โครงงานประดิษฐ์
กลอ่ งควบคมุ การทางานโซล่าเซลลส์ าหรับเกษตรกรแบบอตั โนมตั ิ
AUTOMATIC SOLAR CELL CONTROL BOX FARMERS
จดั ทาโดย
1. นายชยั วัฒน์ ขนุ สอาดศรี รหสั นักศกึ ษา 6113-00186-2
2. นางสาวกนกพร สวนจนั ทร์ รหัสนักศกึ ษา 6112-00118-6
3. นายพันเลศิ ทรัพยว์ ภิ าดา รหสั นกั ศกึ ษา 6023-00111-0
อาจารยท์ ่ีปรึกษา
อาจารย์กรวรรณ โรจนองั กูร
ศนู ย์การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัยอาเภอบางบัวทอง
จังหวัดนนทบุรี
รายงานฉบับนเ้ี ปน็ ส่วนหนึ่งของการประกวดโครงงานวิทยาศาสตร์
สาหรบั นักศึกษา กศน. ระดับประเทศ
ด้านการใชแ้ ละการอนรุ ักษ์พลงั งานไฟฟ้าเพื่อชีวิตและสังคม
ประจาปี พทุ ธศกั ราช 2562
ณ ศนู ย์วทิ ยาศาสตรเ์ พ่อื การศกึ ษา
โครงงานประดิษฐ์
กล่องควบคุมการทางานโซลา่ เซลลส์ าหรับเกษตรกรแบบอัตโนมัติ
AUTOMATIC SOLAR CELL CONTROL BOX FARMERS
จัดทาโดย
1. นายชัยวัฒน์ ขนุ สอาดศรี รหสั นกั ศึกษา 6113-00186-2
2. นางสาวกนกพร สวนจันทร์ รหัสนักศึกษา 6112-00118-6
3. นายพนั เลศิ ทรัพย์วภิ าดา รหสั นกั ศึกษา 6023-00111-0
อาจารยท์ ่ีปรกึ ษา
อาจารย์กรวรรณ โรจนองั กูร
ศนู ยก์ ารศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั อาเภอบางบัวทอง
จงั หวดั นนทบุรี
รายงานฉบบั นเี้ ปน็ ส่วนหนงึ่ ของการประกวดโครงงานวิทยาศาสตร์
สาหรับนกั ศกึ ษา กศน. ระดับประเทศ
ดา้ นการใช้และการอนรุ กั ษ์พลงั งานไฟฟ้าเพอ่ื ชีวติ และสังคม
ประจาปี พทุ ธศกั ราช 2562
ณ ศนู ย์วทิ ยาศาสตร์เพือ่ การศึกษา
กศน.ตาบลลาโพ ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั อาเภอบางบัวทอง
ห น้ า | ก
ชอ่ื เรือ่ งโครงงาน กล่องควบคุมการทางานโซล่าเซลลส์ าหรับเกษตรกรแบบอัตโนมตั ิ
ชื่อกลุ่มนักศึกษา ระดับมัธยมศึกษา กศน.ตาบลลาโพ
อาจารยท์ ีป่ รกึ ษา อาจารยก์ รวรรณ โรจนองั กูร
ระยะเวลาการดาเนินโครงงาน 18 มิถนุ ายน 2561 ถงึ 12 กรกฎาคม 2562
บทคดั ย่อ
โครงงานสิ่งประดิษฐแ์ ละทดลอง เรอื่ ง กลอ่ งควบคุมการทางานโซล่าเซลล์สาหรับเกษตรกรแบบอัตโนมัติ
เนือ่ งด้วย โครงงาน “จากปลาสผู่ กั เพื่อสขุ ภาพ” ท่ีเราเคยทาข้นึ มากอ่ นหน้าน้ี เปน็ โครงงานท่ีพวกเรา
กศน.ตาบลลาโพ อาเภอบางบัวทอง จังหวดั นนทบรุ ี ได้ทาข้ึนเป็นตน้ แบบ กระบวนการปลกู ผักและเลย้ี งปลา
ในระบบเดียวกัน หรือท่เี รียกว่า อควาโปรนิกส์ โดยในระบบตน้ แบบนเี้ ราได้ใช้พลงั งานไฟฟ้า ท่ีไดม้ ากจาก
พลงั งานจากแสงอาทิตย์ หรอื ทเี่ รียกวา่ โซล่าเซลล์ เปน็ พลงั งานทดแทนทีใ่ ช่ในการขบั เคล่ือนระบบ ซงึ่ ใน
โครงงานต้นแบบการเกษตรและประมงในรูปแบบใหม่ ท่ียังไม่แพร่หลายในประเทศไทย ซึ่งโครงงานดังกลา่ ว
ได้รบั การคัดเลือกจาก สานกั งานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั จงั หวัดนนทบรุ ี ให้
ไดร้ บั รางวลั ชนะเลิศในการประกวดโครงงาน ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ในโครงการมหกรรมวิชาการ “การ
เรียนรสู้ โู่ ครงงานและผลติ ภณั ฑอ์ าชีพชุมชน” จดั ขน้ึ ณ ศนู ยก์ ารคา้ เซ็นทรัลพลาซา เวสต์เกต บางใหญ่ จงั หวัด
นนทบุรี โดยทา่ นสุพรพรรณ นาคปานเอ่ยี ม ผ้อู านวยการสานักงานส่งเสรมิ การศึกษานอกระบบและการศึกษา
ตามอัธยาศยั จังหวัดนนทบุรี หลังจากทพ่ี วกเราไดเ้ ผยแพร่โครงงานนี้ออกไปทาใหโ้ ครงงานดงั กล่าวมปี ระชาชน
นกั เรียน นกั ศึกษา เกษตรกร รวมถงึ คุณครู อาจารย์ จากหลายๆแห่งใหค้ วามสนใจ ในตัวโครงงาน ระบบ
วธิ ีการ โดยเฉพาะอยา่ งย่งิ ในเรือ่ งของ การนาพลงั งานแสงอาทติ ย์มาทาให้เปน็ พลงั งานไฟฟ้า เพอ่ื นามา
ประยกุ ต์ใช้ในการทาการเกษตร นน้ั เปน็ จดุ เปล่ียนใหเ้ ราตระหนักและเปน็ แรงผลกั ดันให้พวกเราไมห่ ยดุ ท่ีจะคิด
และพัฒนาศักยภาพในตวั เองที่ทาโครงงานและกิจกรรมตา่ งๆทมี่ ีสว่ นช่วยในการอนรุ ักษ์พลงั งานไฟฟ้าเพ่ือชวี ิต
และสงั คมอย่างไมห่ ยุดย้ัง พวกเราจงึ ทาโครงงานและกิจกรรมต่างๆ เพื่อแขง่ ขัน เผยแพร่ และให้ความรู้กับผทู้ ่ี
สนใจมาโดยตลอดเวลา 1 ปกี วา่ ที่ผ่านมาจนมาถึงปจั จุบนั เราไดร้ ับรางวลั ต่างๆมากมาย และเราได้ทาโครงงาน
