The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

PA1ส 2565 แบบข้อตกลงในการพัฒนางาน PA นายอรรถพล ชุมพู รองผู้อำนวยการโรงเรียนขุนยวม

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Rong Attapol Choompoo, 2022-10-08 08:31:42

PA1ส 2565 แบบข้อตกลงในการพัฒนางาน PA นายอรรถพล ชุมพู รองผู้อำนวยการโรงเรียนขุนยวม

PA1ส 2565 แบบข้อตกลงในการพัฒนางาน PA นายอรรถพล ชุมพู รองผู้อำนวยการโรงเรียนขุนยวม

PA 1/บส

PA 1/บส

ขอ้ ตกลงในการพัฒนางาน (PA)

สำหรบั ข้าราชการครแู ละบุคลากรทางการศึกษา ตำแหนง่ ผ้บู รหิ ารสถานศึกษา
(วทิ ยฐานะชำนาญการ) ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2565

ระหวา่ งวนั ท่ี 1 เดือน ตุลาคม พ.ศ.๒๕๖๔ ถงึ วนั ท่ี ๓๐ เดอื น กันยายน พ.ศ.๒๕๖๕

นายอรรถพล ชมุ พู

ตำแหนง่ รองผู้อำนวยการโรงเรยี นขนุ ยวม
วทิ ยฐานะ รองผ้อู ำนวยการชำนาญการ

โรงเรียนขุนยวม

สำนักงานเขตพื้นท่กี ารศึกษาประถมศกึ ษาแมฮ่ ่องสอน เขต 1
สำนกั งานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพนื้ ฐาน
กระทรวงศกึ ษาธกิ าร

PA 1/บส

บนั ทกึ ขอ้ ความ

ส่วนราชการ โรงเรยี นขุนยวม

ท่ี 2564/ วนั ท่ี 1 ตลุ าคม 2564

เรื่อง บนั ทกึ ขอ้ ตกลงในการพัฒนางาน (PA) สำหรบั ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศกึ ษา ตำแหน่ง
ผบู้ รหิ ารสถานศึกษา ปีงบประมาณ 2565

เรยี น ผ้อู ำนวยการโรงเรยี นขุนยวม

ตามที่ หนงั สือ สำนกั งาน ก.ค.ศ. ท่ี ศธ0206.3/ว.10 ลงวันท่ี 20 พฤษภาคม 2564 เร่อื ง หลักเกณฑ์
และวิธีการประเมินตำแหน่งและวิทยฐานะข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา ตำแหน่งผู้บริหาร
สถานศึกษา น้นั

ข้าพเจ้า นายอรรถพล ชุมพู ตำแหน่ง รองผู้อำนวยการสถานศึกษา วิทยฐานะ รองผู้อำนวยการ
ชำนาญการ โรงเรียนขุนยวม สังกัด สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาแม่ฮ่องสอน เขต 1 ได้จัดทำ
บันทึกข้อตกลงในการพัฒนางาน (PA) สำหรับข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา ตำแหน่งผู้บริหาร
สถานศกึ ษา ปีงบประมาณ 2565 ระหวา่ งวนั ที่ 1 เดือน ตุลาคม พ.ศ.๒๕๖๔ ถงึ วันท่ี ๓๐ เดือน กันยายน พ.ศ.
๒๕๖๕ มรี ายละเอียดตามสิง่ ทแ่ี นบ

จึงเรียนมาเพ่อื โปรดพจิ ารณา

ลงชื่อ
( นายอรรถพล ชุมพู )

ตำแหนง่ รองผู้อำนวยการโรงเรยี นขนุ ยวม

ความเห็นของผู้อำนวยการโรงเรยี น

......................................................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................................................

ลงชอ่ื ..........................................................
( นายนิกร สุขใจ )

ผอู้ ำนวยการโรงเรียนขนุ ยวม

PA 1/บส

แบบขอ้ ตกลงในการพัฒนางาน (PA)

สำหรับข้าราชการครแู ละบุคลากรทางการศึกษา ตำแหน่งผ้บู รหิ ารสถานศึกษา (วิทยฐานะชำนาญการ)

(สงั กัดสำนกั งานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐาน)

ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565

ระหว่างวันที่ 1 เดอื น ตลุ าคม พ.ศ.๒๕๖๔ ถึงวันท่ี ๓๐ เดอื น กนั ยายน พ.ศ.๒๕๖๕

ผูจ้ ดั ทำข้อตกลง

ชื่อ นายอรรถพล ชุมพู ตำแหนง่ รองผู้อำนวยการสถานศกึ ษา วทิ ยฐานะ รองผอู้ ำนวยการชำนาญการ
สถานศกึ ษา โรงเรียนขุนยวม สังกดั สำนักงานเขตพน้ื ทก่ี ารศึกษาประถมศึกษาแมฮ่ ่องสอน เขต 1

.

รับเงินเดือนในอนั ดับ คศ.๒ อัตราเงนิ เดอื น ๓๒,๘๓๐ บาท

ประเภทของสถานศึกษา

 สถานศึกษาที่จดั การศกึ ษาขนั้ พ้นื ฐาน
 ระดบั ปฐมวยั
 ระดับประถมศึกษา
 ระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนตน้
ระดบั มธั ยมศึกษาตอนปลาย
การจดั การศึกษาพเิ ศษ (ไม่มีระดับชัน้ )

 สถานศกึ ษาที่จดั การศึกษาอาชวี ศึกษา
 ประกาศนียบตั รวิชาชพี
 ประกาศนียบตั รวิชาชพี ชั้นสงู
 การฝึกอบรมวชิ าชีพตามหลกั สตู รวชิ าชพี ระยะส้ัน

 สถานศกึ ษาที่จดั การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัย
 การจดั การศึกษานอกระบบระดบั การศึกษาขั้นพน้ื ฐาน
 การจัดการศกึ ษานอกระบบตามหลักสตู รประกาศนียบัตรวิชาชีพ
 การจดั การศึกษาต่อเน่อื ง

