียวขอ้ ง
ระดับครูผู้สอน ควรศึกษาประเด็นท้าทายในการพัฒนางาน PA ให้ละเอียดถถี่ ้วนมากย่งิ ขึน้

สำรบญั 5

คำนำ 1
บทสรุปสำหรับผบู้ รหิ ำร 1
สำรบัญ 3
บทท่ี 1 บทนำ 3
3
ความสาคัญและความเปน็ มา 4
วัตถปุ ระสงค์
เป้าหมาย 5
วิธดี าเนนิ การ 5
ประโยชน์ทค่ี าดว่าจะไดร้ ับ 6
บทที่ 2 กำรดำเนนิ งำนตดิ ตำม ตรวจสอบ ประเมินผล และนเิ ทศกำรศกึ ษำ 7
สำนกั งำนเขตพ้นื ท่ีกำรศกึ ษำประถมศกึ ษำบรุ ีรัมย์ เขต 1 7
หลักการและแนวคิด
โครงสรา้ งคณะกรรมกร์ติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผล และนิเทศการศกึ ษา 8
อานาจหนา้ ทีข่ องคณะกรรมการตติ ตาม ตรวจสอบ ประเมนิ ผลและนเิ ทศการศกึ ษา 12
บทบาทหน้าท่ีของคณะกรรมการตดิ ตาม ตรวจสอบ ประเมินผล และนเิ ทศการศกึ ษา 18
หลกั การและการดาเนนิ งานของคณะกรรมการติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผล 19
และนเิ ทศการศึกษา 20
ขอบขา่ ยการตดิ ตาม ตรวจสอบ ประเมนิ ผล และนเิ ทศการศกึ ษา 20
แผนการติดตาม ตรวจสอบ ประเมนิ ผล และนเิ ทศการศกึ ษา 21
ระยะเวลาดาเนินงาน 23
บทที่ 3 วธิ ดี ำเนนิ งำน 24
กล่มุ เป้าหมาย 25
ขอบขา่ ยการตดิ ตาม ตรวจสอบ ประเมนิ ผล และนเิ ทศการศกึ ษา
เครือ่ งมือท่ใี ช้ตดิ ตาม ตรวจสอบ ประเมนิ ผล และนเิ ทศการศึกษา
การเกบ็ รวบรวมข้อมลู
การวิเคราะหข์ อ้ มลู

สำรบญั (ต่อ) 6
บทที่ 4 ผลกำรวเิ ครำะหข์ อ้ มลู
26
ส่วนท่ี 1 ขอ้ มูลโรงเรียน 26
ส่วนท่ี 2 ดา้ นนโยบาย สพฐ. 27
ส่วนท่ี 3 ด้านนโยบายเร่งดว่ น สพฐ. (QUICK POLICY) 28
สว่ นที่ 4 ด้านจดุ เน้น สพป.บุรรี มั ย์ เขต 1 31
สว่ นที่ 5 ด้านการพัฒนางาน PA 37
บทที่ 5 สรปุ ผล 39
สรปุ ผลการติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผล และนิเทศการศึกษา 39
ขอ้ เสนอแนะ 40
ภำคผนวก
ก คาส่งั สานักงานเขตพน้ื ท่ีการศกึ ษาประถมศึกษาบุรรี ัมย์ เขต 1 ท่ี 303 / 2565 41
เรือ่ ง แต่งตั้งคณะอนุกรรมการตติ ตาม ตรวจสอบ ประเมนิ ผล และนิเทศการศึกษา 50
สานักงานเขตพ้นื ท่กี ารศึกษาประถมศึกษาบรุ รี มั ย์ เขต 1 ประจาปีงบประมาณ 2565 54
ข แบบตดิ ตาม ตรวจสอบ ประเมินผลและนเิ ทศการศึกษา ประจาปี 2565 59
ค ภาพกจิ กรรมการประเมิน ก.ต.ป.น.
คณะผจู้ ัดทำ

1

บทท่ี 1
บทนำ

ควำมสำคัญและควำมเป็นมำ
พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 แก้ไขเพ่ิมเติมฉบับที่ (2) พ.ศ. 2545 และ (ฉบับท่ี 3)

พ.ศ. 2553 กล่าวถึง การจัดให้มีการบริหารและการจัดการศึกษาชั้นพื้นฐานโดยยืดเขตพ้ืนท่ีการศึกษา
และมีการกระจายอานาจสู่เขตพ้ืนที่การศึกษาและสถานศึกษา ตามมาตรา 39 กาหนดให้ "กระทรวงกระจาย
อานาจการบริหารและการจัดการศึกษาท้ังด้านวิชาการ งบประมาณ การบริหารงานบุคคล และการบริหาร
ทั่วไป ไปยังคณะกรรมการและสานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษา และสถานศึกษาในเขตพื้นที่การศึกษาโดยตรง"
และคาส่ังคณะรักษาความสงบแห่งชาติท่ี 10/2559 เร่ืองการขับเคลื่อนการปฏิรูปการศึกษา
ของกระทรวงศึกษาธิการในภูมิภาค ข้อ 4 ให้ยุบเลิกคณะกรรมการเขตพื้นที่การศึกษาตามกฎหมาย
พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 แก้ไขเพิ่มเติมฉบับท่ี (2) พ.ศ. 2543 และ (ฉบับท่ี 3 ) พ.ศ.
2553 และพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ. 2546 และข้อ 5 ให้ยุบเลิก อ.
ก.ค.ศ. เขตพื้นที่การศึกษาตามพระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการครู และบุคลากรทางการศึกษา พ.ศ.2547
ให้เป็นอานาจหน้าที่ของคณะกรรมการศึกษาธิการจังหวัด กศจ.ของจังหวัด ท้ังน้ียังคงเหลือคณะกรรมการ
ติดตามตรวจสอบ ประเมินผล และนิเทตการศึกษา ของเขตพ้ืนท่ีการศึกษา ตามพระราชบัญญัติระเบียบ
บรหิ ารราชการกระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ. 2546 มาตรา 20 วรรคสี่ เพ่ือทาหนา้ ทใ่ี นการกากับ ดแู ลการบรหิ าร
และการจัดการศึกษาของเขตพ้ืนที่การศึกษา และตามพระราชบัญญัติระเบียบบริหาร ราชการ
กระทรวงศึกษาธิการพ.ศ. 2546 มาตรา 20 กาหนดให้กระทรวงศึกษาธิการ มีผู้ตรวจราชการของกระทรวง
ทาหน้าที่ในการตรวจราชการศึกษา วิเคราะห์ วิจัย ติดตามและประเมินผลระดับนโยบาย ให้คาปรึกษาและ
แนะนาเพื่อการปรับปรุงพัฒนา ในส่วนของเขตพ้ืนที่การศึกษาให้มีคณะกรรมการติดตาม ตรวจสอบ และ
ประเมินผลการจัดการศึกษา ในส่วนของคุณภาพการจัดการศึกษาท่ีอยู่ในกากับ ดูแล รับผิดขอบ ของ
คณะกรรมการตดิ ตามตรวจสอบ ประเมินผลและนิเทศการศึกษาของเขตพ้ืนท่ี การศึกษา กระทรวงศกึ ษาธิการ
ได้ออกกฎกระทรวงกาหนดจานวน หลักเกณฑ์ และวิธีการได้มาของคณะกรรมการติดตาม ตรวจสอบ
ประเมนิ ผลและนเิ ทศการศกึ ษาของเขตพืน้ ท่ีการศกึ ษา พ.ศ.2548 เพอื่ เปน็ การระดมทรพั ยากรบุคคลทมี่ ีคุณค่า
แห่งภูมิปัญญา ให้มีส่วนร่วมในการบริหารและจัดการศึกษาของสานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษา ซึ่งจะส่งผลต่อ
ประสิทธิภาพในการพัฒนาคุณภาพการศึกษาของเขตพื้นท่ีการศึกษาให้ได้มาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน โดย
คณะกรรมการติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผลและนิเทศการศึกษาของเขตพื้นท่ีการศึกษา มีบทบาทหน้าท่ีใน
การศึกษาวิเคราะห์ วิจัย นิเทศ ติดตามและประเมินผล การบริทารและการดาเนินการโดยมุ่งผลสัมฤทธ์ิของ
หน่วยงานและสถานศึกษาในสังกัดเขตพื้นที่การศึกษา เพ่ือเตรียมรับการนิเทศ ติดตามตรวจสอบและ

2

ประเมนิ ผลจากหน่วยงานภายนอก โดยดาเนินการตดิ ตาม ประเมินผล ตรวจสอบคุณภาพการศึกษาและมาตรฐาน
การศึกษาสถานศึกษา ตามพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ.2546 มาตรา 60
วรรค 3 และระเบียบกระทรวงศึกษาธิการว่าด้วยการตรวจราชการ การติดตาม ตรวจสอบ และประเมินผล
การจัดการศึกษา พ.ศ. 2560 หมวด 2 การติดตาม ตรวจสอบ และประเมินผลการจัดการศึกษา ส่วนท่ี 4
การติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผลและนเิ ทศการศกึ ษา ระดบั เขตพ้ืนที่การศกึ ษา

สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาบุรีรัมย์ เขต 1 มีภารกิจหลักที่สาคัญ คือ พัฒนาคุณภาพ
สถานศึกษาสู่มาตรฐานการศึกษาและมีความปลอดภัย พัฒนาสมรรถะครูและบุคลากรให้ปฏิบัติงานได้อย่าง
มีประสิทธิภาพและเสริมสร้างการจัดเรียนรู้สู่ฐานสมรรถนะด้วยรูปแบบการเรียนรู้ Active Learning สนับสนุน
และส่งเสริมให้สถานศกึ ษาพัฒนาผ้เู รียนใหเ้ ป็นคนดี มีความรู้ความสามารถตามมาตรฐานการเรียนรขู้ องหลักสูตร
อย่างเต็มศักยภาพ มีทักษะในศตวรรษท่ี 21 มีทักษะชีวิตและมีสมรรถนะท่ีเท่าทันการเปล่ียนแปลงของสั่งคมโลก
ในหลากหลายมิติ ท้ังด้านการเมือง เศรษฐกิจ สังคม ข้อมูลสารสนเทศ เทคโนโลยี สุขภาพอนามัย ส่ิงแวดล้อม
รวมถึงทัศนคติในการดาเนินชีวิตจากข้อกาหนดเก่ียวกับบทบาทหน้าท่ีของคณะกรรมการติดตาม ตรวจสอบ
ประเมินผลและนิเทศการศึกษา และภารกิจหลักของสานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษาบุรีรัมย์ เขต 1
ดังกล่าวข้างต้น จึงจัดทาโครงการเพ่ิมประสิทธิภาพคณะกรรมการติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผล และนิเทศ
การศึกษา โดยมีวัตถุประสงค์เพ่ือให้การติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผลและนิเทศการศึกษา โดยคณะกรรมการ
ติดตามตรวจสอบ ประเมินผลและนิเทศการศึกษา ของสานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษาบุรีรัมย์ เขต 1
เป็นไปตามระเบียบกระทรวงศึกษาธิการ ว่าด้วยการตรวจราชการ การติดตาม ตรวจสอบและประเมินผล
การจัดการศึกษา พ.ศ. 2565 และคณะกรรมการติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผลและนิเทศการศึกษาสามารถ
ปฏิบัติบทบาทหน้าท่ีให้เกิดประสิทธิผลสูงสุดต่อการบริหารงานของสานักงานเขตพื้นที่การศึกษา ทั้งน้ี ในการ
ปฏบิ ัติภารกิจตา่ ง ๆ ให้บรรลเุ ปา้ หมายนน้ั สานักงานเขตพ้นื ท่ีการศึกษาประถมศกึ ษาบุรรี มั ย์ เขต 1 ใช้ "การมสี ว่ น
ร่วม" เป็นแกนหลักในการขับเคลอ่ื นและดาเนินงาน สเู่ ป้าหมายความสาเร็จ และใช้รูปแบบการบรหิ ารจดั การสร้าง
ความเข้มแข็งให้แก่คณะกรรมการติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผลและนิเทศการศึกษาของเขตพื้นที่การศึกษา
โดยใช้หลัก 3 Performance Management Method ประกอบด้วย 1. มีส่วนร่วมอย่างสร้างสรรค์(Creative
participation) 2. ใช้ดิจิทัลแพลตฟอร์มเพิ่มประสิทธิภาพ (Digital platform for efficiency) 3. ประเมินผล
โปร่งใสและได้มาตรฐาน (Transparency and Standardized Assessment ) การดาเนินการติดตาม ตรวจสอบ
ประเมินผล และนิเทศการศึกษา คร้ังนี้ กลุ่มงานเลขานุการคณะกรรมการติดตามตรวจสอบประเมนิ ผลและนิเทศ
การศึกษา กลุ่มนิเทศ ติดตามและประเมินผลการจัดการศึกษา สานักงานเขตพื้นที่การศกึ ษาประถมศึกษาบรุ ีรมั ย์
เขต 1 ใช้แบบติตตาม ตรวจสอบ ประเมินผลและนิเทศการศึกษาเป็นเคร่ืองมือในการดาเนินการติดตามดังกล่าว
ประกอบดว้ ยการประเมิน 1) ด้านนโยบาย สพฐ. 2) ด้านนโยบายเร่งด่วน สพฐ. (QUICK POLICY) 3) ดา้ นจุดเน้น
สพป.บรุ รี ัมย์ เขต 1 และ 4) ดา้ นการพัฒนางาน PA

3

วตั ถปุ ระสงค์

1. เพื่อติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผล และนิเทศการศึกษา การบริหารและการดาเนินการ
โดยม่งุ ผลสัมฤทธิข์ องสถานศกึ ษาในสังกัดสานกั งานเขตพนื้ ที่การศึกษาประถมศึกษาบุรีรมั ย์ เขต 1

2. เพื่อนาผลการตดิ ตาม ตรวจสอบ ประเมนิ ผล และนิเทศการศึกษามาใช้ปรบั ปรงุ และพัฒนาคุณภาพ
การศึกษาของสถานศึกษาในสังกัดสานักงานเขตพน้ื ที่การศึกษาประถมศึกษาบุรรี มั ย์ เขต 1
เป้ำหมำย

เชิงปริมำณ โรงเรียนทุกแห่งในสังกัดสานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถศึกษาบุรีรัมย์ เขต 1 ได้รับ
การติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผล และนิเทศการศึกษา จากคณะกรรมการและคณะอนุกรรมการติดตาม
ตรวจสอบ ประเมนิ ผล และนเิ ทศการศึกษาของเขตพ้นื ท่ี 1) ด้านนโยบาย สพฐ. 2) ด้านนโยบายเร่งดว่ น สพฐ.
(QUICK POLICY) 3) ด้านจดุ เน้น สพป.บรุ รี ัมย์ เขต 1 และ 4) ด้านการพัฒนางาน PA

เชิงคณุ ภำพ
1. โรงเรียนในสังกัดสานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษาบุรีรัมย์ เขต 1 บริหารจัดการ
งาน 4 ดา้ น ไดอ้ ยา่ งมปี ระสิทธิภาพ ในระดับดขี ึ้นไป
2. โรงเรียนในสังกัดสานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษาบุรรี ัมย์ เขต 1 ดาเนินงานได้บรรลุตาม
นโยบายและจุดเน้นของสานักงานคณะกรรมการการศึกษาช้ันพ้ืนฐาน และสานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษา
อยใู่ นระดับดขี ึน้ ไป

วิธีดำเนินกำร

ระดับสำนกั งำนเขตพน้ื ที่กำรศึกษำ

1. แต่งต้ังคณะอนุกรรมการติคตาม ตรวจสอบ ประเมินผลและนิเทศการศึกษา ของเขตพื้นท่ี
การศึกษาเพ่ือทาหน้าที่ ติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผลและนิเทศการศึกษาของสถานศึกษาในสังกัด โดยแบ่ง
ออกเปน็ 20 คณะ ตามจานวนกล่มุ โรงเรียน

2. ประชุมชี้แจงบทบาทหน้าท่ีของคณะอนุกรรมการติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผลและนิเทศ
การศึกษา ของเขตพน้ื ทก่ี ารศกึ ษา แก่สถานศกึ ษาในสังกดั

3. จัดทาแผนและกาหนดปฏิทินการติดตาม ตรวจสอบ แผนการติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผลและ
นิเทศการศกึ ษา สานกั งานเขตพนื้ ที่การศกึ ษาประถมศึกษาบรุ รี ัมย์ เขต 1 ภาคเรียนท่ี 1 ปกี ารศกึ ษา 2565

4. จัดส่งแบบติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผลและนิเทศการศึกษา ให้สถานศึกษาดาเนินการประเมิน
ตนเอง และตรียมรับการติดตาม ตรวจสอบจากคณะอนุกรรมการติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผลและนิเทศ
การศึกษา ของเขตพ้ืนทีก่ ารศกึ ษา

4

5. คณะอนุกรรมการติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผลและนิเทศการศึกษา ของเขตพื้นท่ีการศึกษา
ดาเนินการติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผลและนิเทศการศึกษาสถานศึกษาในสังกัดทุกโรง พร้อมท้ัง
ให้ข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะในการพัฒนา ปรับปรุงในประเด็นต่าง ๆ ท่ีเก่ียวข้อง เพื่อเป็นแนวทางสาหรับ
การพัฒนาตอ่ ไป

