การเตรยี มความพรอ้ มการเปิดภาคเรยี น
ภาคเรยี นท;ี ๑ ปีการศกึ ษา ๒๕๖๕
โรงเรยี นเพชรพทิ ยาสรรค์
สงั กดั สาํ นกั งานเขตพน.ื ทก1ี ารศกึ ษามธั ยมศกึ ษาชยั ภมู ิ
สงั กดั สาํ นกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขนั2 พน2ื ฐาน
กระทรวงศกึ ษาธกิ าร
คำนำ
สถานการณ์การแพรร่ ะบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 หรอื โรคโควดิ 19 (Coronavirus
Disease 2019 (COVID-19) มีการระบาดในวงกว้าง องค์การอนามยั โลก (WHO) ได้ประกาศให้โรคโควิด 19
เปน็ ภาวะฉกุ เฉนิ ทางสาธารณสุขระหวา่ งประเทศ (Public Health Emergency of International Concern)
โดยแนะนำให้ทุกประเทศเรง่ รัดการเฝา้ ระวงั และป้องกันความเส่ยี งจากโรคโควดิ 19 สำหรบั ประเทศไทย พบ
ผปู้ ว่ ยและผเู้ สียชวี ิตเพิม่ ขน้ึ อย่างตอ่ เน่ือง และมีโอกาสขยายวงกว้างข้ึนเร่อื ย ๆ โดยเฉพาะอยา่ งยง่ิ แนวโนม้ ท่ีจะ
เกดิ การแพรร่ ะบาดในสถานศึกษา ดงั นน้ั การสรา้ งความตระหนักรูเ้ ทา่ ทัน และเตรียมความพร้อมในการ
รับมอื กับการระบาดของโรคอย่างมปี ระสทิ ธภิ าพ จึงมคี วามจำเป็นอย่างยง่ิ เพ่ือลดความเส่ียงและป้องกันไม่ให้
สง่ ผลกระทบต่อสุขภาพนักเรียน ครู ผู้สอน และบคุ ลากรทางการศึกษา อันเป็นทรัพยากรที่สำคญั ในการ
ขับเคลอ่ื นและพัฒนาประเทศในอนาคต
โรงเรยี นเพชรพิทยาสรรค์รว่ มกับคณะกรรมการสถานศกึ ษาขน้ั พนื้ ฐานและผูม้ ีส่วนท่ีเกีย่ วข้องได้ออกมาตรการ
การปอ้ งกันและแนวทางปฏบิ ัตสิ ำหรับสถานศึกษาในการป้องกันการแพร่ระบาดของโรคโควิด 19 อย่าง
ตอ่ เน่ืองโดยเนน้ ความสอดคล้องกบั บรบิ ทของสถานศกึ ษาและเอื้ออำนวยให้เกดิ การปฏิบตั งิ านได้อย่างมี
ประสทิ ธิภาพ เพื่อใหน้ ักเรียนและบคุ ลากรในสถานศึกษาสามารถดำรงชีวติ อยู่ได้อยา่ งปลอดภัย โดยมี
สาระสำคัญ ประกอบดว้ ยแนวปฏิบตั สิ ำหรบั บคุ ลากรในสถานศกึ ษา ได้แก่ ผู้บรหิ าร ครแู ละบุคลากรทางการ
ศึกษา นักเรยี น ผปู้ กครอง แมค่ รัว ผ้จู ำหน่ายอาหาร และผู้ประกอบการรถรับจา้ ง การจัดการด้านอนามัย
สิ่งแวดล้อมบริเวณตา่ ง ๆ ของสถานศึกษา ปฏิบตั ิตามมาตรการป้องกนั การแพรร่ ะบาดของโรคโควดิ 19
(COVID-19) ยดึ 6 มาตรการหลัก (DMHT – RC) 6 มาตรการเสรมิ (SSET-CQ) และแนวทาง 7 มาตรการเขม้
สำหรบั สถานศึกษา สื่อความรอบรู้ด้านสขุ ภาพนกั เรยี น ตลอดจนขน้ั ตอนการดำเนินงานคดั กรองและสง่ ตอ่
แบบประเมินตนเองสำหรับสถานศึกษา แบบประเมินตนเองสำหรบั นกั เรียน แบบบันทึกการตรวจคัดกรอง
สุขภาพสำหรับนักเรียน การจัดการเรียนการสอนชว่ งเปิดภาคเรียน เปน็ ตน้
คณะผ้จู ัดทำ มุ่งหวงั ให้ “แผนรปู แบบการจัดการเรียนการสอนสำหรับสถานศึกษา (ON SITE)ใน
สถานการณ์การแพรร่ ะบาดของโรคตดิ เชอื้ ไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ของโรงเรยี นเพชรพทิ ยาสรรค์”
ฉบับน้ี เป็นแนวปฏบิ ตั ิสำหรับผู้บรหิ าร ครู บคุ ลากรทางการศกึ ษา นกั เรยี น ผู้ปกครอง
แมค่ รัว ผู้จำหนา่ ยอาหาร และผู้ประกอบการรถรับจ้างสามารถนำไปใช้เพื่อดูแลและปฏบิ ัติตนได้อย่างถูกต้อง
ในการป้องกันการแพรร่ ะบาดของโรคโคโรนา 2019 (COVID-19) ใหเ้ กิดประโยชนส์ งู สดุ ตอ่ ไป
คณะผจู้ ดั ทำ
พฤษภาคม 2565
ประกาศโรงเรียนเพชรพทิ ยาสรรค์
เรอื่ ง มาตรการป้องกนั และแนวทางจัดการเรียนการสอนในทตี่ ้ังชองโรงเรียน (ON-SITE)
ในสถานการณก์ ารแพรร่ ะบาดของโรคติดเช้ือไวรสั โคโรนา 2019 (COVID-19)ปีการศกึ ษา 2565
ตามทีป่ ระกาศกระทรวงศกึ ษาธกิ าร เร่ืองหลกั เกณฑก์ ารเปิดโรงเรียนหรือสถาบันการศึกษาตาม
ข้อกำหนด ออกตามความในมาตรา 9 แหง่ พระราชกำหนดการบรหิ ารราชการในสถานการณฉ์ ุกเฉินโรงเรียน
เพชรพทิ ยาสรรค์ สังกัด สำนักงานเขตพนื้ ที่การศึกษามธั ยมศึกษาชัยภูมิ ออกประกาศมาตรการป้องกนั และ
แนวทางการจดั การเรียนการสอนในที่ต้งั ของโรงเรยี น (ON SITE) ในสถานการณ์การแพรร่ ะบาดของโรคติดเช้ือ
ไวรัสโคโรนา 2019 (COVID -19) ประจำปีการศึกษา 2565 เพ่ือใหบ้ ุคลากรในสถานศึกษาและผเู้ กย่ี วข้องได้
ดำเนนิ การตามมาตรการอยา่ งเคร่งครดั ดังนี้
1. มาตรการก่อนเปดิ ภาคเรยี น
1.1 สำรวจข้อมูลครู นักเรียน ผ้ปู กครอง และบคุ คลท่ีเกี่ยวข้องกับการเดนิ ทางไปยังพ้ืนที่เสี่ยง หรือ
ขอ้ มลู ของบุคคลดงั กล่าวท่ีมีความเส่ยี งในการตดิ เชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID - 19) ก่อนเปิดภาคเรียนไม่
นอ้ ยกว่า 14 วัน โดยแจง้ ใหผ้ ู้มีสว่ นเกี่ยวขอ้ งทุกฝา่ ยได้รบั ทราบทนั ที
1.2 แบง่ พน้ื ท่ีใช้งานอย่างชดั เจน จัดเตรียมสถานทใ่ี นห้องเรียน พืน้ ท่ีการเรยี นรวม โรง
อาหาร พ้นื ทีส่ ันทนาการ โดยใช้ physical distancing / social distancing ให้มรี ะยะห่างระหวา่ งบุคคล ไม่
น้อยกวา่ 1 เมตร พร้อมทำป้ายสัญลกั ษณแ์ จ้งเตือนท่วั บริเวณและหมนั่ ตรวจสอบให้อยู่ในสภาพพรอ้ มใช้งาน
ตลอดเวลา
1.3 ทำความสะอาดพ้นื ทภ่ี ายในโรงเรียนและอุปกรณก์ ารเรยี นการสอนก่อนเปดิ ภาคเรยี น
1.4 กำหนดจดุ คดั กรองบริเวณประตูทางเข้าโรงเรียนหรือบริเวณที่เหมาะสม เพื่อตรวจวัดอุณหภูมิ
ร่างกายของนักเรยี น ครู ผปู้ กครอง และบุคคลทจี่ ะมาติดต่อกับโรงเรียนทุกรายและทกุ คร้ัง
1.5 จดั ใหม้ จี ุดบริการลา้ งมือด้วยสบู่เหลว หรอื แอลกอฮอล์เจล บริเวณทางเข้าประตโู รงเรียน
หอ้ งเรยี น บรเิ วณอาคาร หอ้ งสุขา หรือสถานทจ่ี ัดกิจกรรมอืน่ ๆ อย่างเพียงพอและท่วั ถงึ
1.6 ให้ความรู้ ความเขา้ ใจ เก่ียวกับโรคตดิ เชอ้ื ไวรสั โคโรนา 2019 (COVID - 19) รวมถึงมาตรการ
ปอ้ งกันการแพรร่ ะบาดแก่ครู และบุคลากรของโรงเรยี น ตลอดจนผู้ปกครอง นักเรียน และผ้เู ก่ยี วขอ้ ง
1.7 จดั ใหม้ ปี า้ ยประชาสมั พันธแ์ นะนำมาตรการปอ้ งกันโรคตดิ เชื้อไวรสั โคโรนา 2019 (COVID - 19)
ปา้ ยแจง้ เตือนการสังเกตอาการ และอื่น ๆ
1.8 จดั ทำแผนรปู แบบการจดั การเรียนการสอน โดยโรงเรยี นทีม่ นี กั เรยี นจำนวนมาก หรอื มีนักเรยี น
ตอ่ หอ้ งเกนิ 30 คน ขยายหอ้ งเรียนเพ่ิมเติม โดยจดั ช้ันเรยี นตามมาตรฐานระยะห่างความปลอดภยั (physical
distancing / social distancing)
2. มาตรการระหว่างเปิดภาคเรียน
2.1 ครจู ดั ใหม้ กี ารตรวจวดั อณุ หภมู ขิ องนักเรียนทกุ ครั้งก่อนเขา้ โรงเรยี น หากตรวจพบอุณหภมู ิ
รา่ งกายเท่ากบั หรือสงู กว่า 37.5 องศาเซลเซียส ต้องไมใ่ หน้ ักเรยี นมาโรงเรียน
2.2 โรงเรยี นท่มี ีรถรบั สง่ นักเรียน พนกั งานขบั รถโรงเรียนหรือรถรับส่งนักเรียนจะต้องตรวจวดั
อณุ หภมู ริ ่างกายก่อนปฏิบัติหน้าที่ หากตรวจพบอุณหภมู ิร่างกายเท่ากบั หรือสงู กว่า 37.5 องศาเซลเซียส ไม่
อนญุ าตใหป้ ฏบิ ตั หิ น้าที่ พนักงานขับรถจะต้องสวมใส่หน้ากากอนามยั หรือหน้ากากผ้า
ทุกครง้ั ท่ีปฏิบัติหน้าที่และต้องทำความสะอาดรถและฆา่ เชื้ออยเู่ สมออย่างน้อยสปั ดาหล์ ะ 1 ครง้ั
2.3 พนักงานขับรถ และ/หรือ ครทู ีป่ ระจำรถโรงเรยี น ตอ้ งมีเทอร์โมสแกน (เครื่องวัดอณุ หภูมิแบบ
ไมส่ มั ผัส) ประจำตวั และจัดใหม้ กี ารตรวจวดั อณุ หภมู ริ า่ งกายของนักเรียนก่อนข้ึนรถรับ - สง่ นักเรียน หาก
ตรวจพบอุณหภมู ริ า่ งกายเทา่ กับหรือสูงกวา่ 37.5 องศาเซลเซียส ไมอ่ นุญาตใหข้ ึ้นรถ และนักเรยี นต้องสวมใส่
หนา้ กากอนามัยหรือหน้ากากผ้าตลอดเวลาขณะที่อยู่บนรถ
2.4 บุคคลทกุ คนทจ่ี ะเข้ามาภายในบริเวณโรงเรยี นต้องผ่านการตรวจวัดอุณหภมู ิรา่ งกาย
ณ จุดคัดกรองของโรงเรียน และมกี ารบนั ทึกข้อมลู เก็บไว้โดยใชค้ วิ อาร์โคดของแอพพริเคชัน่ ไทยชนะ กรณที ่ี
พบผู้มอี ุณหภมู ริ า่ งกายเท่ากบั หรอื สูงกวา่ 37.5 องศาเซลเซียส หรอื มอี าการไข้ ไอ จาม มนี ้ำมูก หรือมอี าการ
เกยี่ วกบั ระบบทางเดนิ หายใจ จะไม่อนุญาตให้เขา้ มาภายในบรเิ วณโรงเรียน
2.5 นักเรยี น ครู และบคุ ลากร หรอื ผ้มู าติดตอ่ กับโรงเรียนทกุ คน ต้องสวมใสห่ น้ากากอนามยั หรอื
หนา้ กากผ้า ขณะที่อยภู่ ายในบริเวณโรงเรยี น
2.6 จดั ให้มกี ารระบายอากาศภายในอาคาร และระบบหมนุ เวยี นอากาศภายในหอ้ งเรียน เพื่อให้มี
การถา่ ยเทอากาศได้ดี ใหท้ ำความสะอาดเคร่ืองปรับอากาศและจัดให้มีการฆ่าเชื้อโรคอย่างสม่ำเสมอ
2.7 เพม่ิ ความถ่ีในการทำความสะอาดภายในโรงเรียน ห้องเรียน หอ้ งสุขา โรงอาหาร
หอ้ งประชุม สนามเด็กเล่น อุปกรณก์ ารเรียน กฬี า เครอ่ื งดนตรี ฯลฯ โดยดำเนนิ การอย่างสมำ่ เสมอและเป็น
ประจำหลงั เลิกเรียนทุกวนั หากจำเป็นต้องใชอ้ ปุ กรณแ์ ละของเล่นรว่ มกนั ต้องมีการทำความสะอาดก่อนและ
หลังใช้งานทกุ คร้ัง รวมถงึ ไม่อนุญาตใหน้ กั เรยี นนำของเลน่ ส่วนตัวมาใชใ้ นโรงเรียน
2.8 จัดใหม้ กี ารควบคมุ คุณภาพการประกอบอาหารและการจัดการนำ้ ดม่ื ในโรงเรียนใหถ้ ูก
สุขอนามยั
2.9 การจดั ประชุมหรอื จดั กิจกรรมรวมกลุ่มท่ีมีคนหมู่มาก การจัดกจิ กรรมพัฒนาผู้เรียนและกิจกรรม
เสรมิ หลักสตู รทต่ี ้องให้นกั เรียนมาเรียนรวมกนั การจัดกฬี าทุกประเภททีต่ ้องสัมผสั ตัวกับผรู้ ว่ มแข่งขนั หรือกีฬา
ประเภททต่ี ้องแข่งขันเปน็ ทีม หากมคี วามจำเป็นต้องจัดกจิ กรรมดังกล่าวใหด้ ำเนนิ การตามมาตรการ
สาธารณสุข
2.10 ครคู วรเตือนนักเรียนให้ล้างมอื เมอ่ื จบช่วั โมงเรยี นทุกชวั่ โมง หรือเมื่อทำกจิ กรรมที่ต้องสมั ผสั
วสั ดตุ ่างๆ
2.11 นักเรียนและครทู ุกคนต้องมีขวดนำ้ กระตกิ น้ำและแก้วน้ำของตนเอง
2.12 กรณีที่พบนักเรยี นติดเชอื้ ไวรัสโคโรนา 2019 (COVID - 19) หรือเจ็บป่วย ใหม้ ี
ผูป้ ระสานงานกบั หนว่ ยงานด้านสาธารณสขุ เพื่อดำเนนิ การคดั แยกและดูแลรักษาผเู้ จ็บป่วย
2.13 หลีกเลี่ยงการเรียนการสอนในหอ้ งเรียนทีใ่ ชเ้ ครื่องปรับอากาศเป็นเวลาตอ่ เนื่องเกิน 2 ชัว่ โมง
2.14 การจะใหน้ กั เรียนมาหรอื ไม่มาโรงเรยี นในแต่ละวนั ใหอ้ ยู่ในดุลยพินิจของผ้ปู กครอง ครู
ประจำชั้น หรือครูทป่ี รึกษา
2.15 โรงเรียนต้องแจ้งผปู้ กครอง เพื่อใหร้ บั นักเรยี นกลับบ้านทนั ทีหลังเลกิ เรียน
2.16 โรงเรียนมีคณะกรรมการติดตามและประเมนิ ผลมาตรการการปอ้ งกันการแพร่ระบาดของ
โรคตดิ เชือ้ ไวรสั โคโรนา 2019 ( COVID -19) และรายงานผู้อำนวยการสถานศึกษาทราบเปน็ ประจำทุกวัน
ทัง้ นี้ ให้โรงเรยี นกำหนดแผนรูปแบบการจดั การเรียนการสอน และมาตรการป้องกันและ
แนวทางจัดการเรียน3662.การสอนในท่ตี งั้ ของโรงเรียน (ON – SITE) ในสถานการณก์ ารแพร่ระบาดของโรค
ติดเชือ้ ไวรัสโคโรนา 2019 (COVID -19) ปกี ารศึกษา 2564 เสนอตอ่ คณะกรรมการสถานศกึ ษาขั้นพืน้ ฐาน
และแจง้ ให้ครู นกั เรียน ผปู้ กครอง และผู้เก่ียวขอ้ งทราบโดยทว่ั กัน
อนึ่ง ในการจดั หาอปุ กรณ์และเวชภัณฑป์ ้องกันการแพรร่ ะบาดของโรคตดิ เช้ือไวรสั โคโรนา 2019
(COVID -19) เช่น หนา้ กากอนามัย หน้ากากผ้า แอลกอฮอล์ เจลล้างมอื เทอร์โมสแกน และอืน่ ๆ โดย
โรงเรียนเป็นผจู้ ัดหาใหน้ ักเรียนอย่างเพยี งพอและเหมาะสม
ประกาศ ณ วันท่ี 24 พฤษภาคม พ.ศ. 2565
วา่ ทรี่ อ้ ยตรี
(ชุมพร วงศ์พฒั น์)
ผู้อำนวยการโรงเรียนเพชรพทิ ยาสรรค์
สารบัญ
หนา้
ขอ้ มลู พืน้ ฐาน …………………………………………………………………………………………… 1
สว่ นที่ 1 มาตราการรองรบั การเปดิ ภาคเรียน …………………………………………………………. 11
สว่ นที่ 2 ข้อกำหนดของ 6 มาตรการหลกั (DMHT – RC) 6 มาตรการเสรมิ (SSET-CQ)
18
และแนวทาง 7 มาตรการเขม้ สำหรับสถานศึกษา …………….………………………….. 23
ส่วนที่ 3 หลักเกณฑ์พจิ ารณาเตรยี มการใช้อาคาร ............................................................ 38
ส่วนท่ี 4 แนวปฏิบตั ติ ามแผนเผชิญเหตุ ............................................................................ 43
สว่ นท่ี 5 หลกั เกณฑ์พิจารณาสำหรบั การใชอ้ าคาร ........................................................... 45
46
- การตรวจ ATK …………………………………………………………………………………….. 48
- การฉดี วคั ซีนของครู และนักเรยี น ..................................................................... 50
- การจดั ซ้ือหนงั สือเรยี น ปกี ารศกึ ษา 2565 ......................................................... 54
- โครงการพานอ้ งกลบั มาเรยี น ........................................................................... 62
- การตดิ ตามการดำเนนิ งานของศนู ย์ความปลอดภัยของสถานศกึ ษา ............. 66
การพฒั นาคณุ ภาพ ตามนโยบาย “ป2ี 565 ปีแห่งการสร้างภาพ” ...................................... 73
75
- ด้านคุณภาพ
- ด้านกายภาพ
- ดา้ นสมั พันธภาพ
สว่ นที่ 1
ข้อมูลพ้นื ฐานของสถานศึกษา
1.1 ข้อมูลพ้นื ฐาน
ช่ือโรงเรยี น เพชรพิทยาสรรค์ ที่อยู่ เลขที่ 81 หมทู่ ี่ 4 ตำบลบ้านเพชร อำเภอบำเหน็จณรงค์ จงั หวดั ชัยภมู ิ
สังกัดสำนกั งานเขตพ้นื ที่การศึกษามัธยมศึกษาชัยภูมิ โทรศัพท์ 044-101433 โทรสาร 044-101433
Website : www.petpit.ac.th เปดิ สอนระดับชนั้ มธั ยมศึกษาปที ี่ 1 ถึงระดบั ช้นั มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 6
โรงเรียนเพชรพทิ ยาสรรค์ สำนักงานเขตพน้ื ท่ีการศึกษามธั ยมศึกษา เขต 30 ก่อตัง้ เมื่อวนั ที่ 30 เมษายน พ.ศ.