“กลอ่ งควบคมุ การทางานโซล่าเซลลส์ าหรบั เกษตรกรแบบอัตโนมัติ” หรอื Automatic solar cell control
box for farmers นข้ี ึ้นมา เพ่ือเป็นแนวทางและตวั อย่างสาหรบั เกษตรกรและผูท้ ี่สนใจ นาไปใชป้ ระโยชน์และ
ประยุกต์ใช้ใหเ้ หมาะสม ดกี ว่าการทเี่ ราจะทาเพ่อื ระบบใดระบบหน่ึง และเราสญั ญาวา่ เราจะไมห่ ยุดพัฒนาเพื่อ
สงั คมตอ่ ไป
กศน.ตาบลลาโพ ศนู ยก์ ารศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัยอาเภอบางบวั ทอง
ห น้ า | ข
กิตติกรรมประกาศ
โครงงานของข้าพเจ้าฉบับน้ีสาเร็จลุล่วงไปได้ด้วยความช่วยเหลืออย่างยิ่งด้วยความกรุณาจากท่าน
อาจารย์กรวรรณ โรจนอังกูร อาจารย์ท่ีปรึกษา กศน.ตาบลลาโพ ท่ีกรุณาได้ให้คาแนะคาปรึกษาและข้อคิดเห็น
ตลอดจนปรับปรุงแก้ไขข้อบกพร่องต่าง ๆ ด้วยความเอาใจใส่อย่างดีย่ิง ผู้ทาการศึกษาตระหนักถึง ความต้ังใจ
จรงิ และความทมุ่ เทของอาจารย์ และขอกราบขอบพระคณุ เปน็ อย่างสูงไว้ ณ ทน่ี ้ี
ขอขอบพระคุณ คุณประดับ แสนสุภา ซ่ึงเป็นเจ้าของร้านขาย อุปกรณ์อิเล็คทรอนิค ในจังหวัด
นครพนม สมาชิกกลุ่มอิเล็คทรอนคิ ดัดแปลง ที่ให้ความอนุเคราะห์ตรวจสอบกรอบแนวคิดและแนะนาแนวทาง
เรอ่ื ง ควบคมุ วทิ ยุระยะไกลในการดาเนนิ งานการโครงงานในครั้งนี้
ขอขอบพระคุณ คุณคเณศ ณ ศิริ กรรมการผู้จัดการ บริษัท ไทยโซล่าซิสเต็ม TSS จังหวัดนนทบุรี ที่
ให้ความอนเุ คราะหต์ รวจสอบกรอบแนวคดิ และแนะนาแนวทางเร่ือง โซล่าเซลล์ พร้อมท้ังมอบ อุปกรณ์ในการ
ดาเนนิ งานการโครงงานในคร้ังนี้
ขอขอบพระคุณ คุณโอ เจ้าของ PowerTech (Shop by LAZADA) จังหวัดนนทบุรี ท่ีให้ความ
อนุเคราะห์ตรวจสอบกรอบแนวคิดและแนะนาแนวทางเรื่อง ตู้คอนโทรล อุปกรณ์ในการดาเนินงานการ
โครงงานในครงั้ นี้
ขอขอบพระคุณ คุณยุทธนา ผ่ึงผาย ผู้จัดจาหน่าย Arduino Board จังหวัดนนทบุรี ที่ให้ความ
อนุเคราะห์ตรวจสอบกรอบแนวคิดและแนะนาแนวทางเร่ือง บอร์ดอะดูโน่ และการเช่ือมต่อออนไลน์ผ่าน
เครอื ข่าย ในการดาเนนิ งานการโครงงานในคร้งั นี้
ขอขอบพระคุณ คุณสันติ เชาว์พัฒน์ เจ้าของร้าน บ้านหมอไฟฟ้า ตาบลลาโพ อาเภอบางบัวทอง
จังหวัดนนทบุรี ท่ีให้ความอนุเคราะห์ตรวจสอบกรอบแนวคิดและแนะนาแนวทางเรื่อง การประกอบชิ้นงาน
การดาเนนิ งานการโครงงานในครั้งนี้
ขอขอบพระคุณ คุณระพีพร แน่นอุดร ซึ่งเป็นนักวิชาการสาธารณสุข โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ
ตาบลวัดลาโพ ท่ีให้ความอนุเคราะห์ตรวจสอบกรอบแนวคิดและแนะนาแนวทาง และสนับสนุนเงินทุนในการ
ดาเนินงานการโครงงานในคร้ังน้ี
สุดท้ายคณะผู้จัดทาขอขอบพระคุณและระลึกอยู่เสมอว่าจะไม่มีความสาเร็จใด ๆในชีวิตของคณะ
ผู้จัดทาเกิดข้ึน หากปราศจากความรัก ความเข้าใจจากบุคคลที่มีพระคุณท่ีคอยสนับสนุนการศึกษาของคณะ
ผู้จัดทามาโดยตลอด ขอขอบพระคุณบิดา มารดา และสถานศึกษาอันทรงเกียรติท่ีมอบโอกาสในการศึกษาหา
ความรู้แก่คณะผจู้ ดั ทา
ผจู้ ดั ทาหวังว่าโครงงานนี้ จะมปี ระโยชน์เป็นอยา่ งมากสาหรับผทู้ ี่สนใจในเร่ืองของการอนุรักษ์พลังงาน
และการใช้พลังงานทดแทนจากโซล่าเซลล์ หากมีข้อผิดพลาดประการใด คณะผู้จัดทาต้องขออภัยและน้อมรับ
ไว้ ณ ท่นี ี้ดว้ ย
จงึ ขอขอบพระคณุ มา ณ ทน่ี ี้
คณะผู้จัดทา
กศน.ตาบลลาโพ ศนู ย์การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัยอาเภอบางบวั ทอง
สารบญั ห น้ า | ค
หนา้ หน้า
บทคัดย่อ ก
กิตติกรรมประกาศ ข
สารบญั ค
บทที่ 1 บทนา 1-4
กกกกกกกกความเปน็ มาและความสาคัญ
กกกกกกกกวัตถุประสงค์ 5-12
กกกกกกกกเปา้ หมาย 13-17
กกกกกกกกประโยชนท์ ค่ี าดวา่ จะไดร้ ับ 18-19
บทท่ี 2 เอกสาร/ทฤษฎี/หลักการท่เี กย่ี วข้อง 20
บทท่ี 3 อปุ กรณแ์ ละวิธีการศึกษา 21
บทที่ 4 ผลการศึกษา
บทที่ 5 สรปุ ผลและอภิปรายผล
บรรณานุกรม
กศน.ตาบลลาโพ ศูนย์การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั อาเภอบางบวั ทอง
สารบัญตาราง ห น้ า | ง
ตารางที่ 1 อุปกรณ์ หน้า
ตารางที่ 2 ผลการทดลอง
13
19
กศน.ตาบลลาโพ ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัยอาเภอบางบวั ทอง
สารบญั ภาพ ห น้ า | จ
ตารางภาพที่ 1 อุปกรณ์ หนา้
ตารางภาพที่ 2 ขั้นตอนการประกอบต้คู อนโทรล
ตารางภาพที่ 3 ผลของการใชง้ าน 14-16
