หลักสูตร อสม.ใหม่
สกาารธให้าบรริกณารสุข ที่จำเป็น
พว.ธนกร บุญเจือ
เวชปฏิบัติการรักษาโรค คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านธรรมรัตน์
หลักสูตร อสม.ใหม่ พว.ธนกร บุญเจือ
เวชปฏิบัติการรักษาโรค
รพ.สต,บ้านธรรมรัตน์
ดาวน์โหลด
เอกสาร
ประกอบ
การบรรยาย
การให้บริการ สาธารณสุขที่จำเป็น
หลักสูตร อสม.ใหม่ พว.ธนกร บุญเจือ
การประเมินสุขภาพสำหรับอสม. เวชปฏิบัติการรักษาโรค
รพ.สต,บ้านธรรมรัตน์
การประเมินภาวะสุขภาพมีความสําคัญ เนื่องจากช่วยให้ผู้ประเมินสามารถ
รวบรวมข้อมูลอย่างเป็นระบบและสามารถให้บริการสุขภาพได้อย่างมีประสิทธิภาพ
สามารถวิเคราะห์ข้อมูลตามปัญหาที่เกิดขึ้นและแปลผลได้ถูกต้อง
ดังนั้น อสม. จึงจำเป็นต้องประเมินสุข
ภาพของประชาชนเบื้องต้นได้ เช่น
การซักประวัติ, การชั่งน้ำหนัก, วัดส่วนสูง, การวัดค่าดัชนีมวลกาย,
การวัดสัญญาณชีพ และการวัดระดับน้ำตาลในเลือด
การให้บริการ สาธารณสุขที่จำเป็น
หลักสูตร อสม.ใหม่ พว.ธนกร บุญเจือ
การประเมินสุขภาพ เวชปฏิบัติการรักษาโรค
การประเมินสุขภาพ การประเมินสุขภาพ รพ.สต,บ้านธรรมรัตน์
ขั้นที่ 1 ขั้นที่ 2
การประเมินสุขภาพ
การซักประวัติ การชั่งน้ำหนัก/วัดส่วนสูง ขั้นที่ 3
การประเมินสุขภาพ การประเมินสุขภาพ การวัดรอบเอว/รอบศีรษะ
ขั้นที่ 4 ขั้นที่ 5
การประเมินสุขภาพ
การคำนวนดัชนีมวลกาย BMI การวัดระดับน้ำตาลในเลือด ขั้นที่ 6
การวัดสัญญาณชีพ
การให้บริการ สาธารณสุขที่จำเป็น
หลักสูตร อสม.ใหม่ พว.ธนกร บุญเจือ
การซักประวัติ เวชปฏิบัติการรักษาโรค
รพ.สต,บ้านธรรมรัตน์
ก่อนเริ่มซักประวัติ อสม.ควรทําความรู้จักกับผู้ป่วยด้วยการแนะนําตนเอง บอกชื่อ
บอกวัตถุประสงค์ แล้วจึงเริ่มซักประวัติที่เป็นรายละเอียดสนับสนุนวัตถุประสงค์ในครั้งนี้
วัน เดือน ปี เพศ อายุ สถานที่อยู่ปัจจุบัน
ที่ซักประวัติ
ภูมิลำเนา
อาชีพ เชื้อชาติ ศาสนา ข้อมูลและพฤติกรรม
ประวัติการทำงาน
ส่วนบุคคล
การให้บริการ สาธารณสุขที่จำเป็น
หลักสูตร อสม.ใหม่ พว.ธนกร บุญเจือ
การซักประวัติ เวชปฏิบัติการรักษาโรค
รพ.สต,บ้านธรรมรัตน์
การให้บริการ สาธารณสุขที่จำเป็น
หลักสูตร อสม.ใหม่ พว.ธนกร บุญเจือ
การซักประวัติ เวชปฏิบัติการรักษาโรค
รพ.สต,บ้านธรรมรัตน์
การให้บริการ สาธารณสุขที่จำเป็น
หลักสูตร อสม.ใหม่ พว.ธนกร บุญเจือ
การชั่งน้ำหนัก เวชปฏิบัติการรักษาโรค
การชั่งและการอ่านค่าน้ำ รพ.สต,บ้านธรรมรัตน์
หนักตัวจากเครื่องชั่ง