2539 มีเนื้อทจี่ ำนวน 37 ไร่ เปดิ สอนตั้งแต่ระดบั ชั้นมธั ยมศกึ ษาปีท่ี 1 - ระดบั ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ภายใตก้ าร
บรหิ ารงานของผอู้ ำนวยการ วา่ ทร่ี ้อยตรีชมุ พร วงศ์พฒั น์ ตำแหนง่ ผู้อำนวยการโรงเรยี น โดยมขี ้าราชการครแู ละ
บุคลากรทางการศึกษา รวมท้ังสิ้น 30 คน โดยมขี ้าราชการครทู ง้ั สนิ้ จำนวน 25 คน พนักงานราชการ 4 คน ครูอัตรา
จา้ ง 2 คน และเจ้าหน้าที่ธุรการ 1 คน ปจั จุบนั มนี ักเรยี นทั้งสิ้น 416 คน มีเขตบรกิ ารทัง้ สน้ิ 7 หมบู่ ้าน
1.2 นโยบาย
1) สง่ เสรมิ ให้มีการสอื่ สารประชาสัมพนั ธแ์ กค่ รู นักเรียน และบุคลากรในสถานศกึ ษาใหม้ คี วามรู้เบ้อื งตน้
เกี่ยวกบั โรคโควดิ 19
2) จัดประชมุ ชแ้ี จงคณะกรรมการสถานศึกษาข้ันพื้นฐานตามความจำเปน็ ให้เขา้ ใจและเห็นชอบ
3) จัดทำแผนงาน โครงการ และกิจกรรมรองรับนโยบายและแนวทางการป้องกันโรคโควิด 19 ของ
สถานศึกษา
4) แต่งต้งั คณะทำงานรบั ผิดชอบเกยี่ วกบั โรคโควดิ 19 ในสถานศกึ ษา ประกอบดว้ ย บุคลากรสถานศึกษา
นักเรยี น ผ้ปู กครอง เจ้าหน้าท่ีสาธารณสขุ และผู้เก่ียวข้อง
5) กำหนดบทบาทหนา้ ที่ โดยมอบหมายครู ครูอนามัยหรือบคุ ลากรสถานศึกษา ทำหน้าท่ี
คัดกรอง วดั ไขน้ ักเรียน สงั เกตสอบถามอาการเสี่ยงและประสานงานเจา้ หนา้ ที่สาธารณสขุ ในพื้นทใ่ี หบ้ รกิ ารในห้อง
พยาบาล รวมทง้ั การดแู ลทำความสะอาดในบริเวณสถานศกึ ษาและบริเวณจดุ เสี่ยง
6) ส่อื สารทำความเขา้ ใจผูป้ กครองและนักเรียน โดยเตรียมการก่อนเปิดภาคเรียนหรือวันแรกของการเปดิ
เรียนเกีย่ วกบั แนวทางการป้องกนั โรคโควิด 19 และมีชอ่ งทางการติดต่อส่อื สาร
7) สถานศึกษามีการประเมินตนเอง เพ่ือเตรียมความพร้อมก่อนเปิดเรียนผา่ นระบบออนไลน์ของ
2
กระทรวงศกึ ษาธกิ าร / Thai STOP COVID กรมอนามัย หรือ ตามแบบประเมินตนเองสำหรบั สถานศกึ ษาในการ
เตรียมความพรอ้ มก่อนเปิดภาคเรยี นเพ่ือเฝ้าระวังและปอ้ งกันการแพร่ระบาดของโรคโควิด 19
8) มมี าตรการการจัดการด้านความสะอาด รถรับ – ส่งนักเรียนและชี้แจงผปู้ ระกอบการ เพอื่ ป้องกนั การ
แพร่ระบาดของโรคโควดิ 19 โดยถอื ปฏบิ ัติอยา่ งเครง่ ครัด
9) เสริมสร้างวัคซีนชมุ ชนในสถานศึกษา โดยมาตรการ "4 สร้าง 2 ใช้"
- สร้างสถานศึกษาที่รูส้ ึก.."ปลอดภยั "(safety)
- สร้างสถานศึกษาที่...."สงบ" (calm)
- สร้างสถานศึกษาท่ีม.ี ...."ความหวัง" (Hope)
- สรา้ งสถานศกึ ษาท่ี...."เขา้ ใจ เหน็ ใจและให้โอกาส" (De-stigmatization)
- ใชศ้ ักยภาพสถานศึกษาและชมุ ชน (Efficacy) เชน่ ระบบดูแลชว่ ยเหลือนักเรียน แบ่งปนั ทรัพยากร
ในชมุ ชน
- ใช้สายสมั พนั ธ์ในสถานศึกษา (Connectedness) มีการกำกับ ตดิ ตามให้มีการ
ดำเนนิ งานตามมาตรการ เพ่ือปอ้ งกนั การแพรร่ ะบาดของโรคโควิด 19 อย่างเคร่งครัด
10) ปฏิบตั ติ ามมาตรการป้องกนั การแพร่ระบาดของโรคโควดิ 19 (COVID-19) ยดึ หลัก
D-M-H-T-T-A
D : Distancing คือ เว้นระยะห่างระหวา่ งกัน
M : Mask Wearing คอื สวมหนา้ กากผา้ /หนา้ กากอนามยั ตลอดเวลา
H : Hand Washing คอื ล้างมือบ่อย ๆ
T : Temperature Check คือ ตรวจวัดอุณหภูมริ ่างกายก่อนเขา้ งาน
T : Testing คอื ตรวจหาเช้อื โควดิ -19
A : Application คอื เช็กอินผา่ นแอปพลิเคชัน "ไทยชนะ" ทุกครัง้ เมื่อเข้าไปในสถานทีต่ ่าง ๆ
3
1.3 ข้อมลู บุคลากรของสถานศกึ ษา ปีการศึกษา 2565
เพศ ระดบั การศึกษา
ประเภทบุคลากร ชาย หญิง ตำ่ กวา่ ป. ตรี สูงกวา่
ป.ตรี
ป.ตรี
ผ้อู ำนวยการ 1 - - - 1
รองผู้อำนวยการ - -1 - - 1
ครปู ระจำการ 4 20 - 14 10
พนกั งานราชการ 3 1 - 3 -
ครูอัตราจา้ ง - 1 - 1 -
ครพู เี่ ลีย้ ง 1 - - 1
ครูธุรการ -1 - 1
นักการ/ภารโรง 1 - 1 - -
อ่นื ๆ -- - - -
รวม 9 22 1 20 10
- มคี รทู ่ีสอนตรงตามวิชาเอก ................. 30...........คน (..............100.........%)
- มคี รูที่สอนวชิ าตามความถนัด................2.........คน (.........7.............%)
- ชวั่ โมงสอนโดยเฉลยี่ ของครู คนละ .......28.........ช่ัวโมง/สปั ดาห์
- สถติ กิ ารอบรมและพัฒนาบุคลากร ในรอบปีทีผ่ า่ นมาบุคลากรได้รบั การพัฒนา
เฉลีย่ คนละ...5.17..คร้งั /ปี
- การไดร้ บั รางวลั เกียรตบิ ัตรของครู / ผลงานดีเดน่ ดา้ นต่าง ๆ ของบุคลากร
รางวัลครผู ูม้ จี รรยาบรรณวชิ าชพี ดเี ด่น ประจำปี 2565 สายผสู้ อน
1. นางพัชญา วิเศษครอ้ 2. นางมยรุ ี อกั ษรจันทร์
4
ตาราง 1 จำนวนบุคลากร
ผบู้ รหิ าร ครผู ้สู อน พนกั งาน ครู ครู เจา้ หน้าที่ อนื่ ๆ (ระบุ)
2 24 ราชการ อตั ราจ้าง พ่เี ลย้ี ง ธุรการ 1 นักการภารโรง
4 11 1
1.4 ขอ้ มลู นกั เรียน
1. ขอ้ มูลนกั เรียน
ปจั จบุ ันนักเรยี นโรงเรยี นเพชรพทิ ยาสรรค์มจี ำนวน 414 คน ( ข้อมูล ณ วันที่ 25 พฤษภาคม 2565 ) ดงั น้ี
1.1 จำนวนนักเรียนในเขตพนื้ ที่บริการท้ังหมด 414 คน
1.2 จำนวนนักเรยี นจำแนกตามระดับช้นั ที่เปดิ สอน
มัธยมศึกษาตอนต้น เพศ รวม
ชาย หญิง
ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 1 95
ชน้ั มธั ยมศึกษาปที ่ี 2 45 50 80
ชนั้ มัธยมศกึ ษาปที ่ี 3 40 40 79
39 40 254
รวม
124 130 รวม
มธั ยมศึกษาตอนปลาย
เพศ 80
ชน้ั มัธยมศกึ ษาปีท่ี 4 ชาย หญงิ 43
ช้นั มัธยมศกึ ษาปที ่ี 5 37
ชั้นมธั ยมศึกษาปที ่ี 6 46 34 160
21 22 414
รวม 18 19
รวมนักเรยี นทั้งหมด 85 75
209 205
1.3 นักเรียนท่ีมีความบกพร่องเรยี นร่วม จำนวน 16 คน
1.4 นักเรียนมภี าวะทุพลโภชนาการ จำนวน – คน
1.5 มนี ักเรยี นปญั ญาเลศิ จำนวน – คน
1.6 นกั เรยี นที่ต้องการความชว่ ยเหลือเป็นพิเศษ จำนวน – คน
1.7 จำนวนนกั เรยี นต่อห้อง (เฉลี่ย) จำนวน 25-27 คน
1.8 สดั สว่ นครู: ต่อนักเรยี น จำนวน 1 : 13
5
1.9 จำนวนนักเรยี นทีล่ าออกกลางคัน(ปัจจบุ ัน) จำนวน 2 คน
1.10 สถติ ิการขาดเรยี น/เดอื น คิดเปน็ ร้อยละ 0.50 ของนักเรียนท้ังหมด
1.11 จำนวนนักเรียนทท่ี ำชอ่ื เสียงใหแ้ กโ่ รงเรียน
ประเภททกั ษะวชิ าการ จำนวน 41 คน
ประเภททักษะกีฬา จำนวน 25 คน
1.5 สภาพทั่วไปและข้อมลู ชมุ ชน
1.5.1 สภาพชมุ ชนรอบโรงเรียนมีลักษณะเปน็ ชุมชนเกษตรกรรม บรเิ วณโรงเรยี นใกล้เคียงโดยรอบโรงเรียน
ไดแ้ ก่ สำนักงานขนส่งจังหวัดชัยภมู ิ สาขาบำเหน็จณรงค์ สำนักงานองคก์ ารบริหารสว่ นตำบลบา้ นเพชร วัด
โรงพยาบาลบำเหนจ็ ณรงค์ อาชพี หลักของชุมชนคือ เกษตรกรรม ค้าขาย เนื่องจาก สภาพพ้ืนท่ีสว่ นใหญ่เปน็ ท่รี าบ
และการต้ังชมุ ชนเป็นลกั ษณะกลมุ่ ชมุ ชน สว่ นใหญ่นบั ถือศาสนาพุทธ ประเพณ/ี ศลิ ปวฒั นธรรมทอ้ งถนิ่ เปน็ ที่รูจ้ ัก
โดยทวั่ ไป คือ ประเพณแี หเ่ ทียนพรรษาในวันเข้าพรรษา การรดนำ้ ขอพรผ้สู งู อายุในวันสงกรานต์ งานลอยกระทง
1.5.2 ผปู้ กครองสว่ นใหญ่ จบการศึกษาระดับช้ันประถมศึกษาปที ี่ 6 ร้อยละ 80 ประกอบอาชพี
เกษตรกรรม นับถือศาสนาพุทธ รอ้ ยละ 99 ฐานะทางเศรษฐกจิ /รายได้เฉลย่ี ต่อครอบครวั ต่อปี 30,000 บาท
1.5.3 โอกาสและข้อจำกัดของโรงเรยี น
โรงเรยี นตัง้ เป็นศูนย์กลางของชมุ ชน มคี วามสะดวกในการติดตอ่ ชมุ ชน เปน็ จดุ รวมของการดำเนนิ กจิ กรรมของชมุ ชน
และหน่วยงานอนื่ ได้รับความสนใจและความมน่ั ใจ แตง่ บประมาณในการดำเนินงานยังไมเ่ พียงพอ
6
1.6 ขอ้ มลู ดา้ นสถานที่
1.6.1 อาคารเรียนและอาคารประกอบ 7 หลัง ได้แก่ อาคารเรยี น 6 หลัง อาคารเอนกประสงค์ 1 หลงั
1.6.2 จำนวนห้องเรียนทงั้ หมด 14 ห้องเรยี น แบ่งเป็น ชั้น ม.1 - ม.6 = 3:3:3/2:1:2
1.6.3 หอ้ งสมุดมีขนาด 120 ตารางเมตร จำนวนหนงั สอื ในหอ้ งสมดุ ทงั้ หมด 18,824 เล่ม การสบื ค้นหนังสือ
และการยืมคืนใช้ระบบหอ้ งสมดุ อัตโนมตั ิ สพฐ. OBEC Library Automation Systemสถติ ิการยมื หนังสือ 30 เลม่
ต่อวัน
1.6.4 โรงเรียนมีคอมพวิ เตอร์ มจี ำนวนท้งั หมด 41 เครื่อง
- ใช้เพื่อการเรียนการสอนและใชส้ บื คน้ ข้อมูลทางอินเทอรเ์ น็ต 41 เครื่อง
- ใชใ้ นงานบริหาร 5 เคร่ือง
1.6.5 หอ้ งท่ีจัดไวใ้ ชป้ ฏิบัติกิจกรรมเฉพาะมที ั้งหมด 8 หอ้ ง ไดแ้ ก่
- ห้องปฏบิ ตั ิการวทิ ยาศาสตร์ 4 ห้อง
- หอ้ งปฏิบตั กิ ารคอมพิวเตอร์ 1 ห้อง
- ห้องปฏิบัติการสงั คม 1 ห้อง
- ห้องปฏบิ ตั กิ ารคณิตศาสตร์ 1 ห้อง
- หอ้ งปฏิบัติการภาษาไทย 1 ห้อง
1.6.6 พื้นท่ปี ฏิบตั ิกิจกรรม/นันทนาการ ได้แก่ สนามกฬี า อาคารเอนกประสงค์ บรเิ วณหน้าเสาธง
1.6.7 แหลง่ เรียนร้ภู ายในโรงเรียน ไดแ้ ก่ ห้องสมุด หอ้ งคอมพวิ เตอร์
5.8 แหลง่ เรยี นรภู้ ายนอกโรงเรยี น ไดแ้ ก่ ศูนยเ์ ทคโนโลยีคอมพิวเตอรเ์ พ่ือการศกึ ษาเทศบาลตำบล
บา้ นเพชร วัดเพชรภูมสิ ุวรรณวรารามบ้านเพชร โรงผลิตหม่ี บ้านคำปงิ นวดแผนไทย บา้ นโคกสว่าง
ศาลเจ้าพ่อพระฤทธิฦาชยั บา้ นชวน หลวงพอ่ โต วดั บรู ณ์ บ้านปะโค
7
อาคารเรียนและอาคารประกอบ
อาคารเบด็ เสรจ็ ก สร้างเมื่อ พ.ศ.2539 จำนวน 1 หลัง 12 หอ้ ง
อาคารเบ็ดเสร็จ ข สร้างเม่ือ พ.ศ.2539 จำนวน 1 หลัง 5 ห้อง
อาคารเบด็ เสรจ็ ค สรา้ งเมอ่ื พ.ศ.2539 จำนวน 1 หลงั 3 ห้อง
อาคารเรยี นกึง่ ถาวร สร้างเมอื่ พ.ศ.2542 จำนวน 1 หลงั 6 ห้อง
อาคารเรยี นกึง่ ถาวร สรา้ งเม่อื พ.ศ.2544 จำนวน 1 หลัง 6 หอ้ ง
อาคารหอประชุม แบบ 100/27 สรา้ งเม่ือ พ.ศ.2543 จำนวน 1 หลัง
อาคารเรยี น 216ล/57-ก สร้างเสร็จเมอื่ พ.ศ. 2562 จำนวน 1 หลัง 16 หอ้ ง
บา้ นพักครู 2 ช้ัน สร้างเมอ่ื พ.ศ.2539 จำนวน 1 หลัง
บ้านพกั นักการภารโรง สรา้ งเมื่อ พ.ศ.2539 จำนวน 1 หลงั
ห้องน้ำ – ห้องสว้ ม จำนวน 4 ที่ สรา้ งเม่ือ พ.ศ.2540 จำนวน 1 หลัง
หอ้ งน้ำ – ห้องสว้ ม จำนวน 6 ท่ี สรา้ งเม่อื พ.ศ.2543 จำนวน 2 หลัง
หอ้ งน้ำ – หอ้ งสว้ ม จำนวน 4 ที่ สร้างเมอ่ื พ.ศ.2552 จำนวน 1 หลัง
ห้องนำ้ – ห้องส้วม จำนวน 20 ท่ี สร้างเมือ่ พ.ศ.2563 จำนวน 1 หลัง
สนามกีฬากลางแจ้ง
1. สนามฟตุ บอลแบบมาตรฐาน ขนาด 6 ลวู่ ่ิง จำนวน 1 แหง่
2. สนามบาสเกตบอล จำนวน 1 แหง่
3. สนามเปตอง จำนวน 3 แห่ง
แผนผังบรเิ วณโรงเรียนเพชรพทิ ยาสรรค์ 8
เหนือ
อาคาร 216ล หอ้ งนา้ -หอ้ งสว้ ม
ถงั นา้ ใช้
อาคาร ก ถงั นา้ ด่มื
โรงอาหาร สนามฟตุ บอล บรเิ วณลานโดมหนา้ เสาธง อาคาร ข
หอ้ งนา้ -หอ้ งสว้ ม
บา้ นพกั นกั การ สนามเปตอง
บา้ นพกั ครู
สนาม
บาสฯ หอ้ งนา้ -หอ้ งสว้ ม
หอ อาคาร ค
ประชมุ
๑๐๐/๒๗
อาคารเรยี นกึ่งถาวร๑ อาคารเรยี นกง่ึ ถาวร๒
ไป จ.เพชรบรู ณ์ ทางเขา้ โรงเรียน ไป จ.นครราชสมี า
ท่ตี ้ังสถานศกึ ษา 9
ท่ีวา่ การอาเภอบาเหนจ็ เหนอื
ณรงค์
โรงเรียนเพชรพิทยา สนง.อบต.บา้ นเพชร
สรรค์
สีแ่ ยกไฟแดงคาปิง
ไป อ.ดา่ นขนุ ทด ไป จ.นครราชสมี า
สนง.ขนสง่ อาเภอบาเหนจ็ ณรงค์
* ระยะทางจากโรงเรยี นเพชรพทิ ยาสรรค์ถึงส่แี ยกไฟแดงคำปิง ประมาณ 1 กิโลเมตร
* ระยะทางจากโรงเรียนเพชรพิทยาสรรค์ถึงทีว่ า่ การอำเภอบำเหน็จณรงค์ ประมาณ 8 กิโลเมตร
* ระยะทางจากโรงเรยี นเพชรพทิ ยาสรรค์ถึง สพท.ชย. 3 ประมาณ 24 กิโลเมตร