17
18-19
กศน.ตาบลลาโพ ศนู ย์การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั อาเภอบางบัวทอง
ห น้ า | 1
บทท่ี 1
บทนา
ความสาคญั และความเปน็ มา
กล่องควบคมุ การการทางานโซลา่ เซลล์สาหรับเกษตรกรแบบอตั โนมตั ิ (Automatic solar cell
control box for farmers) พวกเราได้ประดิษฐ์คดิ คน้ และทดลอง ข้นึ มาเพื่อประโยชน์สาหรับเกษตรกร
มากมายหลายด้าน เพราะเกษตรกรในประเทศไทยส่วนใหญ่ยงั คงทาการเกษตรรปู แบบตา่ งๆโดยอาศยั ระบบ
เก่า มกี ารนาเทคโนโลยมี ากมายเขา้ มาประยกุ ต์ใช้ในการทาการเกษตรแบบในต่างประเทศน้อยมาก พวกเราได้
เลง็ เห็นถึงสว่ นนี้ และตลอดเวลาที่ผา่ นมาพวกเราถงึ ไดท้ าและดาเนนิ โครงงานต่างๆเก่ียวกบั การพัฒนาด้าน
การเกษตรและการอนรุ ักษ์พลงั งานมาโดยตอด ซึ่งเราได้ความคิดเห็น ความต้องการ ปญั หา และอุปสรรคจาก
ผูส้ นใจและเกษตรกรในหลายเรื่อง และเราผลสรปุ ออกมาว่าเร่อื งท่ีเกษตรกรตอ้ งการมากทสี่ ดุ คือ พลังงาน
ทดแทน จากโซลา่ เซลล์การเปลยี่ นพลงั งานแสงอาทติ ย์มาเป็นพลังงานไฟฟ้าเพ่อื นามาใช้ในการเกษตร เพื่อเปน็
การประหยดั ค่าใชจ่ ่ายและอนุรกั ษพ์ ลังงาน และปัญหาของเกษตรกรทใ่ี ช้โซลา่ เซลลท์ ี่พบมากที่สุด คือระบบ
การชาร์จเพือ่ เก็บไว้ใช้ในเวลาท่แี สงหมด รวมถงึ ความยุง่ ยาก ไม่สะดวกสบายในระบบ
การนาพลังงานแสงอาทิตยม์ าเปลย่ี นเป็นพลงั งานไฟฟ้า หรือ โซลา่ เซลล์ ถอื เป็นเรื่องใหม่สาหรบั
เกษตรกรหลายๆคน รวมถึงประชาชนท่ีสนใจแต่ไมม่ ีความรู้ความสามารถในเร่ืองของพลังงานและไฟฟ้า และ
หลายๆท่านท่ีมีความร้อู ยู่แล้วบา้ งบางส่วนแตย่ ังขาดความรู้และประสบการณ์ในงาน กย็ ังไมส่ ามารถวางระบบ
และประยุกตใ์ ช้ใหม้ ปี ระสิทธิภาพได้มาพอ พอพวกเราเล็งเห็นถงึ ความต้องการและปัญหาในสว่ นนี้ เราจงึ ได้ทา
โครงงานนีม้ าเพือ่ ตอบโจทย์ปัญหามากท่สี ุด เราทาเปน็ อปุ กรณท์ ่ี สามารถแปลงพลงั งานแสงอาทิตยใ์ หเ้ ป็น
พลังงานไฟฟ้า สามารถชาร์ตไฟฟ้าที่ได้มาเขา้ สู่แหล่งงานหรือแบตเตอร่ี สามารถควบคมุ การชารต์ ไฟฟา้ ให้เข้าสู่
แบตเตอรี่ได้อย่างเหมาะสม สามารถทางานหรอื หยุดการชารต์ เพอ่ื ยดื อายุการใชง้ านและป้องกันการเสียหาย
จากอบุ ตั ิเหตุจากแบตเตอรีโ่ อเวอรช์ าร์ต สามารถปลอ่ ยกระแสไฟฟา้ จากแหลง่ พลงั งานเพื่อจ่ายไปส่โู หลดเพ่ือ
ใชง้ านในรูปแบบตา่ งๆได้ทกุ รูปแบบ และยงั มคี วามสะดวกสบายดว้ ยการสง่ั ทางานในระบบกง่ึ อัตโนมัติใน
ระยะไกลดว้ ยรโี มทคอนโทรน ร่วมถึงการทางานแบบอตั โนมตั ิ ด้วยระบบทามเมอร์ตงั้ เวลา และการสง่ั การ
ทางานแบบออนไลนผ์ ่านมือถืออีกด้วย
ดังน้ันโครงงานนีจ้ ะเกดิ มากจาก การรวบรวมความต้องการของเกษตรกรด้านการใช้พลงั งานทดแทน
ในส่วนของโซล่าเซลล์ เพื่อใช้พลังงานให้คุมคา่ ท่สี ดุ และแก้ปญั หาในจดุ ตา่ งๆใหส้ าหรับเกษตรกรทใ่ี ช้พลงั งาน
อยู่แตย่ งั ไมส่ มบูรณใ์ หส้ มบรู ณ์มากทีส่ ดุ รวมถึงสามารถใช้งานไดอ้ ยา่ งสะดวกสบายมากข้ึนอกี ด้วย
กศน.ตาบลลาโพ ศูนยก์ ารศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอบางบวั ทอง
ห น้ า | 2
วัตถปุ ระสงค์
1.เพื่อประดษิ ฐ์อุปกรณ์ท่ีใช้เป็นสอื่ การเรยี นรู้เร่ืองการนาพลังงานทดแทน(โซล่าเซลล์)มาใช้
สาหรบั เกษตรกรในทกุ ๆในแขนง ในเรือ่ งของระบบ
2.เพือ่ ประดิษฐอ์ ุปกรณ์ท่ีทาหนา้ ทคี่ อนโทรลระบบพลงั งานทดแทน(โซลา่ เซลล์)ในส่วนของ
การเปลย่ี นพลงั งานแสงอาทติ ยเ์ ป็นพลงั งานไฟฟ้า และควบคุมการชาร์จเพือ่ เก็บพลังงานไฟฟา้ ทไ่ี ด้มา
อยา่ งสมบูรณ์ที่สดุ
3.เพื่อประดษิ ฐ์อุปกรณ์ท่ที าให้เกษตรกรสามารถใช้พลังงานทดแทนในการทาการเกษตรไดใ้ น
ทุกๆรูปแบบ เพือ่ ประหยัดคา่ ใชจ้ ่าย และพลังงานมากทีส่ ุด
4.เพอื่ ประดษิ ฐ์อุปกรณท์ ท่ี าให้เกษตรกรใชง้ านระบบต่างๆข้างต้น ง่ายทีส่ ดุ
เปา้ หมาย
1.เป้าหมายเชิงปริมาณ
- ไดอ้ ุปกรณ์ทใ่ี ชเ้ ปน็ สือ่ การเรียนร้เู ร่อื งการนาพลังงานทดแทน(โซลา่ เซลล์)มาใช้
สาหรับเกษตรกรในทุกๆในแขนง ในเร่ืองของระบบ
- ไดอ้ ุปกรณท์ ี่ทาหน้าที่คอนโทรลระบบพลังงานทดแทน(โซล่าเซลล์)ในสว่ นของการเปลี่ยน
พลังงานแสงอาทิตย์เป็นพลังงานไฟฟา้ และควบคุมการชาร์จเพ่ือเกบ็ พลังงานไฟฟ้าท่ีได้มาอย่าง