สำหรับเครื่องชั่งแบบเข็ม ต้องให้เข็มของเครื่องชั่ง
อสม.ต้องเลือกเครื่องชั่งน้ำหนัก ชี้ไปที่ตัวเลข 0 จึงขึ้นชั่งน้ำหนักได้
ที่มีมาตรฐานและเหมาะกับผู้ป่วยเสมอ
สำหรับเครื่องชั่งดิจิตอล ต้องกดเปิดเครื่องหรือ
หน้าจอแสดงเลข 0 จึงสามารถขึ้นชั่งน้ำหนัก
ก่อนขึ้นชั่งน้ำหนัก ควรถอดร้องเท้า นำของที่มี
น้ำหนักออกจากร่างกาย ก่อนชั่งน้ำหนักเสมอ
การให้บริการ สาธารณสุขที่จำเป็น
หลักสูตร อสม.ใหม่ พว.ธนกร บุญเจือ
การชั่งน้ำหนัก เวชปฏิบัติการรักษาโรค
เครื่องชั่งทางการแพทย์ ( HEALTH SCALE ) รพ.สต,บ้านธรรมรัตน์
01 เตียงชั่งน้ำหนัก
เตียงผู้ป่วยระบบไฟฟ้าหัวอ่านน้ำหนักแบบดิจิตอล
ใช้สำหรับผู้ป่วยที่ไม่สามารถช่วยเหลือตนเองได้
หรือผู้ป่วยที่มีน้ำหนักมาก หรือผู้ป่วยที่แพทย์
งดการเคลื่อนไหว และต้องชั่งน้ำหนักลงบันทึกการ
เปลี่ยนแปลงเพื่อวางแผนการรักษา
การให้บริการ สาธารณสุขที่จำเป็น
หลักสูตร อสม.ใหม่ พว.ธนกร บุญเจือ
การชั่งน้ำหนัก เวชปฏิบัติการรักษาโรค
เครื่องชั่งทางการแพทย์ ( HEALTH SCALE ) รพ.สต,บ้านธรรมรัตน์
02 เครื่องชั่งน้ำหนักแบบเข็ม
เครื่องชั่งน้ำหนักหน้าปัดแบบเข็ม ใช้สำหรับผู้ป่วย
ทั่วไปที่สามารถช่วยเหลือตัวเองได้ มีแผ่นกันลื่น
หน่วยชั่งน้ำหนัก กิโลกรัมและปอนด์
การให้บริการ สาธารณสุขที่จำเป็น
หลักสูตร อสม.ใหม่ พว.ธนกร บุญเจือ
การชั่งน้ำหนัก เวชปฏิบัติการรักษาโรค
เครื่องชั่งทางการแพทย์ ( HEALTH SCALE ) รพ.สต,บ้านธรรมรัตน์
03 เครื่องชั่งน้ำหนักดิจิตอลแบบมีราวจับ
ใช้สำหรับผู้ป่วยที่เคลื่อนไหวไม่สะดวกหรือได้รับบาด
เจ็บบริเวณขา ต้องใช้เครื่องพยุง หน้าปัดแสดงค่า
อ่านน้ำหนักเป็นตัวเลข สามารถตั้งค่าหน่วยการอ่าน
และคำนวน BMI ได้
การให้บริการ สาธารณสุขที่จำเป็น
หลักสูตร อสม.ใหม่ พว.ธนกร บุญเจือ
การชั่งน้ำหนัก เวชปฏิบัติการรักษาโรค
เครื่องชั่งทางการแพทย์ ( HEALTH SCALE ) รพ.สต,บ้านธรรมรัตน์
04 เครื่องชั่งน้ำหนักดิจิตอล
ใช้ชั่งน้ำหนักบุคคลทั่วไป หน้าปัดแสดงค่าอ่านน้ำหนัก
เป็นตัวเลข สามารถตั้งค่าหน่วยการอ่านและคำนวน
BMI ได้ มีเครื่องมือวัดความสูงยืดเก็บ
อ่านค่าการวัดเป็นเซนติเมตร
การให้บริการ สาธารณสุขที่จำเป็น
หลักสูตร อสม.ใหม่ พว.ธนกร บุญเจือ
การชั่งน้ำหนัก เวชปฏิบัติการรักษาโรค
เครื่องชั่งทางการแพทย์ ( HEALTH SCALE ) รพ.สต,บ้านธรรมรัตน์
05 เครื่องชั้่งน้ำหนักเด็กแบบดิจิตอล
ใช้ชั่งน้ำหนักเด็กตั้งแต่แรกเกิด – 2 ขวบ
รับน้ำหนักได้ 20-30 กิโลกรัม