* ระยะทางจากโรงเรยี นเพชรพิทยาสรรค์ถงึ ศาลากลางจงั หวดั ชัยภูมิ ประมาณ 65 กิโลเมตร
10
ภาพทต่ี ้ังของโรงเรยี นเพชรพทิ ยาสรรค์
โรงเรียนเพชรพิทยาสรรค์
11
12
ส่วนท่ี 1 มาตรการรองรับการเปดิ ภาคเรยี น
การเตรียมการกอ่ นการเปิดเรียน โรงเรยี นเพชรพิทยาสรรค์มคี วามสำคัญอยา่ งมากเน่ืองจากมคี วาม
เกยี่ วขอ้ งกบั การปฏิบัตติ นของนักเรียน ครู บคุ ลากร และผเู้ กยี่ วขอ้ งทกุ คนในสถานศึกษา เพื่อป้องกันไม่ใหม้ ีการ
ติดเชอื้ โรคโควดิ (Covid-19) ตัดความเส่ยี ง สรา้ งภมู ิคุ้มกนั และสร้างความปลอดภัยแก่ทุกคน สำนกั งานคณะกรรมการ
การศึกษาข้นั พ้ืนฐาน จึงกำหนดให้มแี นวปฏบิ ตั ิการเตรยี มการก่อนเปิดภาคเรียน ให้กบั สำนกั งานเขตพ้ืรนที่การศึกษา
และสถานศึกษาในสงั กดั ใช้เปน็ แนวทางในการปฏบิ ัติ ดังนี้
1. การประเมนิ ความพร้อมกอ่ นเปดิ เรียนกระทรวงสาธารณสขุ โดยกรมอนามัย ได้สรา้ งเคร่ืองมือ
สำหรับสถานศึกษาประเมนิ ตนเองในระบบThai Stop Covid Plus ตวั ยอ่ TSC+ เพ่ือให้สถานศกึ ษา
เตรียมความพรอ้ มก่อนเปิดเรียน ภาคเรยี นท่ี 1 ปีการศึกษา 2565 ลิงกร์ ะบบ
https://stopcovid.anamai.moph.go.th/th/school แบบประเมนิ ตนเองดังกล่าว
ประกอบด้วย 6 มติ ิ 20 ข้อ สถานศึกษาจะต้องผ่านการประเมินท้ัง 20 ข้อ
กรอบการประเมิน Thai Stop Covid Plus
มิตทิ ี่ 1 ความปลอดภัยจากการลดการแพรเ่ ชือ้ โรค
1. มีการจัดเว้นระยะหา่ ง อยา่ งน้อย 1-2 เมตร เชน่ ทนี่ ัง่ ในหอ้ งเรยี น ที่นัง่ ใน โรงอาหาร ที่นั่งพัก จุดยนื รบั -ส่ง
ส่ิงของ/อาหาร พร้อมติดสัญลกั ษณ์แสดง ระยะห่างอย่างชัดเจน หรือไม่
13
2. มีมาตรการให้นักเรยี น ครู บุคลากร และผู้เข้ามาตดิ ต่อในสถานศกึ ษา ต้องสวมหน้ากากอนามัย 100%
ตลอดเวลาท่ีอยู่ในสถานศึกษา หรือไม่
3.มีจดุ ลา้ งมือดว้ ยสบู่และนำ้ หรอื จดั วางเจลแอลกอฮอลส์ ำหรับใช้ทำความ สะอาดมือ อยา่ งเพียงพอและใช้
งานไดส้ ะดวก หรือไม่
4.มีมาตรการคดั กรองวดั อุณหภมู ิใหก้ ับนกั เรยี น ครู บุคลากร และผูเ้ ขา้ มา ตดิ ตอ่ ทุกคน ก่อนเขา้ สถานศึกษา
หรือไม่
5. มีมาตรการให้ลดการทำกจิ กรรมรวมกล่มุ คนจำนวนมาก และหลีกเล่ยี ง การเข้าไปในพื้นทท่ี ี่มคี นจำนวนมาก
หรอื พ้นื ทเี่ ส่ยี งท่ีมีการแพร่ระบาดของ โรค หรือไม่
6. มกี ารทำความสะอาดหอ้ งเรยี น ห้องเรียนรว่ ม ห้องปฏบิ ัติการ เชน่ หอ้ ง คอมพวิ เตอร์ หอ้ งดนตรี อุปกรณ์
กีฬา และอุปกรณ์ท่ีใชใ้ นการเรยี นการ สอน และพืน้ ผิวสมั ผสั รว่ ม เช่น ราวบันได ลูกบิดมอื จบั ประตู โตะ๊ เก้าอ้ี ทุกวัน
หรือไม่
7. มมี าตรการสง่ เสรมิ ให้กินอาหารปรงุ สกุ ใหมร่ ้อน กินอาหารด้วยการใชช้ อ้ น ส่วนตวั ทกุ ครั้ง งดการกนิ อาหาร
ร่วมกัน และจัดใหบ้ ริการอาหารตามหลกั สขุ าภบิ าลและหลกั โภชนาการ หรอื ไม่
8. มกี ารจัดระบบใหน้ ักเรยี น ครู บุคลากร และผเู้ ข้ามาติดต่อในสถานศึกษา ทกุ คน ลงทะเบยี นตามท่รี ฐั
กำหนดดว้ ย app หรือลงทะเบียนบนั ทกึ การ เขา้ -ออกอย่างชดั เจน หรือไม่
9. มีการจดั การดา้ นอนามัยส่งิ แวดลอ้ มตามมาตรการปอ้ งกันโรคโควิด 19 ใน สถานศกึ ษา ได้แก่ การระบาย
อากาศภายในอาคาร คุณภาพนำ้ บรโิ ภค อุปโภค การทำความสะอาด และการจดั การขยะ เป็นไปตามมาตรฐาน และ
หลักการท่ีถูกต้อง หรอื ไม่
10. มมี าตรการส่งเสริมให้ให้นกั เรยี น ครู และบุคลากร รู้จัก หม่นั สงั เกต อาการเส่ียงจากโรควิด 19 เช่น ไข้ ไอ
น้ำมูก เจ็บคอ คอแห้ง อ่อนเพลีย หายใจลำบาก หายใจเร็ว เจบ็ แนน่ หนา้ อก เสียการดมกลิ่น ล้นิ ไมร่ ับรส ตาแดง มีผน่ื
ท้องเสยี และประเมนิ ความเส่ียงของตนเองเปน็ ประจำ ผา่ น Thai save Thai (TST) หรือแบบประเมนิ คัดกรองความ
เส่ยี งอน่ื ตามที่ กำหนด หรือไม่
11. มมี าตรการสง่ เสริมใหน้ กั เรยี น อายุ 5-11 ปี อายุ 12-17 ปี นักศึกษา ครู บคุ ลากร และผปู้ กครอง เข้าถงึ
การฉดี วคั ซีนป้องกันโควิด-19 ตาม แนวทางทรี่ ัฐกำหนด หรอื ไม่
12. มีห้องพยาบาลหรือมีพ้ืนท่เี ป็นสัดสว่ นสำหรบั สงั เกตอาการผมู้ อี าการเสี่ยง หรอื จดั ให้มสี ถานที่แยกกักตัวใน
โรงเรียน (School Isolation) ตามบริบท อยา่ งเหมาะสม หรอื ไม่
มิตทิ ่ี 2 การเรยี นรู้
13. มกี ารจัดการเรียนการสอนเกี่ยวกับโรคและการป้องกันการแพรร่ ะบาด ของโรคโควิด 19 สอดคลอ้ งตาม
ชว่ งวยั ของผเู้ รียน หรอื ไม่
14
14. มีการสือ่ สาร ประชาสมั พันธ์ ถา่ ยทอดให้ความร้กู ารปฏิบตั ิตนเพ่ือ สุขอนามัยปลอดภัยจากโรคโควิด 19
ตามมาตรการป้องกนั การติดเช้อื โรค โควดิ ขนั้ สูงสุด (Universal Prevention) ตลอดจนแนะนำนกั เรียน ครู และ
บุคลากรสามารถสบื ค้นข้อมลู ทีเ่ กย่ี วกับโรคโควิด 19 จากแหลง่ ข้อมลู ทเ่ี ช่ือถือได้หรือไม่
มิติที่ 3 การครอบคลุมถึงเดก็ ดอ้ ยโอกาส
15. มกี ารสนบั สนุนอุปกรณข์ องใช้สขุ อนามยั สว่ นบคุ คลในการป้องกันการแพร่ ระบาดของโรคโควดิ 19
สำหรับนักเรียนดอ้ ยโอกาสหรือกลุ่มเปราะบาง หรือไม่
มิตทิ ี่ 4 สวัสดิภาพและการคุ้มครอง
16. มแี ผนเผชญิ เหตแุ นวปฏิบตั ิรองรับกรณมี ผี ูต้ ิดเช้อื ในสถานศึกษาหรือใน ชมุ ชน และมีการซกั ซ้อม หรือไม่
17. มกี ารสอ่ื สารประชาสัมพันธข์ อ้ มูลข่าวสารการติดเช้อื และการปฏิบตั ติ น อย่างเหมาะสม เพื่อลดการรังเกียจ
และการตตี ราทางสงั คม (Social stigma) ตอ่ ผตู้ ดิ เช้อื โควดิ -19 หรอื ผูส้ ัมผสั เส่ียงสงู หรือไม่
มิตทิ ่ี 5 นโยบาย
18. มนี โยบายเปน็ ลายลกั ษณ์เน้นการปฏบิ ตั ิตามมาตรการสขุ อนามัยส่วนบคุ คล 6 มาตรการหลกั (DMHT-RC)
6 มาตรการเสริม (SSET-CQ) และ 7 มาตรการเขม้ และมีการสือ่ สารประชาสมั พันธ์ในสถานศึกษา ให้ นักเรียน ครู
บคุ ลากร ผ้ปู กครอง และชมุ ชนรบั ทราบ และถือปฏบิ ตั ิ อย่าง ท่วั ถึง หรือไม่
19. มนี โยบายการควบคมุ ดูแลการเดนิ ทางจากบา้ นไป-กลับสถานศึกษา (Seal Route) อยา่ งปลอดภยั เชน่ รถ
รบั -ส่งนกั เรยี น รถสว่ นบคุ คคล รถโดยสาร ประจำทาง รถยนตส์ าธารณะ หรอื ไม่
มติ ิที่ 6 การบรหิ ารการเงิน
20. มีการจัดสรรงบประมาณหรอื แสวงหางบประมาณจากภายนอกสำหรบั การดำเนินการป้องกนั การแพร่
ระบาดของโรคโควดิ -19 ในสถานศกึ ษา หรอื ไม่
การเตรียมการก่อนเปิดภาคเรยี น
ประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เร่ือง หลกั เกณฑ์การเปดิ โรงเรียนหรอื สถาบันการศึกษาตาม
ข้อกำหนดตามความในมาตรา 9 แห่งพระราชกำหนดการบริหารราชการในสถานการณ์ฉุกเฉนิ พ.ศ.2548
(ฉบบั ที่ 32)ลงวนั ท่ี 20 กันยายน 2564 กำหนดมาตรการ Sandbox : Safety Zone in School
เพ่ือใหส้ ถานศึกษานำไปใช้ในการการปฏบิ ตั ิ โดยจำแนกประเภทของสถานศึกษา ดังนี้
2.2 มาตรการ Sandbox : Safety Zone in School ประเภทไป-กลบั
มีหลักเกณฑท์ ต่ี ้องปฏบิ ัติอย่างเครง่ ครดั 4 องคป์ ระกอบ ดังน้ี
1. องคป์ ระกอบด้านกายภาพ ลกั ษณะอาคารและพ้ืนที่โดยรอบอาคารของโรงเรียนหรือ
สถาบันการศึกษาประเภทไป-กลบั ท่มี คี วามพร้อมและผ่านเกณฑ์การประเมิน
15
1.1 พ้ืนท/ี่ อาคารสนบั สนุนการบริการ
1.2 พ้ืนท/ี่ อาคารเพอ่ื จดั การเรยี นการสอน
โดยจัดอาคารและพื้นท่ีโดยรอบให้เปน็ พืน้ ทป่ี ฏบิ ัติงานทปี่ ลอดภัย และมีพ้ืนท่ีทเ่ี ปน็ Covid free Zone
2. องคป์ ระกอบดา้ นการมีสว่ นรว่ ม ตอ้ งเปน็ ไปตามความสมัครใจของทุกฝ่าย โดยโรงเรียนหรอื
สถานศึกษาที่ประสงค์จะดำเนนิ การในรปู แบบ Sandbox: Safety Zone in School ตอ้ งจดั ใหม้ ีการ ประชมุ หารือ
ร่วมกันของคณะกรรมการสถานศึกษาขนั้ พืน้ ฐาน ครู ผูป้ กครอง ผูน้ ำชมุ ชน และมีมตใิ ห้ ความเห็นชอบ
รว่ มกนั ในการจดั พน้ื ที่การเรยี นการสอนในรูปแบบ Sandbox: Safety Zone in School ตลอดภาคการศึกษา
ก่อนนำเสนอโครงการผา่ นตน้ สงั กดั ในพื้นที่ แลว้ ขอความเห็นชอบจาก คณะกรรมการโรคตดิ ต่อกรุงเทพมหานคร
หรือคณะกรรมการโรคติดต่อจังหวดั
3. องคป์ ระกอบดา้ นการประเมินความพร้อมสู่การปฏิบตั ิ โรงเรียนหรอื สถานศึกษาตอ้ ง
เตรยี มการประเมนิ ความพร้อม ดงั น้ี
3.1 โรงเรียน หรือสถานศกึ ษา ตอ้ งดำเนินการ
1) ต้องผ่านการประเมนิ ความพร้อมผ่าน TSC+ และรายงานการติดตามการประเมินผล ผา่ น MOE Covid
2) ต้องจัดใหม้ ีสถานทีแ่ ยกกักตวั ในโรงเรียน (School Isolation) สำหรับรองรบั การดูแล
รกั ษาเบ้ืองต้นกรณนี กั เรียน ครู หรอื บคุ ลากรในสถานศึกษามกี ารตดิ เชอ้ื โควติ ๑๙ หรือผลตรวจ ATK เป็นบวก
รวมถึงมีแผนผชิญเหตุและมคี วามรว่ มมอื กับสถานพยาบาลเครือขา่ ยในพ้นื ทท่ี ดี่ แู ลอยา่ งใกลช้ ดิ
3) ต้องควบคุมดูแลการเดินทางระหว่างบา้ นกับโรงเรียนอย่างเขม้ ข้น โดยหลกี เสย่ี งการ เขา้ ไปสัมผัสใน
พ้ืนทตี่ า่ งๆ ตลอดเส้นทางการเดินทาง
4) ต้องจดั พืน้ ที่ หรือบริเวณให้เป็นจดุ คดั กรอง (Screening Zone) ท่ี เหมาะสมจดุ รับส่ง ส่งิ ของจุดรบั
- ส่งอาหาร หรอื จดุ เส่ียงอืน่ เป็นการจำแนกนักเรียน ครู บุคลากร ผู้ปกครองผมู้ าติดต่อท่ีเขา้ มาในโรงเรยี นต้อง
มรี ะบบและแผนรับการติดตามประเมนิ ความพร้อมโดยทีมตรวจราชการบรู ณาการ รว่ มกันระหวา่ งกระทรวงศึกษาธิการ
และกระทรวงสาธารณสขุ ท้ังชว่ งกอ่ นและระหวา่ งดำเนนิ การ
3.2 นักเรียน ครู และบุคลากร ต้องปฏบิ ตั ิ
1) ครู และบุคลากร ต้องไดร้ ับการฉีดวคั ชีนครบโดส ต้ังแต่ร้อยละ ๘๕ เปน็ ต้นไป สว่ นนกั เรยี น และผู้ปกครอง
ควรได้รบั วคั ช่ืนตามมาตรการของกระทรวงศกึ ษาธกิ าร และกระทรวงสาธารณสุข โดยเฉพาะสถานศึกษาท่ีอยใู่ น
พนื้ ทค่ี วบคุมสงู สุด (พืน้ ที่สแี ดง) และพ้นื ท่ีควบคุมสูงสดุ และเข้มงวด (พ้นื ท่ี สแี ดงเขม้ )
16
2) นักเรียน ครู และบุคลากรในสถานศึกษาท่ีอยู่ในพื้นที่ควบคุมสงู สุด (พ้นื ทีส่ แี ดง) และพ้ืนที่
ควบคมุ สงู สุดและเขม้ งวด(พ้ืนท่ีสีแดงเข้ม)ทุกคนต้องตรวจคัดกรอง ATK ในวนั แรกของการเปดิ เรียนของ สถานศกึ ษา
3) นักเรียน ครู และบคุ ลากรในสถานศกึ ษา มกี ารทำกจิ กรรมร่วมกันในรูปแบบ Small Bubble
และหลกี เลยี่ งการทำกิจกรรมขา้ มกล่มุ กัน โดยเฉพาะพ้ืนท่ีควบคุมสงู สุด (พ้นื ที่สีแดง) และพื้นที่ควบคมุ สงู สดุ
และเข้มงวด (พ้ืนที่สแี ดงเข้ม)
4. องคป์ ระกอบด้านการดำเนินการของโรงเรียน หรือสถานศกึ ษา ระหวา่ งภาคการศึกษาต้อง
ดำเนนิ การดังน้ี
4.1 สามารถจัดการเรียนการสอนได้ ทงั้ รูปแบบ Onsite หรอื Online หรอื แบบผสมผสาน (Hybrid)
4.2 นักเรียน ครู และบุคลากรท่ีอยู่ในพืน้ ท่ี Safety Zone ตอ้ งประเมนิ Thai Save Thai
(TST)อยา่ งต่อเนื่องตามเกณฑ์จำแนกตามเขตพื้นท่ีการแพร่ระบาด
4.3 ใหม้ ีการสุ่มตรวจ ATK นกั เรียน ครู และบุคลากรที่เก่ยี วขอ้ งกบั สถานศึกษา เพอื่ เฝา้ ระวัง
ตามเกณฑจ์ ำแนกตามเขตพน้ื ที่การแพรร่ ะบาด
4.4 ปฏบิ ตั ติ ามมาตรการสขุ อนามยั สว่ นบุคคลอย่างเข้มข้น ไดแ้ ก่ ๖ มาตรการหลกั (DMHT-RC) และ ๖
มาตรการเสริม (SSET-CQ)
4.5 นกั เรยี น ครู และบุคลากร ทีเ่ กย่ี วขอ้ งกบั สถานศึกษา เขียนบนั ทึก Timeline กิจกรรม