6. ประชุมสรุปผลการตดิ ตาม ตรวจสอบ ประเมนิ ผลและนิเทศการศกึ ษาของสถานศึกษาในสังกัด
7. รายงานผลการติดตาม ตรวจสอบ ประเมนิ ผลและนิเทศการศกึ ษาแกผ่ ้เู ก่ยี วข้อง

ระดบั โรงเรยี น

1. ประชุมชี้แจงบุคลากรในสถานศึกษา เก่ียวกับวัตถุประสงค์ เป้าหมาย ขอบข่ายของการติดตาม
ตรวจสอบฯ แนวทางการดาเนนิ งาน และวิธีการติดตาม ตรวจสอบฯ ของคณะอนุกรรมการติดตาม ตรวจสอบ
ประเมินผลและนิเทศการศกึ ษา ของเขตพ้ืนที่การศกึ ษา

2. ศึกษาแบบติตตาม ตรวจสอบ ประเมินผลและนิเทศการศึกษา สานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษา
ประถมศึกษาบุรีรัมย์ เขต 1 ดาเนินการประเมินตนเอง และจัดเตรียมข้อมูล เอกสาร หลักฐานท่ีเก่ียวข้อง
เพื่อรับการตดิ ตาม ตรวจสอบฯ

3. แต่งต้ัง/มอบหมายผู้รับผิดชอบ และจัดเตรียมข้อมูล เอกสาร หลักฐานท่ีเกี่ยวข้องเพ่ือรับ
การตดิ ตาม ตรวจสอบฯ

4. รับการติดตาม ตรวจสอบฯ จากคณะอนุกรรมการติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผลและนิเทศ
การศึกษาของเขตพื้นท่ีการศึกษา ตามปฏิทินที่สานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษาบุรีรัมย์ เขต 1
กาหนด

5. นาข้อเสนอแนะของคณะอนุกรรมการติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผล และนิเทศการศึกษา
ของเขตพนื้ ที่การศกึ ษา มาพฒั นาคุณภาพการจัดการศึกษาของสถานศึกษาต่อไป

ประโยชนท์ ค่ี ำดว่ำจะไดร้ ับ

1. โรงเรียนในสังกัดสานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษาบุรีรัมย์ เขต 1 บริหารจัดการงาน 4
ด้าน ได้อย่างมีประสิทธิภาพตามมาตรฐานการศึกษาข้ันพ้ืนฐานและดาเนินงานได้บรรลุตามนโยบาย
และจุดเน้นของสานักงานคณะกรมการการศึกษาชั้นพืน้ ฐาน และสานกั งานเขตพ้ืนทกี่ ารศึกษา

2. สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถศึกษาประถมศึกษาบุรีรัมย์ เขต 1 บริหารจัดการศึกษาอย่าง
เป็นระบบ มีความเป็นเอกภาพ และขับเคลื่อนสู่การปฏิบัติได้อย่างเป็นรูปธรรม มีประสิทธิภาพ ประสิทธิผล
ตามมาตรฐานสานกั งานเขตพื้นท่กี ารศกึ ษา

5

บทที่ 2
กำรดำเนนิ งำนตดิ ตำม ตรวจสอบ ประเมินผลและนิเทศกำรศกึ ษำ

สำนักงำนเขตพืน้ ท่ีกำรศกึ ษำประถมศึกษำบุรีรัมย์ เขต 1

หลักกำรและแนวคิด

การปฏิรูปการศึกษามีความมุ่งหมายท่ีจะจัดการศึกษาเพ่ือพัฒนาคนไทยให้เป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์และ
มีประสิทธิภาพ เป็นคนดี มีความสามารถ และอยู่ร่วมกันในสังคมอย่างมีความสุข การดาเนินการให้บรรลุ
เป้าหมายอย่างมีพลังและมีประสิทธิภาพ จาเป็นท่ีจะต้องมีการกระจายอานาจและให้ทุกฝ่ายมีส่วนร่วม
ซึ่งสอดคล้องกับเจตนารมณ์ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560 มาตรา 54 รัฐต้อง
ดาเนินการให้เด็กทุกคนได้รับการศึกษาเป็นเวลาสิบสองปีต้ังแต่ก่อนวัยเรียนจนจบการศึกษาภาคบังคับอย่าง
มีคุณภาพโดยไม่เก็บค่าใช้จ่ายตลอดจนเป็นไปตามหลักการของพระราชบัญญตั ิการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542
แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับท่ี 2) พ.ศ. 2545 และ (ฉบับท่ี 3) พ.ศ. 2553 ท่ีจัดให้มีการบริหารและการจัดการศึกษา
ขั้นพ้ืนฐาน โดยยืดเขตพ้ืนท่ีการศึกษาและมีการกระจายอานาจสู่เขตพื้นท่ีการศึกษาและสถานศึกษา
ตามมาตรา 39 กาหนดให้ "กระทรวง กระจายอานาจการบริหารและการจัดการศึกษาท้ังด้านวิชาการ
งบประมาณ การบรหิ ารงานบุคคล และการบริหารทว่ั ไป ไปยังคณะกรรมการและสานักงานขตพื้นท่ีการศึกษา
และสถานศึกษาในเขตพ้ืนท่ีการศึกษาโดยตรง

พระราชบัญญัตริ ะเบียบบริหารราชการ กระทรวงศกึ ษาธิการ ท.ศ. 2546 มาตรา 20 วรรคสี่กาหนดให้
มคี ณะกรรมการ ติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผลและนิเทศการศึกษา ของเขตพืน้ ท่ีการศึกษา เพอื่ หนา้ ที่ในการ
กากับ ดูแล การบริหารและการจัดกาศึกษาด้านวิชาการ เก่ียวกับการศึกษา วิเคราะห์นิเทศ ติดตาม และ
ประเมินผลการบริหารและการดาเนินการ โดยมุ่งเน้นผลสัมฤทธ์ิของหน่วยงานและสถานศึกษาในสังกัดเขต
พื้นท่ีการศึกษาให้มีประสิทธิภาพ เพื่อเตรียมการรับการนิเทศ ติดตามและประเมินผลจากหน่วยงานภายนอก
และให้สอดคล้องกับแนวทางการบริหาร สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาปร ะถมศึกษาบุรีรัมย์ เขต 1
จึงกาหนดบทบาทหน้าที่ในการปฏิบัติงานของคณะกรรมการติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผลและนิเทศ
การศึกษาของเขตพื้นที่การศึกษา และผู้เก่ียวข้อง ให้มีความสอดคล้องกับมาตรฐานสานักงานเขต พ้ืนท่ี
การศึกษา โดยยึด หลักการมีส่วนร่วมของผู้เกี่ยวข้องและหลักการใช้มาตรฐานการศึกษาข้ันพ้ืนฐานเป็นฐาน
การพัฒนาคุณภาพการศึกษา ท้ังน้ีสถานศึกษาทุกแห่งจะได้ รับการติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผลและนิเทศ
อย่างเป็นระบบ ต่อเน่ืองและท่ัวถึง รวมทั้งสามารถนาข้อมูลเพ่ือใช้กาหนดแนวทางการดาเนินงานยกระดับ
คุณภ าพการบริหารจัดการแ ล ะงานวิช าการของส านักงานเ ขตพื้น ท่ีการ ศึกษ าแล ะส ถ านศึก ษาใน สั ง กั ด
อันจะส่งผลให้หน่วยงานและสถานศึกษาในสังกัดเขตพื้นท่ีการศึกษาเป็นองค์กรที่มีประสิทธิภาพ ประสิทธิผล
ในการบรหิ ารและการดาเนินการพฒั นาคณุ ภาพการศกึ ษา

6

คำนยิ ำม

คณะกรรมการ ก.ต.ป.น. หมายถึง คณะกรรมการติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผลและนิเทศการศึกษา
ของเขตพื้นที่การศึกษา คณะกรรมการติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผล และนิเทศการศึกษาของเขตพื้นท่ี
การศึกษา หมายถึง องค์คณะบุคคลท่ีมีบทบาท อานาจ หน้าที่ตามที่กฎหมายกาหนด โดยมีองค์ประกอบ
ของคณะกรรมการ ทั้งใน ส่วนของเขตพื้นท่ีการศึกษา สถานศึกษาในสังกัด และผู้ทรงคุณวุฒิทางานร่วมกับ
สานักงานเขตพ้ืนท่ี การศึกษา ในการศึกษา วิเคราะห์วิจัย นิเทศติดตามตรวจสอนและประเมินผลการบริหาร
และการดาเนินการ โดยม่งุ เน้นผลสมั ฤทธข์ิ องหนว่ ยงานและสถานศกึ ษาในสงั กัดเขตพื้นที่การศึกษา

คณะกรรมการ อ.ก.ต.ป.น. หมายถึง คณะอนุกรรมการติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผล
การจัดการศึกษาท่ีได้รับการแต่งต้ังจากคณะกรรมการติตตาม ตรวจสอบ ประเมินผล และนิเทศการศึกษา
ของเขตพน้ื ที่การศึกษาใหป้ ฏิบัตงิ านตามท่ีได้รับมอบหมาย

ติดตาม (Monitoring) หมายถึง การศึกษาความก้าวหน้าการบริหารการจัดการและการดาเนินการ
ของหนว่ ยงานและสถานศึกษาในสงั กดั สานักงานเขตพืน้ ทกี่ ารศึกษา

การตรวจสอบ (Inspection) หมายถึง การกากับ ดูแล เพ่ือปรับปรุงพัฒนาการบริหาร
การจดั การศึกษา และดาเนินไปตามมาตรฐานการศกึ ษาชนั้ พ้ืนฐานท่ีกาหนดไว้

การประเมินผล (Evaluation) หมายถึง การตีค่าผลการบริหารการจัดการศึกษา และดาเนินไปตาม
มาตรฐานการศึกษาขน้ั พน้ื ฐานท่ีกาหนดไวโ้ ดยเปรยี บเทียบกบั เกณฑ์และเป้าหมายที่กาหนดไว้

การนิเทศการศึกษา (Supervision) หมายถึง การให้คาปรึกษา แนะนา ส่งเสริม สนับสนุน
เพ่ือปรับปรุงพัฒนาคุณภาพการศึกษา โดยความร่วมมือระหว่างสานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษา คณะกรรมการ
ติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผล และนิเทศการศึกษาของเขตพนื้ ที่การศึกษา และสถานศึกษาในสังกดั

มาตรฐานสานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษา หมายถึง มาตรฐานสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาตามประกาศ
ของสานกั งานคณะกรรมการการศึกษาช้นั พื้นฐาน

กลุ่มโรงเรียน หมายถึง การรวมสถานศึกษาหลายแห่งเข้าด้วยกัน เพื่อพัฒนาคุณภาพการศึกษาของ
สถานศกึ ษา และบคุ ลากรในกลุ่มเครือขา่ ย

โครงสรำ้ งคณะกรรมกำรติดตำม ตรวจสอบ ประมนิ ผล และนเิ ทศกำรศกึ ษำของเขตพน้ื ทก่ี ำรศึกษำ

กฎกระทรวง กาหนดจานวน หลักเกณฑ์ และวิธีการได้มาของคณะกรรมการติดตาม ตรวจสอบ
ประเมินผล และนิเทศการศึกษาของเขตพ้ืนท่ีการศึกษา พ.ศ. 2548 กาหนดให้มีคณะกรรมการติดตาม
ตรวจสอบ ประเมนิ ผล และนเิ ทศการศกึ ษาของเขตพืน้ ที่การศึกษา จานวน 9 คน ประกอบด้วย

1. รองผู้อานวยการสานกั งานเขตพืน้ ท่ีการศึกษา เปน็ ประธานกรรมการ
2. ผู้อานวยการกลุ่มนเิ ทศ ติดตาม และประเมินผลการจัดการศกึ ษา เป็นกรรมการ

7

3. ประธานกลุ่มโรงเรียน เป็นกรรมการ
4. รองประธานกลุม่ โรงเรยี น เป็นกรรมการ
5. เลขานกุ ารกลุ่มโรงเรยี น เปน็ กรรมการ
6. หัวหนา้ พัฒนาวชิ าการ เปน็ กรรมการ
6. ศึกษานิเทศก์ เป็นกรรมการและเลขานกุ าร

อำนำจหน้ำท่ีของคณะกรรมกำรติดตำม ตรวจสอบ ประเมินผลและนิเทศกำรศึกษำ ของเขตพ้ืนท่ี
กำรศกึ ษำ

ตามพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ. 2546 มาตรา 20 กาหนดให้
กระทรวงศึกษาธิการมีผู้ตรวจราชการของกระทรวงเพ่ือทาหน้าท่ีในการตรวจราชการศึกษาวิเคราะห์ วิจัย
ติดตามและประเมินผลระดับนโยบาย เพื่อนิเทศให้คาปรึกษาและแนะนาเพ่ือการปรับปรุงพัฒนา ในระดับ
สานักงานให้มีคณะกรรมการติดตาม ตรวจสอบ และประเมินผลการจัดการศึกษา ให้ ทาหน้าท่ีติดตาม
ประเมินผลนโยบายตามภารกิจตลอดจนนิเทศให้คาปรึกษาและแนะนาเพื่อปรับปรุง พัฒนา ในระดับเขตพ้ืนท่ี
การศึกษาให้มีคณะกรรมการติดตาม ตรวจสอบ และประเมินผลการจัดการศึกษาของเขตพ้ืนที่การศึกษา
มีหน้าท่ีศึกษาวิเคราะห์วจิ ัย นิเทศติดตามและประเมินผลการบริหาร และการดาเนินการโดยมุ่งเน้นผลสัมฤทธ์ิ
ของหน่วยงานและสถานศึกษาในสงั กัดเขตพื้นที่การศึกษา เพ่ือเตรียมการรับการนิเทศติดตามและประเมนิ ผล
จากหนว่ ยงานภายนอก

การดาเนินงานตามรรคหน่ึงและวรรคสาม ให้มีคณะกรรมการติดตาม ตรวจสอบ และประเมินผล
การจดั การศกึ ษาของกระทรวงศึกษากรและคณะกรรมการติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผล และนเิ ทศการศึกษา
ของเขตพ้ืนท่ีการศึกษา เป็นผู้รับผิดชอบดาเนินการ สาหรับกระทรวงศึกษาธิการหรือสาหรับแต่ละเขตพ้ืนที่
การศึกษา ท้งั น้ีจานวน หลกั เกณฑแ์ ละวธิ กี ารไดม้ าของคณะกรรมการดังกลา่ วใหเ้ ปน็ ไปตามที่กาหนด

บทบำทหน้ำท่ีของคณะกรรมกำรติดตำม ตรวจสอบ ประเมนิ ผลและนิเทศกำรศึกษำ ของเขตกำรศกึ ษำ

ระเบยี บกระทรวงศึกษาธิการ วา่ ดว้ ยการตรวจราชการ การตติ ตาม ตรวจสอบ และประเมินผลการจัด
การศึกษา พ.ศ. 2560 สว่ นที่ 4 การติดตาม ตรวจสอบ ประเมนิ ผลและนิเทศการศึกษาระดับการศึกษา ข้อ 25
การติดตาม ประเมินผลและนิเทศการบริหารและการดาเนินการ โดยมุ่งผลสัมฤทธ์ิของหน่วยงานและ
สถานศึกษาในสังกัดพื้นท่ีการศึกษา เพ่ือเตรียมการรับการนิเทศ ติดตามและประเมินผลจากหน่วยงาน
ภายนอก และ ข้อ 26 ให้คณะกรรมกรติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผลและนิเทศการศึกษา ของเขตพื้นท่ี
การศึกษา ตามกฎกระทรวงว่าด้วยการกาหนดจานวนหลักเกณฑ์และวิธีการได้มาของคณะกรรมการติดตาม
ตรวจสอบ ประเมินผลและนิเทศการศกึ ษาของเขตพ้นื ท่กี ารศกึ ษา มอี านาจหน้าที่ ดงั ตอ่ ไปนี้

8

1. ส่งเสริม สนับสนุนให้มีการนามาตรฐานการศึกษาข้ันพื้นฐาน มากาหนดเป็นแนวทางการติดตาม
ประเมนิ ผล และนเิ ทศการบรหิ ารและการดาเนินการของหน่วยงานและสถานศึกษาในสังกดั เขตพน้ื ที่การศึกษา

2. กาหนดแนวทางการศึกษาวิเคราะห์วิจัยการบริหารและการดาเนินการของหน่วยงานและ
สถานศึกษา ในสังกัดเขตพน้ื ท่ีการศกึ ษา

3. พิจารณาแผนการติตตาม ตรวจสอบ ประมินผลและนิเทศการศึกษา โดยมุ่งเน้นผลสัมฤทธิ์
ของหนว่ ยงานและสถานศึกษาในสงั กดั เขตพืน้ ที่การศึกษา

4. ตดิ ตาม ประเมินผลและนิเทศการบริหารและการดาเนนิ การตามแผนทกี่ าหนด
5. รับทราบผลการติดตาม ประเมินผล และนิเทศการบริหาร และการดาเนินการตามแผน และ
ให้ข้อเสนอแนะ เพือ่ การปรบั ปรุงและพฒั นาคณุ ภาพการศกึ ษาอย่างต่อเนอ่ื ง
6. ส่งเสริมให้มีการประสานการติดตาม ประเมินผลและนิเทศการศึกษากับคณะกรรมการและ
หนว่ ยงานท่เี กีย่ วข้อง
7. แตง่ ตัง้ คณะอนกุ รรมการติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผลการจดั การศึกษาตามความจาเป็น
8. ปฏิบัตงิ านอ่นื ใดตามทไี่ ดร้ ับมอบหมาย