ขา้ พเจา้ ขอแสดงเจตจำนงในการจัดทำขอ้ ตกลงในการพฒั นางาน ตำแหนง่ ผูบ้ รหิ ารสถานศึกษา
วิทยฐานะชำนาญการ ซึ่งเป็นตำแหนง่ และวทิ ยฐานะทีด่ ำรงอยูใ่ นปจั จุบนั กับผู้บงั คับบัญชา ไว้ดงั ต่อไปนี้

PA 1/บส

ส่วนท่ี 1 ข้อตกลงในการพัฒนางานตามมาตรฐานตำแหนง่

1. ภาระงาน จะมีภาระด้านการบริหารวชิ าการและความเป็นผู้นำทางวิชาการ ด้านการบริหาร
จัดการสถานศึกษา ด้านการบริหารการเปลี่ยนแปลงเชิงกลยุทธ์นวัตกรรม ด้านการบริหารงานชุมชนและ
เครอื ข่ายและด้านการพฒั นาตนเองและวชิ าชีพ เปน็ ไปตาม ก.ค.ศ กำหนด

 เต็มเวลา
 ไมเ่ ต็มเวลา
เนอื่ งจาก………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….

โดยภาระงานด้านการบริหารวิชาการและความเป็นผู้นำทางวิชาการ จะมีการปฏิบัติการสอน
ไมต่ ำ่ กว่า ๑4 ช่วั โมง/สปั ดาห์ โดยมกี ารปฏิบตั ิการสอน/การจดั กิจกรรมการเรียนการสอนในสถานศึกษาอย่างใด
อย่างหนึ่งหรอื หลายอยา่ ง ดังน้ี

 ปฏิบัติการสอนประจำวชิ าจำนวน ๑1 ช่ัวโมง/สัปดาห์
 ปฏิบตั ิการสอนรว่ มกับครปู ระจำชน้ั /ประจำวชิ า จำนวน………………..ช่วั โมง/สัปดาห์
 สงั เกตการสอนและสะท้อนผลการสอนรว่ มกบั ครูในกิจกรรมเปิดชนั้ เรียน

จำนวน 1 ช่วั โมง/สัปดาห์
 เป็นผู้นำกิจกรรมแลกเปล่ียนเรยี นรใู้ นชมุ ชนการเรยี นรูท้ างวชิ าชีพ ( PLC) ของโรงเรียน

จำนวน 1 ชั่วโมง/สัปดาห์
 นเิ ทศการสอนเพ่อื เปน็ พเ่ี ล้ยี งการจัดกจิ กรรมการเรยี นรใู้ ห้กบั ครู

จำนวน 1 ชว่ั โมง/สปั ดาห์
 จดั กิจกรรมเสริมสร้างการเรยี นรแู้ ละอบรมบม่ นสิ ยั ผ้เู รียน จำนวน……….ชวั่ โมง/สัปดาห์

2. งานท่ีจะปฏบิ ตั ิตามมาตรฐานตําแหนง่ ผู้บริหารสถานศกึ ษา (ให้ระบรุ ายละเอยี ดของงานท่จี ะ
ปฏบิ ตั ใิ นแต่ละดา้ นว่าจะดำเนนิ การอย่างไร โดยอาจระบรุ ะยะเวลาท่ใี ช้ในการดำเนนิ การดว้ ยกไ็ ด)้

PA 1/บส

ลักษณะงานทีป่ ฏิบตั ิ งาน(Tasks) ผลลพั ธ์(Outcomes) ตัวช้ีวัด (Indicators)

ตามมาตรฐานตำแหนง่ ทจี่ ะดำเนนิ การพฒั นา ของงานตามข้อตกลงท่ี ท่จี ะเกิดขึ้นกบั ผ้เู รียน ครู
ตามขอ้ ตกลงใน 1 รอบ คาดหวังใหเ้ กดิ ขน้ึ กับ และสถานศึกษาทแ่ี สดงให้
เหน็ ถึงการเปล่ียนแปลงใน
การประเมนิ ผเู้ รยี น ครู และ ทางทดี่ ขี ึน้ หรือมีการพัฒนา
สถานศกึ ษา มากขึน้ หรือผลสัมฤทธิ์สงู ขนึ้

1.ด้านการบริหารวิชาการ 1.1 จดั ทำแนวทางการ โรงเรยี นขุนยวมมแี นว ผู้เรยี นร้อยละ 80 มี

