The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

คลังสมองของตำบล กศน.ตำบลบานา
ภูมิปัญญาท้องถิ่น แกะสลักงานกะลามะพร้าว

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

แกะสลักงานกะลามะพร้าว

คลังสมองของตำบล กศน.ตำบลบานา
ภูมิปัญญาท้องถิ่น แกะสลักงานกะลามะพร้าว

ภูมิปัญญาท้องถิ่น
แกะสลักกะลามะพร้าว

ปราชญ์ท้ องถิ่น
นายอนันท์ อามูลี

ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตาม
อัธยาศัยอำเภอเมืองปัตตานี
กศน.ตำบลบานา

Facebook สะพานไม้บานา

จุ ด เ ด่ น ข อ ง ภู มิ ปั ญ ญ า ท้ อ ง ถิ่ น

๑.มีความรู้พื้นฐานการแกะสลักกะลามะพร้าวอย่างละเอียด
๒.สามารถแลกเปลี่ยนเรียนรู้เผยแพร่ให้กับกลุ่มที่สนใจได้
๓.ทําประโยชน์ให้แก่สังคมไม่มากก็น้อย
๔. ขายในพื้นที่ตามงานต่างๆ
๕.หาซื้อได้ที่สะพานไม้บานาหรือตามเพจ
๖.สามารถดัดแปลง ประดิษฐ์เป็น ของใช้ต่างๆได้

วัตถุดิบที่ใช้ประโยชน์ในผลิตภัณฑ์ที่เกิดจาก
ภูมิปัญญา ได้แก่

๑.กะลามะพร้าว

สาระสำคัญของภูมิปัญญาและประวัติความเป็นมา

ผมคิดแต่ เพียงว่า ชีวิตเราเกิดมาต้องทําประโยชน์ให้แก่
สังคมไม่มากก็น้อย ผมอยากจะพัฒนาผลงานของตัวเอง โดย
จุดเริ่มต้น ใช้กะลามะพร้าวที่มีอยู่มากมายในหมู่บ้านมาทํา
ประโยชน์ มาดัดแปลง ประดิษฐ์เป็น ของใช้ต่างๆ เช่น ของใช้ใน
ครัวเรือน และผมอยากเพิ่มรายได้ให้แก่ครอบครัว

ลักษณะการใช้ประโยชน์จากภูมิปัญญาที่เกิดขึ้น

เป็นผลิตภัณฑ์ที่สะท้อนถึงภูมิปัญญาท้องถิ่นตำนานของ
ปราชญ์ท้องถิ่น วิถีชีวิตชาวบ้าน ตลอดจนวัฒนธรรมที่ดีงาม
ของการเรียนรู้ มีลักษณะโดดเด่นที่เน้นงานฝีมือของชาวบ้านที่
สามารถพัฒนาและเพิ่มคุณค่าของวัสดุในท้องถิ่นและไม่ลายสิ่ง
แวดล้อม เป็นวิถีทางสังคมได้อย่างลงตัว เป็นสินค้าที่มี
เอกลักษณ์เฉพาะตัวที่สามารถพัฒนาสังคมแห่งการเรียนสังคม
เอื้ออาทร สังคมภูมิปัญญาไปพร้อมกับการพัฒนารายได้ขยาย
การผลิตการตลาดอย่างกว้างขวาง และสามารถ ทำรายได้สู่
ชุมชนและจังหวัดพัทลุงปีละหลายล้านบาทอีกทั้งวิถีชีวิตของ
ชุมชน ยังส่งผลให้ธุรกิจการท่องเที่ยวเจริญเติบโดตามไปด้วย
จะมีความนุ่มและสวยงามคงทนทำจากวัสดุธรรมชาติซึ่งหาได้ใน
พื้นที่