ประจำวนั และการเดินทางเขา้ ไปในสถานทีต่ า่ ง ๆ แต่ละวันอยา่ งสมำ่ เสมอ
4.6 ปฏบิ ตั ติ ามแนวทาง 7 มาตรการเข้มสำหรบั สถาศึกษาประเภทไป-กลบั อยา่ งเครง่ ครัด
1) สถานศึกษาประเมนิ ความพรอ้ มเปิดเรียนผ่าน TSC+ และรายงานการติดตามการ ประเมนิ ผลผ่าน
MOE Covid โดยถือปฏบิ ัติอยา่ งเข้มข้น ตอ่ เน่ือง
2) ทำกิจกรรมรว่ มกนั ในรปู แบบ Small Bubble หลีกเลยี่ งการทำกจิ กรรมข้ามกลุ่มกนั
และจดั นักเรียนในหอ้ งเรียนขนาดปกติ (6 x 8 เมตร) ไม่เกิน 25 คน หรือจดั ให้เว้นระยะห่างระหว่าง
นักเรยี นในห้องเรยี นไมน่ ้อยกว่า 1.5 เมตร พจิ ารณาตามความเหมาะสมโดยคณะกรรมการโรคตดิ ตอ่ จงั หวดั
3) จัดระบบการให้บริการอาหารสำหรบั นักเรยี น ครู และบุคลากรในสถานศึกษา ตามหลัก
มาตรฐานสขุ าภบิ าลอาหารและหลกั โภชนาการ อาทิเช่น การจัดซ้อื จัดหาวัตถุดบิ จากแหล่งอาหารการ
ปรุงประกอบอาหาร หรอื การส่ังซอ้ื อาหารตามระบบนำส่งอาหาร (Delivery) ทีถ่ ูกสขุ ลักษณะ และต้อง
มรี ะบบตรวจสอบทางโภชนาการก่อนนำมาบรโิ ภค เปน็ ต้น
17
4) จัดการด้านอนามยั สงิ่ แวดล้อมใหไ้ ด้ตามแนวปฏิบตั ิตา้ นอนามยั ส่ิงแวดล้อมในการ ปอ้ งกนั โรค
โควิด19 ในสถานศึกษา ได้แก่ กkรระบายอากาศภายในอาคาร การทำความสะอาด คุณภาพนำ้ สำหรับอุปโภคบริโภค
และการจัดการขยะ
5) จดั ให้มีสถานทแ่ี ยกกักตวั ในโรงเรยี น (School Isolation) แผนเผชญิ เหตสุ ำหรบั รองรับ
การดแู ลรกั ษาเบื้องต้นกรณีนักเรียน ครู หรอื บุคลากรในสถานศึกษามีการตดิ เชื้อโควิด๑๙ หรือผลตรวจ ATK เปน็ บวก
โดยมกี ารชักซ้อมอยา่ งเครง่ ครัด
6) ควบคุมดูแลการเดนิ ทางเข้าและออกจากสถานศกึ ษา (Seal Route) อยา่ งเขม้ ข้นโดย
หลกี เลี่ยงการเขา้ ไปสัมผัสในพนื้ ท่ีต่างๆ ตลอดเส้นทางการเดนิ ทางจากบ้านไป-กลับโรงเรียน ทง้ั กรณีรถ รับ-สง่ นักเรียน
รถส่วนบคุ คล และพาหนะโดยสารสาธารณะ
7) ให้จัดใหม้ ี School Pass สำหรบั นักเรียน ครู และบุคลากรในสถานศึกษา ซ่ึง ประกอบด้วยข้อมลู
ผลการประเมิน TST ผลตรวจ ATK ภายใน 7-14 วนั และประวตั ิการรับวคั ซนี ตามมาตรการของกระทรวงศึกษาธกิ าร
และกระทรวงสาธารณสุข พิจารณาตามความเหมาะสมโดย คณะกรรมการโรคตดิ ต่อจังหวดั เพอ่ื ให้เกิดความปลอดภัย
เม่อื เข้า-ออกโรงเรยี น โดยเฉพาะพน้ื ท่ีควบคุม สงู สดุ (พืน้ ที่สแี ดง) และพ้ืนทคี่ วบคุมสูงสุดและเข้มงวด (พ้นื ท่ีสีแดงเข้ม)
4.7 กรณีสถานศึกษาตั้งอยู่ในพ้ืนท่ีควบคุมสงู สดุ (พื้นท่ีสีแดง) และพนื้ ท่ีควบคุมสูงสุดและเข้มงวด
(พื้นทส่ี ีแดงเขม้ ) กำหนดใหส้ ถานประกอบกิจการ กิจกรรม ท่อี ยู่รอบร้ัวสถานศึกษาให้ผา่ นการประเมิน Thai Stop
Covid Plus (TSC+) Covid Free Setting
18
สว่ นท่ี 2 ขอ้ กำหนดของ 6 มาตรการหลกั (DMHT-RC) 6 มาตรการเสรมิ SSET-CQ
7 มาตรการเข้มงวด
แนวปฏิบตั กิ ารเตรียมการ ก่อนเปดิ ภาคเรียน
1. STOP= ประเมนิ ตนเองในระบบ Thai Stop Covid Plus (TSC+) ผา่ นระดบั สเี ขยี ว >> สามารถยื่น
ขออนญุ าตเปิดเรียนแบบ onsite
2. Covid free, I got vaccinated =ครูและบคุ ลากรทางการศึกษา ต้องได้รับการฉดี วัคซีนครบโดส
รอ้ ยละ 85
3. นกั เรียนและผู้ปกครองต้องไดร้ ับการฉีดวคั ซีนให้ไดม้ ากท่ีสุด
4. สถานศกึ ษานำผลการประเมนิ ตนเองเสนอคณะกรรมการสถานศกึ ษาข้นั พื้นฐานให้ความเหน็ ชอบ
และเสนอต่อคณะกรรมการโรคตดิ ต่อจังหวัด เพ่ือพจิ ารณาอนุมตั ใิ หเ้ ปิดเรยี นได้
5. Certified DMHT-RC, SSET-CQ = คณะกรรมการโรคติดต่อจังหวัดอนุมัติให้เปดิ เรยี นได้
สถานศึกษาตอ้ งปฏิบตั ติ าม 6 มาตรการหลกั 6 มาตรการเสริม และ 7 มาตรการเข้มงวด อยา่ งเคร่งครัด
6. สถานศกึ ษารายงานผลการเตรียมความพร้อมก่อนเปิดภาคเรียนตอ่ ผูบ้ ังคบั บัญชาตามลำดับชั้น
สถานศึกษาตอ้ งปฏิบัตติ ามมาตรการระหว่างเปิดเรยี นตามที่ กระทรวงสาธารณสุขและ
กระทรวงศกึ ษาธิการกำหนดใหค้ รอบคลุมทกุ มติ อิ ย่างเครง่ ครัด เพ่ือป้องกันการแพรร่ ะบาดของโรคติดเชอื้ ไวรสั
โคโรนา 2019 (Covid-19) โดยคำนงึ ถึงความปลอดภยั ของนักเรียน ครู และบุคลากรใน สถานศึกษาสูงสุด
สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาชั้นพ้นื ฐาน จึงไดด้ ำเนนิ การจดั ทำและรวบรวมแนว ปฏิบตั ริ ะหวา่ งเปิดเรยี นเป็น
2 กรณี ดงั น้ี
19
แนวปฏบิ ตั ิระหว่างเปดิ ภาคเรียน
1. กรณเี ปดิ เรยี นได้ตามปกติ (Onsite) สถานศกึ ษาต้องปฏิบตั ิตาม
-6 มาตรการหลัก 6 มาตรการเสริม และ 7 มาตรการเขม้ งวด
- การจดั การอนามยั สิ่งแวดลอ้ ม
-การจัดการอาคารสถานท่ีในการจัดกิจกรรมท่ีมีคนจำนวนมาก
6 มาตรการหลัก DMHT-RC 6 มาตรการเสรมิ SSET-CQ 7 มาตรการเขม้ งวด
1)Distancing เว้นระยะห่าง 1)Self care ดแู ลตนเอง 1)สถานศึกษาผ่านการประเมิน TSC+
2)Mask Wearing สวมหน้ากาก 2)Spoon ใช้ชอ้ นกลางสว่ นตัว 2)กิจกรรมแบบ Small Bubble
3)Hand Washing ล้างมือ 3)Eating กนิ อาหารปรุงสุกใหม่ 3).ให้บรกิ ารอาหารตามหลักสขุ าภบิ าลอาหาร
4)Testing คัดกรองวัดไข้ 4)Thai Chana App ไทยชนะ 4)จดั การด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม
5)Reducing ลดการแออดั 5)Check สำรวจตรวจสอบ 5)แยกกกั ตวั ในสถานศึกษา(School Isolation)
6)Cleaning ทำความสะอาด 6)Quarantine กกั กันตนเอง 6)ควบคมุ ดูแลการเดินทางกรณีมกี ารเข้าและออก
7)ให้มี School Pass สำหรับ
นกั เรยี นครู และบุคลลากร
20
21
22
23
ส่วนท่ี 3 หลักเกณฑพ์ ิจารณาเตรียมการใชอ้ าคาร หรือสถานที่เพอื่ จัดการเรยี นการสอน
หลักปฏบิ ัตใิ นการป้องกนั การแพรร่ ะบาดของโรคโควิด 19 ในสถานศกึ ษา
1. คัดกรอง Screening ผู้ท่เี ข้ามาในสถานศึกษาทุกคนต้องไดร้ ับการคัดกรองวัดอณุ หภูมิรา่ งกาย
2. ส่วนหน้ากาก Mask ทกุ คน ตอ้ งสวมหน้ากากผา้ หนา้ กากอนามยั ตลอดเวลาทอ่ี ยู่ในสถานศกึ ษา
3. ลา้ งมือ Hand Washing ลา้ งมือบ่อยๆดว้ ยสบู่และน้ำนานอยา่ งน้อย 20 วนิ าทีหรือใชเ้ จลแอลกอฮอล์
หรอื เลยี่ งการสมั ผัสบรเิ วณจุดเสย่ี ง เชน่ ราวบันได ลูกบิดประตู เป็นต้น รวมทั้งไม่ใชม้ ือสมั ผัสใบหนา้ ตาปากจมูก
โดยไม่จำเปน็
4. เวน้ ระยะห่าง Social Distancing เวน้ ระยะหา่ งระหว่างบคุ คล อย่างนอ้ ย 1-2 เมตร รวมถึงการ
จดั เว้นระยะหา่ งของสถานท่ี
5. ทำความสะอาด Cleaning เปิดประตหู น้าต่างให้อากาศถ่ายเททำความสะอาดหอ้ งเรียนและบรเิ วณ
ตา่ งๆโดยเชค็ ทำความสะอาดพ้นื ผิวสมั ผสั ของโตะ๊ เกา้ อแี้ ละวัสดอุ ปุ กรณ์ก่อนเขา้ เรยี นชว่ งพักเทย่ี งและหลังเลิกเรยี น
ทกุ วันรวมถงึ จัดให้มถี งั ขยะมูลฝอยแบบมีฝาปิดและรวบรวมขยะออกจากห้องเรียนเพื่อนำไปกำจดั ทุกวัน
6. ลดแออดั Leading ลดระยะเวลาการทำกจิ กรรมใหส้ ้ันลงเทา่ ทจ่ี ำเป็นหรือเหลอื เวลาทำกิจกรรมและ
หลีกเล่ยี งการทำกิจกรรมรวมตวั กันเปน็ กล่มุ ลดแออัด
เพอ่ื ใหแ้ นวปฏิบัตสิ ำหรบั สถานศึกษาในการป้องกันและแพร่ระบาดของโรคโควิด 19 เกิดประโยชน์และมี
ผลกระทบในทางท่ีดีต่อบุคลากรท่ีเกีย่ วข้อง ได้แก่ ผบู้ ริหารจดั การสถานศึกษาดูแลนักเรียน ผู้ปกครองนักเรียน
และแม่ครัว ผ้ปู ฏิบัตงิ านทำความสะอาดใหม้ แี นวปฏบิ ตั สิ ำหรบั บุคลากรของสถานศึกษาสำหรบั ใชเ้ ปน็ แนวทางใน
การปฏบิ ัตติ น ดังน้ี
แนวปฏบิ ตั ิสำหรับผบู้ ริหารสถานศกึ ษา
1. ประกาศนโยบายและแนวปฏบิ ตั กิ ารปอ้ งกนั การแพร่ระบาดของโรคโควดิ 19 ในสถานศกึ ษา
2. จัดตัง้ คณะทำงานดำเนินการควบคมุ ดูแลและป้องกันการแพร่ระบาดของโรคโควดิ 19 ประกอบด้วย ครู
นักเรียน ผู้ปกครอง เจา้ หน้าทสี่ าธารณสุข ทอ้ งถ่ิน ชุมชน และผ้เู กย่ี วข้องพร้อมบทบาทหนา้ ท่ี
3. ควรปรับปรุงปฏิบตั ติ ามแผนฉุกเฉินของสถานศกึ ษาในภาวะทม่ี ีการระบาดของโรคติดเช้อื ation
Infection
4. สื่อสารประชาสมั พันธก์ ารปอ้ งกนั โรค covid-19 เกีย่ วกับนโยบายมาตรการแนวปฏบิ ัติและการจดั การ
เรียนการสอนใหแ้ ก่ ครู นักเรยี น ผูป้ กครอง และคณะกรรมการสถานศึกษาผ่านช่องทางสื่อท่เี หมาะสม และ
ตดิ ตามข้อมูลข่าวสารท่เี กีย่ วข้องกบั โรค covid-19 จากแหล่งข้อมูลท่ีเชอื่ ถือได้
5. สื่อสารทำความเข้าใจเพื่อลดการรงั เกียจและการตตี าทางสงั คมกรณีศกึ ษานกั เรยี นและผปู้ กครองตดิ เช้ือ
โรคโควิด 19
24
6. มีมาตรการคัดกรองสุขภาพทกุ คนบริเวณจดุ แรกเขา้ ไปในสถานศึกษาใหแ้ กน่ กั เรียนครบู ุคลากรและผู้มา
ติดตอ่ และจดั ให้มีพืน้ ที่ทีแ่ ยกอุปกรณ์ปอ้ งกัน เช่น หน้ากากผา้ หรือหนา้ กากอนามยั และเพยี งพอ รวมถึงเพิ่มชอ่ ง
ทางการส่ือสารระหวา่ งครนู ักเรียนและเจา้ หน้าที่สาธารณสุขในกรณีท่ีพบนักเรยี นกลุ่มเสี่ยงและสงสยั
7. ควรพิจารณาการจัดให้นกั เรียนสามารถเข้าถงึ การเรยี นการสอนทีม่ ีคณุ ภาพเหมาะสมตามบริบทไดอ้ ย่าง
ตอ่ เนอ่ื ง ตรวจสอบตดิ ตามกรณีนกั เรียนขาดเรียน สถานศกึ ษาจดั ให้มกี ารเรียนทางไกลส่อื ออนไลนก์ ารติดตอ่ ทาง
โทรศัพท์ Social Media โดยติดตามเปน็ รายวนั หรือสปั ดาห์
8. กรณนี ักเรียน ครู บุคลากรหรือผปู้ กครองอย่ใู นกล่มุ เสย่ี งหรือผ้ปู ่วยยนื ยันเข้ามาในสถานศึกษาให้รบี
แจ้งเจา้ หน้าที่สาธารณสขุ ในพื้นท่เี พื่อดำเนินการสอบสวน และพิจารณาปดิ สถานศกึ ษาตามแนวของกระทรวง
สาธารณสุข
9. มมี าตรการใหน้ ักเรยี นไดร้ ับอาหารกลางวันและอาหารเสรมิ นมตามสทิ ธทิ ่ีควรไดร้ ับกรณีพบอยใู่ นกลุ่ม
เสย่ี งหรือกกั ตวั
10. ควบคุม กำกับ ตดิ ตาม และตรวจสอบการดำเนินงานตามมาตรการการป้องกนั การแพร่ระบาดของ
โรคโควิด 19 ในสถานศึกษาอยา่ งเคร่งครดั และต่อเนื่อง
แนวทางปฏิบัติสำหรับครู ผู้ดแู ลนักเรียน
1. ตดิ ตามข่าวสารสถานการณก์ ารระบาดของโรคพืน้ ทีเ่ สยี่ ง ให้คำแนะนำการป้องกันตนเองและลดความ
เส่ยี งจากการแพรก่ ระจายของเช้อื โรค covid-19 จากแหล่งข้อมลู ที่เชอ่ื ถือได้
2. สงั เกตอาการปว่ ยของตนเอง หากมีอาการไข้ ไอ มนี ำ้ มูก เจบ็ คอ หายใจลำบาก เหน่ือยหอบ ไมไ่ ด้
กล่นิ ไม่รู้รส ให้หยดุ ปฏบิ ัตงิ าน และรบี ไปพบแพทยท์ นั ที กรณมี คี นในครอบครวั ป่วยดว้ ยโรคโควิด 19 คอื กลับ
จากพน้ื ท่ีเสยี่ งและอยู่ในชว่ งกักตวั ใหป้ ฏบิ ัตติ ามคำแนะนำของเจ้าหน้าทีส่ าธารณสุขอยา่ งเคร่งครัด
3. แจ้งผู้ปกครองและนักเรยี นใหน้ ำของใชส้ ่วนตัวหรืออุปกรณป์ ้องกันมาใชเ้ ป็นของตนเองพร้อมใชเ้ ช่น
ช้อนส้อมแกว้ นำ้ แปรงสีฟนั ยาสีฟัน ผา้ เช็ดหนา้ หน้ากากผา้ หนา้ กากอนามยั เป็นตน้
4. สอ่ื สารความรู้ คำแนะนำ หรือจัดหาส่ือประชาสัมพนั ธใ์ นการปอ้ งกนั และลดความเสี่ยงจากการแพร่
ระบาดโรค covid-19 ให้แกน่ ักเรยี น เชน่ สอนวธิ ีล้างมอื ที่ถูกต้อง สวมหนา้ กากอนามัยหรือหน้ากากผา้ ทำ
คำแนะนำการปฏิบตั ิตัว การยกเวน้ ระยะห่างทางสงั คม การทำความสะอาดหรือเรื่องการทำกจิ กรรมรว่ มกัน
จำนวนมากเพ่ือลดความแออัด
5. ทำความสะอาดส่อื การเรยี นการสอนหรอื อปุ กรณข์ องใช้รว่ มท่ีเป็นจุดสัมผสั เสยี งทกุ ครั้งหลงั ใชง้ าน