และความเปน็ ผ้นู ำทาง ยกระดับผลสมั ฤทธิ์ ทางการยกระดบั ผลสัมฤทธท์ิ างการเรยี น ผ่าน
วิชาการ ทางการเรยี นของ ผลสัมฤทธ์ิทางการเรยี น การประเมนิ ตามหลักสตู ร
สถานศกึ ษานโยบายของ ทสี่ ามารถพัฒนาผู้เรยี น สถานศกึ ษา
ลักษณะงานที่เสนอให้ กระทรวงศึกษาธกิ าร ใหเ้ ป็นคนดีมคี วามรตู้ าม
ครอบคลมุ ถงึ การวางแผนพัฒนา สำนกั งานคณะกรรมการ มาตรฐานของหลกั สูตร ผเู้ รียนทีม่ ีการทดสอบ RT
มาตรฐานการเรยี นร้ขู องผู้เรยี น การศกึ ษาขัน้ พื้นฐานและ สามารถนำ NT และ ONET ร้อยละ 70
การจดั ทำและพฒั นาหลกั สูตร สำนักงานเขตพื้นที่ หลกั ปรัชญาเศรษฐกิจ มผี ลการทดสอบทุกกลุ่ม
สถานศกึ ษา การพฒั นา การศึกษาประถมศกึ ษา พอเพียง และพระบรมรา สาระ สงู กวา่ ค่าเฉลี่ย
กระบวนการจัดการเรียนรูท้ ีเ่ นน้ แม่ฮ่องสอน เขต 1 โดย โชบายดา้ นการศกึ ษาไป ระดบั ประเทศ
ผูเ้ รียนเป็นสำคัญและการ คำนงึ ถึงบรบิ ทของ ใช้ในชีวิตประจำวันได้ ครู
ปฏบิ ตั กิ ารสอน การสง่ เสริม สถานศกึ ษา และความ มคี วามสามารถในการจัด ครูรอ้ ยละ 90 มแี ผนการ
สนับสนนุ การพฒั นาหรือการนำ ต้องการจำเปน็ ของผเู้ รียน กจิ กรรมการเรยี นรู้ท่เี นน้ จดั การเรยี นรทู้ ีเ่ น้นผู้เรียน
สือ่ นวัตกรรม และผู้ท่ีเก่ียวขอ้ ง ผเู้ รยี นเป็นสำคญั การนำ เป็นสำคัญ ใช้กระบวนการ
และเทคโนโลยีทางการศกึ ษา มา สื่อ นวตั กรรมและ จัดการเรียนรู้แบบ Active
ใช้ในการจัดการเรียนรู้ การนิเทศ 1.2 จัดทำ พัฒนาและ เทคโนโลยีทางการศกึ ษา Learning
กำกับ ติดตาม ประเมินผล การ ปรบั ปรงุ หลักสูตรสถาน มาใช้ในการจดั การเรียนรู้
จดั การเรียนรู้ของครูในสถานศกึ ษา สถานศกึ ษา มีการบรหิ าร โรงเรียนขนุ ยวม มผี ลการ
และมีการประกนั คณุ ภาพ จดั การงานทั้ง 4 ฝ่าย ได้ ประเมนิ ประสิทธภิ าพและ
การศกึ ษาภายในสถานศึกษา อย่างมีประสิทธิภาพและ ประสทิ ธิผลจากสำนักงาน
การศึกษา วิเคราะห์ หรือวิจัย เพอื่ เกดิ ประสทิ ธิผล เขตพื้นท่ีการศกึ ษา
แก้ปญั หาและพัฒนาการจดั การ ประถมศึกษาแม่ฮอ่ งสอน
เรียนรเู้ พ่ือยกระดบั คณุ ภาพ โรงเรยี นขนุ ยวมมี เขต 1 สูงกว่ารอ้ ยละ 80
การศึกษาของสถานศกึ ษา หลักสตู รสถานศึกษาที่ ผู้มสี ่วนเกยี่ วขอ้ งร้อยละ 80
มคี วามพงึ พอใจกบั หลกั สูตร

ศึกษา ใหม้ ีความทนั สมัย สามารถพัฒนาผเู้ รียนได้ สถานศึกษาโรงเรยี นขนุ ยวม

สอดคล้องกบั ความตอ้ งการ ตรงกับความตอ้ งการของ

ของผ้เู รยี นและท้องถ่ิน ผู้เรียนและทอ้ งถ่ิน

และจัดทำรายงาน

ประเมินผลการใชห้ ลกั สูตร

จากผมู้ สี ่วนเกยี่ วข้อง เพ่อื

นำผลมาปรบั ปรุงพฒั นา

หลักสูตรต่อไป

PA 1/บส

ลกั ษณะงานทีป่ ฏิบัติ งาน(Tasks) ผลลพั ธ์(Outcomes) ตัวช้วี ัด (Indicators)
ตามมาตรฐานตำแหน่ง
ทจี่ ะดำเนินการพฒั นา ของงานตามข้อตกลง ที่จะเกิดขน้ึ กับผูเ้ รียน ครู
1.ด้านการบรหิ ารวิชาการ ตามข้อตกลงใน 1 และสถานศกึ ษาท่แี สดงให้
และความเป็นผู้นำทาง รอบการประเมิน ท่ีคาดหวังให้เกิด
วิชาการ ข้ึนกับผู้เรยี น ครู และ เหน็ ถงึ การเปลยี่ นแปลงใน
สถานศึกษา
ลกั ษณะงานทีเ่ สนอให้ ทางทด่ี ีข้นึ หรอื มกี ารพฒั นา
ครอบคลมุ ถงึ การวางแผนพฒั นา มากขน้ึ หรือผลสัมฤทธ์ิ
มาตรฐานการเรยี นรู้ของผเู้ รยี น
การจัดทำและพฒั นาหลกั สตู ร สงู ขนึ้
สถานศกึ ษา การพัฒนา
กระบวนการจดั การเรยี นรทู้ ่ีเนน้ 1.3 มีการนิเทศ กำกับ ครู จัดการเรียนรูท้ ่ีเน้น ครู ร้อยละ 90 จัดทำ
ผเู้ รียนเป็นสำคญั และการ
ปฏบิ ตั ิการสอน การสง่ เสริม ติดตามการจดั การเรียนรู้ ผู้เรยี นเป็นสำคญั รายงาน
สนบั สนุน การพฒั นาหรือการนำ ของครู ให้เนน้ ผู้เรยี นเป็น
สื่อ นวัตกรรมและเทคโนโลยี สำคัญให้ครไู ดม้ กี าร มกี ารวิเคราะหผ์ ู้เรียน การวเิ คราะห์ผ้เู รียน
ทางการศกึ ษา มาใชใ้ นการจัดการ วเิ คราะหผ์ เู้ รียน การ การออกแบบ กิจกรรม
เรยี นรู้ การนเิ ทศ กำกบั ติดตาม ออกแบบกิจกรรมการ การเรียนรู้ แบบ Active ครู รอ้ ยละ 90 จดั ทำ
ประเมนิ ผล การจดั การเรยี นรขู้ อง เรยี นรู้ แบบ Active Learning การเลอื กส่ือ
ครใู นสถานศึกษา และมกี าร Learning การเลือกสือ่ และแหล่งเรยี นรู้ แผนการการกจิ กรรมการ
ประกันคณุ ภาพการศกึ ษาภายใน เคร่ืองมือ วดั ผล
สถานศกึ ษา การศกึ ษา วิเคราะห์ และแหลง่ เรยี นรู้ ประเมินผล จัด เรียนรู้ แบบ Active
หรือวจิ ยั เพ่ือแกป้ ัญหาและ เครือ่ งมอื วดั ผลประเมิน กระบวนการเรยี นร้ตู าม
พฒั นาการจัดการเรยี นรู้เพือ่ ผล จดั กระบวน การ แผนพฒั นาคณุ ภาพ Learning และบนั ทกึ หลัง
ยกระดับคุณภาพการศกึ ษาของ เรยี นรู้ ตามแผนพัฒนา การศึกษา
สถานศกึ ษา คณุ ภาพการศึกษา แผน