แกะสลักกะลามะพร้าว

ความรู้ของภูมิปัญญา ผลิตภัณฑ์ สินค้าเด่น

เทคนิค/เคล็ดลับในการผลิต

ต้องเป็นกะลาที่แก่มากๆ เพราะจะไม่เป็นเชื้อ
ราและหดตัว

สภาพระบบนิเวศ รูปแบบการแกะสลัก

จากภูมิปัญญามาเป็นรายได้ จากสิ่งที่อยู่ มีการจัดการแปรรูปกะลาเป็นผลิตภัณฑ์ ที่
เหมือนไร้ค่า ชาวบ้านไม่ให้ความสำคัญจนมีแนว เพิ่มคุณค่าได้มากหลาย นอกจากทำเป็นเครื่องใช้
นโยบายภาครัฐในการส่งเสริมภูมิปัญญาและ ในครัวเรือนแล้ว ยังประดิษฐ์เป็นเครื่องตกแต่ง
วิสาหกิจชุมชนมีการพัฒนาตามแนวทางโครงการ บ้าน เครื่องประดับและเครื่องแต่งกายสุภาพสตรี
หนึ่งตำบลหนึ่งผลิตภัณฑ์ ส่งเสริมการขายและการ ออกแบบเป็นกระเป๋าถือ สุภาพสตรี เข็มขัด เข็ม
ตลาดมากขึ้นเป็นที่รู้จักมากขึ้น ดำเนินการจัดตั้ง กลัดปั่ นปักผม สร้อย ที่เด่น ๆ ก็ได้แก่ โคมไฟฟ้า
กลุ่มเริ่มจากจำนวนสมาชิกน้อยผลิตของชิ้นเล็ก ๆ สามขา และตะเกียง
และได้พัฒนาฝีมือขึ้นมาตามลำดับ ผลิตภัณฑ์เป็น
ที่ต้องการของตลาดและได้พัฒนาฝีมือขึ้นตาม ขั้นตอนการประดิษฐ์
ลำดับประกอบกับมี ความรู้และประสบการณ์เดิมที่
สั่งสมมาจากบิดา ได้คิดค้นประดิษฐ์เครื่องมือเพื่อ การเตรียมวัตถุดิบ ขั้นแรกต้องหากะลา
นำเทคโนโลยีที่ทันสมัยเข้ามามีส่วนร่วมใน การ มะพร้าวจากที่ใกล้ๆ ถ้าไม่มีต้องสั่งจากท้องถิ่นอื่น
ผลิตรูปแบบของผลิตภัณฑ์เพื่อเป็นอาชีพเสริมใน โดยนำมาคัดขนาดรูปร่างของลูกมะพร้าวตามที่
การสร้างงานและสร้างรายได้ ให้กับครอบครัวและ ต้องการตามแบบที่ลูกค้าต้องการ หรือตามคำสั่ง
สมาชิก มีการขยายการผลิต ขยายการตลาดมาก จัดการขูดเนื้อมะพร้าวออกจำหน่าย และรอขั้นตอน
ขึ้น ได้รับการยอมรับในท้องถิ่น ตลาดในจังหวัด การจัดขึ้นรูป เมื่อขึ้นรูปแบบชิ้นส่วนประกอบตัว
ต่างจังหวัดและต่างประเทศรายได้เพิ่มขึ้นตาม ผลิตภัณฑ์เรียบร้อยแล้วตกแต่งด้วยการพ่นเล็ค
ลำดับ ภูมิปัญญาท้องถิ่น เป็นความรู้ ความ เกอร์ ขัดน้ำมันมะกอก หรือขัดเงากับผ้า จนดู
สามารถและทักษะดั้งเดิมของประชาชนในท้องถิ่น เรียบร้อย สวยงาม ตามความเหมาะสมของเนื้อ
ที่ได้รับการถ่ายทอดสืบต่อ กันมาจากบรรพบุรุษซึ่ง งานและก่อนขั้นตอนการบรรจุภัณฑ์หรือรอการ
ภูมิปัญญาท้องถิ่นเป็นองค์ความรู้ของปราชญ์ชาว จำหน่าย
บ้านที่ ได้รับการถ่ายทอดต่อกันมาจึงทำให้คนใน
ชุมชนมีความผูกพันธุ์เหมือนญาติพี่ น้องอย่าง
เหนียวแน่นกับการผสมผสานกับองค์ความรู้ใหม่
ได้อย่างเหมาะสมกับ สถาพท้องถิ่น “ภูมิปัญญา
ท้องถิ่น” จึงเป็นสิ่งสำคัญ มีคุณค่าควรได้มีการ
บันทึกเพื่อการอนุรักษ์และถ่ายทอดต่อชุมชนรุ่น
หลังสืบไป