สามารถบันทึกข้อมูลการชั่งได้
หน่วยการอ่านเป็นกิโลกรัม
การให้บริการ สาธารณสุขที่จำเป็น
หลักสูตร อสม.ใหม่ พว.ธนกร บุญเจือ
เวชปฏิบัติการรักษาโรค
รพ.สต,บ้านธรรมรัตน์
การวัดความยาวและส่วนสูง
การวัดความยาว จะใช้เครื่องมือวัดความยาว
ซึ่งใช้ในเด็กอายุต่ำกว่า 2 ปี
เนื่องจากเด็ก ยังไม่สามารถยืนเหยียดได้ตรง
การวัดส่วนสูง จะใช้เครื่องมือวัดความสูง
ซึ่งใช้ในเด็กอายุ 2 ปีขึ้นไป ต้องวัดส่วนสูงในท่ายืน
เนื่องจากเด็ก สามารถยืนเหยียดได้ตรง
การให้บริการ สาธารณสุขที่จำเป็น
หลักสูตร อสม.ใหม่ พว.ธนกร บุญเจือ
การวัดความยาวและส่วนสูง เวชปฏิบัติการรักษาโรค
รพ.สต,บ้านธรรมรัตน์
เครื่องมือวัดความยาวในเด็ก
ในเด็กที่อายุต่ำกว่า 2 ปี จะใช้เครื่องมือวัด
ความยาวในแนวนอน อุปกรณ์การวัดจะใช้สายวัดเอว
หรือในปัจจุบันเครื่องชั่งน้ำหนักเด็กจะมีแท่งยืดหด
สำหรับวัดความยาวในเด็กติดมากับเครื่องชั่งน้ำหนัก
หน่วยของการวัดจะใช้เซนติเมตรหรือเมตร ขึ้นอยู่
กับการนำไปใช้ประโยชน์
การให้บริการ สาธารณสุขที่จำเป็น
หลักสูตร อสม.ใหม่ พว.ธนกร บุญเจือ
เวชปฏิบัติการรักษาโรค
รพ.สต,บ้านธรรมรัตน์
การวัดความยาวและส่วนสูง
เครื่องมือวัดความสูงในเด็ก
ในเด็กที่อายุมากกว่า 2 ปี จะใช้เครื่องมือวัด
ความสูงในแนวตั้งฉากกับพื้น การขึ้นวัดความสูงจะ
ต้องถอดรองเท้า ยืนลำตัวตรงขนานกับอุปกรณ์วัด
ความสูง หันหน้ามองไปข้างหน้า หน่วยของการวัดจะ
ใช้เซนติเมตรหรือเมตร ขึ้นอยู่กับการนำไปใช้
ประโยชน์
การให้บริการ สาธารณสุขที่จำเป็น
หลักสูตร อสม.ใหม่ พว.ธนกร บุญเจือ
เวชปฏิบัติการรักษาโรค
รพ.สต,บ้านธรรมรัตน์
การวัดรอบเอว
จะวัดด้วยด้วยสายวัดรอบเอว ผู้ถูกวัด
จะต้องอยู่ในท่ายืนและวัดผ่านสะดือให้สายวัด
แนบกับลำตัวพอดี
รอบเอวที่เหมาะสมกับแต่ละคนไม่ควรเกิน
ส่วนสูงเป็นเซนติเมตรหารด้วย 2
การให้บริการ สาธารณสุขที่จำเป็น
หลักสูตร อสม.ใหม่ พว.ธนกร บุญเจือ
เวชปฏิบัติการรักษาโรค
รพ.สต,บ้านธรรมรัตน์
การวัดรอบศีรษะ
จะวัดเด็กที่อายุน้อยกว่า 5 ปี เพื่อดู
การเปลี่ยนแปลงขนาดของกระโหลกศีรษะและ
การเจริญเบติบโตของสมอง
วิธีการวัดเส้นรอบศีรษะ ด้านหน้าให้แถบวัดอยู่
เหนือคิ้วประมาณ 1 นิ้วมือ ส่วนด้านหลังให้ไปยัง
ส่วนของศีรษะด้านหลังที่นูนที่สุด
การให้บริการ สาธารณสุขที่จำเป็น
หลักสูตร อสม.ใหม่ พว.ธนกร บุญเจือ
การคำนวนดัชนีมวลกาย BMI เวชปฏิบัติการรักษาโรค
เป็นแบบคัดกรองภาวะ รพ.สต,บ้านธรรมรัตน์
น้ำหนักเกินหรือโรคอ้วน