ครู รอ้ ยละ 90 จดั ทำ
รายงานการใชส้ ือ่ การใช้
เครื่องมือวัดผลประเมนิ ผล

1.4 ดำเนินการส่งเสริม ครู มกี ารพฒั นาหรอื การ ครู ร้อยละ 90 จัดทำ

สนับสนุน ให้ครมู กี าร นำสอื่ นวัตกรรม และ รายงานการใช้/พัฒนาสอ่ื

พฒั นาหรอื การนำสื่อ เทคโนโลยที างการศึกษา นวัตกรรม และเทคโนโลยี

นวตั กรรม และเทคโนโลยี มาใช้ในการจดั การเรียนรู้ ทางการศกึ ษา

ทางการศกึ ษามาใชใ้ นการ

จัดการเรียนรู้

1.5 ดำเนินการการนเิ ทศ โรงเรียนขนุ ยวมมี ครู รอ้ ยละ 100 ได้รับการ

กำกับ ตดิ ตาม ประเมินผล แผนการดำเนินการนเิ ทศ นเิ ทศจากผู้บริหาร ครบู ัดด้ี

การจัดการเรยี นรขู้ องครู การศึกษาภายใต้ และนำผลการนิเทศไป

ในสถานศึกษา และจดั สถานการณก์ ารแพร่ พฒั นา/ปรับปรุงการจัดการ

รายงานการประเมนิ ระบาดโควดิ 19 เรียนรู้

ตนเองของสถานศกึ ษา

SAR เพ่ือเปน็ การประกนั โรงเรยี นขุนยวมมี โรงเรยี นขนุ ยวมมคี ะแนน

คุณภาพการศกึ ษาภายใน คณุ ภาพตามมาตรฐาน การประเมินตนเองของ
การจดั การศกึ ษาระดบั สถานศึกษา SAR โดยรวมอยู่
และภายนอกสถานศกึ ษา ปฐมวัย และระดับ ในระดบั ยอดเย่ียม

การศกึ ษาขน้ั พ้ืนฐาน

1.6 ดำเนินการรวมกลุม่ นักเรยี นได้รบั การ ครูทุกคนและผู้บริหารมี

ชมุ ชนการพัฒนาทาง พัฒนาการเรียนรู้จากการ รายงานการแกป้ ญั หาผู้เรียน
วชิ าชพี ครู (PLC) โดยใช้ รวมกลุ่มชมุ ชนการพฒั นา ผา่ นชุมชนการพฒั นาทาง
แนวทาง Growth ทางวชิ าชพี ครู (PLC) โดย
Mindset ใช้แนวทาง Growth วิชาชีพครู (PLC) โดยใช้
Mindset แนวทาง Growth Mindset

PA 1/บส

ลักษณะงานท่ีปฏิบตั ิ งาน(Tasks) ผลลพั ธ(์ Outcomes) ตัวช้ีวัด (Indicators)
ตามมาตรฐานตำแหน่ง ทจ่ี ะดำเนินการพฒั นา
ตามขอ้ ตกลงใน 1 ของงานตามขอ้ ตกลง ทจ่ี ะเกิดขนึ้ กับผู้เรียน ครู
2.ดา้ นการบรหิ ารจัดการ รอบการประเมนิ ท่คี าดหวงั ให้เกดิ และสถานศกึ ษาที่แสดงให้
สถานศึกษา ขึ้นกบั ผเู้ รียน ครู และ เหน็ ถึงการเปลีย่ นแปลงใน
2.1 ดำเนินการจัดทำ ทางท่ีดีขน้ึ หรอื มีการพัฒนา
การบรหิ ารจดั การสถานศึกษา คูม่ อื การบรหิ ารจัดการ สถานศกึ ษา มากขึ้นหรือผลสัมฤทธ์ิ
ใหเ้ ป็นไปตามกฎหมาย ระเบียบ สถานศึกษาใหเ้ ป็นไปตาม
ขอ้ บงั คับ นโยบาย และตามหลกั กฎหมาย ระเบยี บ สงู ข้นึ
บริหารกิจการ บา้ นเมืองท่ดี ี การ ข้อบังคับ นโยบาย และ
บรหิ ารกจิ การผู้เรยี น และการ บรหิ ารจัดการสถานศึกษา โรงเรียนขุนยวมมคี ู่มือ โรงเรยี นขุนยวม มผี ลการ
สง่ เสรมิ พฒั นาผเู้ รียน ด้านงานวิชาการ
การจัดระบบดแู ลชว่ ยเหลอื ผูเ้ รียน ด้านการบรหิ ารงานบุคคล การบริหารจดั การ ประเมนิ ประสทิ ธภิ าพและ
ดา้ นงบประมาณ ดา้ น
บริหารทั่วไป สถานศกึ ษาทั้ง 4 ฝ่าย ประสิทธผิ ลการบรหิ าร
ให้เปน็ ไปตามกฎหมาย
ระเบียบ ขอ้ บังคบั และมีคำสั่งมอบหมาย จดั การสถานศกึ ษาจาก
นโยบาย ตามหลกั บริหาร
กิจการบ้านเมืองท่ีดี งานบรหิ ารจัดการ สำนกั งานเขตพ้ืนที่การศึกษา
2.2 ดำเนินการการ
สง่ เสริมพฒั นาผ้เู รียน สถานศกึ ษา ตามหลกั ประถมศกึ ษาแม่ฮอ่ งสอน
พัฒนาบทบาทสภา
นักเรียน และสรา้ ง บรหิ ารกิจการบ้านเมืองท่ี เขต 1 สูงกวา่ ร้อยละ 80
เครอื ข่ายผปู้ กครอง
และจดั กิจกรรมช่วยเหลือ ดี
ผเู้ รยี น
2.3 ดำเนินการตามระบบ ผเู้ รยี นได้รบั การสง่ เสริม ผ้เู รียนร้อยละ 90 ได้รบั การ
ดแู ลช่วยเหลือนักเรียน 5
ขน้ั ตอน สรา้ งโอกาส และพัฒนา โดยมสี ภา พฒั นาตามศักยภาพ
ความเสมอภาค และลด
ความเหลอ่ื มลำ้ ทางการ นกั เรยี นเป็นแกนนำใน
ศึกษา
การดำเนนิ การ และมี