สมบรู ณ์ทสี่ ดุ
- ได้อุปกรณท์ ท่ี าใหเ้ กษตรกรสามารถใช้พลงั งานทดแทนในการทาการเกษตรได้ในทุกๆ
รูปแบบ เพื่อประหยัดคา่ ใช้จ่าย และพลังงานมากท่ีสุด
- ไดอ้ ุปกรณท์ ่ที าใหเ้ กษตรกรใช้งานระบบต่างๆข้างต้น ง่ายท่ีสดุ
2.เปา้ หมายเชิงคุณภาพ
- ไดส้ ่ือท่ที าให้เกษตรกรได้เรียนรเู้ ร่อื งการนาพลงั งานทดแทน(โซล่าเซลล์)มาใช้ สาหรับ
เกษตรกรในทกุ ๆในแขนง ในเรอื่ งของระบบ
- เกษตรกรสามารถคอนโทรลระบบพลงั งานทดแทน(โซลา่ เซลล)์ ในสว่ นของการเปลยี่ น
พลังงานแสงอาทติ ย์เป็นพลงั งานไฟฟา้ และควบคุมการชาร์จเพ่ือเกบ็ พลังงานไฟฟา้ ที่ได้มาอยา่ ง
สมบรู ณท์ ี่สุด
- เกษตรกรสามารถใช้พลังงานทดแทนในการทาการเกษตรไดใ้ นทุกๆรปู แบบ อย่างประหยดั
คา่ ใชจ้ า่ ย และพลงั งานมากท่ีสดุ
- เกษตรกรทาการเกษตรได้ง่ายข้นึ
กศน.ตาบลลาโพ ศูนย์การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั อาเภอบางบัวทอง
ห น้ า | 3
พน้ื ที่ดาเนินการ
- กศน.ตาบลลาโพ อาเภอบางบัวทอง จงั หวัดนนทบุรี
- ปั้มน้ามันเฉลิม ขนุ สอาดศรี ตาบลบางตาเถร อาเภอสองพ่ีนอ้ ง จังหวัดสุพรรณบุรี
ระยะเวลาดาเนินการ
เรมิ่ ดาเนินการ วันที่ 18 มิถนุ ายน 2561
ส้ินสดุ โครงการ วันที่ 12 กรกฎาคม 2562
งบประมาณ
จานวน 4,500 บาท (ไม่รวมค่าอปุ กรณ์ทไ่ี ด้รบั การสนบั สนุน)
วธิ กี ารดาเนินการ
ขั้นเตรยี มการ
- เตรียมวัสดุ – อุปกรณ์
- เตรียมสถานทใี่ นการดาเนนิ งาน
ขัน้ ดาเนนิ การ
- ดาเนนิ การ สรา้ งอปุ กรณ์ ตามแบบและแผนงานที่กาหนดไว้
- นาส่ิงประดิษฐ์ที่เสรจ็ สมบูรณ์แล้ว มาทดสอบการทางาน ของระบบผลิตไฟฟ้า
ระบบการจ่ายโหลด ระบบการควบคมุ แบบไรส้ าย ระบบการควบคุมผ่านมือถือ
- สรปุ ผล
- ปรับปรงุ -แกไ้ ข
- นาเสนอผลงาน
ขั้นประเมนิ ผล
- ประเมินความพรอ้ ม
- ประเมินข้ันตอนการทางาน
- ประเมินช้นิ งาน
ผลที่คาดวา่ จะได้
- ไดอ้ ุปกรณไ์ ดส้ ่ือที่ทาให้เกษตรกรไดเ้ รียนรู้เรื่องการนาพลังงานทดแทน(โซล่าเซลล)์ มาใช้
สาหรบั เกษตรกรในทกุ ๆในแขนง ในเร่อื งของระบบได้จริง
- ไดอ้ ปุ กรณท์ ่ีสามารถผลิตไฟฟ้าจากแสงอาทิตย์อย่างสมบูรณ์ไดจ้ ริง
กศน.ตาบลลาโพ ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัยอาเภอบางบวั ทอง
ห น้ า | 4
- ได้อปุ กรณท์ ี่สามารถควบคุมการชาร์จอยา่ งสมบูรณแ์ บบได้จริง
- ไดอ้ ุปกรณท์ ส่ี ามารถจา่ ยโหลดแบบแมนนวลไดจ้ ริง
- ไดอ้ ปุ กรณท์ ี่สามารถจ่ายโหลดแบบอตั โนมตั ิได้จรงิ
- ไดอ้ ุปกรณท์ ส่ี ามารถจา่ ยโหลดแบบไรส้ ายได้จริง
- ได้อปุ กรณท์ ่ีสามารถจา่ ยโหลดแบบออนไลนไ์ ด้จรงิ
- ได้อปุ กรณท์ ท่ี าให้เกษตรกรสามารถใชพ้ ลงั งานทดแทนในการทาการเกษตรได้ในทุกๆ
รูปแบบ เพื่อประหยดั คา่ ใช้จา่ ย และพลังงานมากทสี่ ุดจรงิ
- ได้อปุ กรณท์ ีท่ าให้เกษตรกรใช้งานระบบต่างๆข้างต้น งา่ ยท่สี ุดจริง
ผรู้ ับผิดชอบโครงงาน
อาจารย์ที่ปรึกษา
อาจารย์ กรวรรณ โรจนองั กูร
ช่อื กลุม่ ลาโพเทค (Lumpo Tech)
สมาชกิ กลุ่ม
1. นายชัยวฒั น์ ขุนสอาดศรี
2. นางสาวกนกพร สวนจันทร์
3. นายพนั เลศิ ทรัพย์วิภาดา
กศน.ตาบลลาโพ ศนู ย์การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั อาเภอบางบัวทอง
ห น้ า | 5
บทท่ี 2
เอกสาร/ทฤษฎ/ี หลักการท่ีเกยี่ วข้อง
แนวคิดและทฤษฎี
ในการดาเนนิ โครงงาน “กล่องควบคมุ การการทางานโซล่าเซลลส์ าหรับเกษตรกรแบบอัตโนมัติ”
โครงงานและการศึกษาคร้ังนี้ ซึ่งผู้จัดทาได้ศกึ ษาค้นควา้ จากเอกสารงานวิจยั ท่ีมกี ารเกยี่ วข้อง เพ่ือใช้เปน็
แนวทางศึกษา โดยเสนอเป็นลาดบั ดังน้ี
เอกสารและงานวจิ ัยทีเก่ยี วข้อง
โซลา่ เซลล์
Solar Cell คือ อุปกรณ์อิเลก็ ทรอนิกส์ ท่ที าจากสารกงึ่ ตวั นา ชนดิ พิเศษ ท่ีมีคุณสมบตั ิ ในการเปลยี่ น
พลงั งานจากแสงอาทติ ย์ ไปเป็นพลงั งานไฟฟา้ โดยกระแสไฟฟา้ ท่ีผลิตได้จาก Solar Cell จะเปน็ ไฟฟา้
กระแสตรง +/- ซงึ่ เราสามารถนามาใช้ประโยชนไ์ ดท้ ันที รวมทงั้ สามารถนาไปเกบ็ ไวใ้ นแบตเตอร่ีได้ ทาไม
แสงอาทิตย์ จงึ สามารถเปลีย่ นเปน็ กระแสไฟฟ้าได้ อธบิ ายง่ายๆดังต่อไปนี้ ดวงอาทติ ย์ไดป้ ลดปลอ่ ยพลงั งาน
