โครงการชั่งหัวมัน
จัดทาโดย
นายธีรยทุ ธ บุตรดาบุตร
รหสั ประจาตวั 64301020063
ระดบั ประกาศนียบตั รวิชาชีพช้นั สูง
ปวส.1(สทผ 64.2)
สาขาวิชา ช่างกลโรงงาน
เสนอ
อาจารย์ ดาวสกาย พลเู กษ
วิทยาลยั เทคนิคกาแพงเพชร
รายงานเล่มน้ีเป็ นส่วนหน่ึงของ
รายงานวิชาทกั ษะภาษาไทยเชิงวิชาชีพ
(รหสั วชิ า 3000-1101)
ภาคเรียนที่ 1 ปี การศึกษา 2564
ช่ือโครงการ โครงการชง่ั หวั มนั
ผรู้ ับผิดชอบกิจกรรมโครงการ นายดิสธร วชั โรทยั
1. หลกั การและเหตผุ ล
โครงการชง่ั หัวมนั ตามพระราชดาริ เกิดข้ึนจากการใส่พระทยั ของพระบาทสมเด็จพระเจา้ อยหู่ ัวฯ ที่ทรง
มีต่อเกษตรกรในพ้ืนที่ ในการจดั ทาโครงการนาร่องเพอ่ื เป็นตวั อย่างในการพฒั นาส่งเสริมอาชีพเกษตรกรรมให้
ประสบความสาเร็จ สามารถเล้ียงดูตวั เองและครอบครัวไดอ้ ย่างยงั่ ยืน ในปี พ.ศ.2552 พระบาทสมเด็จสมเด็จ
พระเจา้ อยู่หัวฯ ทรงสละพระราชทรัพยส์ ่วนพระองค์ ซ้ือที่ดินจากราษฎรที่บา้ นหนองคอไก่ ตาบลเขากระปุก
อาเภอท่ายาง จงั หวดั เพชรบุรี จานวน 250 ไร่ เพื่อพฒั นาเป็นศูนยร์ วบรวมพืชเศรษฐกิจนานาชนิดในเขตจงั หวดั
เพชรบุรี มหาวิทยาลยั แม่โจ้ จึงสนองพระราชดาริ โดยจดั ทาโครงการตน้ แบบในการปลูกพืชผกั พืชไร่ และไม้
ผล จานวน 10 โครงการ สาหรับการประกอบอาชีพเกษตรกรรมแบบผสมผสาน ในพ้ืนท่ี 1 ไร่ ใช้เงินทุน
100,000 บาท และ พ้ืนท่ี 1 ไร่ ใชเ้ งินทุน 50,000 บาท ซ่ึงเกษตรกรท่ีเขา้ มาศึกษาดูงาน สามารถนาไปปรับใชก้ บั
การประกอบอาชีพเกษตรกรรมของตนเองตามความเหมาะสม
2. วตั ถุประสงค์
1. เพ่อื ใหเ้ ป็นแหลง่ รวบรวมพนั ธุ์พชื เศรษฐกิจ พชื พนั ธุด์ ีของอาเภอท่ายาง และของจงั หวดั เพชรบรุ ี
2. เพื่อเป็นแหล่งเรียนรู้ดา้ นการเกษตรแก่เกษตรกร
3. เพอื่ ใหป้ ระชาชนในพ้ืนที่เขา้ มามีส่วนร่วมในการจดั ทาแปลงหรือมาช่วยงานพระองค์
3. เป้าหมาย
เชิงปริมาณ
1. ร้อยละ70 ชาวบา้ นในเขตอาเภอท่ายาง จ.เพชรบุรี มาร่วมชมและศึกษาโครงการ
2. ร้อยละ70ชาวบา้ นตอ้ งการแลกเปล่ียนความคิดการทาการเกษตร
เชิงคณุ ภาพ
1. ชาวบา้ นทกุ คนตระหนกั ถึงความสาคญั ของโครงการ
2. เห็นโดยรวมกนั วา่ ค่อนขา้ งมีประโยชน์และแกป้ ัญหาทางเศรษฐกิจไดด้ ี
3. และทาการสืบสานการทาโครงการต่อเน่ืองถึงปัจจุบนั
4. เนื้อหา
โครงการชง่ั หวั มนั ตามพระราชดาริ ไดด้ าเนินการผลิตผลิตภณั ฑเ์ กษตรท่ีปลอดภยั จากสารพิษ ภายใต้
การควบคุมกากบั ดูแลข้นั ตอนการผลิตอยา่ งใกลช้ ิดโดยนกั วิชาการเกษตรที่มีความชานาญเพื่อใหไ้ ด้