เครือขา่ ยผ้ปู กครองท่ีให้

การสนับสนนุ ทาง

การศกึ ษา

ผเู้ รียนไดร้ บั การชว่ ยเหลือ ผูเ้ รียนรอ้ ยละ 90 ไดร้ ับการ

ตามระบบดแู ลช่วยเหลือ ชว่ ยเหลือตามระบบดูแล
นกั เรียน 5 ขัน้ ตอน
ชว่ ยเหลอื นักเรยี น 5

ขั้นตอน

PA 1/บส

ลักษณะงานท่ปี ฏิบัติ งาน(Tasks) ผลลัพธ์(Outcomes) ตัวชีว้ ัด (Indicators)
ตามมาตรฐานตำแหนง่ ท่จี ะดำเนินการพัฒนา ของงานตามขอ้ ตกลง ท่จี ะเกดิ ข้นึ กับผเู้ รยี น ครู
ตามข้อตกลงใน 1 ที่คาดหวงั ใหเ้ กิดขึ้นกบั และสถานศึกษาทแี่ สดงให้
3. ดา้ นการบริหารการ รอบการประเมิน ผ้เู รียน ครู เห็นถึงการเปลีย่ นแปลง
เปล่ยี นแปลงเชิงกลยุทธแ์ ละ และสถานศกึ ษา ในทางทดี่ ีข้ึนหรือมกี าร
นวตั กรรม 3.1 รว่ มจัดทำ/ปรับปรงุ พฒั นามากข้นึ หรอื
แผนพฒั นาคุณภาพ โรงเรียนขนุ ยวม มีแผน ผลสมั ฤทธสิ์ ูงขนึ้
การกำหนดนโยบาย กลยุทธ์ การศกึ ษา กำหนด พฒั นาคุณภาพการศกึ ษา โรงเรยี นขนุ ยวม มผี ลการ
การใช้เครือ่ งมือหรือนวัตกรรม นโยบาย กลยทุ ธ์ การ ที่มีมาตรฐานตามท่ี ประเมินประสทิ ธภิ าพและ
ทางการบรหิ าร และการนำไป บริหารบรหิ ารจดั การ หลักสตู รกำหนด สามารถ ประสิทธิผลจากสำนักงาน
ปฏิบัติ การบรหิ ารการ สถานศกึ ษา นำหลักปรัชญาเศรษฐกจิ เขตพื้นท่กี ารศึกษา
เปลย่ี นแปลงและนวัตกรรมใน พอเพยี ง และพระบรมรา ประถมศกึ ษาแมฮ่ อ่ งสอน
สถานศกึ ษา เพื่อพฒั นา โชบายดา้ นการศึกษาไปใช้ เขต 1 สูงกวา่ ร้อยละ 80
สถานศึกษา ในชีวติ ประจำวนั ได้

3.2 จัดทำรปู แบบการ โรงเรียนขุนยวมมี นวตั กรรมทจี่ ัดทำขึ้นสามารถ
พัฒนานวตั กรรมการ นวตั กรรมการพัฒนาการ แกป้ ัญหาและการพฒั นาการ
พฒั นาการจดั การเรยี นรู้ จดั การเรียนรู้ และ จัดการเรยี นรู้ ของผ้เู รยี นได้
และเผยแพรใ่ หแ้ ก่ เผยแพร่ ให้แก่ และสามารถเผยแพร่ใหแ้ ก่
สถานศกึ ษาใกล้เคยี ง สถานศึกษาใกลเ้ คียง
ปรบั เปล่ียน สถานศกึ ษาใกล้เคียงได้

4. ดา้ นการบรหิ ารงานชมุ ชน 4.1 เขา้ ร่วมเครอื ข่าย/ โรงเรียนขุนยวมเขา้ รว่ ม โรงเรยี นขนุ ยวมมีการ
เครือข่าย/กลุม่ ผู้รว่ ม ประชมุ ผปู้ กครองและกลมุ่
และเครอื ข่าย กลมุ่ วิชาชีพพัฒนา พัฒนาโรงเรียน วิชาชีพที่พฒั นาการจดั การ
เรยี นรู้ไมน่ ้อยกวา่ 2 คร้ัง/
การสรา้ งและพัฒนาเครือข่าย โรงเรียนดา้ นการจดั การ ภาคเรียน
เพ่อื พฒั นาการเรยี นรู้ การจัดระบบ เรยี นรู้ และเสริมสรา้ ง
คณุ ธรรม จริยธรรม
การให้บริการในสถานศกึ ษา
ชว่ ยเหลอื และพัฒนา

คุณลกั ษณะอนั พึง

ประสงคข์ องผเู้ รยี น

4.2 ดำเนินการระดม โรงเรียนขุนยวมได้รับการ โรงเรยี นขนุ ยวมได้รบั การ
ทรัพยากรเพอ่ื การศึกษา
ใหบ้ รกิ ารดา้ นวิชาการแก่ สนบั สนุนดา้ นงบประมาณ สนบั ดา้ นงบประมาณ
ชุมชน และงานจิตอาสา
เพอื่ สรา้ งเครอื ขา่ ยในการ บุคลากร วัสดุ อปุ กรณ์ บุคลากร วัสดุ อปุ กรณ์ จาก
พฒั นาคณุ ภาพการศึกษา
จากเครอื ขา่ ย/กลุ่มผู้ร่วม องคก์ รภายนอกไมน่ อ้ ยกว่า

พฒั นาโรงเรยี น 3 โครงการ/ปี

PA 1/บส

ลกั ษณะงานทีป่ ฏิบัติ งาน(Tasks) ผลลัพธ์(Outcomes) ตัวชี้วัด (Indicators)