ออกมา เป็นแสงอาทิตย์ และเดินทางมายังผิวโลก ซ่งึ แสงจากดวงอาทติ ย์ ประกอบดว้ ยอนภุ าคของพลังงาน ท่ี
เรยี กว่า Photon โดย Photon จะทาหนา้ ท่ีถ่ายเทพลังงานตอ่ ให้กบั Electron ในสารกง่ึ ตวั นาของเซลล์
แสงอาทติ ย์ ( Solar Panel ) จนอยู่ในสถานะ Excited State ซ่ึงเม่ือ Electron ได้รับพลังงานจาก Photon
แล้ว ก็จะกระโดดออกมาจาก Atom และเคลื่อนท่ีไดอ้ ยา่ งอิสระ ดังนัน้ เมื่ออิเล็กตรอนเคลื่อนท่คี รบวงจรจะทา
ให้เกิดกระแสไฟฟา้ ขน้ึ ข้วั ไฟฟ้า (Electrode) ทอ่ี ิเล็กตรอนมารวมกนั และเคลอ่ื นที่ผ่านเรียกว่า “ข้วั ลบ” และ
ข้วั ท่ีอยตู่ รงข้ามจะเรียกว่า “ขั้วบวก” เมอ่ื ขัว้ ท้ัง 2 ถกู ต่อด้วยหลอดไฟฟา้ กจ็ ะทาใหม้ ีแสงสว่างเกดิ ขึน้ โดยสาร
กงึ่ ตัวนาทีน่ ิยมนามาผลติ เซลล์แสงอาทิตย์ ในปัจจบุ ันคือสารซลิ ิคอนสาเหตเุ พราะมีราคาต่าและหาได้ง่ายใน
ธรรมชาติ Solar Cell เปน็ พลงั งานสะอาด ทเ่ี ปน็ มิตรกบั สิ่งแวดลอ้ ม พลังงานไฟฟา้ ท่ผี ลติ ไดจ้ ากแผงโซล่า
เซลล์ ไม่สรา้ งผลกระทบตอ่ สิ่งแวดล้อม และไมป่ ล่อยกา๊ ซเรือนกระจก Co2 เหมือนกับแหลง่ พลงั งานอ่ืนๆ
เช่น นา้ มนั และโรงไฟฟ้าท่ีใชก้ ระบวนการผลิตจากกา๊ ซธรรมชาติ และถา่ นหนิ Solar Cell เปน็ พลงั งาน ทใ่ี ช้
แล้วไมม่ ีวนั หมดไปSolar Cell ใช้งานง่าย ไม่ซับซ้อน และมีอายกุ ารใชง้ านยาวนาน มากถึง 25 ปี
ดวงอาทิตย์ คือแหล่งพลงั งานขนาดใหญ่ ของจักรวาลโดยพลังงานที่ดวงอาทิตยส์ รา้ งข้นึ มานนั้ มี
ปริมาณมหาศาลมาก แม้ว่าระยะทาง ที่พลังงานจากดวงอาทติ ย์ เดนิ มาถึงโลก จะมีระยะทางไกลถึง 93 ล้าน
ไมล์ อีกทง้ั พลังงานสว่ นใหญ่ยังถูกช้นั บรรยากาศของโลกดดู ซบั เอาไว้ก่อนจะถึงผิวโลก แต่พลงั งานท่ผี ่านมาถึง
โลก กย็ ังมปี รมิ าณมากกว่าทมี่ นษุ ยใ์ ช้รวมกนั ทง้ั โลก ถึง 10,000 เท่า
กศน.ตาบลลาโพ ศูนยก์ ารศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัยอาเภอบางบัวทอง
ห น้ า | 6
การเลือกโซล่าเซลลใ์ หเ้ หมาะกบั อุปกรณ์ (พร้อมภาพประกอบ)
การออกแบบโซลา่ เซลล์ มี 3 ระบบ ดังต่อไปน้ี (พรอ้ มภาพประกอบ)
กศน.ตาบลลาโพ ศนู ยก์ ารศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัยอาเภอบางบวั ทอง
ห น้ า | 7
หลกั คิดในการออกแบบระบบ STAND ALONE แบบใช้ไฟกลางวนั (พร้อมภาพประกอบ)
กศน.ตาบลลาโพ ศนู ยก์ ารศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัยอาเภอบางบวั ทอง
ห น้ า | 8
กศน.ตาบลลาโพ ศนู ย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอบางบวั ทอง
ห น้ า | 9
สตู รการการออกแบบระบบ STAND ALONE แบบใช้ไฟกลางวัน (พรอ้ มภาพประกอบ)
กศน.ตาบลลาโพ ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอบางบัวทอง
ห น้ า | 10
หลกั คิดในการออกแบบระบบ STAND ALONE แบบใชไ้ ฟกลางคนื +แบตเตอร่ี (พร้อมภาพประกอบ)
กศน.ตาบลลาโพ ศนู ยก์ ารศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั อาเภอบางบัวทอง
ห น้ า | 11
สตู รการการออกแบบระบบ STAND ALONE แบบใชไ้ ฟกลางคืน+แบต (พรอ้ มภาพประกอบ)
กศน.ตาบลลาโพ ศูนย์การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั อาเภอบางบัวทอง
ห น้ า | 12
คอนโทรลชารจ์ โซล่าเซลล์ หรืออีกหลายช่ือเช่น โซล่าชาร์จเจอร์ solar charge controller
, คอนโทรลชารจ์ เจอร์ charge controller, คอนโทรลชาร์จ control charger คืออะไร และมีความจาเปน็
ไหมท่ีจะตอ้ งใชม้ ัน จรงิ ๆแล้วมันไม่ได้มคี ณุ สมบตั อิ ะไรมากมาย และระบบการทางานกไ็ ม่ไดซ้ ับซอ้ นอะไร
มากมาย มนั ก็เป็นเพยี งอปุ กรณ์อิเล็กทรอนกิ สต์ วั หนึ่งท่ีมีคุณสมบตั ิเพยี งเพือ่ คอยควบคุมการชารจ์ ไฟฟา้ จาก
แผงโซลา่ เซลลงสแู่ บตเตอร่ี ของระบบโซลา่ เซลล์เพื่อเกบ็ กระแสไฟเพื่อนามาใช้งานตามทีเ่ ราออกแบบไว้ ซง่ึ
คอนโทรลชารจ์ หรอื โซลา่ ชารจ์ เจอรท์ ว่ั ไป จะมหี ลักการทางานหรอื หนา้ ท่ี จ่ายกระแสไฟเม่ือแรงดันแบตเตอร่ี
อยู่ในระดับตา่ ตามที่แตล่ ะยห่ี ้อตง้ั ค่ามา และทาการตดั การจ่ายกระแสไฟเพ่ือไปประจุยงั แบตเตอรเี่ ม่ือแรงดนั
ของแบตเตอร่ีอยู่ในระดับทีส่ ูงตามทไี่ ดก้ าหนดไวเ้ หมอื นกัน เพื่อป้องกนั การ Over Charge ซ่งึ จะทาให้แบต