หลกั กำรและกำรดำเนินงำนของคณะกรรมกำรติดตำม ตรวจสอบ ประเมนิ ผล และนิเทศกำรศึกษำ
ของเขดพน้ื ท่กี ำรศึกษำ

หลักการดาเนินงานของคณะกรรมการติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผล และนิเทศการศึกษา ของเขต
พนื้ ท่กี ารศกึ ษา มดี งั น้ี

1. หลกั การแบบองคร์ วม (Holistic) เปน็ การตดิ ตาม ตรวจสอบ ประเมนิ ผล และนิเทศการตามภารกิจ
ของสานกั งานเขตพ้ืนทก่ี ารศึกษาและสถานศกึ ษา โดยมงุ่ ผลการพฒั นาองค์กรในภาพรวม

2. หลักการเชิงระบบ (System) เป็นการติดตาม ตรวจสอบ ประมินผล และนิเทศการศึกษา
โดยส่วนประกอบหรือปัจจัยต่าง ๆ ของระบบมีความสัมพันธ์สอดคล้องซึงกันและกัน เพื่อให้การดาเนินงาน
บรรลุวัตถุประสงคท์ ี่กาหนดไว้

3. หลักการแบบเครือข่าย (Network) เป็นการติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผล และนิเทศการศึกษา
เป็นคณะหรือให้มีเครือข่ายการติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผลและนิเทศการศึกษาอยู่ทุกหน่วยปฏิบัติท้ัง
เครือข่ายภายใน และเครือข่ายภายนอกเพ่ือเพ่ิมประสิทธิภาพของการติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผล และ
นเิ ทศการศกึ ษา

4. หลักการประเมินผลแบบบูรณาการ (Integration) เป็นการบูรณาการภารกิจของการติดตาม
ตรวจสอบ ประเมินผล และนิเทศการศึกษาให้เป็นระบบเดียวกัน เป็นเคร่ืองมือและกลไกของการพัฒนา

9

การปฏิบัติงาน โดยจัดให้มีการบูรณาการแผนและกิจกรรมดิดตาม ตรวจสอบ ประเมินผลและนิเทศการศึกษา
และใชท้ รัพยากรอยา่ งประหยดั มีประสทิ ธิภาพไมเ่ กิดผลกระทบต่อสถานศกึ ษา

5. หลักการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี (Good Governance) คือ หลักนิติธรรม หลักคุณธรรม
หลักความโปร่งใส หลักการมีส่วนร่วม หลักความรับผิดชอบ หลักความคุ้มค่า โดยบูรณาการเข้ากับ
การดาเนนิ งานการตดิ ตาม ตรวจสอบ ประเมนิ ผล และนิเทศการศึกษา

คณะกรรมการติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผล และนิเทศการศึกษาของเขตพ้ืนที่การศึกษาดาเนินงาน
ดงั นี้

1. ศึกษา วิเคราะห์วิจัย ยุทธศาสตร์นโยบาย จุดเน้นของชาติของกระทรวงศึกษาธกิ าร ของสานักงาน
คณะกรรมการการศึกษาช้ันพื้นฐาน และมาตรฐานการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน เพ่ือนามาใช้เป็น แนวทางใน
การตดิ ตาม ตรวจสอบ ประเมินผลและนเิ ทศการศึกษา

2. กาหนดแนวทางและเป้าหมายความสาเร็จ ในการทางานของคณะกรรมการติดตาม ตรวจสอบ
ประเมินผล และนิเทศการศึกษาของเขตพ้ืนที่การศึกษาให้สอดคล้องกับข้อ ตามภารกิจของคณะกรรมการ
ตดิ ตาม ตรวจสอบ ประเมินผล และนิเทศการศึกษาของเขตพ้นื ที่การศกึ ษา

3. กาหนดกลไกการทางานในการขับเคลื่อนงานในภารกิจของคณะกรรมการติดตาม ตรวจสอบ
ประเมนิ ผล และนเิ ทศการศึกษาของเขตพน้ื ท่ีการศึกษา เช่น

3.1 จัดทาแผนนิเทศในการติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผลและนิเทศการศึกษา เพื่อเสนอขอ
อนมุ ตั จิ ากคณะกรรมการติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผล และนเิ ทศการศึกษาของเขตพืน้ ที่การศึกษา

3.2 แตง่ ต้ังคณะอนุกรรมการตคิ ตาม ตรวจสอบ ประเมินผลการจัดการศกึ ษา
33 สรา้ งเคร่อื งมอื ในการตดิ ตาม ตรวจสอบ ประเมนิ ผล และนเิ ทศการศึกษาให้สอดคล้องกับ
ข้อ 1 และขอ้ 2
4. สรา้ งความเขา้ ใจกับผู้ทีเ่ กี่ยวข้อง ได้แก่ รองผอู้ านวยการสานักงานเขตพนื้ ทกี่ ารศกึ ษา ศกึ ษานเิ ทศก์
ผู้บรหิ ารสถานศึกษา ครวู ซิ าการ เจ้าหนา้ ทที่ เ่ี กี่ยวข้อง เป็นตนั
5. ดาเนินการตามแผนปฏิบตั ิการในการตติ ตาม ตรวจสอบ ประเมนิ ผลและนิเทศการศึกษาทีก่ าหนด
6. สรุป รวบรวมข้อมูล และประมวลผลที่ได้จากการติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผลและนิเทศ
การศึกษา
7. เสนอสรุปรายงานผลการติดตาม ประเมินผลและนิเทศการศึกษา ต่อผู้อานวยการสานักงานเขต
พ้ืนท่ีการศึกษา และคณะกรรมการติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผล และนเิ ทศการศกึ ษาของเขตพน้ื ท่กี ารศกึ ษา
8. รับทราบผลการดาเนินการติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผลและนิเทศการศึกษาการดาเนินการตาม
แผนปฏิบัติการ และให้ข้อเสนอแนะเพื่อให้สานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษานาไปแก้ปัญหาและปรับปรุงพัฒนา
การบรหิ ารและการพัฒนาคณุ ภาพการศึกษาอย่างตอ่ เน่ือง

10

9. ประสานงานการตรวจราชการ และติดตาม ตรวจสอบประเมินผลของคณะกรรมการติดตาม
ตรวจสอบ ประเมินผลการจัดการศึกษา ผู้ตรวจราชการกระทรวงศึกษาธิการ คณะติดตาม ตรวจสอบ
ประเมินผลในทุกระดบั รวมทงั้ แจ้งหน่วยงาน และสถานศกึ ษาในสงั กัด

10. ปฏิบัติงานอื่นที่ได้รับมอบหมายจากคณะกรรมการติดตาม ตรวจสอบ และประเมินผล
การจัดการศึกษาของกระทรวงศึกษาธิการ ผู้ตรวจราชการกระทรวงศึกษาธิการ และผู้ปฏิบัติในการติดตาม
ตรวจสอบ ประเมินผลการจัดการศึกษาระดับส่วนราชการ และระดับสานกั งานศกึ ษาธกิ ารจงั หวดั

นอกจากนี้สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาบุรีรัมย์ เขต 1 ได้ดาเนินงานติดตามตรวจสอบ
ประเมินผล และนิเทสการศึกษาของสานักงานเขตพื้นที่ ตามระเบียบกระทรวงศึกษาธิการ ว่าด้วยการตรวจ
ราชการ การตติ ตาม ตรวจสอบ และประเมินผล การจดั การศึกษา พ.ศ. 2560 ส่วนท่ี 4 การดิดตามตรวจสอบ
ประเมนิ ผลและนเิ ทศการศึกษา ระดับเขตพนื้ ทก่ี ารศึกษา ดงั นี้

1. มอบหมายศกึ ษานเิ ทศก์ ทาหน้าท่ีตดิ ตาม ประเมินผลและนิเทศการศกึ ษา ในเขตพื้นท่กี ารศกึ ษา
2. จัดทาแผนการติดตาม ประเมินผลและนิเทศการศึกษาประจาปีให้สอดคล้องกับแผนปฏิบัติราชการ
ของหน่วยงาน เสนอขออนุมัติจากคณะกรรมการติตตาม ตรวจสอบ ประเมินผล และนิเทศการศึกษาของเขต
พน้ื ที่การศึกษา และแจ้งใหส้ ถานศึกษาในสงั กดั ทราบ
3. ศึกษา วิเคราะห์ วิจยั ดาเนนิ การนเิ ทศ ติดตามและประเบินผลการศึกษา การบริหารการศึกษาโดย
มุ่งผลสัมฤทธิ์ของหน่วยงานและสถานศึกษาในสังกัดเขตพื้นท่ีการศึกษา เพื่อการเตรียมรับการนิเทศ ติดตาม
และประเมนิ ผลจากหน่วยงานภายในและภายนอก
4. รายงานผลการติดตาม ประเมินผลและนิเทศการศึกษาเสนอผู้บังคับบัญชาและคณะกรรมการ
ตดิ ตาม ตรวจสอบ ประเมนิ ผล และนิเทตการศกึ ษาของเขตพ้นื ทกี่ ารศกึ ษา
5. ประสานให้หน่วยงานและเจ้าหน้าท่ี เพื่อชี้แจง ให้ถ้อยคาหรือส่งเอกสารและหลักฐานเก่ียวกับ
การปฏบิ ัตงิ าน
6. ปฏิบตั งิ านอืน่ ใดตามท่ีใด้รบั มอบหมาย

11

รูปแบบกำรบริหำรจัดกำรสร้ำงควำมเข้มแข็งใหแ้ กค่ ณะกรรมกำรตดิ ตำม ตรวจสอบ ประเมนิ ผลและนิเทศ
กำรศกึ ษำ ของเขตพ้ืนทก่ี ำรศกึ ษำ

สานักงานเขดพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษาบุรีรัมย์ เขต 1 ได้ใช้รูปแบบการบริหารจัดการเพ่ือ
เสริมสร้างความเข้มแข็งในการปฏิบัติหน้าท่ีให้แก่คณะกรรมการติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผล และนิเทศ
การศกึ ษา ดว้ ยหลักการ 3 Performance Management Method ดงั นี้

รูปแบบกำรบริหำรจดั กำรสร้ำงควำมเข้มแขง็ 3 Performance Management Method
ของคณะกรรมกำรตดิ ตำม ตรวจสอบ ประเมนิ ผลและนเิ ทศกำรศกึ ษำ ของเขตพน้ื ท่ีกำรศึกษำ

1. มสี ว่ นร่วมอยำ่ งสรำ้ งสรรค์ (Creative participation) หมายถงึ การนิเทศโดยใช้หลักการมีส่วน
ร่วมประกอบด้วย 1. ร่วมคิดอย่างสร้างสรรค์ (Creative Thinking Participation) 2. ร่วมปฏิบัติอย่าง
สร้างสรรค์ (Creative Implementing Participation) 3. ร่วมติดตาม นิเทศ อย่างสร้างสรรค์ (Creative
Supervise Participation) 4. ร่วมประเมินผลอย่างสร้างสรรค์ ( Creative Evaluate Participation)
5. รว่ มปรบั ปรงุ และพฒั นาอย่างสร้างสรรค์ (Creative Improve and develop Participation)

2. ใช้ดิจิทัลแพลตฟอร์มเพิ่มประสิทธิภำพ (Digital platform for efficiency) หมายถึง
การเช่อื มโยงระบบการ ตดิ ตาม ตรวจสอบ ประเมนิ ผล และนิเทศการศึกษาด้วยระบบปฏบิ ตั ิงานทีม่ ีเทคโนโลยี
เข้ามาเกยี่ วขอ้ ง (Digitalization Process)

12

3. ประเมินผลโปร่งใสและได้มำตรฐำน (Transparency and Standardized Assessment)
หมายถึง การประเมินคุณภาพการบริหารจัดการของโรงเรียน โดยใช้เกณฑ์คุณภาพเพ่ือดาเนินการท่ีเป็นเลิศ
(Criteria for Performance Excellence) โดยพิจารณาว่า โรงเรียนมีการบริหารจัดการที่เป็นระบบหรือไม่
นาระบบไปใช้อย่างจริงจัง สม่าสมอ และทั่วถึงหรือไม่ มีการติดตาม ประเมินผล เพ่ือพัฒนาระบบให้ดีขึ้น
หรือไม่ ผลการปรับปรุง ส่งผลต่อการบรรลุเป้าหมายและทิศทางที่มุ่งหวังหรือไม่ และผลลัทธ์ของการปรับปรงุ
สรา้ งความยง่ั ยืนได้หรือไม่

ขอบข่ำยกำรนิเทศ คณะกรรมกรติดตำม ตรวจสอบ ประเมินผลและนิเทศกำรศึกษำ ของเขตพ้ืนที่
กำรศกึ ษำ

การติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผลและนิเทศการศึกษา สานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษา
บุรีรัมย์ เขต 1 กาหนดขอบข่ายของการนิเทศการศึกษาของสถานศึกษาในสังกัด ครอบคลุมการบริหารงาน 4
ด้าน ได้แก่ 1) ด้านนโยบาย สพฐ. 2) ด้านนโยบายเร่งด่วน สพฐ. (QUICK POLICY) 3) ด้านจุดเน้น สพป.
บุรรี ัมย์ เขต 1 และ 4) ด้านการพัฒนางาน PA โดยมรี ายละเอียดดังต่อไปนี้

1. ด้ำนนโยบำย สพฐ.

ตามแผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ (พ.ศ. 2561 - 2580) และแผนปฏิรูปประเทศด้านการศึกษา
กาหนดให้มีการพัฒนาเด็กตั้งแต่ระดับปฐมวัยให้มีสมรรถนะและคุณลักษณะที่ดี สมวัยทุกด้านโดยการปฏิรูป
กระบวนการเรียนรู้ท่ีตอบสนองต่อการเปลี่ยนแปลงในศตวรรษท่ี 21 ตระหนักถึงพหุปัญญาของมนุษย์
ท่ีหลากหลาย มีเป้าหมายให้ผู้เรียนทุกกลุ่มวัยได้รับการศึกษาท่ีมีคุณภาพตามมาตรฐาน มีทักษะที่จาเป็น
ของโลกอนาคต สามารถแก้ปัญหา ปรับตัว สื่อสาร และทางานร่วมกับผู้อ่ืนได้อย่างมีประสิทธิผลมีวินัย มีนิสัย
ใฝเ่ รยี นรู้ อยา่ งต่อเนอ่ื งตลอดชีวติ รวมทง้ั เปน็ พลเมอื งที่ รสู้ ิทธิและหน้าท่ี มคี วามรบั ผดิ ชอบและมจี ติ สาธารณะ

สานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐาน มุ่งมั่นในการพัฒนาการศึกษาขั้นพ้ืนฐานให้เป็น
"การศึกษาช้ันพื้นฐานวิถีใหม่ วิถีคุณภาพ" มุ่งเน้นความปลอดภัยในสถานศึกษา ส่งเสริมโอกาสทางการศึกษา
ท่ีมีคุณภาพอย่างเท่าเทียม และบริหารจัดการศึกษาอย่างมีประสิทธิภาพ จึงกาหนดนโยบายสานักงาน
คณะกรรมการการศกึ ษาขนั้ พน้ื ฐาน ปกี ารศกึ ษา พ.ศ. 2565 ดงั น้ี

1. ด้ำนควำมปลอดภัย
พัฒนาระบบและกลไกในการดูแลความปลอดภัยให้กับผู้เรียน ครู และบุคลากรทางการศึกษาและ
สถานศึกษา จากภัยพิบัติและภัยคุกคามทุกรูปแบบ รวมถึงการจัดสภาพแวดล้อมที่เอ้ือต่อการมีสุขภาวะท่ีดี
สามารถปรับตัวต่อโรคอุบัตใิ หมแ่ ละโรคอุบตั ิชา้

13

2. ด้ำนโอกำส
2.1 สนับสนุน ให้เด็กปฐมวัยได้เข้าเรียนทุกคน มีพัฒนาการที่ดี ทั้งทางร่างกาย จิตใจ วินัย

อารมณ์ สงั คม และสตปิ ัญญา ให้สมกับวยั
2.2 ดาเนินการ ให้เด็กและเยาวชนได้รับการศึกษาจนจบการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน

อย่างมคี ณุ ภาพตามมาตรฐาน วางรากฐานการศึกษาเพ่ืออาชีพ สามารถวเิ คราะห์ตนเองเพ่ือการศึกษาต่อ และ
ประกอบอาชีพตรงตามศักยภาพและความถนัดของตนเอง รวมท้ังส่งเสริมและพัฒนาผู้เรียนที่มีความสามารถ
พเิ ศษสคู่ วามเป็นเลิศ เพ่ือเพ่ิมขีดความสามารถในการแข่งขนั ของประเทศ

2.3 พัฒนาระบบดูแลช่วยเหลือเด็กและเยาวชนที่อยู่ในการศึกษาขั้นพื้นฐาน เพื่อป้องกัน
ไม่ให้ออกจากระบบการศกึ ษา รวมท้ังช่วยเหลือเด็กตกหล่นและเต็กออกกลางคันให้ได้รับการศึกษาขั้นพื้นฐาน
อยา่ งเทา่ เทยี มกัน