ตามมาตรฐานตำแหนง่ ทจ่ี ะดำเนนิ การพัฒนา ของงานตามข้อตกลง ท่จี ะเกดิ ขึน้ กับผเู้ รยี น ครู
ตามขอ้ ตกลงใน 1 ทีค่ าดหวงั ใหเ้ กิดขึน้ กบั และสถานศึกษาทแ่ี สดงให้
รอบการประเมนิ ผเู้ รยี น ครู
และสถานศึกษา เห็นถึงการเปลีย่ นแปลง

ในทางท่ดี ขี ึ้นหรอื มีการ
พัฒนามากขึ้นหรือ

ผลสมั ฤทธ์สิ งู ข้นึ

5. ด้านการพัฒนาตนเองและ 5.1 เขา้ รบั อบรมและ รองผ้อู ำนวยการได้รบั รองผ้อู ำนวยการได้รับการ

วิชาชพี พัฒนาตนเองและวชิ าชีพ การพฒั นาตนเองและ พัฒนาตนเองและวิชาชีพ

การพัฒนาตนเองและวิชาชพี ชยายผลการเรยี นร้ใู ห้ วชิ าชพี สามารถนำความรู้ ทักษะ ท่ี

การนำความรู้ ทักษะ ทีไ่ ด้จากการ ผู้อนื่ เปน็ ประจำและ สามารถนำความรู้ ทกั ษะ ได้จากการพัฒนาตนเองและ

พฒั นาตนเองและวิชาชีพ มาใชใ้ น ต่อเนอ่ื ง และเปน็ ผู้นำใน ทีไ่ ดจ้ ากการพฒั นาตนเอง วชิ าชพี ไม่น้อยกวา่ 20

การพัฒนาการบริหารจัดการ การสร้างชุมชนการเรียนรู้ และวชิ าชีพ และขยายผล ชั่วโมง/ปี

สถานศึกษา ท่ีส่งผลตอ่ คณุ ภาพ ทางวชิ าชีพครู (PLC) การเรียนรใู้ ห้ผูอ้ ่นื

ผ้เู รยี น ครู และสถานศกึ ษา นำมาใช้ในการพฒั นาการ

บรหิ ารจดั การสถานศกึ ษา

5.2 จดั ทำนวัตกรรม โรงเรยี นขุนยวมมนี วตั กรรม นวตั กรรมท่ีจัดทำขึ้นสามารถ

การพัฒนาการจัดการ การพฒั นาการจัดการ แก้ปญั หาและการพัฒนาการ
เรียนรู้ และเผยแพร่ใหแ้ ก่ เรียนรู้ และเผยแพรใ่ หแ้ ก่ จัดการเรยี นรู้ ของผูเ้ รียนได้
สถานศกึ ษาใกล้เคียง สถานศกึ ษาใกล้เคียงได้ และสามารถเผยแพร่ใหแ้ ก่
และสามารถใหค้ ำปรึกษา สถานศึกษาใกล้เคยี งได้
กับผอู้ ื่นได้

PA 1/บส

ส่วนที่ 2 ข้อตกลงในการพัฒนางานที่เป็นประเด็นท้าทายในการพัฒนาคุณภาพผู้เรียน ครู และ
สถานศึกษา

ประเด็นที่ท้าทายในการพัฒนาคุณภาพผู้เรียน ครู และสถานศึกษา ของผู้จัดทำข้อตกลง ซึ่งปัจจุบัน
ดำรงตำแหน่งผู้บริหารสถานศกึ ษา วทิ ยฐานะรองผ้อู ำนวยการชำนาญการ ตอ้ งแสดงให้เหน็ ถงึ ระดับการปฏิบัติท่ี
คาดหวังของวิทยฐานะรองผู้อำนวยการชำนาญการ คือ การแก้ไขปัญหา การบริหารจัดการสถานศึกษาและ
คุณภาพการศึกษาของสถานศึกษา ให้เกิดการเปลี่ยนแปลงไปในทางที่ดีขึ้นหรือมีการพัฒนามากขึ้น (ทั้งน้ี
ประเดน็ ทา้ ทายอาจจะแสดงให้เหน็ ถึงระดบั การปฏบิ ัติที่คาดหวงั ในวิทยฐานะทสี่ งู กว่าได้)

ประเด็นทา้ ทาย เรือ่ ง การพัฒนากระบวนการนิเทศภายในโรงเรยี นขนุ ยวม ในระดบั ชัน้ ปฐมวยั