เกิดความเสียหายและเสื่อมอายุกอ่ นวัยอันควร ทาใหใ้ ชง้ านได้ไม่คมุ้ คา่ ค่าตวั ของมัน และคณุ สมบัติของ
คอนโทรลชาร์จโซล่าเซล หรอื โซล่าชาร์จเจอรโ์ ดยทวั่ ไปในช่วงเวลากลางคืนยัง
หนา้ ท่ขี อง คอนโทรลชาร์จโซลา่ เซล(solar charge controller)
คอยปกปอ้ งไม่ใหไ้ ฟจากแบตเตอรี่ย้อนขน้ึ ไปยังตวั แผงโซล่าเซลซ่งึ อาจกอ่ ให้เกดิ ความเสยี หายตอ่ ตัวแผงโซล่า
เซลลอ์ กี ดว้ ย และอกี ขอ้ หนึ่งกค็ ือเปน็ ตวั สวิตซ์อัตโนมัติทใ่ี ช้จ่ายไฟให้โหลดเวลาท่ไี ม่มแี สงมากระทบแผงโซล่า
เซลล์ (สว่ นใหญจ่ ะเปน็ หลอดไฟฟ้า) อกี นัยกค็ ือใชแ้ ทนสวิตซ์แสง (Photo Switch) นน่ั เองครับ
คอนโทรลชาร์จโซลา่ เซลล์ จะต่อระหว่างแผงโซลา่ เซลลก์ ับแบตเตอรี่และโหลด ทางานโดยจะดูวา่
แรงดันไฟฟ้าทอ่ี ยู่ในแบตเตอรี่อยใู่ นระดบั ใด ถ้าอยใู่ นระดับทีต่ า่ กวา่ ทีต่ ้ังไว้ ตวั เครอื่ งควบคุมการชาร์จจะทา
การปลดโหลดออกจากระบบโดยทันที(Load disconnect)เพ่อื ป้องกันการคลายประจขุ องแบตเตอร่ที ี่มาก
เกนิ ไปและอาจทาใหแ้ บตเตอรเ่ี สอื่ มเรว็ ขึ้น สว่ นใหญ่จะต้ังค่าแรงดนั การปลดโหลดไวท้ ีป่ ระมาณ 11.5 โวลท์
สาหรบั แรงดันระบบท่ี 12 โวลท์ นอกจากน้ีเคร่ืองควบคุมการชาร์จกจ็ ะต่อการทางานของโหลดใหม่(Load
reconnect) ถ้าแบตเตอรีม่ ีค่าแรงดนั ทเี่ พิม่ ขน้ึ ตามท่ีตัง้ ไว้ เช่นคา่ จะตัง้ ไวท้ ี่ 12.6 โวลท์สาหรับแรงดนั ระบบ 12
โวลท์เปน็ ต้น
สว่ นแรงดันในการชารจ์ แบตเตอรโี่ ดยทัว่ ไป(Regulation Voltage)จะมคี า่ 14.3 โวลทส์ าหรบั ระบบ 12 โวลท์
เมอื่ แบตเตอรี่ชารจ์ จนเต็ม ถ้าปล่อยแบตเตอรีท่ ้ิงไว้แรงดันของแบตเตอร่ีจะลดลง ดงั น้ันเครอ่ื งควบคุมการชารจ์
จะชาร์จรกั ษาระดับแรงดันในแบตเตอร่ใี ห้คงท่ีอยู่เสมอ(Float Voltage) มีคา่ 13.7 โวลท์ สาหรบั ระบบ 12
โวลท์
กศน.ตาบลลาโพ ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัยอาเภอบางบวั ทอง
ห น้ า | 13
บทท่ี 3
อุปกรณ์และวิธีการศึกษา
เตรียมวสั ดุและอุปกรณ์กอ่ นดาเนินการ
วัสดุ อปุ กรณ์
1.แผงโซลา่ เซลล์ 1.สว่าน / ดอกสวา่ นขนาดต่าง
2.โซลา่ ชารต์ เจอรค์ อนโทรลเลอร์ 2.ไขดวงแบน / ไขควงแฉก
3.กล่องฟิวส์ – ฟิวส์ 3.มีดคัตเตอร์
4.สวิตซห์ นา้ ตู้ 2ทาง – 3ทาง 4.กรรไกร
5.แอมปม์ ิเตอร์ – โวลท์มเิ ตอร์ 5.ครีมบบี สายไฟ
6. ชดุ ควบคุมไร้สาย - รีโมท 6.บดั กรี/ตะก่ัวบดั กรี
7.เพลทเดนิ ไฟ 7.เทปพันสายไฟ
8.เทอรม์ ินอล 8.ปืนยงิ กาว/กาวชนิดแท่ง
9.ขว้ั ต่อไฟรูปแบบต่างๆ 9.ดอกโฮซอ
10.เคเบ้ลิ ไทร์ 10.เลอ่ื ย
11.ทามเมอร์ 11.จีก๊ ซอ
12.แบตเตอร่ี มือ2 12.คีมตดั สายไฟ
13.สายไฟขนาดตา่ งๆ
14.โหลดต่างๆที่ใช้ทดลอง
15.น็อต - สกรู ขนาดตา่ งๆ
16.วัดปรมิ าณแบต
17.ขัว้ แบต
18.PUS มอื 2 (โมดฟิ ายเปน็ อินวอเตอร)์
19.เบรคเกอร์
20.ชุดควบคุมออนไลน์ – อะดโู น่
21.รางสายไฟ
22.หวั MC4
23.ต้ไู ฟ
24.เคเบิ้ลแกรน์
25.ไฟแสดงสถานะ
26.แป้นกาว
กศน.ตาบลลาโพ ศนู ยก์ ารศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั อาเภอบางบวั ทอง
ห น้ า | 14
วสั ดุ อุปกรณ์ ขัน้ ตอนการดาเนินการ (ภาพประกอบ)
สวทิ ช์หนา้ ตู้
แผงโซล่าเซลล์ ต้ไู ฟ
โวลทม์ อเตอร์-ปรมิ าณแบต
คอนโทรลชารจ์ เจอร์
โวลทม์ ิเตอร์-แอมปม์ เิ ตอร์
กลอ่ งฟิวส์ เทอมินอล
ชดุ ควบคมุ ไร้สายผ่านรโี มท
ทามเมอร์ แบตเตอรี่
สายไฟขนาดตา่ งๆ
กศน.ตาบลลาโพ ศูนยก์ ารศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั อาเภอบางบวั ทอง
ห น้ า | 15
วสั ดุ อุปกรณ์ ขนั้ ตอนการดาเนินการ (ภาพประกอบ)
เบรคเกอร์
ชุดควบคมุ ออนไลน์ PUS
เคเบิ้ลไทร์ หางปลาแบบตา่ งๆ
นอ็ ต-สกรู ไซต์
หัว MC4 ขั้วแบต
ไฟแสดงสถานะ
รางรอ้ ยสายไฟ แปน้ กาว เคเบ้ลิ แกลน
กศน.ตาบลลาโพ ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัยอาเภอบางบัวทอง
ห น้ า | 16
วสั ดุ อุปกรณ์ ขั้นตอนการดาเนนิ การ (ภาพประกอบ)
คมี ย้า-ปลอกสายไฟ
จิ๊กซอ สวา่ น - ดอก
คีมตดั สายไฟ มดี ตดั เตอร์
ดอกโฮซอว์
เล่ือย
กรรไกร
ไขควง
บัดกรี – ตะกัว่
เทปพันสายไฟ
ปืนยงิ กาว
กศน.ตาบลลาโพ ศนู ยก์ ารศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัยอาเภอบางบัวทอง
ห น้ า | 17
ขั้นตอนการดาเนนิ การ