2.4 ส่งเสริมให้เด็กพิการและผู้ด้อยโอกาส ให้ได้รับโอกาสทางการศึกษาท่ีมีคุณภาพ มีทักษะ
ในการดาเนนิ ชวี ติ มพี นื้ ฐานในการประกอบอาชีพ พ่ีงตนเองได้อยา่ งมศี กั ด์ิศรคี วามเปน็ มนุษย์ ตามหลกั ปรัชญา
ของเศรษฐกิจพอเพยี ง

3. ดำ้ นคุณภำพ
3.1 ส่งเสริมการจัดการศึกษาให้ผู้เรียนมีความรู้ มีทักษะการเรียนรู้และทักษะท่ีจาเป็น

ของโลกในศตวรรษที่ 21 อยา่ งครบถ้วน เป็นคนดี มีวนิ ัย มคี วามรักในสถาบันหลักของชาติ ยึดม่ันการปกครอง
ในระบอบประชาธิปไตยอนั มีพระมหากษตั รยิ ท์ รงเป็นประมุข มีทศั นคตทิ ่ถี กู ตอ้ งต่อบ้านเมือง

3.2 พัฒนาผู้เรียนให้มีสมรรถนะและทักษะด้านการอ่าน คณิตศาสตร์ การคิดขั้นสูง
นวัตกรรม วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีดิจิทัล และภาษาต่างประเทศ เพื่อเพ่ิมขีดความสามารถในการแข่งขัน
และการเลอื กศกึ ษาตอ่ เพื่อการมีงานทา

3.3 ปรับหลักสูตรเป็นหลักสูตรฐานสมรรถนะ ที่เน้นการพัฒนาสมรรถนะหลักที่จาเป็น
ในแต่ละระดับ จัดกระบวนการเรียนรู้แบบลงมือปฏิบัติจริง รวมท้ังส่งเสริมการจัดการเรียนรู้ท่ีสร้างสมดุล
ทุกด้านสง่ เสรมิ การจัดการศึกษาเพอื่ พฒั นาพหุปญั ญา พฒั นาระบบการวดั และประเมินผลผู้เรยี นทุกระดบั

3.4 พัฒนาครูและบคุ ลากรทางการศกึ ษา ใหเ้ ป็นครยู ุคใหม่ มศี กั ยภาพในการจดั การเรียนการ
สอนตามหลักสูตรฐานสมรรถณะ มีทักษะในการปฏิบัติหน้าที่ได้ดี มีความรู้ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี
ดิจิทลั มกี ารพฒั นาตนเองทางวิชาชีพอยา่ งต่อเนอ่ื ง รวมทง้ั มจี ติ วิญญาณความเปน็ ครู

4. ด้ำนประสทิ ธิภำพ
4.1 พัฒนาระบบบริหารจัดการโดยใช้พ้ืนท่ีเป็นฐาน มีนวัตกรรมเป็นกลใกหลัก

ในการขบั เคลื่อนบนฐานขอ้ มูลสารสนเทศทถี่ ูกต้อง ทันสมัย และการมสี ่วนรว่ มของทุกภาคสว่ น

14

4.2 พัฒนาโรงเรียนมัธยมดีส่ีมุมเมือง โรงเรียนคุณภาพของชุมชน โรงเรียนขนาดเล็ก
และโรงเรยี นท่สี ามารถดารงอยไู่ ด้อยา่ งมคี ุณภาพ (Stand Alone) ใหม้ คี ณุ ภาพอย่างย่งั ยืน สอดคล้องกับบริบท
ของพื้นท่ี

4.3 บริหารจัดการโรงเรียนขยายโอกาสทางการศึกษา ท่ีมีจานวนนักเรียนช้ันมัธยมศึกษา
ปีที่ 1 - 3 น้อยกว่า 20 คน ให้ได้รับการศึกษาอย่างมีคุณภาพ สอดคล้องกับนโยบายโรงเรียนคุณภาพ
ของชมุ ชน

4.4 ส่งเสริมการจัดการศึกษาที่มีคุณภาพในสถานศึกษาท่ีมีวัตถุประสงค์เฉพาะ
และสถานศึกษาที่ตง้ั ในพนื้ ที่ลักษณะพเิ ศษ

4.5 สนับสนุนพื้นที่นวัตกรรมการศึกษาให้เป็นต้นแบบการพัฒนานวัตกรรมการศึกษา
และการเพ่มิ ความคล่องตัวในการบรหิ ารและการจดั การศึกษาข้นั พื้นฐาน

4.6 เพ่มิ ประสทิ ธภิ าพการนเิ ทศ ตดิ ตามและประเปน็ ผลการศึกษาขน้ั พ้นื ฐาน
2. ดำ้ นนโยบำยเร่งดว่ น สพฐ. (QUICK POLICY)

15

3. ด้ำนจุดเนน้ สพป.บุรรี ัมย์ เขต 1

16

4. ดำ้ นกำรพฒั นำงำน PA
ก.ค.ศ. ได้ประกาศ หลักเกณฑ์และวิธีการประเมินตาแหน่งและวิทยฐานะข้าราชการครูและบุคลากร

ทางการศึกษา ตาแหน่งครู หรือ ว9/2564 ออกมาแล้ว องค์ประกอบในการพัฒนางาน ประกอบด้วย 2 ส่วน
ดังน้ี

ส่วนท่ี 1 ขอ้ ตกลงในกำรพฒั นำงำนตำมมำตรำฐำนตำแหนง่
1. การปฏบิ ตั ิงานตามมาตราฐานตาแหน่งครู และมภี าระงานตามท่ี ก.ค.ศ. กาหนด
2. ผลการปฏิบัติงาน แบ่งออกเป็น ด้านการจัดการเรียนรู้ ด้านการส่งเสริมสนับสนุน

การจัดการเรยี นรู้ และดา้ นการพัฒนาตนเองและวิชาชพี
ส่วนที่ 2 ขอ้ ตกลงในกำรพฒั นำงำนทเ่ี ป็นประเดน็ ทำ้ ทำยในกำรพัฒนำผลลัพธก์ ำรเรยี นรู้ของผเู้ รยี น

กำรจัดทำขอ้ ตกลงในกำรพฒั นำงำน
ให้ข้าราชการครูทาข้อตกลงในการพัฒนางานตามแบบที่ ก.ค.ศ. กาหนด ทุกปีงบประมาณเสนอ

ต่อผู้อานวยการสถานศึกษาเพ่อื พจิ ารณาให้ความเหน็ ชอบ
คณะกรรมกำรประเมินผลกำรพฒั นำตำมขอ้ ตกลง

ให้ผูอ้ านวยการแตง่ ต้ังคณะกรรมการประเมนิ ฯ จานวน 3 คน ประกอบด้วย
1. ผู้อานวยการสถานศกึ ษา เปน็ ประธานกรรมการ
2. ศึกษานิเทศก์ไม่ต่ากว่า คศ.3 หรือ อาจารย์มหาวิทยาลัยไม่ต่ากว่าผู้ช่วยศาสตราจารย์ หรือครู
จากโรงเรียนอืน่ ไมต่ า่ กว่า คศ.3 หรอื ผทู้ รงคณุ วติ ิจากภายนอกโรงเรยี นท่ีมีความเหมาะสม จานวน 2 คน

17

กำรประเมินผลกำรพัฒนำตำมขอ้ ตกลง
1. ผู้อานวยการสถานศึกษา เป็นผู้รับผิดชอบ DPA และนาข้อมูลการประเมินในแต่ละรอบของครู

เขา้ สู่ระบบเปน็ ประจาทกุ รอบการประเมิน
2. มผี ลการประเมนิ ของคณะกรรมการแตล่ ะคนไม่ต่ากวา่ ร้อยละ 70

กำรนำผลกำรประเมินผลกำรพฒั นำตำมข้อตกลงไปใช้
1. ใชเ้ ลอื่ นวทิ ยฐานะ
2. ใชป้ ระเมนิ พิจารณาเลอ่ื นขัน้ เงนิ เดอื น
3. ใช้ดารงไวซ้ งึ่ ความรู้ตามวทิ ยฐานะ

หลักเกณฑฯ์ และคณุ สมบตั ิ
1. ดารงตาแหนง่ ครู คศ.1 หรือ ครู คศ.2 มาแลว้ ไม่นอ้ ยกวา่ 4 ปี
2. มีการพัฒนางานตามข้อตกลง PA ในช่วงเวลา 3 รอบการประเมิน และมีผลการประเมินไม่ต่ากว่า

ร้อยละ 70
3. ไมถ่ ูกดาเนนิ การทางวินัยในช่วง 4 ปี

เกณฑ์กำรประเมินท่ีต้องผ่ำนทง้ั 2 ด้ำน
ดำ้ นที่ 1 ดำ้ นทักษะกำรจัดกำรเรียนรู้และกำรจดั กำรช้ันเรยี น จะพจิ ารณาจาก

1. แผนการจัดการเรียนรทู้ ่ตี รงตามวดิ ีทศั นบ์ ันทกึ การสอน
2. ไฟล์วดิ ีโอการสอน
3. ไฟล์วดิ ีโอ ทแ่ี สดงถงึ สถาพปัญหาและแรงบนั ดาลใจในการจดั การเรยี นรู้
**คศ. 2 จะตอ้ งได้คะแนนจากกรรมการแต่ละคนไม่ตา่ กวา่ รอ้ ยละ 65
***คศ. 3 จะต้องไดค้ ะแนนจากกรรมการแตล่ ะคนไม่ต่ากวา่ ร้อยละ 70
ด้ำนที่ 2 ด้ำนผลลพั ธก์ ำรเรยี นร้ขู องผเู้ รียน จะพจิ ารณาจาก
ผลงานหรือผลการปฏิบัติงานของผู้เรียนที่ปรากฏภายหลังการจัดการเรียนรู้และการจัดการช้ันเรียน
ตามวดิ โี อสอนโดยสง่ เป็นไฟลด์ จิ ทิ ลั ไฟล์ภาพ หรอื PDF
**คศ. 2 จะตอ้ งได้คะแนนจากกรรมการแตล่ ะคนไม่ต่ากว่า ร้อยละ 65
***คศ. 3 จะต้องไดค้ ะแนนจากกรรมการแต่ละคนไม่ต่ากวา่ ร้อยละ 70
กำรส่งผลงำน(นำเขำ้ ระบบ DPA)
ผู้ที่มีความประสงค์จะขอมีหรือเลื่อนวิทยฐานะให้ยื่นคาขอต่อโรงเรียนได้ตลอดปี ภาคเรียนละ 1 ครั้ง
เพอ่ื ให้โรงเรยี นไดน้ าข้อมูลเขา้ สู่ระบบ DPA พรอ้ มหลักฐาน ดงั ต่อไปนี้
1. ผลการพัฒนางานตามข้อตกลงในระยะเวลาย้อนหลัง 3 หรือ 2 หรือ 1 รอบการประเมิน
และแต่กรณี เปน็ ไฟล์ PDF

18

2. แผนการจดั การเรยี นรู้ ตามทีป่ รากฏในวดิ โี อบันทึกการสอนในรูปแบบ PDF 1 ไฟล์
3. ไฟล์วิดีโอการสอนที่สอดคลอ้ งกับแผนการจดั การเรียนรู้
4. ไฟลว์ ดิ ีโอท่ีแสดงถึงสภาพปญั หาและแรงบันดาลในในการจัดการเรียนรู้

แผนกำรติดตำม ตรวจสอบ ประเมินผลและนิเทศกำรศึกษำ ของคณะกรรมกำรติดตำม ตรวจสอบ
ประเมินผลและนเิ ทศกำรศึกษำ ของเขดพืน้ ทกี่ ำรศกึ ษำ

สานกั งานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษาบรุ รี ัมย์ เขต 1 กาหนดแผนการนิเทศการติดตามตรวจสอบ
ประเมินผลและนิเทศการศึกษา ของคณะกรรมการติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผลและนิเทศการศึก ษา
ของเขตพื้นที่การศกึ ษา ปกี ารศึกษา 2565 ไวด้ งั น้ี

1. ศึกษา วิเคราะห์ นโยบายของสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน แผนพัฒนาคุณภาพ
การศึกษา มาตรฐานสานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษา มาตรฐานการปฏิบัติงานของสถานศึกษา เพ่ือกาหนด
ขอบขา่ ยการติดตาม ตรวจสอบ

2. จัดทาแผนการตดิ ตาม ตรวจสอบ ประเมนิ ผลและนิเทศการศึกษา ปกี ารศึกษา 2565 และเครือ่ งมือ
ตดิ ตาม ตรวจสอบ ประเมนิ ผลและนิเทศการศกึ ษา

3. ประชุมคณะกรรมการติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผลและนิเทศการศึกษา และผู้เก่ียวข้องเพ่ือ
พิจารณาและให้ความเห็นชอบแผนการนิเทศ และเคร่ืองมือที่ใช้ติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผลและนิเทศ
การศกึ ษา ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 ของสานักงานเขตพืน้ ที่การศกึ ษาประถมศกึ ษาบุรีรมั ย์ เขต 1

4. แจง้ ใหโ้ รงเรียนในสงั กดั และผเู้ กยี่ วข้องทราบ
5. แต่งตั้งคณะอนุกรรมการเพื่อทาหน้าที่ติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผลและนิเทศการศึกษาและ
ประชุมข้ีแจงเก่ียวกับบทบาทหน้าที่และแนวทางการการติดตาม ตรวจสอบฯ โรงเรียนในสังกัดทราบ
และเตรยี มรับการตดิ ตาม ตรวจสอบฯ
6. กาหนดปฏิทินการติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผลและนิเทศการศึกษา ปีการศึกษาละ 2 ครั้ง
7. ดาเนินการติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผลและนิเทศการศึกษา ทุกโรงเรียนในสังกัด ประชุม
วิเคราะห์ และจัดทารายงานผลการคิดตาม ตรวจสอบ ประเมินผลและบิเทศการศึกษาต่อสาธารณชนและ
ผู้เก่ียวข้องสานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษาบุรีรัมย์ เขต 1 กาหนดให้มีการติดตาม ตรวจสอบ
ประเมินผลและนิเทศการศึกษาทุกโรงเรียนในสังกัด ภาคเรียนละ 1 คร้ัง รวมปีการศึกษาละ 2 คร้ัง
และให้กลุ่มงานเลขานุการคณะกรรมการติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผล และนิเทศการศึกษา กลุ่มนิเทศ
ติดตามและประเมินผลการจัดการศึกษา เป็นผู้รวบรวม สรุปผล จัดทารายงานผลการติดตาม ตรวจสอบ
ประเมินผลและนิเทศการศึกษา ของสานักงานเขตพ้ืนที่เมื่อสิ้นสุดปีการศึกษา เสนอให้ผู้เกี่ยวข้องทราบต่อไป
ท้ังนี้ ให้แต่งตั้งคณะอนุกรรมการติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผลและนิเทศการศึกษาของเขตพ้ืนที่ ทาหน้าท่ี

19

ติดตาม ตรวจสอบประเมินผลและนิเทศการศึกษาโรงเรียนในสังกัด จานวน 20 คณะ คณะละ 7-8 คน
ประกอบดว้ ย

1. รองผู้อานวยการสานักงานเขตพื้นที่การศึกษา หรือ คณะกรรมการติดตาม ตรวจสอบประเมินผล
และนิเทศการศึกษาของเขตพ้นื ที่ เป็นประธานกรรมการ

2. ผ้อู านวยการโรงเรียนท่ดี ารงตาแหน่งประธานกลมุ่ โรงเรียนเป็นรองประธานกรรมการ
3. ผู้อานวยการโรงเรยี นที่ดารงตาแหน่งรองประธานกลมุ่ โรงเรียนเป็นกรรมการ
3. ผูอ้ านวยการโรงเรยี นท่ดี ารงตาแหนง่ หวั หนา้ พัฒนาวิชาการเปน็ กรรมการ
4. ผูอ้ านวยการกลุ่มในสานกั งานเขตพื้นท่กี ารศึกษาหรือผทู้ ่ีได้รบั มอบหมาย เป็นกรรมการ
5. ศกึ ษานิเทศก์ เป็นกรรมการและเลขานุการ

ระยะเวลำดำเนนิ งำน ระยะเวลำทีจ่ ะเริม่ ดำเนนิ กำร
ต.ค. - ธ.ค. ม.ค. - ม.ี ค. เม.ย. - ก.ค. - ก.ย.
กจิ กรรม
2564 2565 ม.ิ ย. 2565
กิจกรรมท่ี 1 ประชุม ก.ต.ป.น.ขออนุมตั ิ 2565
แผนปฏิบตั กิ ารนิเทศ และรับฟงั ข้อสรุปต่อองค์
คณะบุคคลและผ้เู ก่ียวข้อง
กจิ กรรมท่ี 2 จดั ทาคู่มือติดตาม ตรวจสอบ
ประเมนิ ผลและนเิ ทศการศึกษา
กจิ กรรมท่ี 3 ติดตาม ตรวจสอบ ประเมนิ ผล
และนิเทศการศึกษา
กิจกรรมที่ 4 ประชุมสรปุ รายงานผลการ
ตดิ ตาม ตรวจสอบ ประเมนิ ผลและนเิ ทศ
การศกึ ษา นาเสนอ