ผลิตภณั ฑท์ ี่มีคณุ ภาพผา่ นการเกบ็ เกี่ยวรวบรวมผลิตภณั ฑท์ ี่ถกู ตอ้ งตามหลกั วชิ าการ การคดั เลือก คดั แยก
และบรรจุ เพ่อื ส่งถึงผบู้ ริโภค ใหม้ น่ั ใจไดว้ า่ ผบู้ ริโภคจะไดร้ ับผลิตภณั ฑท์ ่ีมีคุณภาพ
5.วิธีดาเนินการ/ข้นั ตอนดาเนนิ การ
กจิ กรรมสาคญั ระยะเวลา ผู้รับผดิ ชอบ
1. ซ้ือท่ีดินจากราษฎร พ้นื ที่ประมาณ 120 ไร่
ณ บริเวณอา่ งเกบ็ น้าหนองเสือ ปลายปี พ.ศ. 2551 นายดิสธร
2. ซ้ือแปลงติดกนั เพิ่มอีก 130 ไร่
3. เกิดเหตกุ ารความคิดเห็นตา่ งกนั ทางการเมือง ปี พ.ศ. 2552 นายดิสธร
ทรงเอาหวั มนั เทศวางบนตาชง่ั ต้งั ไวบ้ นโตะ้ ทรงงานเพื่อ เมื่อปี พ.ศ. 2551 นายดิสธร
เป็นคติเตือนใจ “ชง่ั หวั มนั ”
4. เปิ ดป้ายโครงการชงั่ หัวมนั อยา่ งเป็นทางการ วนั ท่ี 1 สิงหาคม 2552 นายดิสธร
5. ประเมินผลและติดตามผลโครงการ
6. สรุปผล/รายงานผลการจดั ทาโครงการ ปี พ.ศ 2551-2552 นายดิสธร
7. นาผลการปฏิบตั ิมาปรับใชแ้ ละพฒั นาต่อ
พ.ศ. 2552 นายดิสธร
13 กรกฏาคม 2552 นายดิสธร
6.ระยะเวลาดาเนินการ
เมื่อปลายปี พ.ศ. 2551 - 13 กรกฎาคม พ.ศ. 2552 เป็นตน้ มา
7.งบประมาณที่ใช้
งบประมาณที่ไดร้ ับจดั สรรท้งั สิ้น : 893,574.00 บาท ... แนวทางตามพระราชดาริและปรัชญาของเศรษฐกิจ
พอเพยี งสู่การปฏิบตั ิ(ศึกษาดูงานโครงการชงั่ หวั มนั 21,200 บ.)
8.หน่วยงาน/ผู้ที่เกย่ี วข้อง
นายดิสธร วชั โรทยั รองเลขาธิการพระราชวงั ในฐานะผอู้ านวยการกองงานส่วนพระองค์ เป็นผรู้ ับผิดชอบ
ดาเนินงานโครงการ และเร่ิมพฒั นาท่ีดินโดยมีกองงานส่วนพระองคส์ านกั พระราชวงั และโครงการส่งน้าและ
บารุงรักษาเพชรบุรี กรมชลประทาน เป็นหน่วยงานกลางในการประสานงานและปฏิบตั ิงาน
-ชาวบา้ นและคนในชุมชน
-หน่วยงานการประสานงานจงั หวดั เพชรบุรี
9.การประเมนิ ผล
ตวั บง่ ช้ีความสาเร็จ วิธีการประเมิน เคร่ืองมือ
ร้อยละชาวบา้ นที่มีส่วนร่วมใน สงั เกตการเขา้ ร่วมอบรม แบบสังเกตการเขา้ ร่วมกิจกกรม
การทากิจกรรม สังเกตการเขา้ ร่วมอบรม แบบสังเกตการเขา้ ร่วมกิจกกรม
ร้อยละชาวบา้ นที่มีความรู้ดา้ น
เกษตร
10.ผลทค่ี าดว่าจะได้รับ
1. เกษตรกร นกั เรียน นกั ศึกษาและประชาชนทวั่ ไปเขา้ ใจถึงโครงการชง่ั หวั มนั ตามพระราชดาริมากข้นึ
2. เกษตรกร นักเรียน นักศึกษาและประชาชนทวั่ ไปนาความรู้จากโครงการช่งั หัวมนั ตามพระราชดาริไปใช้
ประโยชน์ได้
3. เกษตกรรุ่นหลงั ไดร้ ู้ถึงที่มาของโครงการชงั่ หวั มนั ตามพระราชดาริ
อ้างองิ
http://tsdf.nida.ac.th/th/royally-initiated-projects/10756