1.ถอดพ้นื ตูด้ า้ นในออก แล้วทาการตดิ ยดึ รางร้อยสายไฟ เพื่อใชใ้ นการเก็บสายไฟ
2.ติดยดึ เทอมนิ อล เพือ่ ใช้เปน้ จดุ เช่ือมต่อสายไฟ
3.ตดิ ตั้งอปุ กรณ์ตา่ งๆ เบรกเกอร์ ทามเมอร์ ชดุ ควบคุมระยะไกล ชดุ ควบคมุ ออนไลน์ คอนโทรนชารจ์
ตามลาดบั
4.เจาะรูด้านขา้ งตูด้ ว้ ยโฮซอ พร้อมตดิ ปลก๊ั mc4 เพื่อใชเ้ ป็นจดุ เชอื่ มตอ่
5.เจาะรดู ้านขา้ งตู้ด้วยโฮซอ พร้อมติดตั้งเคเบ้ลิ แกรน เพ่อื ใช้เป็นจดุ รอ้ ยสายโหลด
6.เจาะรูด้านหนา้ ตู้ด้วยโฮซอ พรอ้ มติดตัง้ สวทิ 3ทาง เพ่ือใช้เปิด-ปิดโหลด และไฟแสดงสถานะ เพื่อใช้
แสดงสถานการณ์ทางานของโหลด ตามลาดับ
7.เจาะรูดา้ นหน้าตู้ดว้ ยโฮซอ พร้อมติดตง้ั สวิท2ทาง เพ่ือใช้เปดิ -ปิดระบบแบต/ระบบชาร์จ และตดิ ต้งั
ชุดฟวิ ส์ระบบแบต/ระบบชาร์จ และติดตั้งโซลท์มเิ ตอร์-วัดปริมาณรแบตสาหรบั ระบบแบต และตดิ ต้ังโวลท์
มเิ ตอร์-แอมป์มิเตอรส์ าหระบระบบชารจ์ ตามลาดบั
8.ตอ่ สายไฟ เพ่ือเชื่อมต่อระบบการทางาน ทง้ั หมด
9.เชือ่ มต่อแบตเตอรี่ และแผงโซลา่ เซลล์ เพอื่ ทดสอบระบบแบตและการชารจ์ ไฟ
10.เชิอ่ มต่อโหลดชนิดตา่ งๆ เพือ่ ทดสอบการสัง่ งานระบบต่างๆ ไดแ้ ก่ แมนนวล ออโต้ ไร้สาย และ
ออนไลนต์ ามลาดบั
11.นาตไู้ ปให้เกษตรกร และผู้ทสี่ นใจ ทดลองใชง้ านเพ่ือทดสอบการทางานจรงิ
กศน.ตาบลลาโพ ศนู ยก์ ารศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัยอาเภอบางบวั ทอง
ห น้ า | 18
บทท่ี 4
ผลการศึกษา
สมมุติฐาน
จากการลงทะเบียนเรียนในรายวชิ าการใช้ไฟฟา้ ในชวี ิตประวนั 3 (พว32023) ในหนว่ ยท่ี 1 เร่อื งการ
กาเนดิ ไฟฟา้ หนา้ 4 และหนา้ 21-25 หนว่ ยงานทเ่ี กีย่ วข้องด้านพลงั งานไฟฟา้ ในประเทศไทย หนว่ ยท่ี 2 การ
ผลิตไฟฟ้า ตอนท่ี 2 พลงั งานทดแทน หน้า 32,37-38 หน่วยท่ี 3 อปุ กรณ์ไฟฟ้าและวงจรไฟฟา้ หนา้ 77-93 น้นั
เพือ่ ศึกษาและทดลอง การควบคุมการชารจ์ พลังานไฟฟา้ ท่ีไดจ้ ากแสงอาทิตย์เข้าสแู่ บตเตอรี่ ด้วย
กระบวนการคอนโทรลชารจ์ เจอร์ และการควบคุมแบบแมนนวลด้วยกระบวนการสง่ั การทางานด้วยเบรกเกอร์
และการควบคมุ อุปกรณ์แบบต้งั เวลาทางานอัตโนมตั ดิ ้วยกระบวนการสงั่ การทางานดว้ ยทามเมอร์ และการ
ควบคุมอุปกรณร์ ะยะไกลแบบไรส้ าย ด้วยกระบวนการของระบบทรานซิสเตอร์ และการควบคมุ อปุ กรณ์แบบ
ออนไลนผ์ า่ นมอื ถอื ดว้ ยบอรด์ อะดโู น่ และการผลติ พลังงานไฟฟ้าจากพลังงานแสงอาทติ ย์ ด้วยวิธีและ
กระบวนการในรูปแบบของโซล่าเซลล์
ผลท่คี าดว่าได้รับ
เพ่ือท่จี ะได้รบั ความรู้และความเขา้ ใจ ในเร่อื งของการควบคมุ การชารจ์ พลงั งานไฟฟ้าท่ีได้จาก
แสงอาทิตย์เข้าสู่แบตเตอร่ี ดว้ ยกระบวนการคอนโทรลชารจ์ เจอร์ และการควบคุมแบบแมนนวลดว้ ยกระบวน
การส่ังการทางานดว้ ยเบรกเกอร์ และการควบคุมอุปกรณ์แบบต้ังเวลาทางานอัตโนมัตดิ ้วยกระบวนการสั่งการ
ทางานดว้ ยทามเมอร์ และการควบคมุ อุปกรณ์ระยะไกลแบบไรส้ าย ด้วยกระบวนการของระบบทรานซสิ เตอร์
และการควบคมุ อปุ กรณ์แบบออนไลน์ผ่านมอื ถือดว้ ยบอร์ดอะดูโน่ และการผลติ พลงั งานไฟฟ้าจากพลังงาน
แสงอาทิตย์ ดว้ ยวิธีและกระบวนการในรปู แบบของโซล่าเซลล์
เพื่อเปน็ แนวทางและเผยแพร่ความรู้ พรอ้ มนาวิธีการและกระบวนการที่ได้ ไปประยุกต์และปรับใชจ้ รงิ
เพอื่ เป็นประโยชน์แกเ่ กษตรกรและผู้ที่สนใจที่จะใช้พลังงานทดแทน เพ่ือเปน็ การประหยัดและอนุรักษ์
พลงั งาน รวมถึงเพื่อลดตน้ ทนุ ในการทางานเกษตร
การนาไปทดลองใช้
- ทดลองใชใ้ นการควบคมุ ปั้มนา้ DC เพื่อรดน้าให้กับไมป้ ระดบั แบบแขวน / เปรยี บกบั การรดแบบปกติ
ดว้ ยป้มั ออโต้AC @หมู่บ้านธนาซโิ อ นนทบรุ ี
กศน.ตาบลลาโพ ศูนยก์ ารศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัยอาเภอบางบวั ทอง
ห น้ า | 19
- ทดลองใช้ในการคมุ ควมป้มั นา้ DC เพ่ือใส่แทง้ คแ์ ละปลอ่ ยตามแนวนา้ หยดเพ่ือรดนา้ ไมย้ ืนตน้ /
เทยี บกบั การใชป้ มั้ นา้ ACดนั ทอ่ น้าเพ่ือรดนา้ แบบสสปรงิ เกอร์ @ปัม้ น้ามันเฉลิม สุพรรณบุรี
- ทดลองใช้ในการควบคมุ ป้มั นา้ DC เพื่อวนน้าในกะละมงั / เทียบกบั การใช้ป้ัมAC @ปม้ั นา้ มันเฉลมิ สพุ รรณบุรี
- ทดลองใช้สาหรับ ไฟส่องสวา่ งและพดั ลม ชดุ นอนสวน/ (ไมม่ ีการเปรียบเทยี บเพราะปกตไิ ม่มี) @รอ้ ยเอ็ด