6. ควบคมุ ดแู ลจัดท่ีน่ังในห้องเรยี นระหวา่ งโต๊ะเรียนทน่ี ่ังในโรงอาหารและจดั เว้นระยะห่างระหวา่ งบคุ คล
อย่างน้อย 1-2 เมตรโดยรวมเวลาพกั กนิ อาหารกลางวันและกำกบั ให้นักเรยี นสวมหนา้ กากผ้าหรือหนา้ กากอนามยั
ตลอดเวลาและล้างมอื บ่อยๆ
25
7. ตรวจสอบตำรวจตดิ ตามการมาเรยี นของนักเรยี นขาดเรียนถูกกักตัวหรอื อยู่ในกลุ่มเส่ยี งตอ่ การตดิ โรคโค
วดิ 19 และรายงานต่อผูบ้ รหิ ารสถานศึกษา
8. ทำการตรวจคัดกรองสุขภาพทุกคนท่ีเขา้ มาในสถานศึกษาในตอนเชา้ ทง้ั นักเรียน ครบู ุคลากร และผู้
มาตดิ ต่อ โดยใชเ้ คร่ืองวดั อุณหภมู ิร่างกาย พร้อมสังเกตอาการและสอบถามอาการของระบบทางเดนิ หายใจ เชน่
ไขม้ นี ้ำมูก เจบ็ คอ หายใจลำบาก เหนอื่ ยหอบ ไม่ไดก้ ลิ่น ไมร่ ู้รส โดยตดิ สญั ลกั ษณ์ สตกิ๊ เกอร์ หรือตราปม้ั
แสดงใหเ้ หน็ ชัดเจนว่าผา่ นการคัดกรองแล้ว
-กรณีพบนักเรียนหรือผมู้ ีอาการมีไข้รา่ งกายต้ังแต่ 37.5 องศาเซลเซียสข้ึนไปร่วมกับอาการระบบทางเดิน
หายใจอย่างใดอย่างหน่ึงจัดให้อยู่ในพื้นที่แยกสว่ นให้รีบแจ้งผ้ปู กครองมารบั และพาไปพบแพทย์ใหห้ ยุดพักท่บี ้าน
จนกวา่ จะหายเปน็ ปกติ พร้อมแจ้งเจ้าหนา้ ท่ีสาธารณสุขเพื่อประเมินสถานการณแ์ ละดำเนินการสอบสวนโรคและ
แจง้ ผ้บู รหิ ารเพอ่ื พจิ ารณาการเปิดสถานศกึ ษาตามมาตรการแนวทางของสาธารณสขุ
-บันทึกผลการคดั กรองและสง่ ต่อประวตั ิการปว่ ยตามแบบบันทึกการตรวจสุขภาพ
-จัดอุปกรณ์การลา้ งมือพร้อมใชง้ านอย่างเพยี งพอ เชน่ เจลแอลกอฮอล์ วางไวบ้ ริเวณทางเข้าสบ่ลู า้ งมือ
บริเวณอา่ งลา้ งมือ
9. กรณีครสู ังเกตพบนักเรียนท่มี ปี ัญหาพฤติกรรม เชน่ เด็กสมาธสิ นั้ ท่ีมคี วามวติ กกงั วลสงู อาจมีพฤติกรรม
ดูดนว้ิ หรอื กดั เล็บ ครสู ามารถตดิ ตามอาการและแนะนำเขา้ ข้อมลู ทส่ี ังเกตพบในฐานข้อมลู ด้านพฤติกรรม
อารมณส์ ังคมของนักเรียนหาข้อมูลเพื่อใหเ้ กิดการดแู ลช่วยเหลอื ร่วมกับผู้เช่ยี วชาญดา้ นสุขภาพติดต่อไป
10. วธิ ีการปรบั พฤติกรรมสำหรับนกั เรยี นที่ไม่รว่ มมือปฏิบัตติ ามมาตรการที่ครูกำหนดด้วยการแก้ปัญหา
การเรยี นรูใ้ หม่ให้ถูกต้องนั่นคือ สรา้ งพฤตกิ รรมที่พึงประสงคห์ รอื ลดพฤตกิ รรมที่ไมพ่ ึงประสงค์
11. ครูสื่อสารความรเู้ ก่ียวกับความเครยี ดว่าเปน็ ปฏิกิรยิ าปกตทิ เ่ี กิดขน้ึ ไดใ้ นภาวะวิกฤตท่ีมีการแพรร่ ะบาด
ของโรคโควติ 19 และนำขบวนการการจดั การความเครียดการฝกึ สตใิ หก้ ลมกลนื และเหมาะสมกบั นกั เรยี นแตล่ ะวัย
ร่วมกบั การฝึกทักษะชีวิตทเ่ี สริมสรา้ งความเข้มแข็งทางใจให้กบั นักเรยี นไดแ้ ก่ทักษะชีวติ ด้านอารมณส์ งั คมและ
ความคิด เปน็ ตน้
12. ผ้สู งั เกตอารมณ์ความเครียดของตวั ท่านเอง เนอ่ื งจากภาระหน้าทีด่ แู ลนักเรียนจำนวนมากและกำกับ
ให้ปฏบิ ัตติ ามมาตรการป้องกันการติดโรคโควิด 19 เป็นบทบาทสำคญั อาจจะสร้างความวิตกกงั วลทางจากการเฝ้า
ระวังนกั เรยี นและปอ้ งกนั ตนเองจากการสมั ผสั กบั เช้ือโรค ดงั น้ันเม่ือครูมีความเครียดจากสาเหตุต่างๆ มี
ข้อเสนอแนะ ดงั น้ี
1) ความสบั สนมาตรการของสถานศกึ ษาท่ีไม่กระจ่างชดั เจนแนะนำให้สอบถามกบั ผบู้ รหิ ารหรอื เพื่อน
ร่วมงานเพ่ือใหเ้ ขา้ ใจบทบาทหนา้ ท่แี ละปฏบิ ัติท่ีตรงกนั
26
2) ความวิตกกงั วลกลัวการติดเชอ้ื ในสถานศึกษาพดู คยุ ส่ือสารถึงความไม่สบายใจร้องขอส่ิงจำเป็นสำหรับ
การเรียนการสอนทีเ่ พยี งพอต่อการป้องกนั การเกิดโรค covid-19 เชน่ สถานท่ี ส่ือการสอน กระบวนการเรยี นรู้
การส่งงาน หรอื การตรวจการบ้าน เปน็ ต้น หากท่านเปน็ กลุ่มเสยี่ ง
มีโรคประจำตวั สามารถเขา้ ศูนย์แนวทางดแู ลบุคลากรของสถานศกึ ษา
3) จดั ให้มีการจดั การความเครยี ด การฝกึ สติเป็นกิจวตั รก่อนเรม่ิ การเรยี นการสอนเพ่ือลดความวติ กกงั วล
ต่อสถานการณท์ ่ีตงึ เครียดนี้
แนวปฏิบตั สิ ำหรบั นกั เรียน
1. ติดตามขอ้ มูลข่าวสารสถานการณก์ ารแพรร่ ะบาดของโรคโควิด 19 พืน้ ท่ีเสย่ี ง ศกึ ษาคำแนะนำการ
ป้องกันตนเองและลดความเสย่ี งจากการแพร่กระจายของโรคโควิด 19 จากแหลง่ ข้อมลู ท่เี ชื่อถือได้
2. สังเกตอาการปว่ ยของตนเอง หากมีไข้ ไอ มีน้ำมูก เจบ็ คอ หายใจลำบาก เหนอ่ื ยหอบ ไม่ได้กลิ่น
ไม่รรู้ ส รีบแจง้ ครูหรอื ผู้ปกครองให้พาไปพบแพทย์ กรณีมีคนในครอบครัวป่วยด้วยโรคโควิด 19 หรอื กลับจาก
พืน้ ทีเ่ ส่ยี งและอยู่ในช่วงกกั ตัว ใหป้ ฏิบตั ิตามคำแนะนำของเจา้ หน้าที่สาธารณสขุ อย่างเครง่ ครดั
3. มีและใช้ของใช้สว่ นตัว ไมใ่ ช้ร่วมกบั ผอู้ ื่น เชน่ ชอ้ น สอ้ ม แกว้ น้ำ แปรงสีฟัน ยาสฟี ัน ผา้ เชด็ หนา้
หน้ากากผ้าหรือหนา้ กากอนามัย และทำความสะอาดหรอื เกบ็ ใหเ้ รยี บร้อย ทุกครงั้ หลังใชง้ าน
4. กรณีนักเรยี นดื่มน้ำบรรจุขวด ควรแยกเฉพาะตนเอง และทำเคร่อื งหมายหรอื สญั ลักษณ์เฉพาะไม่ให้
ปะปนกับคนอื่น
5. หมนั่ ล้างมอื บ่อยๆ ดว้ ยวิธีล้างมอื 7 ขัน้ ตอน อยา่ งน้อย 20 วินาที กอ่ นกนิ อาหาร หลังใชส้ ้วม
หลีกเลี่ยงใช้มอื สัมผสั ใบหนา้ ตา ปาก จมูก โดยไมจ่ ำเป็น รวมถงึ สร้างสุขนสิ ัยท่ดี หี ลงั เล่นกบั เพ่ือนเม่ือกลบั มาถึง
บ้าน ตอ้ งรีบอาบนำ้ สระผม และเปล่ยี นเส้อื ผ้าใหม่ทันที
6. เว้นระยะห่างระหว่างบุคคล อย่างนอ้ ย 1-2 เมตร ในการทำกิจกรรมระหวา่ งเรยี น
ช่วงพกั และหลังเลกิ เรียน เช่น น่ังกนิ อาหาร เลน่ กับเพื่อน เขา้ แถวต่อคิว ระหว่างเดนิ ทางอยู่บนรถ
7. สวมหน้ากากอนามัยตลอดเวลาท่ีอยู่ในสถานศึกษา
8. หลกี เลีย่ งการไปในสถานที่ทแ่ี ออัดหรือแหล่งชุมชนทีเ่ สี่ยงต่อการตดิ โควิด 19
9. ดแู ลสขุ ภาพให้แข็งแรง ด้วยการกนิ อาหารปรุงสกุ รอ้ น สะอาด อาหารครบ 5 หมู่ และผกั ผลไม้
5 สี เสริมสร้างภมู คิ มุ้ กนั ควรเสรมิ อาหารเชา้ จากบ้าน หรือใหผ้ ปู้ กครองจัดเตรียมอาหารกลอ่ งกินทีโ่ รงเรียนแทน
รวมถงึ ออกกำลังกาย อย่างน้อย 60 นาที ทกุ วนั และนอนหลบั อยา่ งเพยี งพอ 9-11 ชวั่ โมงต่อวัน
10. กรณนี กั เรยี นขาดเรยี นหรือถูกกกั ตัว ควรติดตามความคืบหนา้ การเรยี นอย่างสมำ่ เสมอ ปรกึ ษาครู
เช่น การเรยี นการสอน สือ่ ออนไลน์ อ่านหนงั สือ ทบทวนบทเรียน และทำแบบฝึกหัดทบี่ า้ น
11. หลีกเลีย่ งการล้อเลยี นความผดิ ปกตหิ รืออาการไม่สบายของเพอ่ื น เนื่องจากอาจจะก่อให้เกิดความ
หวาดกลวั มากเกนิ ไปต่อการป่วยหรอื การติดโรคโควดิ 19 และเกดิ การแบง่ แยกกดี กันในหมู่นักเรียน
27
บทบาทหน้าท่ขี องนกั เรยี นแกนนำด้านสขุ ภาพ
นกั เรียนที่มีจิตอาสา เปน็ อาสาสมัครชว่ ยดแู ลสุขภพเพื่อนนักเรยี นด้วยกนั หรือดูแลรนุ่ น้องด้วย เช่น
สภานักเรียน เดก็ ไทยทำได้ อย.นอ้ ย. ยวุ อาสาสมัครสาธารณสขุ (ยุว อสม.)
1. ติดตามข้อมลู ขา่ วสารสถานการณก์ ารแพรร่ ะบาตของโรค พ้ืนท่เี สี่ยง คำแนะนำการป้องกนั ตนเองและ
ลดความเส่ียงจากการแพร่กระจายของโรคโควดิ 19 จากแหลง่ ข้อมูลท่เี ช่ือถือไต้
2. ชว่ ยครตู รวจคดั กรองวัดอุณหภูมริ ่างกายของนักเรียนทุกคนท่ีมาเรยี น ในตอนเช้า บริเวณทางเขา้
โดยมีครดู แู ลใหค้ ำแนะนำอยา่ งใกลช้ ิด เนน้ การจัดเว้นระยะหา่ งระหวา่ งบคุ คล อยา่ งน้อย 1 - 2 เมตร
3. ตรวจดูความเรยี บร้อยของนกั เรียนทุกคนท่ีมาเรยี น ตอ้ งสวมหน้ากากผ้าหรือหนา้ กากอนามัย
หากพบนักเรยี นไม่ไดส้ วม ให้แจ้งครู ผูร้ ับผดิ ชอบ เพื่อจัตหาหน้ากากผ้าหรือหนา้ กกอนามัยสำรองให้
4. เฝา้ ระวังสังเกตอาการของนักเรียน หากมีอาการไข้ ไอ มนี ้ำมกู เจบ็ คอ หายใจลำบาก เหนื่อยหอบ
ไมไ่ ด้กลน่ิ ไม่รรู้ ส ใหร้ ีบแจ้งครทู นั ที
5. จดั กิจกรรมส่ือสารให้ความรคู้ ำแนะนำการป้องกันและลดความเสีย่ งจากการแพร่กระจายโรคโควดิ 19
แกเ่ พ่ือนนกั เรียน เชน่ สอนวธิ ีการลา้ งมือที่ถูกต้อง การทำหน้ากากผา้ การสวมหนา้ กาก การถอดหน้ากากผ้า
กรณเี กบ็ ไวใ้ ช้ต่อ การทำความสะอาดหน้ากากผ้า การเว้นระยะหา่ งระหว่างบคุ คล จดั ทำปา้ ยแนะนำต่าง ๆ
6. ตรวจอปุ กรณข์ องใช้ส่วนตัวของเพ่อื นนักเรยี นและรนุ่ น้อง ใหพ้ ร้อมใชง้ าน เน้นไมใ่ ชร้ ่วมกับผอู้ ื่น
เชน่ จาน ซอ้ น สอ้ ม แกว้ นำ้ แปรงสีฟนั ยาสีฟนั ผ้าเช็ดหนา้ ผ้าเช็ดมือของตนเอง
7.จดั เวรทำความสะอาดห้องเรยี น ห้องเรียนร่วม และบรเิ วณจดุ สัมผัสเสีย่ งทุกวนั เช่น ลกู บิดประตู
กลอนประตู ราวบนั ได สนามเด็กล่น อุปกรณ์กีฬา เครอ่ื งดนตรี คอมพวิ เตอร์
8. เปน็ แบบอย่างทดี่ ีในการปฏบิ ัติเพอ่ื ป้องกนั โรคโควิด 19 ต้วยการสวมหน้ากากผ้าหรือหน้ากากอนามยั
ล้างมือบ่อยๆ กนิ อาหารใชจ้ าน ซ้อน ส้อม แกว้ น้ำของตนอง การเวน้ ะยะห่าง เปน็ ต้น โดยถอื ปฏิบัติเปน็ สุขนสิ ยั
กิจวตั รประจำวนั อย่างสม่ำเสมอ
แนวปฏบิ ตั สิ ำหรับผูป้ กครอง
1. ตดิ ตามข้อมูลข่าวสารสถานการณ์การแพรร่ ะบาดของโรคโควดิ 19 พ้นื ทีเ่ ส่ียง คำแนะนำการป้องกัน
ตนเองและลดความเส่ียงจากการแพร่กระจายโรค จากแหลง่ ขอ้ มูลท่ีเช่อื ถือได้
2. สังเกตอาการป่วยของบุตรหลานหากมไี ข้ ไอ มีน้ำมูก เจบ็ คอ หายใจลำบาก เหนื่อยหอบ ไม่ได้
กลน่ิ ไมร่ ้รู ส ใหร้ ีบพาไปพบแพทย์ ควรแยกเด็กไมใ่ ห้ไปเล่นกับคนอืน่ ใหพ้ ักผ่อนอยู่ทีบ่ ้านจนกว่าจะหายเป็นปกติ
กรณมี ีคนในครอบครัวป่วยด้วยโรค covid-19 หรือกลับจากพ้ืนที่เสีย่ งอยู่ในช่วงปรับตวั ให้ปฏบิ ตั ติ ามคำแนะนำของ
เจา้ หน้าที่สาธารณสุขอย่างเครง่ ครดั
3. จดั หาของใช้ส่วนตัวใหบ้ ุตรหลานอยา่ งเพียงพอในแต่ละวัน ทำความสะอาดทุกวัน เชน่ หนา้ กากผา้
ซ้อนส้อม แกว้ นำ้ แปรงสฟี ัน ยาสฟี ัน ผ้าเชด็ หน้า ผา้ เชด็ ตัว
28
4. หาสบู่หรอื เจลแอลกอฮอล์และกำกับดแู ลบตุ รหลานให้ล้างมือบ่อยๆ ก่อนกินอาหาร หลังใชส้ ว้ ม
หลีกเลี่ยงการใชม้ ือสมั ผัสใบหนา้ ตา ปาก จมกู โดยไมจ่ ำเป็นและสรา้ งสขุ นิสยั ท่ีดีหลงั เล่นกับเพ่ือนและเมอื่ กลบั
มาถึงบา้ นควรอาบน้ำสระผมและเปลีย่ นชุดเส้อื ผ้าใหม่ทนั ที
5. ดแู ลสขุ ภาพบุตรหลานจดั เตรียมอาหารปรงุ สุกใหม่ ส่งเสริมใหก้ นิ อาหารร้อน สะอาดอาหารครบ 5 หมู่
และผักผลไม้ 5 สแี ละควรจัดอาหารกล่องให้แก่นักเรียนในชว่ งเช้าแทนการซอื้ จากโรงเรียน กรณีทไ่ี มไ่ ด้กนิ อาหาร
เช้าจากทีบ่ า้ นเพื่อเสริมสร้างภูมิคุ้มกันออกกำลงั กายอยา่ งน้อย 6 - 10 นาทที ุกวัน และนอนหลบั อย่างเพยี งพอ 9-
11 ช่ัวโมงตอ่ วนั
6. เลีย่ งการพาบุตรหลานไปในสถานทเี่ สยี่ งต่อการตดิ โรค covid-19 สถานที่แออัดทม่ี ีการรวมกนั ของคน
จำนวนมาก หากจำเปน็ ต้องสวมหน้ากากผา้ หรอื หน้ากากอนามยั ล้างมือบ่อยๆ 7 ขน้ั ตอนดว้ ยสบแู่ ละน้ำ นาน 20
วนิ าที ใหน้ กั เรยี นร้องเพลง Happy Birthday 2 ครัง้ พร้อมกบั ล้างมือหรือใช้เจลแอลกอฮอล์
7. กรณีมีการเรียนการสอนทางไกลออนไลนผ์ ปู้ กครองควรให้ความรว่ มมือกับครูในการดูแลจัดการเรยี นการ
สอนแกะนกั เรียนเช่นการสง่ การบา้ นการร่วมทำกิจกรรมเป็นตน้
แนวปฏิบตั สิ ำหรบั แมค่ รัว ผู้จำหน่ายอาหาร และผู้ปฏบิ ัตงิ านทำความสะอาด
1. ติดตามข้อมูลขา่ วสารสถานการณก์ ารแพร่ระบาดของโรคโควิด 19 พน้ื ท่ีเสยี่ ง ศึกษาคำแนะนำการ