โดยคำนวณจากน้ำหนักตัว การให้บริการ สาธารณสุขที่จำเป็น
ในหน่วยกิโลกรัมหารด้วย
ส่วนสูงเป็นเมตรกำลังสอง
หลักสูตร อสม.ใหม่ พว.ธนกร บุญเจือ
การคำนวนดัชนีมวลกาย BMI เวชปฏิบัติการรักษาโรค
รพ.สต,บ้านธรรมรัตน์
การให้บริการ สาธารณสุขที่จำเป็น
หลักสูตร อสม.ใหม่ พว.ธนกร บุญเจือ
การคำนวนดัชนีมวลกาย BMI เวชปฏิบัติการรักษาโรค
รพ.สต,บ้านธรรมรัตน์
การให้บริการ สาธารณสุขที่จำเป็น
หลักสูตร อสม.ใหม่ พว.ธนกร บุญเจือ
การวัดระดับน้ำตาลในเลือด เวชปฏิบัติการรักษาโรค
Dextrostix หรือ DTX คือ วิธีการตรวจระดับ รพ.สต,บ้านธรรมรัตน์
น้ำตาลกลูโคสในเลือด โดยการเจาะเส้นเลือด
หลักสูตรรายวิชา
ฝอยที่ปลายนิ้ว เพื่อใช้เลือด 1 หยด
ในการทดสอบจากเครื่องวัดระดับน้ำตาล การให้บริการ สาธารณสุขที่จำเป็น
ในเลือด โดยก่อนทดสอบผู้ป่วยจะต้อง
งดอาหารและเครื่องดื่มอย่างน้อย 8 ชั่วโมง
หลักสูตร อสม.ใหม่ พว.ธนกร บุญเจือ
การวัดระดับน้ำตาลในเลือด เวชปฏิบัติการรักษาโรค
รพ.สต,บ้านธรรมรัตน์
หลักสูตรรายวิชา
01 เตรียมอุปกรณ์ ได้แก่ เครื่องเจาะน้ำตาล เข็มเจาะชนิดใช้
แล้วทิ้ง สำลีแห้งปราศจากเชื้อ แอลกอออล์ 70%
วิธีการเจาะ 02 นวดคลึงปลายนิ้ว เช็ดนิ้วที่จะเจาะด้วยสำลีแอลกอฮอล์
น้ำตาลปลายนิ้ว (มักเจาะด้านข้างของนิ้วกลาง หรือนิ้วนาง)
03 เช็ดเลือดหยดแรกออก หยดเลือดหยดที่สอง
ลงบนแถบตรวจ
04 เช็ดเลือดที่ปลายนิ้วด้วยสำลีแห้ง
การให้บริการ สาธารณสุขที่จำเป็น
หลักสูตร อสม.ใหม่ พว.ธนกร บุญเจือ
การวัดระดับน้ำตาลในเลือด เวชปฏิบัติการรักษาโรค
รพ.สต,บ้านธรรมรัตน์
หลักสูตรรายวิชา
การให้บริการ สาธารณสุขที่จำเป็น
หลักสูตร อสม.ใหม่ พว.ธนกร บุญเจือ
การวัดระดับน้ำตาลในเลือด เวชปฏิบัติการรักษาโรค
ค่าระดับน้ำตาล อดอาหาร 8 ชม. รพ.สต,บ้านธรรมรัตน์
ค่าปกติ 60-99 ไม่อดอาหาร
เริ่มเสี่ยง 100-125 น้อยกว่า 140
140-199
อันตราย 126
200
การให้บริการ สาธารณสุขที่จำเป็น
หลักสูตร อสม.ใหม่ พว.ธนกร บุญเจือ
การวัดสัญญาณชีพ เวชปฏิบัติการรักษาโรค
รพ.สต,บ้านธรรมรัตน์
อุณหภูมิ หายใจ
TEMPERATURE RESPIRATORY RATE
ชีพจร ความดันโลหิต
PULSE BLOOD PRESSURE
การให้บริการ สาธารณสุขที่จำเป็น
หลักสูตร อสม.ใหม่ พว.ธนกร บุญเจือ
การวัดสัญญาณชีพ เวชปฏิบัติการรักษาโรค
รพ.สต,บ้านธรรมรัตน์
หลักสูตรรายวิชา
การวัดอุณหภูมิกาย
การวัดอุณหภูมิร่างกายเป็นการใช้เทอร์โมมิเตอร์
สำหรับวัดอุณหภูมิใส่เข้าไปในส่วนใดส่วนหนึ่ง
ของร่างกายเพื่อประเมินระดับอุณหภูมิ