แกะสลักกะลามะพร้าว

พิกัดทางภูมิศาสตร์ ค่า X6.8785746 ค่า Y 101.2901319
ที่อยู่ปัจจุบัน ต.บานา อ.เมืองปัตตานี จ.ปัตตานี รหัสไปรษณีย์ ๙๔๐๐๐
โทรศัพท์ 0657259613

ประโยชน์ของกะลา

แหล่งจำหน่ายผลิตภัณฑ์ การหาตลาดและ
การจำหน่ายผลิตภัณฑ์เป็นขั้นตอนที่มีความ
สำคัญอย่างยิ่งซึ่ง ให้การสนับสนุนในการนำ
ผลิตภัณฑ์กระจูดไปวางขายที่ตลาดภาย ใน
หมู่บ้าน ตำบล อำเภอ จังหวัด พร้อมทั้งนำออก
แสดงและจำหน่ายในงานต่างๆเช่นงานแสดง
สินค้า ซึ่งเป็นที่สนใจของผู้ชมงาน มีกำลังการ
ผลิตและแหล่งวัตถุดิบที่ยังสามารถเพิ่มปริมาณ
การผลิตได้อีกเท่าที่ลูกค้าต้องการผลิตภัณฑ์
กะลามะพร้าวของกลุ่มและน่าจะมี อนาคตที่ยาว
ไกล ถ้าตราบใดที่ยังรวมกันเป็นกลุ่ม และปัจจัยที่
สำคัญอีกอย่างหนึ่งคือเศษวัสดุจากกะลามะพร้าว
และไม้ เป็นวัสดุที่มีอยู่ตลอดเวลาเนื่องจากวิถี
ชีวิตต้องบริโภคเป็นประจำวัตถุดิบ ที่ไม่มีวันหมด

กระบวนสร้างภูมิปัญญา ลักษณะการใช้ประโยชน์จากภูมิปัญญาที่เกิดขึ้น

ปัจจุบันพบว่ามีกะลามะพร้าวเป็นจำนวนมาก ๑.มีปราชญ์ชาวบ้านที่มีความรู้ตั้งแต่ในอดีตถึง
ทำให้มีนักคิดค้น และประดิษฐ์เครื่องมือเครื่องใช้ ปัจจุบันสามารถถ่ายทอดความรู้
ในชีวิตประจาวันขึ้นด้วยการนำเอาวัสดุที่มีอยู่ตาม
ธรรมชาติ ที่หาง่ายและใช้ภูมิปัญญา ที่แฝงด้วย ๒.อนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
ศิลปะแขนง หนึ่ง เช่นศิลปะเช่นศิลปหัตถกรรม ไว้ให้กับลูกหลานได้สืบทอดต่อไป
เป็นต้น ในการประดิษฐ์เครื่องมือที่ใช้ในครัวเรือน ๓.มีความแข็งแรงของโครงสร้าง เป็นความแข็ง
และมีการทำจำหน่ายออกไปยังกลุ่มเพื่อนบ้าน แรงที่เกิดจากโครงสร้างของเครื่องใช้ ซึ่งกะลา
ต่างๆ ถือว่าเป็นการสร้างรายได้ให้แก่ครอบครัว มะพร้าว จะมีรูปลักษณะตามผลมะพร้าวที่เกิดจาก
และเป็นการสร้างอาชีพเสริมที่ดีและเป็นการ พันธุ์มะพร้าว ดังนั้นในการออกแบบจำเป็นต้อง
อนุรักษ์ภูมิปัญญาท้องถิ่นของเราต่อไป เลือกพันธุ์ ชนิด อายุของกะลามะพร้าวด้วย
เพราะมะพร้าวบางพันธุ์กะลาจะมีความเปราะ
ลักษณะการถ่ายทอด การ แตกหักง่าย เช่น มะพร้าวพันธุ์น้ำหอมกะลาจะ
ประชาสัมพันธ์ เผยแพร่ เปราะบาง
ภูมิปัญญาท้องถิ่น

เคยเผยแพร่เฉพาะในชุมชน
Facebook สะพานไม้บานา
ัyoutube

แกะสลักกะลามะพร้าว

ขั้ น ต อ น ก า ร ทำ

เครื่องใช้จากกะลามะพร้าวจะมีความสวยงาม มีสัดส่วน มีคุณค่า
มีราคาและใช้เวลาในการผลิตมากน้อยเพียงใด เครื่องมือ วัสดุ
อุ ปกรณ์ที่ใช้ประกอบจะมีส่วนสำคัญเป็นอย่างยิ่ง เครื่องมือที่
จำ เ ป็ น ต้ อ ง ใ ช้ ใ น ก า ร ทำ ผ ลิ ต ภั ณ ฑ์ จ า ก ก ะ ล า ม ะ พ ร้า ว มี ดั ง นี้