20

บทที่ 3

วิธีดำเนินงำน

การติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผลและนิเทศการศึกษา สานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษา
บุรีรัมย์ เขต 1 มีวัตถุประสงค์ เพื่อพัฒนาระบบการติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผล และนิเทศการศึกษา และ
ติดตาม ตรวจสอบการดาเนนิ การโดยมุ่งผลสัมฤทธ์ิของสถานศกึ ษาในสงั กัดเพื่อนาผลมาใช้ปรับปรุงและพัฒนา
คุณภาพการศึกษาของสานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษาบุรีรัมย์ เขต 1 ให้มีคุณภาพสูงข้ึน มีวิธีการ
ดาเนินงานตามข้ันตอนดังน้ี

1. กลมุ่ เป้าหมาย
2. ขอบขา่ ยการตดิ ตาม ตรวจสอบ ประเมนิ ผลและนิเทศการศกึ ษา
3. เคร่อื งมอื การตดิ ตาม ตรวจสอบ ประเมนิ ผลและนิเทศการศกึ ษา
4. การเก็บรวบรวมข้อมลู
5. การวเิ คราะห์ขอ้ มูล

กลุ่มเป้ำหมำย

กลุ่มเป้าหมายในการติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผลและนิเทศการศึกษา ได้แก่ โรงเรียนในสังกัด
สานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษาบุรีรัมย์ เขต 1 จานวน 201 โรง แบ่งออกเป็น 20 กลุ่ม โดยใช้
การแบ่งกลุ่มโรงเรียน ดงั นี้

กลมุ่ โรงเรียน จำนวน 20 โรงเรยี น

ที่ ชือ่ โรงเรยี น จำนวนโรงเรียน ศึกษำนเิ ทศกท์ ีร่ ับผดิ ชอบ

1 เมอื งบุรีรมั ย์ 1 12 นางสาวศรวษิ ฐา สุระวรรณะ
2 เมอื งบุรรี มั ย์ 2 10 นายกติ ติพงศ์ บุญเติม
3 เมืองบุรรี ัมย์ 3 13 นางสาวปลดิ า พันธ์วนั
4 เมืองบุรีรัมย์ 4 11 นางจุฬาพร คาพิมูล
5 เมอื งบรุ ีรัมย์ 5 11 นายเกษม ทมี กระโทก
6 เมืองบรุ รี มั ย์ 6 10 นางสาวสุมาลี กงุ ไธสง
7 เมืองบุรรี มั ย์ 7 13 นายกฤษขจร ศรีถาวร

21

กลมุ่ โรงเรียน จำนวน 20 โรงเรยี น

ที่ ชอื่ โรงเรียน จำนวนโรงเรยี น ศกึ ษำนเิ ทศก์ทรี่ บั ผิดชอบ

8 เมอื งบรุ รี ัมย์ 8 14 นางพรณชิ า บารเ์ บอร์

9 ลาปลายมาศ 1 10 นางสาวกญั จนา สัณฐาน

10 ลาปลายมาศ 2 6 นางอานวย คมกรชิ

11 ลาปลายมาศ 3 10 นางสาวภสั ราภรณ์ หาญหริ ญั โรจน์

12 ลาปลายมาศ 4 10 นางมณีรัตน์ เถื่อนแก้ว

13 ลาปลายมาศ 5 7 นางสาวธัญญร์ วี พงศธรภูริวัฒน์

14 ลาปลายมาศ 6 11 นางจตุ มิ าพร เชยี งกา

15 ลาปลายมาศ 7 12 นางสาวพิมพ์รภสั ประสีละเตสัง

16 ลาปลายมาศ 8 8 นางนวลอนงค์ ชูใส

17 บ้านดา่ น 1 10 นางบุศยรนิ ทร์ อาณาเขต

18 บ้านด่าน 2 6 นางสาวเพราเพ็ญ รัตนดี

19 ชานิ 1 8 นายสมบูรณ์ เทพศรทั ธา

20 ชานิ 2 9 นางสาวสิณทรัพย์สิริ เรอื งรุง่ ไกล

รวม 201

ขอบข่ำยกำรตดิ ตำม ตรวจสอบ ประเมินผลและนิเทศกำรศึกษำ

คณะกรรมการติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผลการจัดการศึกษา กาหนดขอบข่ายการติดตาม
ตรวจสอบ ประเมนิ ผลและนเิ ทศการศึกษา ปีการศึกษา 2565 ไวด้ งั น้ี

1. ด้ำนนโยบำย สพฐ.
1. ดา้ นความปลอดภัย
2. ดา้ นโอกาสและการลดความเหลอ่ื มลา้ ทางการศกึ ษา
3. ด้านคณุ ภาพ
4. ด้านประสทิ ธิภาพ

2. ดำ้ นนโยบำยเร่งด่วน สพฐ. (QUICK POLICY)
1. พระบรมราโชบาย ร.10 สู่การปฏิบัติ
2. ประวตั ิศาสตร์ หนา้ ที่พลเมอื ง คุณธรรม จริยธรรม
3. การศึกษากับการพัฒนาประชาธปิ ไตย
4. การจัดการศึกษาปฐมวัย
5. ACTIVE LEARNING

22

6. พาน้องกลบั มาเรียน
7. โรงเรยี นคุณภาพ
8. LEARNING LOSS
9. RT NT O-NET
10. ความปลอดภัย
3. ดำ้ นจุดเนน้ สำนักงำนเขตพนื้ ท่ีกำรศกึ ษำประถมศึกษำบรุ รี มั ย์ เขต 1
1. เดก็ ระดบั ปฐมวยั ได้รับการเสริมภาษาและมพี ัฒนาการที่ดี 4 ดา้ น
2. ผู้เรยี นทกุ คนได้รบั โอกาสทางการศกึ ษา อยา่ งเท่าเทยี ม และเสมอภาค
3. ผเู้ รียนช้นั ประถมศกึ ษาชนั้ ปีท่ี 1 อา่ นออกเสียง และอา่ นรเู้ รือ่ ง ในระดบั ดี (รอ้ ยละ 75 ขึ้นไป)
4. ผเู้ รียนท่จี บชัน้ ประถมศกึ ษาปที ่ี 3 ตอ้ งอ่านออกเขยี นได้ คดิ เลขเป็นทกุ คน
5. ผเู้ รยี นมผี ลการประเมินคุณภาพผู้เรียน (NT) ชัน้ ประถมศึกษาปีท่ี 3 เพมิ่ ข้ึน
6. ผู้เรียนมีผลการทดสอบระดับชาติข้ันพ้ืนฐาน (O-NET) ช้ันประถมศึกษาปีท่ี 6 และมัธยมศึกษาปีท่ี
เพิม่ ขึ้น
7. ผูเ้ รียนมีคุณธรรม จรยิ ธรรม มคี วามพอเพียง มีวินัย ซอื่ สัตย์ สุจริต และจติ สาธารณะ
8. ผเู้ รียนทุกคนมีความปลอดภัย
9. ผ้เู รียนมที ักษะส่อื สารภาษาอังกฤษ
10. ผู้เรยี นมีทักษะการใชเ้ ทคโนโลยีอย่างสรา้ งสรรค์
11. ผเู้ รยี นเรยี นรู้ดว้ ยกระบวนการ Active Learning
12. ครูมีนวัตกรรม หรือผลงานวิจัย หรอื ผลการปฏบิ ตั ิงานทีเ่ ปน็ เลศิ
13. ผูบ้ ริหารสถานศึกษามีนวัตกรรม หรอื ผลงานวจิ ยั หรอื ผลการปฏิบัติงานทีเ่ ป็นเลศิ
14. 1 หอ้ งเรยี น 1 โครงงานอาชพี
15. สถานศกึ ษามรี ะบบดแู ลช่วยเหลือนกั เรียนทเี่ ข้มแข็ง
16. สถานศกึ ษามีการบรหิ ารจดั การตามหลักธรรมาภบิ าลทีม่ ีประสทิ ธภิ าพ และไดม้ าตรฐาน
4. ด้ำนกำรพฒั นำงำน PA
1. การพฒั นางาน PA ด้านท่ี 1
1. การพฒั นางาน PA ดา้ นที่ 2

ประเมินผล https://forms.gle/UTLuQvB6AncYBvmK9

23

เคร่ืองมือและเกณฑก์ ำรให้คะแนนกำรตดิ ตำม ตรวจสอบ ประเมนิ ผล และนเิ ทศกำรศกึ ษำ

1. กำรสรำ้ งและพัฒนำคณุ ภำพของเครื่องมอื
การสร้างและพัฒนาคุณภาพเครื่องมือติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผลและนิเทศการศึกษาสานักงาน
เขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษาบุรีรัมย์ เขต 1 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565 ได้ดาเนินการตามชั้นตอน
ดงั นี้
1) คณะกรรมการติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผลและนิเทศการศึกษา สานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษา
ประถมศึกษาบุรีรัมย์ เขต 1 และกลุ่มงานเลขานุการคณะกรรมการติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผลและนิเทศ
การศึกษา กลุ่มนิทศ ติดตามและประเมินผลการบริหารการจัดการศึกษายกร่างเคร่ืองมือ ตรวจสอบ
ประเมนิ ผลและนเิ ทศการศกึ ษา โดยศึกษาเอกสารทีเ่ กีย่ วขอ้ งดังนี้

1) ดา้ นนโยบาย สพฐ.
2) ดา้ นนโยบายเร่งดว่ น สพฐ. (QUICK POLICY)
3) ด้านจุดเนน้ สพป.บรุ รี ัมย์ เขต 1 และ
4) ดา้ นการพฒั นางาน PA
2) สร้างเคร่ืองมือติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผลและนิเทศการศึกษา ได้แก่ แบบติดตาม ตรวจสอบ
ประเมนิ ผลและนิเทศการศกึ ษา
3) วพิ ากษ์และตรวจสอบความเท่ียงตรงของเคร่ืองมือโดยผูท้ รงคณุ วุฒิ
4) ปรับปรุงเคร่ืองมอื และจดั ทาฉบับจริงเพ่ือนาไปเกบ็ รวบรวมข้อมลู ต่อไป

2. เครื่องมือและเกณฑก์ ำรใหค้ ะแนนกำรตดิ ตำม ตรวจสอบ ประเมนิ ผล และนิเทศกำรศึกษำ

2.1 เคร่ืองมือที่ใช้ในการติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผล และนิเทศการศึกษา ได้แก่ แบบติดตาม

ตรวจสอบ ประเมินผลและนิเทศการศึกษา มีลักษณะเป็นแบบประเมินระดับคุณภาพการปฏิบัติงาน

แบ่งออกเป็น 4 ตอน แต่ละตอนมีคาอธิบายความหมายของหัวข้อการประเมินประเด็นพิจารณาท่ีใช้ประเมิน

วิธีการเก็บรวบรวมข้อมลู และเกณฑก์ ารใหค้ ะแนนและระดับคุณภาพรายละเอียดดงั น้ี

1. ดา้ นนโยบาย สพฐ. (20 คะแนน)

2. ดา้ นนโยบายเร่งดว่ น สพฐ. (QUICK POLICY) (50 คะแนน)

3. ด้านจุดเน้น สพป.บุรรี มั ย์ เขต 1 (80 คะแนน)

4. ด้านการพฒั นางาน PA (10 คะแนน)

2.2 เกณฑ์การให้คะแนนและระดับคุณภาพ ในแต่ละรายการประเมินที่เป็นประเด็นพีจารณา จัดทา

รายการปฏบิ ัตเิ ปน็ ตวั บ่งชี้ เพือ่ พจิ ารณาคณุ ภาพการดาเนินงานของสถานศกึ ษา โดยกาหนดเกณฑก์ ารให้ระดับ

24

คุณภาพการบริหารจัดการของสถานศึกษา และกาดาเนินงานตามนโยบายและสานักงานคณะกรรมการ
การศึกษาข้นั พืน้ ฐานและสานกั งานเขตพืน้ ทีก่ ารศึกษา ดงั น้ี
เกณฑก์ ำรพจิ ำรณำ ระดับคุณภำพ

มากท่ีสุด หมายถึง ผลการประเมนิ ร้อยละ 80 - 100
มาก หมายถงึ ผลการประเมินร้อยละ 70 - 79
ปานกลาง หมายถงึ ผลการประเมินร้อยละ 60 - 59
น้อย หมายถงึ ผลการประเมนิ ร้อยละ 50 - 59
น้อยทส่ี ุด หมายถึง ผลการประเมินร้อยละ 1 – 49

เกณฑ์กำรตดั สิน ระดบั คุณภำพ แปลผล
คะแนนท่ไี ด้ 5 มากท่สี ุด
4
80 – 100 คะแนน 3 มาก
70 – 79 คะแนน 2 ปานกลาง
60 – 59 คะแนน 1
50 – 59 คะแนน นอ้ ย
1 – 49 คะแนน น้อยท่สี ุด

กำรเก็บรวบรวมขอ้ มูล

การเก็บรวบรวมข้อมูลมขี ้ันตอนการดาเนินงานดงั นี้
1. แต่งต้ังคณะอนุกรรมการติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผลและนิเทศการศึกษา สานักงานเขตพ้ืนที่

การศึกษาประถมศึกษาบุรีรัมย์ เขต 1 เพ่ือทาหน้าท่ี ติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผลและนิเทศการศึกษา
ของสถานศกึ ษาในสงั กดั โดยแบ่งออกเป็น 20 คณะ ตามจานวนกลมุ่ โรงเรียน

2. ประชุมช้ีแจงการใช้เครื่องมือและแนวทางการประเมินแก่คณะอนุกรรมการติดตาม ตรวจสอบ
ประเมินผลและนิเทศการศกึ ษา

3. จัดส่งแบบติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผลและนิเทศการศึกษา ให้โรงเรียนศึกษา ดาเนินการ
ประเมนิ ตนเอง และเตรียมรับการตดิ ตาม ตรวจสอบจากคณะอนกุ รรมการฯ

4. คณะอนุกรรมการติดตาม ตรวจสอบ ประเมนิ ผลและนเิ ทศการศึกษา สานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษา
ประถมศึกษาบุรีรัมย์ เขต 1 ดาเนินการติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผลและนิเทศการศึกษาของสถานศึกษา
ในสงั กัดทกุ โรง ในเดือนสิงหาคม - กันยายน 2565

25

5. คณะอนุกรรมการติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผลและนิเทศการศกึ ษา สานกั งานเขตพื้นที่การศึกษา
ประถมศึกษาบรุ รี ัมย์ เขต 1 สรุปและรวบรวมข้อมูลส่งคณะกรรมการติดตาม ตรวจสอบ ประเมนิ ผลและนิเทศ
การศึกษา สานักงานเขตพ้นื ท่ีการศกึ ษาประถมศกึ ษาบรุ รี มั ย์ เขต 1 เพอ่ื วิเคราะห์ ขอ้ มูลตอ่ ไป

กำรวเิ ครำะหข์ ้อมูล

วเิ คราะห์ข้อมูล คา่ ร้อยละ

26

บทที่ 4
ผลกำรวิเครำะหข์ ้อมูลผลกำรติดตำม ตรวจสอบ ประเมนิ ผล และนิเทศกำรศกึ ษำ

สำนกั งำนเขตพ้ืนทก่ี ำรศกึ ษำประถมศกึ ษำบรุ ีรมั ย์ เขต 1

การติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผลและนิเทศการศึกษา สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา
บุรีรัมย์ เขต 1 ประจาปี 2565 นาเสนอผลการวิเคราะห์ข้อมูล 5 ส่วน ประกอบด้วย ส่วนท่ี 1 ข้อมูลโรงเรียน
ส่วนท่ี 2 ด้านนโยบาย สพฐ. ส่วนที่ 3 ด้านนโยบายเร่งด่วน สพฐ. (QUICK POLICY) ส่วนท่ี 4 ด้านจุดเน้น
สพป.บุรรี มั ย์ เขต 1 สว่ นท่ี 5 ด้านการพฒั นางาน PA รายละเอยี ดดงั น้ี
สว่ นท่ี 1 ข้อมลู โรงเรยี น

สานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษาบุรีรัมย์ เขต 1 ตั้งอยู่ท่ี 50 ถนนอิสาณ ตาบลในเมือง
อาเภอเมืองบุรีรัมย์ จังหวัดบุรีรัมย์ รหัสไปรษณีย์ 31000 มีโรงเรียนในสังกัด จานวน 201 โรง ใน 4 อาเภอ
ได้แก่ อาเภอเมืองบุรีรัมย์ อาเภอลาปลายมาศ อาเภอบ้านด่าน อาเภอชานิ โดยมีข้อมูลท่ีเกี่ยวข้อง
ตามตารางที่ 1
แผนภมู ิท่ี 1 จำนวนโรงเรียนในสังกัดแบ่งตำมกล่มุ โรงเรยี น

จากแผนภูมิท่ี 1 พบว่า สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาบุรีรัมย์ เขต 1 มีโรงเรียนในเขต
พ้ืนที่บริการจานวน 4 อาเภอ ดังน้ี โรงเรียนในอาเภอเมืองบุรีรัมย์ ร้อยละ 42.29 โรงเรียนในอาเภอลาปลาย
มาศ ร้อยละ 33.83 โรงเรียนในอาเภอบ้านด่าน ร้อยละ 8.46 และโรงเรียนในอาเภอชานิ ร้อยละ 4.21 รวม
จานวนโรงเรยี นทัง้ หมด 186 โรงเรียน จาก 201 โรงเรียนเรยี น คดิ เป็นร้อยละ 92.54 ทีส่ ง่ รายงาน ก.ต.ป.น.