การทดลอง โดยใช้โซล่าเซลล์+ชดุ ควบคุม โดยใช้ไฟบา้ น+อุปกรณ์ปกติ
1.รดนา้ ไมป้ ระดบั แบบแขวน 1ชม/วัน คา่ ไฟ 0 บาทต่อวนั / สะดวกสบาย ค่าไฟ 2.1 บาทต่อวัน / ต้องคอยปดิ
ทางานแบบออโต้ เปดิ ทุกเชา้ เยน็ (400w)
2.ดูดน้าใสแ่ ทง้ คเ์ พือ่ รดนา้ ไมย้ ืนตน้ คา่ ไฟ 0 บาทตอ่ วนั / สะดวกสบายดดู ค่าไฟ 9 บาทตอ่ วนั / ต้องคอยปดิ เปิด
1ชม/วัน สั่งการดดู นา้ ผา่ นมอื ถือ รดน้าออโต้ น้าทุกเช้าเย็น (1500w)
3.ดดู น้าวนกะละมงั 6 ชม คา่ ไฟ 0 บาทตอ่ วนั คา่ ไฟ 1.57 บาทต่อวนั
4.ไฟส่องสวา่ ง/พัดลม ชดุ นอนสวน คา่ ไฟ 0 บาทตอ่ วัน ***ไม่มีไฟฟ้าใช้
9ชม/วัน
ผลการทดลองนาไปใช้
หมายเหตุ : เปน็ เพยี งการทดลองบางส่วนที่เราคดั เลือกมาเป็นตวั อยา่ งเทา่ น้ัน (ชมการทดลองเพม่ิ เตมิ ได้จากการพรเี ซ้นต์)
หมายเหตุ : (คิดดว้ ยค่าไฟหน่วยละ5บาท)
กลอ่ งควบคมุ การทางานโซล่าเซลล์สาหรบั เกษตรกรแบบอตั โนมตั ิ เหมาะสาหรบั เกษตรกรทกุ แขนง ในการลดตอ้ น
ทนุ และประหยัดและอนุรักษ์พลังงานไฟฟ้า แต่ในสว่ นของการค้มุ ทนุ ในดา้ นการลงทุนและค่าซอ่ มบารุง จะมดี งั นี้
1.กรณใี ชง้ านในที่ทไี่ ฟฟ้าเข้าไมถ่ ึง หรอื ทใ่ี ชง้ านไกลจากจดุ ท่ีมไี ฟฟา้
2.กรณเี พ่มิ จดุ ใช้พลังงาน (ไม่ใช่ทดแทนจุดที่มีอยู่)
กศน.ตาบลลาโพ ศนู ยก์ ารศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั อาเภอบางบวั ทอง
ห น้ า | 20
บทที่ 5
สรุปผลและการอภปิ ราย
จากท่ีไดด้ าเนนิ การทาโครงงานประดิษฐ์ กล่องควบคุมการทางานโซลา่ เซลล์สาหรบั เกษตรกรแบบ
อัตโนมตั ิ
สรปุ ผล
- การศกึ ษาพบวา่ อุปกรณ์น้ีใชเ้ ป็นสื่อการเรยี นรเู้ รอ่ื งการนาพลงั งานทดแทน(โซลา่ เซลล)์ มา
ใช้สาหรบั เกษตรกรในทกุ ๆในแขนง ในเร่ืองของระบบ ได้จรงิ
- การศึกษาพบว่า อุปกรณส์ ามารถทาหนา้ ทค่ี อนโทรลระบบพลังงานทดแทน(โซล่าเซลล)์ ใน
ส่วนของการเปลยี่ นพลงั งานแสงอาทิตย์เปน็ พลังงานไฟฟ้า และควบคุมการชาร์จเพื่อเกบ็ พลงั งาน
ไฟฟา้ ท่ีได้มาอย่างสมบูรณท์ ส่ี ุด ได้จริง
- การศึกษาพบว่า อุปกรณส์ ามารถทาใหเ้ กษตรกรสามารถใชพ้ ลงั งานทดแทนในการทา
การเกษตรไดใ้ นทกุ ๆรปู แบบ เพื่อประหยดั ค่าใช้จ่าย และพลังงานไฟฟา้ มากที่สดุ ได้จริง
- การศกึ ษาพบว่า อุปกรณ์ทที่ าใหเ้ กษตรกรใช้งานระบบต่างๆข้างตน้ ง่ายข้ึน ได้จริง
ปัญหา และอุปสรรค
- การควบคุมอุปกรณ์ระยะไกลแบบไรส้ าย มขี ดี จากัดในเรื่องของระยะทาง เพราะถา้ มีวัตถุบังพื้นทีไ่ ม่
โลง่ กจ็ ะใชไ้ ด้ในระยะใกลๆ้
- การควบคุมอปุ กรณ์ระบบออนไลน์ มีขีดจากัดในเรอ่ื งของระบบปลอ่ ยสญั ญาณ และอนิ เตอร์เน็ต
ขอ้ เสนอแนะ
- ติดต้งั ชุดควบคมุ ในพื้นทโ่ี ล่ง
- ติดตัง้ ชุดควบคมุ ใกล้ระยะWIFI หรือ ติดตง้ั ชุดปลอ่ ยWIFIเพิม่ เตมิ ในระบบ
ประโยชน์ทจี่ ะได้รับ
- เปน็ แนวทางสาหรับเกษตรกรและผ้ทู ี่สนใจใน เรื่องพลงั งานทดแทน จากแสงอาทติ ย์ ด้วยระบบโซ
ล่าเซลล์ เพ่ืออนรุ ักษ์และประหยดั พลงั งาน
- เป็นตน้ แบบและส่อื การเรียนการสอน เพ่ือกับชดุ ควบคมุ การชารจ์ และจา่ ยโหลด
กศน.ตาบลลาโพ ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัยอาเภอบางบัวทอง
ห น้ า | 21
บรรณานุกรม
การไฟฟา้ ฝา่ ยผลติ แห่งประเทศไทย. พลังงานทดแทน. นนทบุรี : กองผลิตสือ่ การส่อื สารองค์การ กฟผ.,
2554
พลังงาน, กระทรวง. คู่มอื การพัฒนาและการลงทุนพลังงานทดแทนชุดท่ี 2. กรุงเทพฯ : กรมพัฒนา
พลังงานและอนุรักษ์พลงั งาน, 2555.
สง่ เสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั , สานักงาน. ชุดวชิ าการใช้ไฟฟ้าในชวี ิตประจาวัน 3
รายวิชาเลือกบังคับ พว32023. กรุงเทพฯ : สานกั ส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตาม
อัธยาศัย, 2559.
https://www.slideshare.net/AekapojPoosathan/5-31018403 สืบค้นเมือ่ 18 มถิ ุนายน 2561.
https://www.youtube.com/watch?v=zATXK7pMWQ8&t=1s สบื คน้ เมื่อ 18 มิถุนายน 2561.
https://www.youtube.com/watch?v=hBFBz3ldorE สืบคน้ เมื่อ 18 มิถนุ ายน 2561.
กศน.ตาบลลาโพ ศูนย์การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัยอาเภอบางบวั ทอง