ซึ่งเกิดจากความสมดุลระหวา่งความร้อนที่
ร่างกายผลิตขึ้นกับความร้อนที่เสียไปจากร่างกาย
การให้บริการ สาธารณสุขที่จำเป็น
หลักสูตร อสม.ใหม่ พว.ธนกร บุญเจือ
การวัดสัญญาณชีพ เวชปฏิบัติการรักษาโรค
รพ.สต,บ้านธรรมรัตน์
หลักสูตรรายวิชา
ปรอทวัดไข้แบบธรรมดา
ใช้วัดไข้ทางรักแร้หรือทางปาก เหมาะสำหรับเด็กเล็ก 5 ปีขึ้นไป
วิธีวัดทางรักแร้ นำปลายกระเปาะของปรอทให้ลูกหนีบไว้อยู่
กึ่งกลางรักแร้และไม่เลยออกไปด้านหลัง ควรรออย่างน้อย
4 นาที ให้แถบสารปรอทหยุดนิ่ง แล้วอ่านค่าที่วัดได้
การให้บริการ สาธารณสุขที่จำเป็น
หลักสูตร อสม.ใหม่ พว.ธนกร บุญเจือ
การวัดสัญญาณชีพ เวชปฏิบัติการรักษาโรค
รพ.สต,บ้านธรรมรัตน์
หลักสูตรรายวิชา
ปรอทวัดไข้แบบธรรมดา
วิธีวัดทางปาก ก่อนการวัดไข้ควรมีการตรวจดูภายในช่องปากว่าไม่มีสิ่งใด
ตกค้างอยู่หรือไม่ หลีกเลี่ยงการวัดไข้ทันทีหลังการรับประทานอาหารหรือ
เครื่องดื่ม ควรรอเวลาอย่างน้อย 20-30 นาที เพราะอาจมีผลต่ออุณหภูมิ
ที่วัดได้ และควรตรวจสภาพของปรอทก่อนการใช้ทุกครั้งว่าแถบสารปรอท
อยู่ต่ำกว่าตัวเลข 35 องศาเซลเซียสหรือไม่ ถ้าอยู่สูงกว่าควรสะบัด
ให้สารปรอทลดลงมาก่อนใช้วัดไข้
การให้บริการ สาธารณสุขที่จำเป็น
หลักสูตร อสม.ใหม่ พว.ธนกร บุญเจือ
การวัดสัญญาณชีพ เวชปฏิบัติการรักษาโรค
รพ.สต,บ้านธรรมรัตน์
หลักสูตรรายวิชา
ปรอทวัดไข้แบบธรรมดา
ข้อดี/ข้อเสีย : เด็กบางคนอาจจะยังอมปรอทไม่เป็น
อาจจะกัดแตกได้ ห้ามใช้ในกรณีที่เด็กไม่ยอมร่วมมือ
หรือในเด็กที่มีโอกาสชักจากไข้สูง เพราะอาจเกิด
การชักขณะที่อมปรอทอยู่ในปาก ทำให้เกิดอันตรายได้
การอ่านผลยากถ้าผู้วัดไม่ชำนาญ
การให้บริการ สาธารณสุขที่จำเป็น
หลักสูตร อสม.ใหม่ พว.ธนกร บุญเจือ
การวัดสัญญาณชีพ เวชปฏิบัติการรักษาโรค
รพ.สต,บ้านธรรมรัตน์
หลักสูตรรายวิชา
ปรอทวัดไข้ทางก้น
ใช้วัดทางทวาร เหมาะสำหรับลูกน้อยวัยแรกเกิด
วิธีวัด หล่อลื่นปลายของปรอทด้วยวาสลินหรือเควาย เพื่อหล่อลื่น
จากนั้นจับให้ลูกอยู่ในท่านอน (คว่ำ, หงาย หรือ ตะแคง) ค่อยๆ สอดใส่ปรอท
เข้าทางรูก้น ลึกประมาณ 1.25-2.5 เซนติเมตร ขั้นตอนนี้ควรระมัดระวังไม่สอด
เทอร์โมมิเตอร์เข้าไปลึกจนเกินไป และให้เวลาประมาณ 2 นาที
ก่อนดึงออกมาอ่าน
การให้บริการ สาธารณสุขที่จำเป็น
หลักสูตร อสม.ใหม่ พว.ธนกร บุญเจือ
การวัดสัญญาณชีพ เวชปฏิบัติการรักษาโรค
รพ.สต,บ้านธรรมรัตน์
หลักสูตรรายวิชา
ปรอทวัดไข้ทางก้น
ข้อดี/ข้อเสีย : ราคาไม่แพงให้ค่าที่มีความแม่นยำสูง