27

สว่ นท่ี 2 ด้ำนนโยบำย สพฐ.
การติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผลและการนิเทศการศึกษา สถานศึกษาในสังกัด ประจาปี 2565

มีผลการติดตาม ตรวจสอบ ประเมิลผลและนิเทศการศึกษาด้านนโยบาย สพฐ. มี 4 ข้อย่อยในภาพรวมดัง
ตารางท่ี 1

ตำรำงที่ 1 กำรติดตำม ตรวจสอบ ประเมนิ ผลและกำรนเิ ทศกำรศึกษำ ด้ำนนโยบำย สพฐ.

ท่ี รำยกำร ระดบั คณุ ภำพ/จำนวน/รอ้ ยละ

มำกทส่ี ุด มำก ปำนกลำง น้อย น้อยทีส่ ดุ
n%
n % n % n%n% 1 0.54
1 0.54
1 ด้านความปลอดภัย 138 74.19 44 23.66 3 1.61 0 0.00
1 0.54
2 ดา้ นโอกาสและการลด 146 78.49 35 18.82 4 2.15 0 0.00 1 0.54

ความเหลือ่ มลา้ ทางการ

ศกึ ษา

3 ด้านคุณภาพ 107 57.53 72 38.71 6 3.23 0 0.00

4 ด้านประสิทธิภาพ 109 58.60 71 38.17 5 2.69 0 0.00

จากตารางที่ 1 พบว่า ผลการปฏิบัติงานของโรงเรียนในสานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษา
บุรีรัมย์ เขต 1 ด้านนโยบาย สพฐ. มีทั้งหมด 4 ด้าน ได้แก่ 1) ด้านความปลอดภัย มีจานวนโรงเรียนที่มีผล
การปฏบิ ัตงิ านระดับมากท่สี ุด คดิ เป็นรอ้ ยละ 74.19 ระดับมาก คิดเป็นร้อยละ 23.66 ระดบั ปานกลาง คดิ เป็น
ร้อยละ 1.61 ระดับน้อยท่ีสุด คิดเป็นร้อยละ 0.54 2) ด้านโอกาสและการลดความเหล่ือมล้าทางการศึกษา
มีจานวนโรงเรียนท่ีมีผลการปฏิบัติงานระดับมากที่สุด คิดเป็นร้อยละ 78.49 ระดับมาก คิดเป็นร้อยละ 18.82
ระดับปานกลาง คิดเป็นร้อยละ 2.15 ระดับน้อยที่สุด คิดเป็นร้อยละ 0.54 3) ด้านคุณภาพ มีจานวนโรงเรียน
ท่ีมีผลการปฏิบัติงานระดับมากที่สุด คิดเป็นร้อยละ 57.53 ระดับมาก คิดเป็น ร้อยละ 38.71 ระดับปานกลาง
คิดเป็นร้อยละ 3.23 ระดับน้อยที่สุด คิดเป็นร้อยละ 0.54 4) ด้านประสิทธิภาพ มีจานวนโรงเรียน
ท่ีมีผลการปฏิบัติงานระดับมากท่ีสุด คิดเป็นร้อยละ 58.60 ระดับมาก คิดเป็นร้อยละ 38.17 ระดับปานกลาง
คิดเปน็ รอ้ ยละ 2.69 ระดบั น้อยทส่ี ดุ คิดเป็นร้อยละ 0.54

28

สว่ นท่ี 3 ด้ำนนโยบำยเร่งดว่ น สพฐ. (QUICK POLICY)
การติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผลและการนิเทศการศึกษา สถานศึกษาในสังกัด ภาคเรียนที่ 1

ปีการศึกษา 2565 มีผลการติดตาม ตรวจสอบ ประเมิลผลและนิเทศการศึกษา ด้านนโยบายเร่งด่วน สพฐ.
(QUICK POLICY) มี 10 ข้อย่อย ในภาพรวมดงั ตารางที่ 2

ตำรำงที่ 2 กำรตดิ ตำม ตรวจสอบ ประเมนิ ผลและกำรนเิ ทศกำรศึกษำ ดำ้ นนโยบำยเรง่ ดว่ น สพฐ.

(QUICK POLICY)

ที่ รำยกำร ระดับคุณภำพ/จำนวน/รอ้ ยละ

มำกทีส่ ดุ มำก ปำนกลำง น้อย น้อยทีส่ ุด

n % n % n%n%n%

1 พระบรมราโชบาย ร.10 116 62.37 64 34.41 5 2.69 0 0.00 1 0.54

สกู่ ารปฏิบตั ิ

2 ประวัตศิ าสตร์ หนา้ ท่ี 119 63.98 62 33.33 4 2.15 0 0.00 1 0.54

พลเมอื ง คุณธรรม

จรยิ ธรรม

3 การศกึ ษากบั การพัฒนา 126 67.74 55 29.57 4 2.15 1 0.54 0 0.00

ประชาธปิ ไตย

4 การจดั การศึกษา 139 74.73 38 20.43 8 4.30 0 0.00 1 0.54

ปฐมวยั

5 ACTIVE LEARNING 114 61.29 66 35.48 5 2.69 1 0.54 0 0.00

6 พาน้องกลับมาเรียน 123 66.13 53 28.49 9 4.84 0 0.00 1 0.54

7 โรงเรยี นคณุ ภาพ 30 42.25 26 36.62 3 4.23 1 1.41 11 15.49

8 LEARNING LOSS 70 37.63 101 54.30 14 7.53 1 0.54 0 0.00

9 RT NT O-NET 90 48.39 82 44.09 13 6.99 0 0.00 1 0.54

10 ความปลอดภยั 146 78.49 34 18.28 5 2.69 0 0.00 1 0.54

รวมเฉลีย่ 60.30 33.50 4.02 0.30 1.87

จากตารางที่ 2 พบว่า การติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผลและการนิเทศการศึกษา ด้านนโยบาย
เร่งด่วน สพฐ. (QUICK POLICY) สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาบุรีรัมย์ เขต 1 ในภาพรวม พบว่า
มีจานวนโรงเรียนที่มีผลการปฏิบัติงานในระดับมากท่ีสุด คิดเป็นร้อยละ 60.30 ระดับมาก คิดเป็นร้อยละ
33.50 ระดับปานกลาง คิดเป็นร้อยละ 4.02 ระดับน้อย คิดเป็นร้อยละ 0.30 และระดับน้อยที่สุด คิดเป็น
รอ้ ยละ 1.87

29

เมื่อพิจารณารายด้าน พบว่า ด้านนโยบายเร่งด่วน สพฐ. (QUICK POLICY) มีทั้งหมด 10 ด้าน ได้แก่

1) ดา้ นพระบรมราโชบาย ร.10 สูก่ ารปฏบิ ัติ มีจานวนโรงเรียนทม่ี ผี ลการปฏิบตั ิงานระดับมากทีส่ ุด คิดเปน็ รอ้ ย

ละ 62.37 ระดับมาก คิดเป็นร้อยละ 34.41 ระดับปานกลาง คิดเป็นร้อยละ 2.69 และระดับน้อยท่ีสุด คิดเป็น

ร้อยละ 0.54 2) ดา้ นประวัติศาสตร์ หนา้ ท่พี ลเมือง คณุ ธรรม จริยธรรม มจี านวนโรงเรียนทม่ี ผี ลการปฏบิ ตั งิ าน

ระดับมากที่สุด คิดเป็นร้อยละ 63.98 ระดับมาก คิดเป็นร้อยละ 33.33 ระดับปานกลาง คิดเป็นร้อยละ 2.15

และระดับน้อยที่สุด คิดเป็นร้อยละ 0.54 3) ด้านการศึกษากับการพัฒนาประชาธิปไตย มีจานวนโรงเรียนท่ีมี

ผลการปฏิบัติงานระดับมากท่ีสุด คิดเป็นร้อยละ 67.74 ระดับมาก คิดเป็นร้อยละ 29.57 ระดับปานกลาง คิด

เป็นร้อยละ 2.15 และระดับน้อย คิดเป็นร้อยละ 0.54 4) ด้านการจัดการศึกษาปฐมวัย มีจานวนโรงเรียนที่มี

ผลการปฏิบัติงานระดับมากท่ีสุด คิดเป็นร้อยละ 74.73 ระดับมาก คิดเป็นร้อยละ 20.43 ระดับปานกลาง คิด

เป็นร้อยละ 4.30 และระดับน้อยท่ีสุด คิดเป็นร้อยละ 0.54 5) ด้าน ACTIVE LEARNING มีจานวน

โรงเรยี นทีม่ ีผลการปฏิบัตงิ านระดับมากท่ีสดุ คิดเปน็ ร้อยละ 61.29 ระดบั มาก คิดเป็นร้อยละ 35.48ระดบั ปาน

กลาง คิดเป็นร้อยละ 2.69 และระดับน้อย คิดเป็นร้อยละ 0.54 6) ด้านพาน้องกลับมาเรียน มีจานวน

โรงเรียนที่มีผลการปฏบิ ัตงิ านระดบั มากทสี่ ดุ คดิ เป็นร้อยละ 66.13 ระดบั มาก คิดเปน็ รอ้ ยละ 28.49ระดับปาน

กลาง คิดเป็นร้อยละ 4.84 และระดับน้อยท่ีสุด คิดเป็นร้อยละ 0.54 7) ด้านโรงเรียนคุณภาพ มี

จานวนโรงเรียนท่ีมีผลการปฏิบัติงานระดับมากที่สุด คิดเป็นร้อยละ 42.25 ระดับมาก คิดเป็นร้อยละ 36.62

ระดับปานกลาง คิดเป็นร้อยละ 4.23 ระดับน้อย คิดเป็นร้อยละ 1.41 และระดับน้อยท่ีสุด คิดเป็นร้อยละ

15.49 8) ดา้ น LEARNING LOSS มจี านวนโรงเรียนทีม่ ผี ลการปฏิบตั ิงานระดับมากทส่ี ุด คดิ เป็นรอ้ ยละ 37.63

ระดับมาก คิดเป็นร้อยละ 54.30 ระดับปานกลาง คิดเป็นร้อยละ 7.53 และระดับน้อย คิดเป็นร้อยละ 0.54

9) ด้าน RT NT O-NET มีจานวนโรงเรียนท่ีมีผลการปฏิบัติงานระดับมากท่ีสุด คิดเป็นร้อยละ 48.39 ระดับ

มาก คิดเป็นร้อยละ 44.09 ระดับปานกลาง คิดเป็นร้อยละ 6.99 และระดับน้อยท่ีสุด คิดเป็นร้อยละ 0.54

10) ด้าน ความปลอดภัย มีจานวนโรงเรียนที่มีผลการปฏิบัติงานระดับมากที่สุด คิดเป็นร้อยละ 78.49 ระดับ

มาก คดิ เป็นร้อยละ 18.28 ระดบั ปานกลาง คดิ เป็นรอ้ ยละ 2.69 และระดบั น้อยทสี่ ุด คดิ เปน็ ร้อยละ 0.54

** รายการข้อที่ 7 ด้านโรงเรียนคุณภาพ มีโรงเรียนทีเป็นโรงเรียนคุณภาพ จานวน 71 โรงเรียน

และไม่เป็นโรงเรียนคุณภาพ จานวน 115 โรงเรียน ในการหาร้อยละ จึงนาเฉพาะโรงเรียนที่เป็นโรงเรียน

คุณภาพมาคิดคานวณ

30

31

ส่วนท่ี 4 ดำ้ นจดุ เน้นสำนักงำนเขตพื้นที่กำรศึกษำประถมศกึ ษำบุรีรมั ย์ เขต 1

การติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผลและการนิเทศการศึกษา สถานศึกษาในสังกัด ภาคเรียนท่ี 1

ปีการศึกษา 2565 มีผลการติดตาม ตรวจสอบ ประเมิลผลและนิเทศการศึกษา ด้านจุดเน้นสานักงานเขตพน้ื ที่

การศกึ ษาประถมศึกษาบรุ ีรมั ย์ เขต 1 ดังตารางท่ี 3

ตำรำงที่ 3 กำรตดิ ตำม ตรวจสอบ ประเมินผลและกำรนิเทศกำรศึกษำ ดำ้ นจุดเนน้ สพป.บรุ ีรมั ย์ เขต 1

ท่ี รำยกำร ระดบั คณุ ภำพ/จำนวน/รอ้ ยละ

มำกทส่ี ดุ มำก ปำนกลำง น้อย นอ้ ยท่ีสดุ

n % n % n % n%n%

1 เดก็ ระดบั ปฐมวัย 131 70.43 46 24.73 7 3.76 0 0.00 2 1.08

ไดร้ บั การเสรมิ ภาษา

และมพี ฒั นาการท่ีดี 4

ดา้ น

2 ผเู้ รยี นทุกคนไดร้ บั 151 81.18 29 15.59 5 2.69 0 0.00 1 0.54

โอกาสทางการศึกษา

อย่างเทา่ เทียม และ

เสมอภาค

3 ผ้เู รยี นช้ัน 101 54.30 74 39.78 10 5.38 0 0.00 1 0.54

ประถมศกึ ษาชน้ั ปที ี่ 1

อ่านออกเสยี ง และ

อ่านรเู้ รื่อง ในระดบั ดี

(ร้อยละ 75 ขึน้ ไป)

4 ผู้เรยี นทจี่ บชนั้ 83 44.62 91 48.92 11 5.91 0 0.00 1 0.54

ประถมศึกษาปีท่ี 3

ตอ้ งอ่านออกเขียนได้

คิดเลขเป็นทกุ คน

5 ผเู้ รยี นมีผลการ 79 45.40 73 41.95 18 10.34 1 0.57 3 1.72

ประเมินคณุ ภาพ

ผเู้ รยี น (NT) ช้ัน

ประถมศึกษาปีท่ี 3

เพิ่มขึ้น

6 ผูเ้ รยี นมีผลการทดสอบ 45 26.47 84 49.41 37 21.76 3 1.76 1 0.59

ระดบั ชาติข้ันพ้นื ฐาน
(O-NET) ชั้น
ประถมศกึ ษาปที ่ี 6
และมัธยมศกึ ษาปที ี่ 3
เพ่ิมขึ้น

32

ที่ รำยกำร ระดับคุณภำพ/จำนวน/ร้อยละ

มำกที่สุด มำก ปำนกลำง นอ้ ย นอ้ ยทีส่ ดุ

n % n % n % n%n%

7 ผู้เรียนมคี ุณธรรม 133 71.51 46 24.73 6 3.23 0 0.00 1 0.54

จริยธรรม มีความ

พอเพียง มวี นิ ยั

ซอ่ื สตั ย์ สุจริต และ

จติ สาธารณะ

8 ผูเ้ รยี นทุกคนมีความ 149 80.11 31 16.67 5 2.69 0 0.00 1 0.54

ปลอดภัย

9 ผู้เรียนมที ักษะ

สื่อสาร 40 21.51 100 53.76 44 23.66 1 0.54 1 0.54

ภาษาองั กฤษ

10 ผู้เรยี นมที ักษะการ

ใช้เทคโนโลยอี ยา่ ง 64 34.41 108 58.06 13 6.99 1 0.54 0 0.00

สร้างสรรค์

11 ผู้เรยี นเรยี นรดู้ ้วย

กระบวนการ 102 54.84 76 40.86 7 3.76 1 0.54 0 0.00

Active Learning

12 ครูมนี วัตกรรม

หรอื ผลงานวิจยั

หรือผลการ 67 36.02 95 51.08 23 12.37 0 0.00 1 0.54

ปฏบิ ัติงานทเ่ี ปน็

เลศิ

13 ผบู้ ริหาร

สถานศกึ ษามี

นวตั กรรม หรือ 73 39.25 88 47.31 24 12.90 0 0.00 1 0.54
ผลงานวิจยั หรือ

ผลการปฏิบัติงานที่

เปน็ เลิศ

14 1 ห้องเรียน 1 75 40.32 89 47.85 18 9.68 4 2.15 0 0.00
โครงงานอาชีพ

33

ที่ รายการ ระดับคุณภาพ/จานวน/ร้อยละ

มำกท่ีสุด มำก ปำนกลำง น้อย น้อยที่สุด

n % n % n % n%n%

15 สถานศึกษามีระบบ

ดูแลช่วยเหลอื 143 76.88 37 19.89 5 2.69 0 0.00 1 0.54

นกั เรยี นทีเ่ ข้มแข็ง

16 สถานศึกษามีการ

บริหารจัดการตาม

หลักธรรมาภบิ าลท่ี 142 76.34 38 20.43 5 2.69 0 0.00 1 0.54

มีประสิทธิภาพ

และได้มาตรฐาน

รวมเฉล่ีย 53.35 37.57 8.16 0.38 0.55

จากตารางท่ี 3 พบว่า การติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผลและการนิเทศการศึกษา ด้านจุดเน้น
สานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษาบุรีรัมย์ เขต 1 สานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษาบุรีรัมย์
เขต 1 ในภาพรวม พบว่า มจี านวนโรงเรียนท่ีมผี ลการปฏิบัตงิ านในระดบั มากท่ีสดุ คิดเปน็ ร้อยละ 53.35 ระดบั
มาก คิดเป็นร้อยละ 37.57 ระดับปานกลาง คิดเป็นร้อยละ 8.16 ระดับน้อย คิดเป็นร้อยละ 0.38 ระดับน้อย
ทส่ี ุด คดิ เปน็ รอ้ ยละ 0.55