ป้องกันตนเองและลดความเส่ียงจากการแพร่กระจายของโลกจากแหล่งข้อมลู ท่ีเชื่อถือได้
2. สังเกตอาการป่วยของตนหากมีอาการไข้ ไอ มีนำ้ มูก เจ็บคอ หายใจลำบาก เหนือ่ ยหอบไม่ได้กล่ิน
ไมร่ ู้รส ให้อยู่ปฏบิ ตั ิงานและรีบไปพบแพทย์ทันทีกรณีมีคนในครอบครวั ป่วยด้วยโรค covid-19 หรือกลบั มาจาก
พืน้ ท่เี สีย่ งอยู่ในช่วงปรบั ตัวให้ปฏบิ ัติตามคำแนะนำของเจา้ หนา้ ทีส่ าธารณสขุ อย่างเคร่งครัด
3. ลา้ งมือบ่อยๆ ดว้ ยสบแู่ ละนำ้ กอ่ นหลังปรุงและประกอบอาหารขนาดจำหน่ายอาหารหลงั สมั ผัสส่งิ สกปรก
หรอื ธนบตั ร หลังใช้ส้วมควรลา้ งมอื ดว้ ยสบูแ่ ละน้ำหรอื ใชเ้ จลแอลกอฮอลแ์ ละหลีกเล่ยี งการใชม้ ือสัมผัสใบหน้า
ตา ปาก จมูก โดยไม่จำเป็น
4. ขณะปฏบิ ตั ิงานของผสู้ มั ผัสอาหารต้องสวมหมวกคลมุ ผมป้องกนั เปือ้ น ถุงมือ สวมหนา้ กากผ้าหรือ
หน้ากากอนามยั และปฏิบตั ิตนตามสขุ อนามัยสว่ นบุคคลท่ีถูกต้อง
5. ปกปดิ อาหาร ใส่ถุงมือและใชท้ ่ีคีบหยบิ จับอาหาร ห้ามใชม้ ือหยิบจบั อาหารพร้อมกินโดยตรง และจัดให้
แยกกิน สว่ นกรณีร้านจำหน่ายอาหารสำเรจ็ รปู พร้อมกิน ไมค่ วรใชม้ ือสมั ผัสลงไปในถุงบรรจอุ าหารก่อนตักอาหาร
6. จัดเตรียมเมนูอาหารให้ครบ 5 หมู่ และผกั ผลไม้ 5 สี เพื่อเสรมิ สรา้ งภูมิคมุ้ กัน ปรงุ สุกใหม่ ให้นกั เรยี น
กนิ ภายในเวลา 2 ชัว่ โมง หากเกินเวลาดงั กล่าว ใหน้ ำอาหารไปอนุ่ จนเดือด แล้วนำมา
เสริ ์ฟใหม่ กรณีทไ่ี ม่สามารถจัดเหลอื่ มเวลาสำหรับเด็กในมื้อกลางวนั ให้เตรียมอาหารกล่องแทน
และรับประทานท่ีโต๊ะเรยี น
7. จัดตรยี มกระดาษสำหรับส่ังรายการอาหาร หรอื ช่องทางส่ือสารอนื่ ๆ เพื่อลดการพดู คุยและสัมผัส
29
8. ผ้ปู ฏิบตั ิงานทำความสะอาด ผู้ปฏบิ ัตงิ านเก็บขนขยะ ต้องใส่อปุ กรณ์ป้องกันตนเอง เช่น สวม
หนา้ กากผ้าหรือหน้ากากอนามยั สวมถุงมือยาง ผ้ายางกันเปื้อน รองเท้าพื้นยางห้มุ แข็ง
9. การเกบ็ ขยะ ควรใช้ปากคีบดา้ มยาวเก็บขยะ ใสถ่ งุ ปดิ ปากถุงให้มดิ ชดิ และนำไปรวบรวมไวท้ ี่พักขยะ
10. เมอ่ื ปฏบิ ตั งิ านเสรจ็ ทุกคร้งั ตอ้ งลา้ งมือบ่อย ๆ และเม่ือกลับมาถึงบ้าน ควรรีบอาบน้ำ สระผมเปลี่ยน
เสือ้ ผา้ ใหม่ทันที
คำแนะนำในการทำความสะอาด
1. จัดเตรียมอุปกรณ์ทำความสะอาดอย่างเพียงพอ ได้แก่ นำ้ ยาทำความสะอาดหรอื น้ำยาฟอกขาว
อุปกรณ์การตวง ถุงขยะ ถงั น้ำ ไม้ถูพื้น ผ้าเช็ดทำความสะอาด อปุ กรณป์ ้องกันอนั ตรายสว่ นบคุ คล
ทเ่ี หมาะสมกับการปฏบิ ตั งิ าน อาทิ ถงุ มอื หนา้ กากผ้า เสอ้ื ผา้ ทจี่ ะนำมาเปลี่ยนหลงั ทำความสะอาด
2. เลอื กใช้ผลติ ภัณฑท์ ำความสะอาดพ้ืนผวิ ทีเ่ หมาะสม
ก. กรณีส่ิงของอุปกรณ์เคร่ืองใช้ แนะนำให้ใช้แอลกอฮอล์ 70% หรือไฮโดรเจนเปอร์
ออกไชด์ 0.5% ในการเช็ดทำความสะอาด
ข. กรณเี ป็นพน้ื ทีข่ นาดใหญ่ เช่น พ้ืนห้อง แนะนำใหใ้ ช้ผลติ ภัณฑ์ที่มสี ่วนผสมของ
โชเดียมไฮโปคลอไรท์ 0.1%(นำ้ ยาซักผา้ ขาว) หรือไฮโดรเจนเปอรอ์ อกไซด์ 0.5% ค. ตรวจสอบคุณลกั ษณะของ
น้ำยาทำความสะอาดบนฉลากข้างขวดผลติ ภณั ฑ์ วนั หมดอายุ รวมถึงพจิ ารณาการเลอื กใชน้ ำ้ ยา ขน้ึ อยู่กบั ชนิด
พื้นผวิ วัสดุ เชน่ โลหะ หนงั พลาสตกิ
3. เตรยี มนำ้ ยาทำความสะอาดเพอ่ื ฆา่ เช้ือ ข้นึ อยู่กบั ชนิดและความเขม้ ข้นของสารทีเ่ ลือกใช้ โดยแนะนำ
ให้เลือกใชผ้ ลิตภัณฑ์ฆา่ เชอ้ื ที่มีสว่ นผสมของโซเดียมไฮโปคลอไรท์ (รู้จกั กนั ในช่ือ "นำ้ ยาฟอก
ขาว") เน่ืองจากหาซ้ือไดง้ ่าย โดยนำมาผสมกับนำ้ เพ่อื ให้ได้ความเขม้ ขัน 0.1% หรือ 1000 สว่ นใน
ล้านส่วน ดงั นี้
- กรณี ผลิตภณั ฑ์ มคี วามเข้มขั้น 2.54% ใหผ้ สม 40 มิลลิลิตร (2.8 ชอ้ นโตะ๊ ) : นำ้ 1 ลิตร
- กรณี ผลติ ภัณฑ์ มคี วามเข้มขน้ 5.7% ให้ผสม 18 มลิ ลิลติ ร (1.2 ซ้อนโต๊ะ): น้ำ 1 ลติ ร
- กรณี ผลิตภัณฑ์ มีความเข้มขั้น 5% ใหผ้ สม 20 มลิ ลิลติ ร (13 ชอ้ นโต๊ะ) : น้ำ 1 ลิตร
- กรณี ผลิตภณั ฑ์ มคี วามเข้มขั้น 6%ให้ผสม 17 มิลลิลติ ร (1.1 ขอ้ นโตะ๊ ): นำ้ 1 ลิตร
หรอื อาจใช้ผลติ ภณั ฑ์ฆา่ เชื้อที่มสี ว่ นผสมของไฮโดรเจนเปอรอ์ อกไซด์ โดยนำมาผสมกบั น้ำ เพ่ือให้ได้
ความเขม้ ขน้ 0.5% หรือ 5000 สว่ นในล้านส่วน ดงั น้ี
- กรณี ผลิตภณั ฑ์ มคี วามเข้มข้น 5% ให้ผสม 110 มลิ ลิลติ ร (75 ช้อนโต๊ะ): น้ำ 1 ลิตร
- กรณี ผลติ ภณั ฑ์มีความเขม้ ข้ัน 3%ให้ผสม 200 มลิ ลลิ ิตร (13.5 ช้อนโต๊ะ): นำ้ 1 ลติ ร
4. ส่ือสารใหค้ วามรขู้ นั้ ตอนการทำความสะอาดทีถ่ กู ต้อง เหมาะสม รวมท้ังแนะนำสุขอนามยั ในการดูแล
ตนเองกับผ้ปู ฏิบตั ิงาน
30
- ล้างมอื ด้วยสบแู่ ละน้ำ ก่อน - หลงั ทำความสะอาดทกุ คร้งั
- สวมอปุ กรณ์ป้องกนั ตัวเองทุกครงั้ เมื่อต้องทำความสะอาดและฆา่ เชื้อ
- เปดิ ประตหู นา้ ตา่ ง ขณะทำความสะอาด เพื่อใหม้ ีการระบายอากาศ
- หากพน้ื ผิวสกปรก ควรทำความสะอาดเบือ้ งต้นก่อน เชน่ นำผ้าชบุ น้ำเชด็ บริเวณทม่ี ีฝุ่นหรือ
คราบสกปรก กอ่ นท่ีจะใช้นำ้ ยาทำความสะอาดเพื่อฆา่ เช้ือ
- ควรทำความสะอาดและฆา่ เช้ือท่ัวทงั้ บรเิ วณ ก่อน - หลงั ใชง้ านทกุ คร้ัง และเน้นบริเวณท่มี ี
การสมั ผสั หรอื ใช้งานร่วมกันบ่อยๆ เชน่ ลูกบิดประตู รโึ มทคอนโทรล ปุ่มกดลิฟท์ ซ่งึ เป็นพน้ื ผวิ ขนาด
เล็ก โดยนำผ้าสำหรบั เชด็ ทำความสะอาดชบุ นำ้ ยาฟอกขาวทีเ่ ตรยี มไว้ตามข้อ 2 หรือใช้แอลกอฮอล์ 70% หรือ
ไฮโดรเจนเปอรอ์ อกไชด์ 0.5% เชด็ ทำความสะอาดและฆ่าเชอื้
- สำหรับพื้นใช้ไม้ถูพ้นื ชุบด้วยนำ้ ยาฆ่าเชอื้ ท่ีตรียมไว้ตามข้อ 2 เร่ิมถูพื้นจากมมุ หน่ึงไปยังอีก
มมุ หน่ึง ไม่ซำ้ รอยเดมิ โดยเริ่มจากบริเวณทสี่ กปรกน้อยไปมาก
- การทำความสะอาดห้องนำ้ ห้องส้วม ด้วยน้ำยาทำความสะอาดทัว่ ไป พนื้ ห้องส้วมใหฆ้ ่าเชอื้ โดยราดนำ้ ยา
ฟอกขาวที่เตรยี มไว้ตามข้อ 2 อยา่ งน้อย 10 นาที เชด็ บริเวณทร่ี องนั่ง โถส้วม ฝาปดิ โถสว้ ม ที่กดชกั โครก สาย
ชำระ ราวจับ ลกู บิดหรือกลอนประตู ท่แี ขวนกระดาษชำระ อ่างล้างเมือ
ขันน้ำ ก๊อกน้ำ ท่วี างสบู่ ผนัง ซอกประตู ดว้ ยผ้าชบุ น้ำยาฟอกขาวท่เี ตรยี มไว้ตามข้อ 2 หรือใช้
แอลกอฮอล์ 70% หรือไฮโดรเจนเปอร์ออกไซด์ 0.5%
- หลังทำความสะอาด ควรซักผ้าเชด็ ทำความสะอาดและไม้ถพู นื้ ดว้ ยนำ้ ผสมผงชกั ฟอกหรอื
นำ้ ยาฆ่าเชือ้ แลว้ ชักดว้ ยน้ำสะอาดอีกคร้งั และนำไปผ่ึงแดดใหแ้ ห้ง
- ถอดถุงมอื แลว้ ล้างมือดว้ ยสบูแ่ ละนำ้ หากเป็นไปได้ควรชำระล้างรา่ งกายและเปลย่ี นเสื้อผ้า
โดยเร็ว หรอื รีบกลับบ้านอาบน้ำใหส้ ะอาดทันที
- บรรจุภณั ฑ์ใส่น้ำยาทำความสะอาด ควรคัดแยกออกจากขยะทว่ั ไป และทิง้ ในถงั ขยะ
อันตราย สว่ นขยะอ่ืน ๆ เช่น หนา้ กากอนามยั ถงุ มอื รวบรวมและท้ิงขยะลงในถงุ พลาสติกถุงขยะ
ซอ้ นสองช้ัน มดั ปากถุงให้แน่นและนำไปท้ิงทันที โดยทง้ิ รวมกบั ขยะทั่วไป
5. ขอ้ ควรระวงั
-สารทีใ่ ช้ฆา่ เชือ้ ส่วนใหญ่เปน็ สารฟอกขาว อาจก่อให้เกดิ การระคายเคอื งผวิ หนงั
เนื้อเยือ่ อ่อน ควรระวังไมใ่ หเ้ ข้าตาหรอื สมั ผัสโดยตรง
- ไมค่ วรผสมนำ้ ยาฟอกขาวกับสารทำความสะอาดอ่นื ท่ีมีสว่ นผสมของแอมโมเนยี
- หลกี เล่ียงการใช้สเปรย์ฉดี พ่นเพอ่ื ฆ่าเช้อื เนือ่ งจากอาจทำใหเ้ กิดการแพร่กระจาย
ของเชื้อโรค
31
- ไมค่ วรนำถงุ มอื ไปใช้ในการทำกิจกรรมประเกทอืน่ ๆ ใช้เฉพาะการทำความสะอาด
เท่าน้ัน เพอ่ื ป้องกนั การแพร่กระจายของเชื้อ
-หลีกเลี่ยงการใชม้ ือสัมผัสบริเวณใบหน้า ตา จมูก และปาก ขณะสวมถุงมือและ
ระหว่างการทำความสะอาด
แนวปฏิบัติด้านอนามยั สิ่งแวดล้อม
สถานศึกษาเปน็ สถานท่ีมคี นอย่รู วมกันจำนวนมาก ท้งั นักเรียน ครู ผู้ปกครอง บุคลากร ผู้มาติดต่อและ
ผปู้ ระกอบการรา้ นคา้ กรณีที่นักเรียนตอ้ งทำกิจกรรมร่วมกับเพอ่ื น ทำให้มีโอกาสใกล้ชิดกันมาก ทำให้เกิดความเสยี่ ง
ต่อการแพร่กระจายของเช้ือโรคได้ง่าย จงึ ควรมแี นวปฏิบัตกิ ารจดั อาคารสถานท่ี ดังนี้
1. ห้องเรยี น ห้องเรยี นรวม เซ่น ห้องคอมพวิ เตอร์ ห้องดนตรี
1) จดั โต๊ะ เก้าอ้ี หรอื ท่ีนั่ง ให้มีการเว้นระยะห่างระหว่างบุคคล อย่างน้อย 1 -2 เมตร
ควรคำนงึ ถงึ สภาพบริบทและขนาดพ้นื ที่ และจดั ทำสัญลักษณ์แสดงจดุ ตำแหน่งชัดเจน กรณหี อ้ งเรียนไม่เพยี งพอ
ในการจดั เว้นระยะห่างระหว่างบคุ คลควรจดั ให้มกี ารสลับวันเรยี นแต่ละชั้นเรยี น การแบ่งจำนวนนกั เรียน หรอื การ
ใช้ พ้ืนทใี่ ชส้ อยบริเวณสถานศึกษา ตามความเหมาะสมทงั้ นี้อาจพิจารณาวิธปี ฏบิ ตั อิ ื่นตามบรบิ ทความเหมาะสม โดย
ยึดหลกั Socal distancing
2) จัดใหม้ ีการเหลื่อมเวลาเรียน การเรยี นกล่มุ ย่อย หรอื วีธปี ฏิบตั ิท่ีเหมาะสมตาม
บรบิ ท สถานการณ์ และเน้นให้นกั เรียนสวมหน้ากากผ้าหรือหนา้ กกอนามยั ขณะเรยี นตลอดเวลา
3) จดั ให้มีการระบายอากาศท่ีดี ใหอ้ ากาศถา่ ยเท เชน่ เปิดประตู หนา้ ต่าง หลกี เลย่ี ง
การใช้ เคร่ืองปรบั อากาศหากจำเป็นต้องใชเ้ ครอ่ื งปรบั อากาศ กำหนดเวลาเปิด -ปดิ เคร่ืองปรับอากาศ เปดิ ประตู
หนา้ ต่าง ระบายอากาศ ทุก 1 ชัว่ โมงและทำความสะอาตอย่างสม่ำเสมอ
4) จดั ให้มเี จลแอลกอฮอล์ใช้ทำความสะอาดมือสำหรับนกั เรียนและครู ใชป้ ระจำทุก
ห้องเรยี นอย่างเพยี งพอ
5) ใหม้ กี ารทำความสะอาดโต๊ะ เก้าอี้ อปุ กรณ์ และจุดสมั ผสั เสีย่ ง เช่น ลูกบดิ ประตู
เครอ่ื งเลน่ ของใชร้ ่วมทกุ วันอย่างนอ้ ยวนั ละ 2 ครง้ั เช้ากอ่ นเรียนและพักเท่ียง หรือกรณีมีการย้ายห้องเรียน ต้องทำ
ความสะอาดโตะ๊ เก้าอี้ ก่อนและหลงั ใช้งานทุกคร้ัง
2. ห้องสมดุ
1) จัดโตะ๊ เก้าอี้ หรือท่นี ั่ง ให้มกี ารเวน้ ระยะห่างระหว่างบุคคล อยา่ งน้อย 1 -2 เมตร และจัดทำสัญลักษณ์
แสดงจุดตำแหนง่ ชัดเจน
2) จดั ให้มกี ารระบายอากาศท่ีดี ให้อากาศถา่ ยเท เชน่ เปิดประตู หน้าตา่ ง หากจำเป็นตอ้ งใช้
เคร่อื งปรบั อากาศ กำหนดเวลาเปดิ -ปิดเครือ่ งปรับอากาศ เปิดประตู หน้าต่าง ระบายอากาศ ทุก 1 ช่วั โมง และทำ
ความสะอาดอย่างสมำ่ เสมอ
32
3) จดั ให้มีเจลแอลกอฮอลใ์ ช้ทำความสะอาดมือสำหรบั ครู บรรณารักษ์ นกั เรียน และผูใ้ ช้บริการ บริเวณ
ทางเขา้ ด้านหน้าและภายในห้องสมดุ อยา่ งเพียงพอ
4) ให้มกี ารทำความสะอาดโต๊ะ เก้าอี้ อุปกรณ์ และจุดสัมผัสเสยี่ ง เชน่ ลกู บดิ ประตู ชน้ั วางหนงั สอื ทุกวนั ๆ
ละ 2 ครัง้ (เชา้ ก่อนใหบ้ รกิ าร พกั เทย่ี ง)
5) การจำกัดจำนวนคนจำกัดเวลาในการเข้าใชบ้ ริการห้องสมุด และใหน้ ักเรยี นและผู้ใช้บริการทกุ คน สวม
หนา้ กากผ้าหรือหนา้ กากอนามัยขณะใชบ้ ริการห้องสมุดตลอดเวลา
3. ห้องประชมุ หอประชุม
1) จัดใหม้ ีการคดั กรองตรวจวัดอุณหภมู ริ ่างกายก่อนเข้าห้องประชมุ หอประชมุ หากพบผมู้ ีอาการไข้ ไอ มี
นำ้ เจ็บคอ หายใจลำบาก เหนือ่ ยหอบ ไม่ได้กล่ิน ไมร่ ู้รส แจ้งงดรว่ มประชมุ และแนะนำใหไ้ ปพบแพทย์ทันที
2) จัดโต๊ะ เก้าอ้ี หรอื ทีน่ ง่ั ใหม้ ีการวันระยะหา่ งระหว่างบุคคล 1- 2 แตร และจัดทำสัญลักษณแ์ สดง จุด
ตำแหนง่ ชัดเจน
3) ผู้เข้าประชมุ ทุกคนสวมหน้ากากผ้าหรือหน้ากากอนามยั ขณะประชมุ ตลอดเวลา