โดยเฉพาะในทารกแรกเกิดแตกหักง่าย และบางครั้งอ่าน
ผลยาก ถ้าไม่ชำนาญ
การให้บริการ สาธารณสุขที่จำเป็น
หลักสูตร อสม.ใหม่ พว.ธนกร บุญเจือ
การวัดสัญญาณชีพ เวชปฏิบัติการรักษาโรค
รพ.สต,บ้านธรรมรัตน์
หลักสูตรรายวิชา
เครื่องวัดอุณหภูมิแบบดิจิตอล
อายุที่เหมาะส
ม ใช้ได้ทุกวัย
วิธีวัด : เหมือนกับปรอทวัดแบบทั่วไป โดยการนำเครื่องวัดอุณหภูมิแบบ
ดิจิตอล สอดเข้าไปที่ปาก (อมใต้ลิ้น) หรือรักแร้ โดยให้ปลาย
เทอร์โมมิเตอร์อยู่กึ่งกลางรักแร้และไม่เลยออกไปด้านหลัง จากนั้นหนีบ
เทอร์โมมิเตอร์ไว้สักพัก แล้วรอจนสัญญาณเสียงดังขึ้น
จากนั้นอ่านค่าที่วัดได้
การให้บริการ สาธารณสุขที่จำเป็น
หลักสูตร อสม.ใหม่ พว.ธนกร บุญเจือ
การวัดสัญญาณชีพ เวชปฏิบัติการรักษาโรค
รพ.สต,บ้านธรรมรัตน์
หลักสูตรรายวิชา
เครื่องวัดอุณหภูมิแบบดิจิตอล
ข้อดี/ข้อเสีย : สะดวกตรงที่จะมีเสียงเตือน เมื่อถึงกำหนดเวลาอ่าน
และอ่านได้ง่ายเพราะเป็นตัวเลขขึ้นเลย แต่จะมีราคาแพงกว่าปรอทวัดไข้
แบบธรรมดา อีกทั้งความแม่นยำในการวัดอาจด้อยกว่าปรอทแก้วเล็กน้อย
และอาจเสียได้ง่าย ซึ่งมีข้อควรระวังด้วย คือ ห้ามนำไปล้างน้ำหรือ
ทำตกกระแทก เพราะอาจทำให้พังได้
การให้บริการ สาธารณสุขที่จำเป็น
หลักสูตร อสม.ใหม่ พว.ธนกร บุญเจือ
การวัดสัญญาณชีพ เวชปฏิบัติการรักษาโรค
รพ.สต,บ้านธรรมรัตน์
หลักสูตรรายวิชา
เครื่องวัดอุณหภูมิแบบอินฟราเรดที่ใช้วัดทางหู
เหมาะสม สำหรับเด็ก 3 ขวบ ขึ้นไป
วิธีวัด : นำเอุปกรณ์สวมปลอกพลาสติก โดยดึงใบหูให้อยู่ใน
ตำแหน่งที่เหมาะสม (ดึงขึ้นและเบนไปทางด้านหลังเล็กน้อย)
ควรทำการวัดซ้ำ อย่างน้อยหนึ่งหรือสองครั้ง
และหาเป็นค่าเฉลี่ยของอุณหภูมิ
การให้บริการ สาธารณสุขที่จำเป็น
หลักสูตร อสม.ใหม่ พว.ธนกร บุญเจือ
การวัดสัญญาณชีพ เวชปฏิบัติการรักษาโรค
รพ.สต,บ้านธรรมรัตน์
หลักสูตรรายวิชา
เครื่องวัดอุณหภูมิแบบอินฟราเรดที่ใช้วัดทางหู
ข้อดี/ข้อเสีย : ใช้เวลาสั้นมากในการอ่าน และมีความไวต่อ
อุณหภูมิของแก้วหูได้ดีมาก เพราะใช้เทคโนโลยีในการตรวจ
หาความร้อนโดยอินฟราเรด ค่าจะคลาดเคลื่อนมากถ้าใช้กับ
เด็กเล็กเพราะรูหูมีขนาดเล็ก หรือเด็กที่มีขี้หูเยอะ
การให้บริการ สาธารณสุขที่จำเป็น
หลักสูตร อสม.ใหม่ พว.ธนกร บุญเจือ
การวัดสัญญาณชีพ เวชปฏิบัติการรักษาโรค
รพ.สต,บ้านธรรมรัตน์
หลักสูตรรายวิชา
เครื่องวัดอุณหภูมิแบบอินฟราเรดที่ใช้วัดทางหน้าผาก
วิธีวัด : นำอุปกรณ์ชี้ไปบริเวณหน้าผากห่างไม่เกิน 15 cm.