เม่ือพิจารณารายด้าน พบว่า ด้านจุดเน้น สพป.บุรีรัมย์ เขต 1 มีท้ังหมด 16 ด้าน ได้แก่ 1) เด็กระดับ
ปฐมวยั ไดร้ ับการเสริมภาษาและมีพัฒนาการท่ีดี 4 ด้าน มจี านวนโรงเรียนท่มี ีผลการปฏบิ ัตงิ านระดับมากท่ีสุด
คิดเป็นร้อยละ 70.43 ระดับมาก คิดเป็นร้อยละ 24.73 ระดับปานกลาง คิดเป็นร้อยละ 3.76 และระดับน้อย
ท่สี ุด คดิ เปน็ ร้อยละ 1.08 2) ผเู้ รยี นทกุ คนได้รบั โอกาสทางการศึกษา อย่างเทา่ เทียม และเสมอภาค มจี านวน
โรงเรียนที่มีผลการปฏิบัติงานระดับมากที่สุด คิดเป็นร้อยละ 81.18 ระดับมาก คิดเป็นร้อยละ 15.59 ระดับ
ปานกลาง คิดเป็นร้อยละ 2.69 และระดับน้อยท่ีสุด คิดเป็นร้อยละ 0.54 3) ผู้เรียนช้ันประถมศึกษาช้ันปีท่ี 1
อ่านออกเสียง และอ่านรู้เร่ือง ในระดับดี (ร้อยละ 75 ขึ้นไป) มีจานวนโรงเรียนที่มีผลการปฏบิ ตั ิงานระดับมาก
ท่ีสุด คิดเป็นร้อยละ 54.30 ระดับมาก คิดเป็นร้อยละ 39.78 ระดับปานกลาง คิดเป็นร้อยละ 5.38 และระดับ
น้อยท่ีสุด คิดเป็นร้อยละ 0.54 4) ผู้เรียนที่จบชั้นประถมศึกษาปีท่ี 3 ต้องอ่านออกเขียนได้ คิดเลขเป็นทุกคน
มีจานวนโรงเรียนที่มีผลการปฏิบัติงานระดับมากท่ีสุด คิดเป็นร้อยละ 44.62 ระดับมาก คิดเป็นร้อยละ 48.92
ระดับปานกลาง คิดเป็นร้อยละ 5.91 และระดับน้อยที่สุด คิดเป็นร้อยละ 0.54 5) ผู้เรียนมีผลการประเมิน
คุณภาพผู้เรียน (NT) ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 เพ่ิมขึ้น มีจานวนโรงเรียนท่ีมีผลการปฏิบัติงานระดับมากท่ีสุด
คิดเป็นร้อยละ 45.40 ระดับมาก คิดเป็นร้อยละ 41.95 ระดับปานกลาง คิดเป็นร้อยละ 10.34 ระดับน้อย

34

คิดเป็นร้อยละ 0.57 ระดับน้อยที่สุด คิดเป็นร้อยละ 1.72 6) ผู้เรียนมีผลการทดสอบระดับชาติข้ันพ้ืนฐาน
(O-NET) ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 และมัธยมศึกษาปีที่ 3 เพ่ิมขึ้น มีจานวนโรงเรียนท่ีมีผลการปฏิบัติงานระดับ
มากทสี่ ุด คิดเป็นร้อยละ 26.47 ระดับมาก คดิ เปน็ รอ้ ยละ 49.41 ระดบั ปานกลาง คิดเป็นร้อยละ 21.76 ระดบั
น้อย คิดเป็นร้อยละ 1.76 ระดับน้อยที่สุด คิดเป็นร้อยละ 0.59 7) ผู้เรียนมีคุณธรรม จริยธรรม
มคี วามพอเพียง มีวินัย ซอื่ สตั ย์ สจุ รติ และจติ สาธารณะ มจี านวนโรงเรียนท่มี ีผลการปฏบิ ัตงิ านระดับมากที่สุด
คิดเป็นร้อยละ 71.51 ระดับมาก คิดเป็นร้อยละ 24.73 ระดับปานกลาง คิดเป็นร้อยละ 3.23 และระดับน้อย
ท่ีสุด คิดเป็นร้อยละ 0.54 8) ผู้เรียนทุกคนมีความปลอดภัย มีจานวนโรงเรียนท่ีมีผลการปฏบิ ัติงานระดับมาก
ท่ีสุด คิดเป็นร้อยละ 80.11 ระดับมาก คิดเป็นร้อยละ 16.67 ระดับปานกลาง คิดเป็นร้อยละ 2.69 และระดับ
น้อยท่ีสุด คิดเป็นร้อยละ 0.54 9) ผู้เรียนมีทักษะส่ือสารภาษาอังกฤษ มีจานวนโรงเรียนที่มีผลการปฏิบัติงาน
ระดบั มากท่ีสุด คิดเป็นรอ้ ยละ 21.51 ระดับมาก คิดเป็นร้อยละ 53.76 ระดับปานกลาง คดิ เป็นร้อยละ 23.66
ระดับน้อย คิดเป็นร้อยละ 0.54 ระดับน้อยที่สุด คิดเป็นร้อยละ 0.54 10) ผู้เรียนมีทักษะการใช้เทคโนโลยี
อย่างสร้างสรรค์ มีจานวนโรงเรียนที่มีผลการปฏิบัติงานระดับมากที่สุด คิดเป็นร้อยละ 34.41 ระดับมาก
คดิ เป็นรอ้ ยละ 58.06 ระดบั ปานกลาง คดิ เปน็ ร้อยละ 6.99 ระดับน้อย คดิ เปน็ ร้อยละ 0.54 11) ผ้เู รยี นเรียนรู้
ด้วยกระบวนการ Active Learning มีจานวนโรงเรียนที่มีผลการปฏิบัติงานระดับมากที่สุด คิดเป็นร้อยละ
54.84 ระดับมาก คิดเป็นรอ้ ยละ 40.86 ระดับปานกลาง คดิ เปน็ ร้อยละ 3.76 ระดับนอ้ ย คดิ เป็นร้อยละ 0.54
12) ครูมีนวัตกรรม หรือผลงานวิจัย หรือผลการปฏิบัติงานที่เป็นเลิศ มีจานวนโรงเรียนท่ีมีผลการปฏิบัติงาน
ระดับมากที่สุด คดิ เปน็ ร้อยละ 36.02 ระดบั มาก คิดเปน็ ร้อยละ 51.08 ระดับปานกลาง คดิ เปน็ รอ้ ยละ 12.37
และระดับน้อยที่สุด คิดเป็นร้อยละ 0.54 13) ผู้บริหารสถานศึกษามีนวัตกรรม หรือผลงานวิจัย
หรือผลการปฏิบัติงานที่เป็นเลิศ มีจานวนโรงเรียนท่ีมีผลการปฏิบัติงานระดับมากท่ีสุด คิดเป็นร้อยละ 39.25
ระดับมาก คิดเป็นร้อยละ 47.31 ระดับปานกลาง คิดเป็นร้อยละ 12.90 และระดับน้อยที่สุด คิดเป็นร้อยละ
0.54 14) 1 ห้องเรียน 1 โครงงานอาชีพ มีจานวนโรงเรียนที่มีผลการปฏิบัติงานระดับมากท่ีสุด คิดเป็นร้อยละ
40.32 ระดับมาก คดิ เป็นร้อยละ 47.85 ระดับปานกลาง คดิ เป็นรอ้ ยละ 9.68 ระดบั นอ้ ย คิดเปน็ รอ้ ยละ 2.15
15) สถานศึกษามรี ะบบดูแลชว่ ยเหลือนักเรียนที่เข้มแข็ง มีจานวนโรงเรยี นที่มผี ลการปฏิบตั ิงานระดับมากที่สุด
คิดเป็นร้อยละ 76.88 ระดับมาก คิดเป็นร้อยละ 19.89 ระดับปานกลาง คิดเป็นร้อยละ 2.69 และน้อยที่สุด
คิดเป็นร้อยละ 0.54 16) สถานศึกษามีการบริหารจัดการตามหลักธรรมาภิบาลท่ีมีประสิทธิภาพ
และได้มาตรฐาน มีจานวนโรงเรียนท่ีมีผลการปฏิบัติงานระดับมากที่สุด คิดเป็นร้อยละ 76.34 ระดับมาก
คิดเปน็ ร้อยละ 20.43 ระดับปานกลาง คิดเปน็ รอ้ ยละ 2.69 และระดบั น้อยทีส่ ุด คดิ เปน็ รอ้ ยละ 0.54

** รายการข้อที่ 5 ด้านผู้เรียนมีผลการประเมินคุณภาพผู้เรียน (NT) ช้ันประถมศึกษาปีที่ 3 เพิ่มข้ึน
มีโรงเรียนทีเข้าสอบ NT จานวน 174 โรงเรียน และไม่เข้าสอบ NT จานวน 12 โรงเรียน ในการหาร้อยละ
จงึ นาเฉพาะโรงเรยี นทเ่ี ขา้ สอบ NT มาคดิ คานวณ

35

** รายการข้อท่ี 6 ด้านผู้เรียนมีผลการทดสอบระดับชาติข้ันพื้นฐาน (O-NET) ชั้นประถมศึกษาปีท่ี 6
และมัธยมศึกษาปีท่ี 3 เพ่ิมขึ้น มีโรงเรียนทีเข้าสอบ (O-NET) จานวน 170 โรงเรียน และไม่เข้าสอบ (O-NET)
จานวน 12 โรงเรยี น ในการหารอ้ ยละ จึงนาเฉพาะโรงเรียน ที่เขา้ สอบ (O-NET) มาคดิ คานวณ

36

37

ส่วนที่ 5 ด้ำนกำรพฒั นำงำน วPA
การติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผลและการนเิ ทศการศึกษา สถานศกึ ษาในสังกัด ประจาปี 2565 มีผล

การติดตาม ตรวจสอบ ประเมิลผลและนเิ ทศการศกึ ษา ด้านการพฒั นางาน วPA ดังตารางที่ 4

ตำรำงท่ี 4 กำรตดิ ตำม ตรวจสอบ ประเมนิ ผลและกำรนิเทศกำรศกึ ษำ ดำ้ นกำรพฒั นำงำน วPA

ท่ี รำยกำร ระดบั คุณภำพ/จำนวน/ร้อยละ

มำกที่สดุ มำก ปำนกลำง น้อย น้อยทส่ี ุด

n % n % n%n%n%

1 ดา้ นที่ 1 104 55.91 79 42.47 2 1.08 0 0.00 1 0.54

2 ด้านท่ี 2 100 53.76 80 43.01 5 2.69 0 0.00 1 0.54

รวมเฉล่ยี 54.84 42.74 1.88 0.00 0.54

38

จากตารางที่ 4 การติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผลและการนิเทศการศึกษา ด้านการพัฒนางาน วPA
สานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษาบุรีรัมย์ เขต 1 ในภาพรวมพบว่า มีจานวนโรงเรียน
ท่มี ีผลการปฏบิ ัตงิ านในระดับมากทส่ี ุด คิดเปน็ รอ้ ยละ 54.84 ระดบั มาก คิดเปน็ รอ้ ยละ 42.74 ระดบั ปานกลาง
คดิ เป็นร้อยละ 1.88 และระดบั น้อยทีส่ ุด คิดเปน็ รอ้ ยละ 0.54

เมื่อพิจารณารายด้าน พบว่า ด้านการพัฒนางาน วPA มีท้ังหมด 2 ด้าน ได้แก่ 1) ด้านการพัฒนางาน
วPA ด้านที่ 1 มีจานวนโรงเรียนท่ีมีผลการปฏิบัติงานระดับมากที่สดุ คิดเป็นร้อยละ 55.91 ระดับมาก คิดเป็น
ร้อยละ 42.47 ระดับปานกลาง คิดเป็นร้อยละ 1.08 และระดับน้อยที่สุด คิดเป็นร้อยละ 0.54
2) ด้านการพัฒนางาน วPA ด้านท่ี 2 มีจานวนโรงเรียนที่มีผลการปฏิบัติงานระดับมากที่สุด คิดเป็นร้อยละ
53.76 ระดับมาก คิดเป็นร้อยละ 43.01 ระดับปานกลาง คิดเป็นร้อยละ 2.69 และระดับน้อยที่สุด คิดเป็น
รอ้ ยละ 0.54

39

บทท่ี 5
สรปุ ผลกำรตดิ ตำม ตรวจสอบ ประเมินผลและนเิ ทศกำรศึกษำ
สำนกั งำนเขตพื้นทีก่ ำรศึกษำประถมศึกษำบุรรี มั ย์ เขต 1 ประจำปี 2565
การตดิ ตาม ตรวจสอบ ประเมินผลและนิเทศการศกึ ษา สานักงานเขตพืน้ ท่ีการศึกษาประถมศกึ ษาบุรรี มั ย์
เขต 1 ภาคเรียนท่ี 1 ปีการศึกษา 2565 ได้ทาการติดตาม ตรวจสอบการติดตามการบริหารจัดการศึกษา
ของโรงเรยี นในสงั กดั จานวน 201 โรง โดยใชเ้ คร่ืองมือเกบ็ รวบรวมขอ้ มลู คอื แบบติดตาม ตรวจสอบ ประเมนิ ผล
และนิเทศการศึกษา ใน 5 ส่วน ประกอบด้วย ส่วนที่ 1 ข้อมูลโรงเรียน ส่วนท่ี 2 ด้านนโยบาย สพฐ. ส่วนที่ 3
ด้านนโยบายเร่งด่วน สพฐ. (QUICK POLICY) ส่วนท่ี 4 ด้านจุดเน้น สานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษา
บุรีรมั ย์ เขต 1 ส่วนท่ี 5 ด้านการพัฒนางาน PA ซ่ึงมีผลสรุปและขอ้ เสนอแนะ ดงั น้ี
1. สรปุ ผลกำรติดตำม ตรวจสอบ ประเมนิ ผลและนเิ ทศกำรศึกษำ สว่ นท่ี 1 ขอ้ มลู โรงเรยี น
ผลการติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผลและนเิ ทศการศึกษา สานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษา
บุรีรัมย์ เขต 1 มีโรงเรียนในเขตพื้นท่ีบริการจานวน 4 อาเภอ ดังนี้ โรงเรียนในอาเภอเมืองบุรีรัมย์ ร้อยละ
42.29 โรงเรียนในอาเภอลาปลายมาศ ร้อยละ 33.83 โรงเรียนในอาเภอบ้านด่าน ร้อยละ 8.46 และโรงเรียน
ในอาเภอชานิ ร้อยละ 4.21 รวมจานวนโรงเรียนท้งั หมด 186 โรงเรยี น จาก 201 โรงเรียนเรยี น คิดเปน็ รอ้ ยละ
92.54
2. สรปุ ผลกำรติดตำม ตรวจสอบ ประเมินผลและนเิ ทศกำรศึกษำ สว่ นท่ี 2 ด้ำนนโยบำย สพฐ.
ผลการติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผลและนิทศการศึกษา ด้านนโยบาย สพฐ. สานักงานเขตพื้นท่ี
การศึกษาประถมศึกษาบุรีรัมย์ เขต 1 ในภาพรวม พบว่า ผลการปฏิบัติงานของโรงเรียนในสานักงานเขตพืน้ ท่ี
การศึกษาประถมศึกษาบุรีรัมย์ เขต 1 ด้านนโยบาย สพฐ. มีท้ังหมด 4 ด้าน ได้แก่ 1) ด้านความปลอดภัย
มีจานวนโรงเรียนที่มีผลการปฏิบัติงานระดับมากที่สุด คิดเป็นร้อยละ 74.19 ระดับมาก คิดเป็นร้อยละ 23.66
ระดับปานกลาง คิดเป็นร้อยละ 1.61 ระดับน้อยที่สุด คิดเป็นร้อยละ 0.54 2) ด้านโอกาสและการลดความ
เหลื่อมล้าทางการศึกษา มีจานวนโรงเรียนท่ีมีผลการปฏิบัติงานระดับมากที่สุด คิดเป็นร้อยละ 78.49
ระดับมาก คิดเป็นร้อยละ 18.82 ระดับปานกลาง คิดเป็นร้อยละ 2.15 ระดับน้อยที่สุด คิดเป็นร้อยละ 0.54
3) ด้านคุณภาพ มีจานวนโรงเรียน ที่มีผลการปฏิบัติงานระดับมากท่ีสุด คิดเป็นร้อยละ 57.53 ระดับมาก
คิดเป็น ร้อยละ 38.71 ระดับปานกลาง คิดเป็นร้อยละ 3.23 ระดับน้อยที่สุด คิดเป็นร้อยละ 0.54
4) ด้านประสิทธิภาพ มีจานวนโรงเรียนท่ีมีผลการปฏิบัติงานระดับมากท่ีสุด คิดเป็นร้อยละ 58.60 ระดับมาก
คดิ เปน็ ร้อยละ 38.17 ระดบั ปานกลาง คดิ เป็นรอ้ ยละ 2.69 ระดับนอ้ ยทส่ี ดุ คิดเป็นรอ้ ยละ 0.54
3. สรุปผลกำรติดตำม ตรวจสอบ ประเมินผลและนิเทศกำรศึกษำ ส่วนที่ 3 ด้ำนนโยบำยเร่งด่วน
สพฐ. (QUICK POLICY)
ผลการติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผลและนิทศการศึกษา ด้านนโยบายเร่งด่วน สพฐ. (QUICK POLICY)
สานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษาบุรีรัมย์ เขต 1 ในภาพรวม พบว่า มีจานวนโรงเรียน