4) จดั ใหม้ ีเจลแอลกอฮอลใ์ ช้ทำความสะอาดมือสำหรับผู้เข้าประชมุ บริเวณทางเขา้ ภายในอาคาร
หอประชุม บรวิ ณทางเขา้ ดา้ นหนา้ และด้านในของห้องประชุม อย่างเพยี งพอและท่ัวถงึ
5) งดหรอื หลกี เลีย่ งการใหบ้ ริการอาหารและเคร่ืองด่ืมภายในห้องประชมุ
6) ให้มกี ารทำความสะอาดโตะ๊ เกา้ อ้ี อุปกรณ์ และจุดสัมผสั เสยี่ งร่วม เช่น ลูกบดิ ประตู รโี มท อุปกรณส์ ่ือ
กอ่ นและหลังใช้หอ้ งประชุมทุกครัง้
7) จัดให้มีการระบายอากาศที่ดี ใหอ้ ากาศถ่ายเท เช่น เปดิ ประตู หนา้ ต่าง ก่อนและหลังใชห้ ้องประชมุ ทุก
ครั้ง
หากจำเป็นตอ้ งใชเ้ ครื่องปรบั อากาศ กำหนดเวลาเปดิ -.ปดิ เคร่อื งปรบั อากาศ เปดิ ประตู หน้าต่าง ระบาย
อากาศ ทกุ 1ชั่วโมงและทำความสะอาดอยา่ งสม่ำเสมอ
4. โรงยิม สนามกฬี า
1) จัดพนื้ ท่ีทำกจิ กรรมและเล่นกฬี า ลดความแออัด อาจจัดให้เลน่ กฬี าเปน็ รอบ หรอื ให้มีการเวน้ ระยะห่าง
ระหวา่ งบุคคลอย่างน้อย 1- 2 เมตร
2) จัดให้มเี จลแอลกอฮอล์ทำความสะอาดมือสำหรบั นักกฬี าและผ้มู าใชบ้ ริการ บริเวณทางเข้าและ บริเวณ
ดา้ นในอาคารอย่างเพยี งพอและท่วั ถึง
3) ทำความสะอาดอุปกรณ์และเครื่องเล่นแต่ละชนดิ ก่อนหรอื หลงั เลน่ ทกุ วัน อยา่ งน้อยวันละ 1 ครงั้
4) จดั ใหม้ ีการระบายอากาศ ให้อากาศถา่ ยเท เชน่ เปิดประตู หนา้ ตา่ ง เปดิ พดั ลม
5) จำกัดจำนวนคนจำนวนเวลาในการเลน่ กีฬาหรอื กิจกรรมภายในอาคารโรงยมิ หรอื สนามกฬี า
33
6) หลีกเล่ียงการจัดกิจกรรมหรือเลน่ กฬี าประเภทแข่งขนั เป็นทีมหรอื มีการปะทะกนั อย่างรนุ แรง เช่น
วอลเลย์บอล ฟุตบอล ฟตุ ชอล บาสเกตบอล เปน็ ตน้
5. ห้องส้วม
1) จดั เตรียมอุปกรณ์ทำความสะอาดอยา่ งเพยี งพอ ได้แก่ น้ำยาทำความสะอาดหรอื น้ำยาฟอกขาว อุปกรณ์
การตวงถงุ ขยะ ถังน้ำ ไม้ถูพื้น คบี ดา้ มยาวสำหรับเกบ็ ขยะ ผ้าเช็ดทำความสะอาด และอุปกรณ์ป้องกันอนั ตรายสว่ น
บคุ คลทีเ่ หมาะสมกับการปฏบิ ัติงาน เช่น ถงุ มือ หนา้ กากผา้ เส้อื ผา้ ท่จี ะนำมาเปล่ียนหลงั ทำความสะอาด
2) การทำความสะอาดห้องน้ำ หอ้ งสว้ ม อย่างน้อยวันละ 2 ครงั้ ด้วยน้ำยาทำความสะอาดทั่วไป พนื้ ห้อง
ส้วม ให้ฆา่ เชอ้ื โดยใช้ผลติ ภัณฑ์ฆ่าเชอ้ื ที่มีส่วนผสมของโซเดียมไฮโปคลอไรด์ (รู้จักกนั ในชื่อ “น้ำยาฟอกขาว”) โดย
นำมาผสมกบั นำ้ เพ่ือให้ได้ความเขม้ ข้น 0.1% หรอื 1000 สว่ นในลา้ นส่วน หรอื ผลติ ภัณฑฆ์ ่าเชอ้ื ท่ีมสี ่วนผสมของ
ไฮโดรเจนเปอรอ์ อกไซด์โดยนำมาผสมกับน้ำ เพ่อื ใหไ้ ด้ความเขม้ ขน้ 0.5% หรือ 5000 ส่วน ในล้านส่วน ราดนำ้ ยา
ฆา่ เชอื้ ทิง้ ไวอ้ ยา่ งน้อย 10 นาที เน้นเช็ดบริเวณท่รี องนั่งโถส้วม ฝาปิดโถสว้ ม ทกี่ ดชกั โครก สายชำระ ราวจบั
ลูกบิดหรือกลอนประตู ทีแ่ ขวนกระดาษชำระ อา่ งล้างมือ ขันนำ้ กอ๊ กน้ำ ที่วางสบู่ ผนัง ซอกประตู ดว้ ยผา้ ชุบน้ำยา
ฟอกขาว หรอื ใช้แอลกอฮอล์ 70% หรือ ไฮโดรเจนเปอร์ออกไซด์ 0.5%
3) หลงั ทำความสะอาด ควรซักผา้ เช็ดทำความสะอาดและไมถ้ พู น้ื ด้วยน้ำผสมผงซักฟอกหรือน้ำยาฆา่ เชื้อ
แล้วซกั ด้วยนำ้ สะอาดอีกครง้ั และนำไปผ่ึงแดดใหแ้ ห้ง
6. หอ้ งพกั ครู
1) จัดโต๊ะ เกา้ อี้ หรือทน่ี ั่ง ให้มกี ารเว้นระยะห่างระหว่างบุคคล อยา่ งน้อย 1 - 2 เมตร ควรคำนงึ ถึงสภาพ
บรบิ ทและขนาดพ้ืนท่ี อาจพิจารณาใชฉ้ ากกัน้ บนโต๊ะเรยี น และจดั ทำสัญลักษณ์แสดงจุดตำแหน่งชัดเจน โดยถือ
ปฏิบตั ิตามหลกั Social Distancing อย่างเคร่งครัด
2) ใหค้ รสู วมหน้ากากผา้ หรอื หนา้ กากอนามัยตลอดเวลาท่ีอยู่ในสถานศึกษา
3) จัดให้มีการระบายอากาศที่ดี ใหอ้ ากาศถา่ ยเท เชน่ เปิดประตู หน้าต่าง หลีกเลย่ี งการใช้
เครอื่ งปรับอากาศ หากจำเป็นตอ้ งใช้เครื่องปรบั อากาศ กำหนดเวลาเปิด – ปิดเคร่ืองปรับอากาศ เปดิ ประตู
หนา้ ต่าง ระบายอากาศ ทกุ 1 ช่ัวโมง และทำความสะอาดอยา่ งสมำ่ เสมอ
4) ใหม้ กี ารทำความสะอาดโต๊ะ เกา้ อี้ อุปกรณ์ และจุดสมั ผัสเสี่ยง เชน่ ลูกบิดประตู อปุ กรณ์ คอมพวิ เตอร์
โทรศัพท์ เป็นต้น เป็นประจำทกุ วัน อยา่ งน้อยวันละ 2 ครัง้
5) จัดเตรียมเจลแอลกอฮอล์ใชท้ ำความสะอาดมือสำหรบั ครแู ละผมู้ าติดต่อ บริเวณทางเขา้ ด้านหนา้ ประตู
และภายในหอ้ งอยา่ งเพยี งพอและทั่วถึง
34
7. ห้องพยาบาล
1) จัดหาครูหรอื เจ้าหนา้ ที่ เพื่อดแู ลนักเรยี น ในกรณีทีม่ นี ักเรียนปว่ ยมานอนพักรอผูป้ กครองมารบั
2) จัดให้มีพน้ื ทหี่ รือห้องแยกอย่างชัดเจน ระหว่างนักเรียนป่วยจากอาการไข้หวดั กับนักเรียนปว่ ยจาก
สาเหตุอ่ืน ๆ เพื่อปอ้ งกันการแพร่กระจายเช้ือโรค
3) ทำความสะอาดเตยี งและอุปกรณข์ องใช้ทุกวนั
4) จดั เตรยี มเจลแอลกอฮอลใ์ ชท้ ำความสะอาดมือ บริเวณทางเขา้ หน้าประตแู ละภายในห้องพยาบาลอย่าง
เพยี งพอ
8. โรงอาหาร
การจัดบริการภายในโรงอาหาร การนง่ั กินอาหารร่วมกันของผูใ้ ชบ้ ริการ รวมถงึ อาหาร ภาชนะ อปุ กรณ์ ตู้
กดน้ำดม่ื ระบบกรองน้ำและผู้สมั ผัสอาหาร อาจเปน็ แหล่งแพรก่ ระจายเช้อื โรค จึงควรมกี ารดแู ล เพื่อลดและ
ป้องกันการแพรก่ ระจายเชอ้ื โรค ดังน้ี
1) หน่วยงานท่จี ดั บริการโรงอาหาร กำหนดมาตรการการปฏบิ ตั ใิ ห้สถานทสี่ ะอาด ถูกสุขลักษณะ ดงั น้ี
(1) จัดให้มีอา่ งล้างมอื พร้อมสบู่ สำหรบั ให้บริการแกผ่ เู้ ขา้ มาใช้บริการโรงอาหาร
บรเิ วณกอ่ นทางเข้าโรงอาหาร
(2) ทุกคนทจ่ี ะเข้ามาในโรงอาหาร ต้องสวมหนา้ กากผ้าหรอื หนา้ กากอนามัย
(3) จดั ให้มีการเวน้ ระยะห่างระหวา่ งบคุ คล อยา่ งน้อย 1 - 2 เมตร ในพ้นื ทีต่ ่าง ๆ เชน่
ที่นง่ั กนิ อาหารจุดรบั อาหาร จุดซือ้ อาหาร จุดรอกดนำ้ ด่มื จุดปฏบิ ัติงานร่วมกันของผูส้ ัมผัสอาหาร
(4) จดั เหลอ่ื มชว่ งเวลาซอื้ และกนิ อาหาร เพื่อลดความแออัดพ้ืนทีภ่ ายในโรงอาหาร
(5) ทำความสะอาดสถานท่ปี รุง ประกอบอาหาร พื้นท่ีตั้งตู้กดนำ้ ดม่ื และพ้นื ทบ่ี ริเวณที่
นั่งกนิ อาหารใหส้ ะอาด ดว้ ยน้ำยาทำความสะอาดหรอื ผงซักฟอก และจัดให้มกี ารฆา่ เช้ือด้วยโซเดยี ม
ไฮโปคลอไรท์ (น้ำยาฟอกขาว) ทม่ี คี วามเข้มข้น 1,000 ส่วนในลา้ นส่วน (ใช้โซเดยี มไฮโปคลอไรท์ 6% อัตราสว่ น 1
ชอ้ นโต๊ะต่อน้ำ 1 ลิตร)
(6) ทำความสะอาดโต๊ะและท่ีน่งั ใหส้ ะอาด สำหรบั นง่ั กินอาหาร ด้วยนำ้ ยาทำความ
สะอาดหรือจัดใหม้ ีการฆ่าเช้ือดว้ ยแอลกอฮอล์ 70% โดยหยดแอลกอฮอลล์ งบนผ้าสะอาดพอหมาด ๆ เชด็ ไปใน
ทศิ ทางเดียวกัน หลงั จากผูใ้ ช้บรกิ ารทุกคร้งั
(7) ทำความสะอาดภาชนะ อุปกรณ์ และเคร่อื งใช้ใหส้ ะอาด ด้วยน้ำยาล้างจาน และ
ให้มีการฆ่าเชื้อดว้ ยการแชใ่ นน้ำรอ้ น 80 องศาเซลเซยี ส เปน็ เวลา 30 วินาที หรอื แชด่ ว้ ยโซเดยี มไฮโปคลอไรด์
(น้ำยาฟอกขาว) ท่ีมีความเข้มข้น 100 สว่ นในล้านสว่ น (ใชโ้ ซเดยี มไฮโปคลอไรท์ 6% อตั ราสว่ นครง่ึ ช้อนชาตอ่ นำ้ 1
ลิตร) 1 นาที แลว้ ล้างนำ้ ให้สะอาด และอบหรอื ผงึ่ ให้แหง้ ก่อนนำไปใช้ใสอ่ าหาร
(8) ทำความสะอาดตู้กดนำ้ ดืม่ ภายในตถู้ ังนำ้ เยน็ อยา่ งนอ้ ยเดอื นละ 1 ครั้ง และเชด็
ภายนอกตู้และก๊อกน้ำดื่มให้สะอาดทกุ วนั และฆ่าเช้ือดว้ ยการแช่โซเดียมไฮโปคลอไรท์ (น้ำยาฟอกขาว) ทม่ี คี วาม
เข้มขน้ 100 สว่ นในล้านสว่ น เป็นเวลา 30 นาที ทุกครั้งกอ่ นบรรจนุ ้ำใหม่ ในกรณีทม่ี เี คร่ืองกรองนำ้ ควรทำความ
35
สะอาดดว้ ยการล้างย้อน (Back Wash) ทุกสัปดาห์ และเปล่ียนไส้กรองตามระยะเวลากำหนดของผลติ ภัณฑ์ และ
ตรวจเช็คความชำรดุ เสียหายของระบบไฟฟ้าทใี่ ช้สายดนิ ตรวจเช็คไฟฟ้าร่ัวตามจุดตา่ ง ๆ โดยเฉพาะบรเิ วณกอ๊ กน้ำที่
ถือเปน็ จุดเสยี่ ง เพอ่ื ปูองกันไฟฟ้าดูดขณะ
ใช้งาน
(9) จดั บรกิ ารอาหาร เน้นปอ้ งกนั การปนเปื้อนของเช้ือโรค เชน่ อาหารปรงุ สำเร็จสกุ
ใหม่ทกุ ครั้ง หลีกเลย่ี งการจำหน่ายอาหารเสยี่ ง เชน่ อาหารประเภทกะทิ หรอื อาหารปรุงขา้ มวนั
การปกปดิ อาหารปรงุ สำเร็จ การใช้ภาชนะทเ่ี หมาะสมกับประเภทอาหาร และจดั ให้มีภาชนะอุปกรณ์สำหรับการกนิ
อาหารอย่างเพียงพอเป็นรายบุคคล เช่น จาน ถาดหลุม ช้อน ส้อม แก้วน้ำ เป็นตน้
(10) ประชาสัมพันธ์ให้ความรู้ภายในโรงอาหาร เช่น การสวมหน้ากากทถ่ี ูกวธิ ี ขัน้ ตอน
การลา้ งมือทถ่ี ูกต้องการเว้นระยะห่างระหว่างบุคคล การเลือกอาหารปรุงสกุ ใหม่สะอาด เป็นต้น
(11) กรณีมีการใช้บริการร้านอาหารจากภายนอก จดั ส่งอาหารใหก้ ับสถานศึกษา
ควรให้ ครูหรือผรู้ ับผดิ ชอบ ตรวจประเมนิ ระบบสขุ าภิบาลอาหารของร้านอาหาร โดยกำหนดขอ้ ตกลงการจดั สง่
อาหารปรุงสุกพรอ้ มกนิ ภายใน 2 ช่วั โมง หลังปรุงเสรจ็ และมีการปกปิดอาหาร เพ่ือปูองกันการปนเป้ือนสิ่งสกปรก
ลงในอาหาร
(12) พจิ ารณาทางเลอื กใหผ้ ปู้ กครองสามารถเตรียมอาหารกลางวัน (Lunch box)
ให้นักเรียนมารบั ประทานเองเพื่อป้องกนั เชอ้ื และลดการแพรก่ ระจายเชื้อ
2) ผ้สู ัมผัสอาหาร ต้องดแู ลสขุ ลักษณะส่วนบุคคล มีการปอ้ งกันตนเองและป้องกนั การ
แพร่กระจาย เช้อื โรค ดงั น้ี
(1) หากมีอาการปว่ ย ไข้ ไอ มนี ้ำมกู เจ็บคอ หายใจลำบาก เหนื่อยหอบ ไม่ได้กลิน่ ไม่
รู้รส ใหห้ ยดุ ปฏบิ ัตงิ านและแนะนำใหไ้ ปพบแพทย์ทนั ที
(2) ดแู ลสุขลกั ษณะสว่ นบคุ คล มีการป้องกันตนเอง แต่งกายให้สะอาด สวมใส่ผา้ กนั
เปอ้ื นและอปุ กรณป์ ้องกนั การปนเปอื้ นสูอ่ าหาร ในขณะปฏิบัตงิ าน
(3) รกั ษาความสะอาดของมือ ดว้ ยการล้างมือบ่อย ๆ ดว้ ยสบู่และนำ้ กอ่ นปฏบิ ตั ิงาน
และขณะเตรยี มอาหารประกอบอาหาร และจำหนา่ ยอาหาร รวมถงึ หลงั จากการจับเหรียญหรือธนบัตร หรือสัมผัส
สง่ิ สกปรก อาจใชเ้ จลแอลกอฮอลท์ ำความสะอาดมอื รว่ มด้วย หลีกเล่ียงการใช้มือสมั ผสั ใบหนา้ ตา ปาก จมกู โดยไม่
จำเป็น
(4) สวมใสห่ น้ากากผ้าหรอื หน้ากากอนามัย ตลอดเวลาขณะปฏบิ ตั งิ าน
(5) มีพฤติกรรมขณะปฏบิ ัตงิ านปอ้ งกนั การปนเป้ือนของเชื้อโรค เช่น ใชอ้ ปุ กรณใ์ นการ
ปรุงประกอบอาหาร เช่น เขยี ง มดี การหยิบจับอาหาร แยกระหว่างอาหารสุก อาหารประเภทเนอ้ื สัตว์สด ผัก และ
ผลไม้ และไม่เตรยี ม ปรุง ประกอบอาหารบนพน้ื โดยตรง
(6) จัดเมนูอาหารที่จำหน่าย โดยเน้นอาหารปรุงสุกด้วยความร้อน โดยเฉพาะเน้ือสตั ว์
ปรงุ ให้สกุ ดว้ ยความร้อนไม่น้อยกวา่ 70 องศาเซลเซยี ส หลกี เลยี่ งการจำหน่ายอาหารบดู เสยี ง่าย เช่น อาหาร
ประเภทกะทแิ ละอาหารท่ไี ม่ผ่านความร้อน เชน่ ซูชิ เปน็ ตน้
36
(7) อาหารปรงุ สำเรจ็ จดั เก็บในภาชนะสะอาด มกี ารปกปดิ อาหารจดั เก็บสูงจากพืน้ ไม่
นอ้ ยกว่า 60 เซนติเมตร กรณอี าหารปรงุ สำเรจ็ รอการจำหน่าย ใหน้ ำมาอนุ่ ทุก 2 ชั่วโมง
(8) การใช้ภาชนะบรรจุอาหารแบบใชค้ รง้ั เดียวท้ิงต้องสะอาดมีคณุ ภาพเหมาะสมกบั
การบรรจอุ าหารปรงุ สำเรจ็ และไม่ควรใชโ้ ฟมบรรจอุ าหาร
(9) ระหวา่ งการปฏิบตั ิงาน ให้มีการเว้นระยะหา่ งระหวา่ งบุคคล อย่างน้อย 1 - 2 เมตร
(10) ควรพิจารณาให้มรี ะบบชำระเงินออนไลน์สำหรบั ผบู้ รโิ ภค
3) ผู้ทเี่ ขา้ มาใชบ้ รกิ ารโรงอาหาร ตอ้ งดำเนินการป้องกนั ตนเอง และป้องกนั การแพร่กระจายเช้ือโรค ดังน้ี