1 เลื่อยใช้ตัดวัสดุต่าง ๆ เลื่อยที่นิยมใช้กันได้แก่เลื่อยตัดเหล็ก เนื่องจากกะลา
มะพร้าวมีความเหนียวและต้องการความละเอียด ควรเลือกใช้ชนิดฟันละเอียด 20-
32 ซี่ ต่อนิ้ว เลื่อยรอใช้ในการตัดไม้เล็ก ๆ ผ่าเดือย ใช้เลื่อยรอปากไม้ และส่วนที่
ต้องการความละเอียดประณีตเลื่อยฉลุ เป็นเลื่อยที่ใช้ในงาน ตัด เจาะวงกลมและ
ส่วนโค้งต่าง ๆ

2 สว่าน เป็นอุปกรณ์เจาะรูเพื่อใส่สลักยึดชิ้นส่วน หรือเจาะพื้นผิวของกะลาก่อน
ใช้เลื่อนฉลุฉลุลายสว่านที่นิยมใช้กัน ได้แก่ สว่านมือ และสว่านไฟฟ้า บุ้ง ใช้
ตกแต่งชิ้นงาน มีลักษณะเหมือนตะไบ ที่นิยมใช้กันอยู่มี 3 ขนาด ได้แก่ บุ้งแบน
บุ้งท้องปลิง บุ้งกลม
3. เครื่องขัด (มอเตอร์หินเจีย) เป็นอุปกรณ์ที่สามารถทำงานได้รวดเร็ว เหมาะ
สำหรับผู้ที่มีความชำนาญในการใช้เครื่องและมีทักษะในการทำงานพอสมควร ที่
เครื่องขัดจะมี 2 หัว (ด้านที่ขัด) สามารถนำมาดัดแปลงใช้งานได้หลายลักษณะ
เช่น ใช้ขัดผิวภายนอก ขัดภายใน ใช้ตัด เป็นต้น

4. เครื่องมือวัด ใช้วัดระยะทั่ว ๆ ไป เช่น ไม้บรรทัด สายวัด ฉากเหล็ก เครื่องมือแคะ
เนื้อมะพร้าวและขูดผิวกะลาด้านใน
5. เหล็กแทง เป็นอุปกรณ์ที่ประดิษฐ์ขึ้นเองทำหน้าที่งัดหรือแทงให้เนื้อมะพร้าวออก
ไดสะดวก
6. เหล็กขูดผิวกะลาด้านใน ประดิษฐ์เอง ใช้ขูดผิวกะลามะพร้าวด้านใน สามารถขูดใน
ที่แคบ ๆ และลึกได้
7. วัสดุยึด คือ กาวชนิดต่าง ๆ ควรเลือกใช้ให้เหมาะสมกับชนิดของงาน ที่นิยมใช้กัน
อยู่ทั่วไป ได้แก่ กาวลาเท็กซ์ กาวยาง กาวตราช้าง
8. ค้อน เป็นอุปกรณ์ใช้ตอก ไม่ค่อยใช้กับการทำผลิตภัณฑ์โดยตรง แต่เป็นเครื่อง
มือช่วยประกอบ
9. กระดาษทราย ใช้ขัดผิดภายนอกของกะลาให้เรียบเป็นมัน ถ้าทำเป็นจำนวนมาก
ขัดด้วยเครื่องขัดและปัดด้วยเครื่องขัดเพื่อให้เกิดผิวมันวาว ส่วนมากจะใช้ดินขัดเป็น
ตัวช่วย
10. อื่น ๆ เช่น ปากกา ดินสอ ยางลบ กระดาษ เป็นต้น

คุณค่าและบทบาทของภูมิปัญญาท้องถิ่นต่อชุมชนและ
สังคม

ภูมิปัญญาท้องถิ่นดั้งเดิมได้รับการถ่ายทอดมาจากขั้นตอนการประดิษฐ์
ภูมิปัญญาท้องถิ่นที่ได้พัฒนาและต่อยอด