40

ที่มีผลการปฏิบัติงานในระดับมากที่สุด คิดเป็นร้อยละ 60.30 ระดับมาก คิดเป็นร้อยละ 33.50 ระดับปานกลาง
คดิ เป็นรอ้ ยละ 4.02 ระดบั น้อย คิดเป็นร้อยละ 0.30 และระดับน้อยท่สี ุด คดิ เปน็ ร้อยละ 1.87

4. สรุปผลกำรติดตำม ตรวจสอบ ประเมินผลและนิเทศกำรศึกษำ ส่วนที่ 4 ด้ำนจุดเน้น สำนักงำน
เขตพื้นทกี่ ำรศึกษำประถมศึกษำบุรีรัมย์ เขต 1

ผลการติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผลและนิทศการศึกษา ด้านจุดเน้น สพป.บุรีรัมย์ เขต 1 สานักงาน
เขตพ้นื ทกี่ ารศึกษาประถมศึกษาบุรีรัมย์ เขต 1 ในภาพรวมพบว่า มีจานวนโรงเรียนที่มีผลการปฏิบัติงาน ในระดับ
มากทีส่ ดุ คดิ เปน็ รอ้ ยละ 53.35 ระดับมาก คดิ เปน็ ร้อยละ 37.57 ระดับปานกลาง คิดเปน็ ร้อยละ 8.16 ระดับนอ้ ย
คิดเป็นร้อยละ 0.38 ระดบั น้อยที่สุด คดิ เปน็ รอ้ ยละ 0.55

5. สรปุ ผลกำรติดตำม ตรวจสอบ ประเมินผลและนเิ ทศกำรศึกษำ ส่วนที่ 5 ด้ำนกำรพัฒนำงำน PA
ผลการติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผลและนิทศการศึกษา ด้านการพัฒนางาน PA สานักงานเขตพื้นที่
การศึกษาประถมศกึ ษาบรุ รี มั ย์ เขต 1 ในภาพรวม พบว่า มจี านวนโรงเรียนที่มผี ลการปฏิบัติงานในระดับมากที่สุด
คิดเป็นร้อยละ 54.84 ระดับมาก คิดเป็นร้อยละ 42.74 ระดับปานกลาง คิดเป็นร้อยละ 1.88 และระดับน้อยทสี่ ดุ
คิดเป็นร้อยละ 0.54
ขอ้ เสนอแนะ
จากผลการตดิ ตาม ตรวจสอบ ประเมนิ ผลและนเิ ทศการศกึ ษา สานักงานเขตพ้ืนทก่ี ารศกึ ษาประถมศึกษา
บุรีรัมย์ เขต 1 ภาคเรียนท่ี 1 ประจาปี 2565 สามารถนามาใช้เป็นข้อมูลในการวางแผนพัฒนาคุณภาพ
การบรหิ ารงานท้ังในระดบั สานักงานเขตพน้ื ท่ีการศึกษาและระดับโรงเรียน ดังน้ี
กำรดำเนินงำนตำม นโยบำย และจุดเน้ นของ สำนั กง ำน ค ณะ กรรม กำรกำรศึ กษำข้ั นพ้ืน ฐำ น แ ละ
สำนักงำนเขตพ้ืนท่ีกำรศึกษำ กำรดำเนินงำนตำมนโยบำยเร่งด่วน สพฐ. (QUICK POLICY) และ
กำรดำเนินงำน กำรพฒั นำงำน PA
ระดบั เขตพนื้ ทกี่ ำรศึกษำ ควรเสริมสร้างความเข้าใจทีช่ ัดเจน เกย่ี วกับนโยบายและจุดเน้นต่าง ๆ ทง้ั ด้าน
ความรู้ วิธีการ และแนวทางการนาสู่การปฏิบัติให้สาเร็จในโรงเรียน เพื่อให้โรงเรียนสามารถดาเนินงานได้บรรลุ
ตามวัตถุประสงค์และเป้าหมายท่ีกาหนด เน่ืองจากมีการปรับเปล่ียนนโยบายและจุดเน้นของหน่วยงานต้นสังกัด
ในทุกปี
ระดับสถำนศึกษำ ควรศกึ ษาและวางแผนการดาเนินงาน กาหนดใหม้ ีผู้รบั ผิดชอบชัดเจน และควรบรู ณา
การกับหนว่ ยงานทเ่ี กย่ี วข้อง เพอ่ื สรา้ งศกั ยภาพในการทางาน และใหเ้ ห็นผลลัพธ์ทเี่ กิดข้นึ อยา่ งเปน็ รูปธรรม
ระดับผู้บริหำร ควรศึกษามาตรฐานตาแหน่ง ด้านการบริหารกิจการของสถานศึกษา การวางแผนการ
ปฏบิ ตั ิงาน การควบคมุ กากับ ดูแลเก่ียวกับการบริหารงานวิชาการ การบรหิ ารงบประมาณ การบรหิ ารงานบุคคล
การบริหารงานทั่วไปและงานอื่น ๆ ที่เก่ยี วขอ้ ง
ระดับครูผ้สู อน ควรศึกษาประเด็นทา้ ทายในการพัฒนางาน PA ให้ละเอยี ดถถี่ ้วนมากย่งิ ข้นึ

41

ภำคผนวก ก

(คำสงั่ )

42

คำสง่ั สำนักงำนเขตพน้ื ทีก่ ำรศึกษำประถมศึกษำบรุ ีรมั ย์ เขต 1

ที่ 303 / 2565

เร่อื ง แตง่ ตั้งคณะอนุกรรมกำร ติดตำม ตรวจสอบและประเมินผลกำรจัดกำรศกึ ษำ

…………………………………………………….

ตามท่ี สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาบุรีรัมย์ เขต 1 ได้แต่งตั้งคณะอนุกรรมการ

ติดตาม ตรวจสอบและประเมินผลการจัดการศึกษา (อ.ก.ต.ป.น.) ตามคาส่ังท่ี 111/2565 ลงวันที่ 16

มีนาคม 2565 เพ่ือติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผลการจัดการศึกษา โรงเรียนในกลุ่มที่รับผิดชอบและสรุป

รายงานผลการติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผลการจัดการศึกษา ต่อคณะกรรมการ ติดตาม ตรวจสอบ

ประเมินผลและนิเทศการจัดการศึกษา (ก.ต.ป.น.) เนื่องจากมีการเปล่ียนแปลงผู้รับผิดชอบกลุ่มโรงเรียน จึงง

แต่งตั้งคณะอนุกรรมการ ติดตาม ตรวจสอบและประเมินผลการจัดการศึกษา (อ.ก.ต.ป.น.) ภาคเรียนที่ 1 ปี

การศึกษา 2565 ดังนี้

คณะกรรมกำรอำนวยกำร

1. นายฉลาด สาโยธา ผอ.สพป.บร.1 ประธานกรรมการ

2. นายมานพ คงเสนา รองผอ.สพป.บร.1 รองประธานกรรมการ

3. นายโพชนั ขุนาพรม รอง ผอ สพป.บร.1 กรรมการ

4. นายประสิทธ์ิ พิเศษ ผู้ทรงคุณวุฒดิ ้านการบริหารการศกึ ษา กรรมการ

5. นายสุริยันต์ คะเณวัน ผ้แู ทนผู้บรหิ ารสถานศกึ ษาข้ันพนื้ ฐาน กรรมการ

6. นายสริ ภพ ปราบริปตู ลุง ผแู้ ทนผ้บู ริหารสถานศึกษาเอกชน กรรมการ

7. นายประสงค์ เหลาฉลาด ผู้ทรงคณุ วุฒิดา้ นการศกึ ษาปฐมวยั กรรมการ

8. นายวนิ ยั จันทะเมนชยั ผทู้ รงคณุ วุฒิด้านการศึกษาข้ันพน้ื ฐาน กรรมการ

9. นายวรวทิ ย์ บญุ หนกั ผูท้ รงคุณวุฒิด้านการวจิ ยั และประเมนิ ผล กรรมการ

10.นายทองดี อาจทวกี ุล ผทู้ รงคุณวฒุ ดิ า้ นศาสนา ศิลปะและวัฒนธรรม กรรมการ

11. นายไชยสทิ ธิ์ พวงศรี ผอ.กลมุ่ นิเทศติดตามและประเมินผลฯ กรรมการและเลขานกุ าร

12. นางบศุ ยรนิ ทร์ อาณาเขต ศกึ ษานิเทศก์ สพป.บร.1 กรรมการและผู้ช่วยเลขานกุ าร

13. นางจฬุ าพร คาพิมลู ศกึ ษานเิ ทศก์ สพป.บร.1 กรรมการและผชู้ ว่ ยเลขานกุ าร

14. นางสาวภัสราภรณ์ หาญหิรัญโรจน์ ศึกษานิเทศก์ สพป.บร.1 กรรมการและผ้ชู ว่ ยเลขานกุ าร

มหี นา้ ท่ี ให้คาปรึกษา แนะนา สง่ เสรมิ สนับสนนุ ชว่ ยเหลอื การดาเนนิ งานของอนุกรรมการ

ตดิ ตาม ตรวจสอบและประเมินผลการจดั การศึกษา ให้เป็นไปดว้ ยความเรยี บร้อย สาเรจ็ และมีประสิทธภิ าพ

/คณะอนุกรรมการติดตามฯ…

43

คณะอนกุ รรมกำรตดิ ตำม ตรวจสอบและประเมนิ ผลกำรจัดกำรศกึ ษำ(อ.ก.ต.ป.น.)

กลุ่มเมืองบุรีรัมย์ 1 จำนวน 12 โรงเรียน

1. นายประสิทธ์ิ พเิ ศษ รอง ผอ.สพป.บร.1 ประธานกรรมการ

2. นายไชยสิทธ์ิ พวงศรี ผอ.กลุม่ นิเทศ ตดิ ตามฯ กรรมการ

3. นายชาญชัย ไชยพศิ ประธานกลุ่มโรงเรยี น กรรมการ

4. นางจวงจันทร์ อาจจุฬา รองประธานกลุ่มโรงเรยี น กรรมการ

5. นางสาวอรุณี นิลสระคู เลขานุการกลุ่มโรงเรยี น กรรมการ

6. นายสทิ ธพิ งศ์ จารทุ รัพย์สดใส หัวหน้าพฒั นาวิชาการ กรรมการ

7. นางสาวศรวษิ ฐา สุระวรรณะ ศึกษานิเทศก์ สพป.บร.1 กรรมการและเลขานุการ

กลุ่มเมืองบรุ ีรมั ย์ 2 จำนวน 10 โรงเรยี น

1. นายประสทิ ธ์ิ พเิ ศษ รอง ผอ.สพป.บร.1 ประธานกรรมการ

2. นายไชยสทิ ธิ์ พวงศรี ผอ.กล่มุ นิเทศ ติดตามฯ กรรมการ

3. นายสนอง วเิ ศษนคร ประธานกลุ่มโรงเรยี น กรรมการ

4. นายธาดาพงศ์ แดงงาม รองประธานกลมุ่ โรงเรียน กรรมการ

5. นายอนสุ รณ์ นเิ ลศิ รมั ย์ เลขานกุ ารกลุ่มโรงเรียน กรรมการ

6. นางสาวคณศิ ร ชัยศีรษะ หัวหนา้ พัฒนาวชิ าการ กรรมการ

7. นางสาวศรวิษฐา สรุ ะวรรณะ ศกึ ษานิเทศก์ สพป.บร.1 กรรมการ

8. นายกติ ติพงศ์ บุญเติม ศึกษานเิ ทศก์ สพป.บร.1 กรรมการและเลขานุการ

กลมุ่ เมืองบรุ ีรมั ย์ 3 จำนวน 13 โรงเรียน

1. นายประสทิ ธ์ิ พิเศษ รอง ผอ.สพป.บร.1 ประธานกรรมการ

2. นายไชยสทิ ธ์ิ พวงศรี ผอ.กลุ่มนเิ ทศ ตดิ ตามฯ กรรมการ

3. นายพัชรินทร์ มีพัฒน์ ประธานกลมุ่ โรงเรยี น กรมการ

4. นายสมศกั ดิ์ พิมพภ์ ู รองประธานกลุ่มโรงเรียน กรรมการ

5 นางสาวปริยากร ปักเกตุ เลขานกุ ารกลุ่มโรงเรยี น กรรมการ

6. นางประกอบ เพชรสุวรรณ หวั หนา้ พฒั นาวิชาการกล่มุ กรรมการ

7. นางสาวปลิดา พันธว์ นั ศกึ ษานเิ ทศก์ สพป.บร.1 กรรมการและเลขานุการ

กลุม่ เมืองบรุ ีรัมย์ 4 จำนวน 11 โรงเรยี น

1. นายประสิทธ์ิ พเิ ศษ รอง ผอ.สพป.บร.1 ประธานกรรมการ
2. นายไชยสิทธ์ิ พวงศรี
3. นายวาทติ มะรดิ รมั ย์ ผอ.กลุ่มนเิ ทศ ตดิ ตามฯ กรรมการ
4. นายคมสนั ต์ ทวยมีฤทธ์ิ
ประธานกลมุ่ โรงเรยี น กรรมการ

รองประธานกล่มุ โรงเรียน กรรมการ

/กลุ่มเมืองบุรรี ัมย์ 4...

44

5. นางธนั ยภัทร์ สขุ เกษม เลขานุการกลุ่มโรงเรียน กรรมการ
6. นางนฤพร พรหมบตุ ร หวั หน้าพฒั นาวชิ าการ กรรมการ
7. นางจุฬาพร คาพมิ ูล ศึกษานิเทศก์ สพป.บร.1 กรรมการและเลขานุการ

กลมุ่ เมืองบรุ รี มั ย์ 5 จำนวน 11 โรงเรยี น

1. นายประสทิ ธ์ิ พิเศษ รอง ผอ.สพป.บร.1 ประธานกรรมการ
กรรมการ
2. นายไชยสิทธ์ิ พวงศรี ผอ.กลมุ่ นเิ ทศ ตดิ ตามฯ กรรมการ
กรรมการ
3. นายทองดี อาจทวีกลุ ประธานกลมุ่ โรงเรยี น กรรมการ
กรรมการ
4. นายสมพงษ์ กลา้ แขง็ รองประธานกล่มุ โรงเรียน กรรมการ

5. นายปรีชา ละอองเอก เลขานกุ ารกลุ่มโรงเรียน กรรมการและเลขานุการ

6. นายวรี ะวัฒน์ วงศ์เจษาวณชิ ย์ หวั หน้าพฒั นาวิชาการกลุม่ ประธานกรรมการ
กรรมการ
7. นางสาวสุมาลี กงุ ไธสง ศกึ ษานเิ ทศก์ สพป.บร.1 กรรมการ
กรรมการ
8. นายเกษม ทมึ กระโทก ศึกษานเิ ทศก์ สพป.บร.1 กรรมการ
กรรมการ
กลุ่มเมืองบรุ รี มั ย์ 6 จำนวน 10 โรงเรยี น กรรมการและ

1. นายประสิทธ์ิ พเิ ศษ รอง ผอ.สพป.บร.1 ประธานกรรมการ
กรรมการ
2. นายไชยสทิ ธิ์ พวงศรี ผอ.กลุ่มนิเทศ ติดตามฯ กรรมการ
กรรมการ
3. นายจริ วิทย์ วงศ์รมั ย์ ประธานกล่มุ โรงเรยี น กรรมการ
กรรมการ
4. นางธนพร ทรงรมั ย์ รองประธานกลมุ่ โรงเรียน กรรมการ

5. สิบตารวจเอกยรรยง ศิลาชยั เลขานกุ ารกลุมโรงเรียน กรรมการและเลขานกุ าร

6. นายสุพรมแดน ประทุมเมศ หัวหนา้ พฒั นาวิชาการกลุ่ม

7. นางสาวสมุ าลี กงุ ไธสง ศกึ ษานิเทศก์ สพป.บร.1

เลขานกุ าร

1. นายประสิทธ์ิ พเิ ศษ กลุม่ เมืองบรุ ีรมั ย์ 7 จำนวน 13 โรงเรียน
2. นายไชยสิทธ์ิ พวงศรี รอง ผอ.สพป.บร.1
3. นายสมกจิ อาจจุฬา ผอ.กลุม่ นเิ ทศ ติดตามฯ
4. นายประภาส บรรลังก์ ประธานกลมุ่ โรงเรียน
5. นางเตือนใจ เติมทรัพย์ รองประธานกลุ่มโรงเรยี น
6. นายสาคร เปลี่ยนรัมย์ เลขานกุ ารกลุ่มโรงเรยี น
7. นางจุฬาพร คาพิมูล หัวหนา้ พฒั นาวชิ าการ
8. นายกฤษขจร ศรีถาวร ศึกษานิเทศก์ สพป.บร.1
ศกึ ษานเิ ทศก์ สพป.บร.1

/กลุ่มเมืองบรุ ีรัมย์ 8...


Click to View FlipBook Version