(1) ล้างมือบอ่ ย ๆ ด้วยสบแู่ ละน้ำ หรอื ใช้เจลแอลกอฮอลท์ ำความสะอาดมือทุกครั้ง
กอ่ นเข้าไปในโรงอาหาร ก่อนกนิ อาหารภายหลังซื้ออาหารหลังจากจับเหรียญหรือธนบัตรหลังจากสมั ผสั ส่งิ สกปรก
หรอื หลังออกจากหอ้ งสว้ ม
(2) ทุกคนต้องสวมหน้ากากผ้าหรือหน้ากากอนามัยตลอดเวลาที่อยใู่ นโรงอาหารหรือ
เข้าไปในสถานท่ีจำหนา่ ยอาหาร
(3) เลือกซื้ออาหารปรุงสำเร็จสกุ ใหม่ หลีกเล่ยี งการกนิ อาหารประเภทเน้ือสตั ว์ เคร่ือง
ในสตั วท์ ่ปี รงุ ไม่สุกและตรวจสอบคุณภาพของอาหารทันที เชน่ สภาพอาหาร กลน่ิ ความสะอาดและความเหมาะสม
ของภาชนะบรรจุ มีการปกปิดอาหารมิดชิด ไม่เลอะเทอะ ไมฉ่ กี ขาด เป็นตน้
(4) ใหม้ ีการเว้นระยะหา่ งระหว่างบคุ คล อย่างน้อย 1 - 2 เมตร ในการซื้ออาหาร ขณะ
รออาหารนัง่ กินอาหาร ขณะรอกดนำ้ ดื่ม
(5) พจิ ารณาเลือกใช้ระบบการชำระเงินแบบออนไลน์
9. รถรบั - ส่งนักเรียน
1) ทำความสะอาดรถรบั นักเรียนและบริเวณจดุ สัมผัสเสีย่ ง เช่น ราวจับ ทีเ่ ปิดประตู เบาะน่ัง ที่วางแขน
ด้วยน้ำผสมผงซักฟอก หรือน้ำยาทำความสะอาดทีม่ สี ว่ นผสมของโซเดยี มไฮโปคลอไรท์ (นำ้ ยาฟอกผา้ ขาว) และ
ปฏิบัติตามคำแนะนำบนฉลากผลิตภัณฑ์ (เช่น ผสมโซเดยี มไฮโปคลอไรท์ ความเขม้ ขน้ 6% ปรมิ าณ 20 มลิ ลลิ ติ ร
ต่อนำ้ 1 ลติ ร)
2) นักเรยี นทีใ่ ชบ้ ริการรถรับนักเรียน ตอ้ งสวมหนา้ กากผ้าหรือหนา้ กากอนามยั ตลอดเวลาทอ่ี ยบู่ นรถ ลด
การพดู คุยกนั เล่นหยอกล้อกัน รวมถงึ กำหนดจุดรับ - ส่งนักเรยี นสำหรับผู้ปกครอง
3) การจัดท่นี ่ังบนรถรบั นักเรยี น ควรจัดให้มกี ารเวน้ ระยะห่างระหว่างบุคคล อย่างน้อย 1 - 2 เมตร ทั้งน้ี
ควรคำนงึ ถงึ ขนาดพน้ื ท่ีของรถ จำนวนทนี่ ่งั พจิ ารณาตามบรบิ ทคุณลักษณะของรถและความเหมาะสม จดั ทำ
สญั ลักษณ์แสดงจุดตำแหนง่ ชัดเจนโดยยดึ หลกั Social distancing อย่างเครง่ ครดั
4) ก่อนและหลงั ใหบ้ ริการรบั นักเรียนแตล่ ะรอบ ควรเปิดหนา้ ต่าง ประตู ระบายอากาศ ใหอ้ ากาศ ถ่ายเท
ไดส้ ะดวก
5) จัดให้มีเจลแอลกอฮอลส์ ำหรับใชท้ ำความสะอาดมือ บ่อย ๆ บนรถรบั นักเรียน
37
10. การเขา้ แถวเคารพธงชาติ
1) การจัดพ้ืนท่ีเข้าแถว ให้มีการเวน้ ระยะห่างระหว่างบุคคล อย่างน้อย 1 - 2 เมตร
กรณมี ีพ้ืนที่จำกัดไม่เพยี งพออาจพจิ ารณาสลับช้นั เรยี นมาเข้าแถวบรเิ วณหนา้ เสาธง หรือจัดให้มีการเขา้ แถวบริเวณที่
มีพ้ืนที่ กวา้ งขวาง เชน่ หนา้ หอ้ งเรียนลานอเนกประสงค์ ลานสนามกฬี า โรงยมิ หอประชุม เปน็ ต้น
2) ครูและนักเรยี นทุกคนต้องสวมหนา้ กากผา้ หรือหน้ากากอนามัยตลอดเวลาการเข้า
แถวเคารพธงชาติ
3) ลดระยะเวลาการจัดกจิ กรรมหนา้ เสาธง กรณีมีการสื่อสารประชาสมั พันธค์ วรใช้
ช่องทางอนื่ ๆ เชน่ เสียงตามสายผา่ นออนไลน์ Line Facebook E-mail แจง้ ในห้องเรยี น เป็นตน้
4) ทำความสะอาดอุปกรณ์ของใช้หรอื จดุ สมั ผัสเส่ียง ภายหลงั การใชง้ านทุกครัง้ เชน่
เชือกทเี่ สาธง ไมโครโฟน เปน็ ต้น
38
สว่ นที่ 4 แนวปฏิบตั ิตามแผนเผชญิ เหตุ
แผนการเผชญิ เหตุ สถานศกึ ษาทุกแหง่ จะต้องจดั ให้มเี ตรยี มพร้อมไวห้ ากเกดิ กรณฉี ุกเฉนิ และมี
การชกั ซ้อมอย่างเคร่งครดั สม่ำเสมอ หากพบผู้ติดเชอ้ื หรือพบว่าเปน็ กลมุ่ เสย่ี งสงู สถานศึกษาต้องมี ความพร้อม
ในเรื่องสถานที่ วสั ดุ อปุ กรณ์ทางการแพทย์ ระบบขนสง่ ระบบการประสานงานตรงกับ บุคลากรทางการแพทย์ใน
พน้ื ท่ี รวมทั้งการสรา้ งการรับรขู้ ่าวสารภายใน การคดั กรองเพ่อื แบง่ กลมุ่ นักเรยี น ครูและบุคลากรในสถานศึกษา
ซงึ่ กระทรวงสาธารณสุข และกระทรวงศึกษาธิการไดจ้ ัดทำ แผนการเผชญิ เหตุในคมู่ ือการปฏบิ ตั ติ ามมาตรการ
Sandbox: Safety Zone in School รายละเอียด ดังน้ี
39
แผนเผชญิ เหตุโรงเรยี นเพชรพทิ ยาสรรค์
ระดับการแพร่ระบาด มาตรการป้องกัน
ชุมชน สถานศกึ ษา ครู/นกั เรยี น สถานศึกษา
ไม่มผี ้ตู ดิ เชอ้ื ไมพ่ บผตู้ ดิ เชื้อยนื ยัน ๑.ปฏิบตั ติ ามมาตรการ DMHTT ๑.เปิดเรยี น onsite
๒.ประเมิน TST เป็นประจำ ๒.ปฏิบตั ติ าม TST
๓.เฝา้ ระวงั คดั กรองกรณีโรงเรยี นนอนประจำ,
เดก็ พิเศษ
มีผตู้ ดิ เชอ้ื ประปราย ไมพ่ บผตู้ ดิ เชื้อยืนยัน ๑.ปฏบิ ตั ติ ามมาตรการ DMHT-RC ๑.เปิดเรยี น onsite
๒.ประเมิน TST ทกุ วนั ๒.ปฏิบตั ิเขม้ ตามมาตรการ TST Plus
๓.เฝา้ ระวงั คดั กรองกรณโี รงเรียน
นอนประจำ,เดก็ พิเศษ
พบผตู้ ิดเชอ้ื ๑.ปฏิบตั เิ ขม้ ตามมาตรการ ๑.ปิดหอ้ งเรยี นทพี่ บผตู้ ิดเชอื้ ๓ วนั
ยนื ยันใน หอ้ งเรียน 3 DMHT-RC เพอ่ื ทำความสะอาด
๒.เปิดหอ้ งเรียนอ่ืนๆ onsite ได้ ตามปกติ
รายขึน้ ไป ๒.ประเมนิ TST ทุกวนั
๓.ระบายอากาศทกุ ๆ ๒ ช่ัวโมง ๓.สมุ่ ตรวจเฝา้ ระวงั Sentinel Surveillance ทุกๆ
กรณใี ช้เครอ่ื งปรับอากาศ ๒ สัปดาห์
๔.กรณี High Risk Content: ๔.ปฏบิ ตั ิเข้มตามมาตรการ TST Plus
งดเรยี นonsiteและกักตัวท่บี ้าน
๑๕วนั
๕.กรณี Low Risk Content:
ให้สงั เกตอาการของตน และ
ปฏิบัติตามมาตรการของ
กระทรวงสาธารณสขุ
40
ระดับการแพร่ระบาด มาตรการปอ้ งกัน
ชมุ ชน สถานศกึ ษา คร/ู นกั เรยี น สถานศกึ ษา
พบผูต้ ดิ เช้ือ ๑.ปฏิบตั ิเข้มตามมาตรการ ๑.ปิดห้องเรยี นทพ่ี บผตู้ ิดเชือ้ ๓ วนั
เพอื่ ทำความสะอาด หรอื มากกวา่ ตาม อำนาจ
ยนื ยนั มากกว่า ๓ คน DMHT- RC การพิจารณาของ กระทรวงศกึ ษาธิการ
๒.ปฏิบตั ิเขม้ ตามมาตรการ TST Plus
ในห้องเรยี น ๒.เฝ้าระวงั อาการเสยี่ งทกุ วัน
๑.พจิ ารณาการเปดิ เรยี น onsite
๓.ระบายอากาศทุกๆ ๒ ชวั่ โมง โดยเขม้ ตามมาตรการทุกมติ ิ
กรณีใช้เครอื่ งปรบั อากาศ ๒.สำหรับพ้นื ที่ระบาดแบบกลุ่ม กอ้ น
พิจารณาปดิ โดย คณะกรรมการควบคุมการแพร่
๑.ปฏิบตั ิเขม้ ตามมาตรการ ระบาดระดับพื้นท่ีหากมีหลักฐาน
และความจำเปน็
DMHTT ๓.สมุ่ ตรวจเฝ้าระวัง Sentinel Surveillance
ทุกๆ ๒ สปั ดาห์
มีผู้ตดิ เชอ้ื เป็นกลมุ่ ก้อน ๒.ประเมนิ TST ทกุ วัน
๑.พิจารณาการเปิดเรียนonsite
๓.ระบายอากาศทุกๆ ๒ ชั่วโมง โดยเขม้ ตามมาตรการทกุ มติ ิ
กรณีใช้เครื่องปรบั อากาศ ๒.สำหรบั พืน้ ทรี่ ะบาดแบบกลุม่ กอ้ น
พจิ ารณาปดิ โดย คณะกรรมการควบคมุ การแพร่
๔.กรณี High Risk Content: ระบาดระดบั พื้นท่ีหากมีหลักฐาน
และความจำเปน็
งดเรียนonsiteและกกั ตวั ทบี่ า้ น ๑๐วัน ๓.สมุ่ ตรวจเฝ้าระวงั Sentinel Surveillance
ทกุ ๆ ๒ สัปดาห์
๕.กรณี Low Risk Content:
ให้สงั เกตอาการของตน และ
ปฏิบัตติ ามมาตรการของ
กระทรวงสาธารณสุข
๑.ปฏบิ ตั เิ ขม้ ตามมาตรการ
DMHTT
มกี ารแพรร่ ะบาดในชมุ ชน ๒.เฝ้าระวงั อาการเสย่ี งทกุ วัน
Self Quarantine
๓.ประเมิน TST ทกุ วัน
41
42
43
ส่วนท่ี 5 หลกั เกณฑก์ ารพจิ ารณาสำหรบั การใชอ้ าคาร
ในการพจิ ารณาอนุญาตใหใ้ ชอ้ าคารสถานทเี่ พื่อการสอบ การฝึกอบรม หรือ การทำกิจกรรมโรงเรียน หรือ
สถานศึกษา หรอื ผู้ขออนุญาต ต้องจัดทำมาตรการเพ่ือเสนอต่อคณะกรรมการโรคติดตอ่ กรงุ เทพมหานครหรอื
คณะกรรมการโรคตดิ ต่อจงั หวดั ซง่ึ จะพิจารณาตามมาตรการของกระทรวงสาธารณสขุ โดยคณะกรรมการโรคติดต่อ
กรงุ เทพมหานครหรือคณะกรรมการโรคตดิ ต่อจงั หวดั จะพิจารณารว่ มกับผูแ้ ทนกระทรวงศึกษาธิการ ท่ีเก่ยี วขอ้ ง โดยมี
แนวปฏิบตั ิ ดังน้ี
(1) แนวปฏิบตั ดิ ้านสาธารณสุข
(1.1) กำหนดจุดคัดกรองในช่องทางเข้าออก หากพบวา่ มไี ข้ ไอ จาม มนี ำ้ มูกหรือเหนอ่ื ยหอบ หรอื มี
อณุ หภมู ริ า่ งกายเทา่ กบั หรือมากกวา่ 37.5 องศาเซลเซยี ส ขน้ึ ไป แจ้งงดใหเ้ ขา้ รว่ มกิจกรรมและแนะนำไปพบ
แพทย์ และอาจมีห้องแยกผทู้ ี่มอี าการออกจากพน้ื ที่
(1.2) ผู้เขา้ ร่วมกจิ กรรม และผมู้ าติดต่อ ต้องสวมหนา้ กากผ้า หรอื หนา้ กากอนามยั ตลอดเวลาที่
เข้ารว่ ม กิจกรรม
(1.3) จดั ใหม้ เี จลแอลกอฮอล์ หรอื จดุ ลา้ งมือ สำหรบั ทำความสะอาดมือไว้บริการบริเวณตา่ ง ๆ อยา่ ง
เพียงพอ เชน่ บรเิ วณหนา้ หอ้ งประชมุ ทางเข้าออก หน้าลฟิ ต์ จุดประชาสมั พนั ธ์ และพื้นท่ที ี่มกี จิ กรรมอ่ืนๆ
เป็นตน้
(1.4) จดั บริการอาหารในลักษณะท่ีลดการสัมผสั อปุ กรณท์ ี่ใชร้ ว่ มกนั เชน่ จดั อาหารว่างแบบกล่อง
(Box set) อาหารกลางวันในรปู แบบอาหารชุดเด่ียว (Course Menu)
(1.5) กรณีท่ีมีการจดั ให้มีรถรับส่งผเู้ ข้าร่วมกจิ กรรม ให้เวน้ ระยะห่าง 1 ท่ีนั่ง ทำความสะอาดรถรับสง่
ทุก รอบหลังให้บริการ
(1.6) จัดทีน่ ัง่ ให้มีระยะหา่ งระหวา่ งทน่ี ่งั และทางเดนิ อย่างนอ้ ย 1.5 เมตร
(1.7) จดั ใหม้ ีถงั ขยะที่มีฝาปิด เก็บรวบรวมขยะเพ่ือส่งไปกำจัดอยา่ งถูกต้อง และการจัดการทด่ี ี
(1.8) จัดให้มีการระบายอากาศภายในอาคารท่ดี ี มีการหมุนเวียนของอากาศอย่างเพยี งพอ ท้งั ใน
อาคาร และหอ้ งส้วม และทำความสะอาดเครื่องปรบั อากาศสม่ำเสมอ
(1.9) ให้ทำความสะอาดและฆ่าเชอ้ื ทว่ั ท้งั บริเวณ และเนน้ บรเิ วณทมี่ กั มกี ารสัมผสั หรอื ใช้งานร่วมกัน
บอ่ ย ๆ ด้วยนำ้ ยาฟอกขาวท่เี ตรยี มไว้ หรือแอลกอฮอล์ 70% หรอื ไฮโดรเจนเปอร์ออกไชด์0.5% เช็ดทำความ
สะอาดและฆา่ เชื้อ อยา่ งนอ้ ยวันละ ๒ ครง้ั ทำความสะอาดห้องส้วมทุก ๒ ช่ัวโมง และอาจเพ่ิมความถ่ีตาม
ความเหมาะสม โดยเฉพาะเวลาที่มีผใู้ ชง้ านจำนวนมาก
(1.10) มีมาตรการติดตามขอ้ มูลของผ้เู ขา้ ร่วมกิจกรรม เชน่ การใชแ้ อปพลิเคชันหรือใชม้ าตรการ
ควบคมุ การเขา้ ออกดว้ ยการบนั ทึกข้อมูล
44
(1.11) มีการจัดการคณุ ภาพน้ำอุปโภคบรโิ ภคทเี่ หมาะสม
1) จัดใหม้ จี ดุ บริการน้ำด่มื 1 จดุ หรอื หวั ก๊อก ต่อผู้บรโิ ภค 75 คน
2) ตรวจสอบคณุ ภาพน้ำดืม่ น้ำใช้
3) ดแู ลความสะอาดจุดบรกิ ารนำ้ ด่ืม ภาชนะบรรจนุ ำ้ ด่มื และใช้แกว้ นำ้
(2) แนวทางปฏบิ ัตสิ ำหรับผจู้ ัดกิจกรรม
(2.1) ควบคมุ จำนวนผ้เู ข้ารว่ มกจิ กรรม ไม่ให้แออัด โดยคดิ หลักเกณฑจ์ ำนวนคนต่อพนื้ ท่ีจดั งาน
ไมน่ อ้ ย กวา่ 4 ตารางเมตรต่อคน พจิ ารณาเพม่ิ พื้นท่ีทางเดินใหม้ สี ัดสว่ นมากขน้ึ
(2.2) จำกัดจำนวนผู้เขา้ ร่วมกิจกรรม และกระจายจุดลงทะเบยี นให้เพียงพอสำหรบั ผูเ้ ข้าร่วมกิจกรรม
เพอื่ ลดความแออดั โดยอาจใช้ระบบการประชุมผ่านสอื่ อิเล็กทรอนิกส์ ใช้การสแกน OR Code ในการ
ลงทะเบยี นหรือ ตอบแบบสอบถาม
(2.3) ประชาสัมพนั ธม์ าตรการ คำแนะนำในการป้องกนั การแพร่ระบาดให้แก่ผ้เู ข้าร่วมกิจกรรมทราบ
(3) แนวทางปฏบิ ตั ิสำหรบั ผูเ้ ข้ารว่ มกจิ กรรม
(3.1) สังเกตอาการตนเองสมำ่ เสมอ หากมีไข้ ไอ จาม มีน้ำมูก หรือเหน่ือยหอบ ให้งดการเขา้ รว่ ม
กจิ กรรม และพบแพทย์ทนั ที
(3.2) สวมหน้ากากผ้าหรือหน้ากากอนามัย เวน้ ระยะหา่ งระหว่างบคุ คลอยา่ งน้อย 1- 2 เมตร งดการ
รวมกลุม่ และลดการพูดคยุ เสียงดงั
(3.3) ล้างมือดว้ ยสบู่ หรอื เจลแอลกอฮอล์บอ่ ย ๆ ก่อนและหลงั ใชบ้ ริการ หรอื หลงั จากสัมผัสจุดสัมผัส
ร่วม หรือส่ิงของ เครื่องใช้ เม่ือกลับถึงบ้านควรเปลย่ี นเสอื้ ผ้าและอาบนำ้ ทันที
(3.4) ปฏิบตั ติ ามระเบียบของสถานทีอ่ ย่างเคร่งครัด และปฏิบตั ิตามมาตรการสุขอนามยั ส่วนบคุ คล
อยา่ งเข้มขน้ ไดแ้ ก่ 6 มาตรการหลกั (DMHT-RC) และ 6 มาตรการเสรมิ