1. สภาพปญั หาการบริหารจดั การสถานศึกษาและคณุ ภาพการศึกษาของสถานศกึ ษา
โรงเรียนขนุ ยวมเป็นโรงเรียนประถมศึกษา ขนาดกลาง สังกดั สำนกั งานเขตพืน้ ท่ีการศกึ ษาประถมศกึ ษา
แม่ฮ่องสอน เขต 1 พัฒนาคุณภาพผู้เรียนตามบริบท โรงเรียนหลากชนเผ่า และปัจจัยที่จำกัด ตามข้อกำหนด
อน่ื ๆ ดว้ ยเปา้ หมายหลัก ตามวิสยั ทศั น์ คอื การจดั การศึกษาขั้นพืน้ ฐานใหแ้ กเ่ ดก็ ชาติพันธอุ์ ยา่ งเสมอภาค ทั่วถงึ มี
คณุ ภาพ
การพัฒนาครูและบุคลากรให้มีความรู้ ความสามารถ ทักษะและเจตคติที่ดี สอดคล้องกับการจัด
การศึกษาและการพัฒนาผู้เรียนตามแนวทางท่ีพงึ ประสงค์นน้ั ถือเปน็ เรื่องที่มีความสำคญั อย่างยิ่งหากจะรอคอย
ให้หน่วยงานระดับเขตพื้นที่การศึกษา หรือ หน่วยงานภายนอกจัดการพัฒนาครูและบุคลากร ก็ไม่อาจเป็น
หลักประกันไดว้ ่า การจัดการพัฒนาน้นั ๆ จะสอดคล้องตรงตามความต้องการของบุคลกรภายในโรงเรียนหรือไม่
กระบวนการนิเทศภายในจึงเป็นทางเลือกที่ดีที่สุดในการพัฒนาครแู ละบุคลากรของหน่วยงาน ด้วยการพึ่งพา
ตนเอง กลุ่มเครือข่ายความร่วมมือ ระบบบรหิ ารภายในองคก์ ร การแลกเปลี่ยนเรยี นรู้และประสบการณ์ จึงเป็น
วธิ ีการสำคญั ท่จี ะสามารถสนองความต้องการในการพฒั นาตนเองของครูและบคุ ลากรสายงานการสอนได้
โรงเรียนขุนยวม อำเภอขุนยวม จังหวัดแม่ฮ่องสอน สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา
แมฮ่ ่องสอน เขต 1 สำนักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขน้ั พ้นื ฐาน กระทรวงศกึ ษาธิการ เป็นโรงเรียนขนาดกลาง
จดั การศึกษา ตั้งแต่ชน้ั อนบุ าลปที ่ี 2 ถงึ ช้ันประถมศกึ ษาปที ี่ 6 ปีการศกึ ษา 2563 มีจำนวนนกั เรียนท้ังสนิ้ 375
คน มผี ้บู ริหารจำนวน 2 คน ครูประจำการ จำนวน 16 คน พนักงานราชการจำนวน 1 คน ครแู ละบคุ ลากรอื่น
จำนวน 10 คน การจดั การศึกษาของโรงเรียนได้ยึดตามแนวนโยบายของสำนกั งานคณะกรรมการการศึกษาข้ัน
พื้นฐานเป็นหลักโดยเฉพาะนโยบายปฏิรูปการศึกษาเพื่อใหเ้ ด็กและเยาวชนมีความสามารถและทักษะในการคดิ
วิเคราะห์ทักษะการใช้ภาษาทั้งภาษาไทยและภาษาต่างประเทศตลอดจนมีคุณธรรมและครูคือหัวใจสำคัญขอ ง
การจัดการเรียนการสอนโรงเรียนได้จัดทำกรอบแนวคิดในการดำเนินงานของโรงเรียนขุนยวม จังหวัด
แมฮ่ อ่ งสอน สู่มาตรฐานสากลมีการวางแผนพฒั นางานพฒั นาบุคลากรให้มีคุณภาพมปี ระสิทธภิ าพสามารถจัดการ
เรียนการสอนโดยเน้นผู้เรยี นเปน็ สำคัญเพ่ือใหน้ ักเรียน เป็นคนดีคนเก่งและมีความสุข มีการนิเทศกำกับติดตาม
ประเมินผลอย่างต่อเน่ือง การจดั การเรยี นการสอนแบบ Active Learning ยังไมป่ ระสบผลสำเร็จตามเป้าหมายท่ี
กำหนด ดังนั้นทางฝ่ายบริหารและฝ่ายวิชาการที่มีหน้าที่โดยตรงในการนิเทศกำกับติดตามและประเมินผลการ
ดำเนนิ งานไดต้ ระหนักและมองเหน็ จุดด้อยท่ีต้องพัฒนาจึงไดป้ ระชุมปรึกษาหารือร่วมกบั คณะกรรมการนิเทศได้

PA 1/บส

วิเคราะห์สภาพปญั หาปจั จุบนั วิเคราะห์สาเหตขุ องปญั หาและความต้องการจำเปน็ ท่ีแท้จรงิ จงึ ได้ขอ้ สรุปว่าควรมี
การจดั การนเิ ทศการเรยี นการสอน ครแู ละบคุ ลากรอยา่ งเปน็ ระบบเพ่ือใหก้ ารจดั การกระบวนการเรียนรู้ของครูมี
ประสิทธิภาพและเกิดประสิทธิผลให้สอดคล้องกับพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติพ.ศ..2542 และที่แก้ไข
เพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ.2545 เพื่อนำผลการประเมินไปปรับปรุงและพัฒนาหรือแก้ปัญหาต่างๆอย่างเป็น
รูปธรรม ที่จะส่งผลต่อการพัฒนาครูให้เป็นครูมืออาชีพซึ่งจะสามารถพัฒนาคุณภาพการเรียนการสอนที่เน้น
ผู้เรยี นเปน็ สำคญั ทำใหน้ กั เรียนมีผลสัมฤทธ์ิทางการเรยี นทสี่ ูงข้นึ ตามเป้าหมายทโี่ รงเรียนกำหนดไว้ ให้นักเรียน
มคี วามรู้ความสามารถตามหลกั สูตรและสง่ ผลใหน้ กั เรียนมีพฤตกิ รรมทพ่ี งึ ประสงค์ของโรงเรยี น ดงั นั้น โรงเรียน
ขุนยวมจึงได้วางแผนการดำเนินงานพัฒนากระบวนการนิเทศภายในโรงเรียนขุนยวม ในระดับชั้นปฐมวัย ให้มี
คุณภาพ ภายใต้การจัดการเรยี นรู้ในศตวรรษที่ 21 และภายใต้สถานการณก์ ารแพร่ระบาดของโรคไวรัสโคโรน่า
2019

ในสถานการณก์ ารแพร่ระบาดของโรคติดเชอ้ื ไวรสั โคโรนา 2019 (COVID 19) ทำให้หลาย ๆ ประเทศ
ต้องมีมาตรการในการรับมอื อยา่ งเหมาะสม เพื่อจำกัดการแพร่ระบาด ซึ่งหนึ่งในมาตรการที่ถูกนำมาใช้คือ การ
ปิดสถานท่ีท่มี ีคนพลุกพลา่ นเพื่อลดความเสี่ยงในการแพร่ระบาดของเช้ือไวรสั โดยสถานท่ีทม่ี ักจะเป็นกลุ่มแรก ๆ
ทไี่ ด้รบั ผลกระทบคอื สถาบนั การศึกษาตา่ ง ๆ ซง่ึ ตอ้ งงดกิจกรรมการเรียนการสอนอย่างหลีกเลีย่ งไมไ่ ด้