รอสัญญาณเครื่องดังและอ่านค่าที่ได้ ทั้งนี้การใช้เครื่องเครื่อง
วัดอุณหภูมิแบบอินฟราเรด ต้องคำนึงถึงสภาวะปกติของ
อากาศ และสภาพการเดินทางของผู้ป่วยก่อนวัดด้วย
การให้บริการ สาธารณสุขที่จำเป็น
หลักสูตร อสม.ใหม่ พว.ธนกร บุญเจือ
การวัดสัญญาณชีพ เวชปฏิบัติการรักษาโรค
รพ.สต,บ้านธรรมรัตน์
หลักสูตรรายวิชา
เครื่องวัดอุณหภูมิแบบอินฟราเรดที่ใช้วัดทางหน้าผาก
ข้อดี/ข้อเสีย : เครื่องวัดอุณหภูมิแบบอินฟาเรดที่จะมี
แสงสีฟ้าไว้วัดไข้ เพียงกดปุ่มและจ่อไว้ที่หน้าผาก
ก็จะอ่านค่าได้แม่นยำ อีกทั้งสามารถวัดไข้ลูกขณะนอนหลับ
โดยไม่กวนการนอนหลับได้ดีด้วย
การให้บริการ สาธารณสุขที่จำเป็น
หลักสูตร อสม.ใหม่ พว.ธนกร บุญเจือ
การวัดสัญญาณชีพ เวชปฏิบัติการรักษาโรค
ปกติ รพ.สต,บ้านธรรมรัตน์
มีไข้ต่ำ
มีไข้สูง 35.5 - 37.4
มีไข้สูงมาก 37.5 - 38.4
38.5 - 39.4
มากกว่า 40
การให้บริการ สาธารณสุขที่จำเป็น
หลักสูตร อสม.ใหม่ พว.ธนกร บุญเจือ
เวชปฏิบัติการรักษาโรค
รพ.สต,บ้านธรรมรัตน์
หลักสูตรรายวิชา
การวัดสัญญาณชีพ
การหายใจ
เป็นการแสดงการสูดออกซิเจนเข้าสู่ร่างกาย โดยผ่านจมูก หลอดลม
และปอด ที่เรียกว่า การหายใจเข้าและเป็นการแสดงการปล่อย
คาร์บอนไดออกไซด์ออกจากร่างกายโดยผ่านปอด หลอดลม และจมูก
ที่เรียกว่า การหายใจออก การตรวจนับการหายใจเป็นการสังเกตว่า
มีการหายใจที่ผิดปกติหรือไม่ ในจังหวะและจำนวนครั้งต่อนาที
การให้บริการ สาธารณสุขที่จำเป็น
หลักสูตร อสม.ใหม่ พว.ธนกร บุญเจือ
การวัดสัญญาณชีพ เวชปฏิบัติการรักษาโรค
รพ.สต,บ้านธรรมรัตน์
หลักสูตรรายวิชา
เตรียมความพร้อมให้ผู้ป่วยนอนหงายหรือนอนตะแคงหรือ
01 นั่งในท่าที่สบาย หากมีกิจกรรมก่อนการวัดให้พักอย่างน้อย
15 – 30 นาที
วิธีการวัด 02 สังเกตการณ์หายใจเข้าโดยดูหน้าอกที่พองขึ้น และการ
การหายใจ หายใจออกโดยดูหน้าอกที่ยุบลง นับเป็นการหายใจ 1 ครั้ง
03 นับจำนวนครั้งการหายใจใน 1 นาที จะได้ค่าของการหายใจ
ข้อควรระวัง ผู้ตรวจต้องสังเกตโดยไม่ให้ผู้ผู้ป่วยรู้ตัว เพราะอาจทำให้
ขัดเขินหายใจเร็วขึ้นหรือช้าลงได้
การให้บริการ สาธารณสุขที่จำเป็น
หลักสูตร อสม.ใหม่ พว.ธนกร บุญเจือ
การวัดสัญญาณชีพ เวชปฏิบัติการรักษาโรค
แรกเกิด-2เดือน รพ.สต,บ้านธรรมรัตน์
50 - 60 ครั้ง/นาที
2 เดือน-1 ปี 40 - 50 ครั้ง/นาที
วัยเด็ก 20 - 30 ครั้ง/นาที
ผู้ใหญ่ 16 - 20 ครั้ง/นาที
การให้บริการ สาธารณสุขที่จำเป็น
หลักสูตร อสม.ใหม่ พว.ธนกร บุญเจือ
การวัดสัญญาณชีพ เวชปฏิบัติการรักษาโรค
รพ.สต,บ้านธรรมรัตน์
หลักสูตรรายวิชา
ชีพจรหรืออัตราการเต้นของหัวใจ
ชีพจรเป็นแรงสะเทือนของกระแส
เลือด ซึ่งเกิดจากการบีบตัวของ
หัวใจห้องล่างด้านซ้าย ทำให้ผนังของหลอดเลือดแดงขยายออก
เป็นจังหวะ เป็นผลให้สามารถจับชีพจรได้ตลอดเวลา ในผู้ใหญ่
และผู้สูงอายุอัตราการเต้นของชีพจร 60-100
(เฉลี่ย 80 ครั้ง/นาที)
การให้บริการ สาธารณสุขที่จำเป็น
หลักสูตร อสม.ใหม่ พว.ธนกร บุญเจือ
การวัดสัญญาณชีพ เวชปฏิบัติการรักษาโรค
รพ.สต,บ้านธรรมรัตน์
หลักสูตรรายวิชา