แบบเดิมคือ

มะพร้าวเป็นอาหารทำน้ำมัน และทำเป็นเครื่องปรุงอาหารหวานคาวนานาชนิด
มะพร้าวจึงเป็นพืชที่มนุษย์ทุกชาติทุกภาษารู้จักคุ้นเคยเป็นอย่างดี กะลามะพร้าว ได้
รับการประดิษฐ์เป็นจับปิ้ งเพื่อห้อยเป็นเครื่องปกปิดอวัยวะเพศของเด็กหญิงตัวน้อย
ได้อีกอย่างหนึ่งโดยทั่วไปเครื่องปกปิดอวัยวะเพศของเด็กหญิงนั้น ในหมู่ผู้มีฐานะ จะ
ทำด้วยเงินทองหรือนาก แต่ชาวบ้านที่มีความเป็นอยู่ไม่ดีนักก็ใช้จับปิ้ งกะลาหรือ
เรียกว่าปิ้ งพลกก็มาก มะพร้าวจึงมีอรรถประโยชน์นานาประการ กะลามะพร้าวนั้นเคย
ทำเป็นของใช้ประเภท ขันตักน้ำกระบวยตักน้ำ และ ทำเป็นป้อยตวงข้าวสารสำหรับหุง
ข้าวกันมานาน เพิ่งจะหายไปเมื่อเร็วๆ นี้ คนบางคนที่ไม่กินเนื้อสัตว์ยามไปกินอาหาร
ในงานต่างก็จะใช้กะลาใหม่ ๆ ใส่อาหารรับประทาน เสร็จแล้วก็โยนทิ้งไปทำนองเดียว
กับการใช้ถ้วยชามโฟมในปัจจุบันนี้

แกะสลักกะลามะพร้าว

การพัฒนาต่อยอดคือ

จะเห็นว่ามะพร้าวหรือกะลามะพร้าวได้นำมาจัดทำผลิตภัณฑ์หลาย
ชนิด ความสำคัญของกะโหลกกะลาในสมัยก่อนนั้นมีน้อยนิดเดียวจึงเกิด
การเปรียบเปรยคน ที่ใช้ชีวิตอย่างไร้คุณค่า คือไม่ได้ทำอะไรเลย เพลไถล
ไปเรื่อยๆ จะถูกเรียกขานว่า "ไอ้พลกไอ้ต้อ” เป็นการบ่งบอกถึงความไร้
ค่าเสมอด้วยกะลาความไม่แน่นอนเป็นสิ่งแน่นอนจริงๆจึงก้าวมาถึงวันที่
กะลาอันไร้ค่า เกิดมีค่าขึ้นมาในสายตาของนักประดิษฐ์มีการจัดการ
แปรรูปกะลาเป็นผลิตภัณฑ์ ที่เพิ่มคุณค่าได้มากหลาย นอกจากทำเป็น
เครื่องใช้ในครัวเรือนแล้ว ยังประดิษฐ์เป็นเครื่องตกแต่งบ้าน เครื่อง
ประดับและเครื่องแต่งกายสุภาพสตรี ออกแบบเป็นกระเป๋าถือ สุภาพ
สตรี เข็มขัด เข็มกลัดปั่ นปักผม สร้อย ที่เด่น ๆ ก็ได้แก่ โคมไฟฟ้าสามขา
และตะเกียง เจ้าพายุนักประดิษฐ์ได้คิดค้นผลิตภัณฑ์กะลามะพร้าวรูป
แบบใหม่นานาชนิด
รายละเอียดเพิ่มเติม
https://youtu.be/BbXde5kRh7Q

สถานภาพและการดำรงอยู่ของภูมิปัญญา

ผู้ที่อนุรักษ์การสืบทอดภูมิปัญญาการประดิษฐ์กะลามะพร้าว
ยังคงดำเนินการการ หาปลาด้วยการฟังเสียงของปลาใต้ท้องทะเล
เพื่อใช้ในการออกหาปลาให้กับครอบครัว และยังคงสืบทอดวิถีชีวิต
ดังกล่าวให้คงอยู่กับชุมชนในบ้าน ด้วยอุดมการณ์รักท้องถิ่นทะเล
อ่าวท่าศลา เป็นคนที่มีถิ่นกำเนิด

Thaun!k


Click to View FlipBook Version