01 ประเมินสภาพผู้ป่วยและแจ้งให้ทราบว่าจะวัดชีพจรให้บอก
วัตถุประสงค์และรายละเอียดการวัด
วิธีการวัด 02 เตรียมความพร้อมจัดท่าให้ผู้ป่วยสุขสบาย หากมีกิจกรรม
อัตราการเต้น ก่อนการวัดให้พักอย่างน้อย 15 – 30 นาที
ของหัวใจ
ใช้นิ้วชี้ นิ้วกลางคลำที่หลอดเลือด โดยปกติจุดที่ใช้คลำชีพจร
03 อยู่ที่บริเวณข้อมือด้านหน้าที่ร่องด้านนิ้วหัวแม่มือ
เป็นจุดที่สะดวกเพราะเป็นที่ที่จับได้ง่ายและไม่รบกวนผู้ป่วย
04 การนับชีพจรให้นับจังหวะการเต้นของหลอดเลือดที่กระทบนิ้ว
ในเวลา 1 นาที จะได้ค่าของชีพจร
การให้บริการ สาธารณสุขที่จำเป็น
หลักสูตร อสม.ใหม่ พว.ธนกร บุญเจือ
การวัดสัญญาณชีพ เวชปฏิบัติการรักษาโรค
แรกเกิด-3เดือน รพ.สต,บ้านธรรมรัตน์
120-130 ครั้ง/นาที
3เดือน-6เดือน 110-120 ครั้ง/นาที
วัยเด็ก ไม่เกิน 110 ครั้ง/นาที
ผู้ใหญ่ 60-100 ครั้ง/นาที
การให้บริการ สาธารณสุขที่จำเป็น
หลักสูตร อสม.ใหม่ พว.ธนกร บุญเจือ
เวชปฏิบัติการรักษาโรค
รพ.สต,บ้านธรรมรัตน์
หลักสูตรรายวิชา
การวัดสัญญาณชีพ
ความดันโลหิต
คือ แรงหรือความดันของเลือดท
ี่ส่งออกจากหัวใจห้องล่างซ้าย
เข้าสู่ระบบหลอดเลือดแดง
ประกอบด้วย 2 ค่า คือ
01 Systolic blood pres
sure (SBP)
เป็นความดันของเลือดสูงสุดขณะหัวใจห้องล่างบีบตัว
02 Diastolic blood pressure (DBP)
เป็นความดันเลือดที่ต่ำสุดขณะหัวใจห้องล่างคลายตัว
การให้บริการ สาธารณสุขที่จำเป็น
หลักสูตร อสม.ใหม่ พว.ธนกร บุญเจือ
การวัดสัญญาณชีพ เวชปฏิบัติการรักษาโรค
รพ.สต,บ้านธรรมรัตน์
หลักสูตรรายวิชา
01 ประเมินสภาพผู้ป่วยและแจ้งให้ทราบว่าจะวัดอุณหภูมิ
ร่างกายให้บอกวัตถุประสงค์และแจ้งรายละเอียดการวัด
วิธีการวัด 02 เตรียมความพร้อมจัดท่าให้ผู้ป่วยสุขสบาย หากมีกิจกรรม
ความดันโลหิต ก่อนการวัดให้พักอย่างน้อย 15 – 30 นาที
นำเครื่องวัดความดันวางในแนวระดับเดียวกับหัวใจ พันพับ
03 ผันแขน ห่างจากข้อพับประมาณ 2 นิ้วมือ
วางแขนให้นิ่งและกดปุ่มเปิดเครื่อง (start) รอเครื่องอ่านผล
04 อ่านค่าความดันโลหิตตามที่หน้าจอแสดงผลตามภาพ
การให้บริการ สาธารณสุขที่จำเป็น
หลักสูตร อสม.ใหม่ พว.ธนกร บุญเจือ
การวัดสัญญาณชีพ เวชปฏิบัติการรักษาโรค
รพ.สต,บ้านธรรมรัตน์
การอ่านค่าคว
ามดันโลหิต
เครื่องวัดความดันโลหิต จะแสดงเลขด้านหน้าจอ 3 ค่า
เลขตัวที่ 1 คือ ค่าความดัน Systolic blood pressure
เลขตัวที่ 2 คือ ค่าความดัน Diastolic blood pressure
เลขตัวที่ 3 คือ ค่าอัตราการเต้นของหัวใจ
BP = 118/78
การให้บริการ สาธารณสุขที่จำเป็น
หลักสูตร อสม.ใหม่ พว.ธนกร บุญเจือ
การวัดสัญญาณชีพ เวชปฏิบัติการรักษาโรค
รพ.สต,บ้านธรรมรัตน์
ระดับ ค่าบน SBP ค่าบน DBP คำแนะนำ
ปกติ น้อยกว่า 120 น้อยกว่า 80 ปฏิบัติดีแล้ว
เริ่มสูง ควบคุมอาหาร
สูง 121-139 81-89
สูงมาก 140-159 90-99 พบแพทย์
160 ขึ้นไป มากกว่า 100 พบแพทย์ด่วน
การให้บริการ สาธารณสุขที่จำเป็น
หลักสูตร อสม.ใหม่ พว.ธนกร บุญเจือ
การวัดสัญญาณชีพ เวชปฏิบัติการรักษาโรค
การบันทึกค่าส
ัญญาณชีพ รพ.สต,บ้านธรรมรัตน์
การให้บริการ สาธารณสุขที่จำเป็น