และดว้ ยความท่ีสถาบันการศึกษาต่าง ๆ นั้น มักเป็นกลุม่ แรก ๆ ทมี่ กี ารควบคมุ ทำใหม้ ีการใช้เร่ืองของ
การเรียนออนไลน์สำหรับสถานศึกษาที่มีความพร้อม และการเรียนแบบออนแฮนด์ หรือออนดีมานด์สำหรับ
โรงเรียนทไี่ ม่มคี วามพร้อมเข้ามาปรบั ใช้ เพอื่ ใหส้ ามารถขบั เคลอ่ื นการเรยี นรูต้ ่อไปได้ แมว้ ่าผูเ้ รยี นจะยงั คงต้องอยู่
บ้านตามมาตราการป้องกันโรค ซึ่งจากการระบาดครั้งแรก สู่การระบาดในรอบปัจจุบัน ทำให้เกิดปัญหาความ
เหลื่อมล้ำทางการศึกษา การเลื่อนชั้น รวมถึงโครงการและกิจกรรมทีม่ ีส่วนเกีย่ วข้องต่าง ๆ ที่ต้องคิดพิจารณา
เพือ่ หาแนวทางในการดำเนนิ การไดอ้ ยา่ งเหมาะสมกบั สถานการณ์

สำหรับระดับการศึกษาที่น่าจะได้รับผลกระทบและน่าเป็นห่วงมากที่สุด คือระดับการศึกษาปฐมวัย
เพราะด้วยช่วงวัยและข้อจำกัดต่าง ๆ ทำให้เด็กปฐมวัยนั้นได้รับผลกระทบจากการหยุดเรียน หรือปรบั เปลี่ยน
รูปแบบการจัดประสบการณ์ ทั้งทางตรงและทางอ้อม หรือที่เรียกว่า ภาวะการณ์เรียนรู้ถดถอย (Learning
Loss)

โรงเรียนขุนยวม ในช่วง 1-2 ปีที่ผ่านมา หากโรงเรียนเกิดสถานการณ์การแพร่ระบาด ก็จะมีการ
ปรบั เปลีย่ นรูปแบบการจัดการเรียนรู้จาก ออนไซต์ ไปเปน็ รปู แบบออนแฮนด์ ออนไลน์ หรือออนดีมานด์ โดยนำ
ผลจากการบริหารจัดการศึกษาปฐมวัย รูปแบบการนิเทศภายในแบบมีส่วนร่วม ด้วยกระบวนการ KYSCk
Model มาใช้ในการพฒั นาคุณภาพเด็ก ให้ครอบคลุมท้ังดา้ นรา่ งกาย จิตใจ อารมณ์ สังคม และสติปัญญา ตาม
นโยบายการจดั การศกึ ษาของสำนกั งานคณะกรรมการการศึกษาขนั้ พนื้ ฐาน และนโยบายของจงั หวัดแม่ฮ่องสอน

จากสาเหตุดังกล่าว ข้าพเจ้าในฐานะผู้บริหารสถานศึกษาและผู้สอน มีความต้องการในการพัฒนา
กระบวนการนิเทศภายในโรงเรียนขุนยวม ในระดับชั้นปฐมวัย จึงมคี วามสนใจที่จะนำรูปแบบการบริหารโดยใช้
KYSCk Model บริหารจัดการกระบวนการนิเทศภายใน ให้มีคณุ ภาพและได้มาตรฐาน

PA 1/บส
2. วิธีการดำเนนิ การให้บรรลผุ ล
การพัฒนากระบวนการนิเทศภายในโรงเรียนขุนยวม ในระดับชั้นปฐมวัย มีการดำเนินงานภายใต้กรอบ
วิสัยทัศน์ พันธกิจ เป้าหมาย และอัตลักษณ์ เอกลักษณ์ ของโรงเรียนขุนยวม และใช้ KYSCk Model เข้ามา
ช่วยในการดำเนนิ งานให้มีประสทิ ธิภาพ บรรลตุ ามวตั ถปุ ระสงคข์ องโรงเรยี น โดยใช้

KYSCk Model (ความรว่ มมือคือผลสำเร็จ) ประกอบด้วยรายละเอยี ด ดังน้ี
K : Knowledge Management คอื การรวบรวม และจัดการความรู้ ใหเ้ ปน็ ระบบ
Y : Yield คอื มีผลงาน นวัตกรรมเป็นที่ประจักษ์ และปฏิบตั ิงานโดยเน้นผลสมั ฤทธิ์
S : Supervision คือ การนิเทศ กำกบั ติดตาม ให้คำแนะนำ
C : Cooperatively คือ ความร่วมมอื และการมีสว่ นร่วม
k : kindergarten คอื การจัดการศึกษาระดับปฐมวยั เพอื่ จัดประสบการณ์ให้กบั เดก็ ครอบคลมุ ท้ัง 4 ด้าน

กระบวนการนเิ ทศภายใน
รูปแบบกระบวนการนิเทศภายในแบบมีส่วนร่วม ด้วยกระบวนการ KYSCk Model เพื่อการพัฒนา

คุณภาพการศึกษา ในระดบั ปฐมวัย ประกอบดว้ ย กระบวนการทีส่ ำคัญ ๕ ขั้นตอน ดังนี้
ขั้นท่ี 1. การเยย่ี มชน้ั เรยี นและให้คำแนะนำเชงิ ปฏบิ ตั กิ าร (การนเิ ทศ กำกบั ตดิ ตาม ใหค้ ำแนะนำ) (S)
๑.๑ ครวู างแผนการจดั ประสบการณก์ ารเรียนรู้ โดยศึกษาวเิ คราะห์ข้อมลู รายบคุ คลของเด็ก ศกึ ษา ข้อมูล

พฒั นาการ มีการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ตามหลักสูตรและมีแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม เสรมิ ในการพัฒนา
เดก็ อยา่ งเปน็ ระบบและตอ่ เน่ือง

๑.๒ ส่งเสริมให้ ผู้ปกครอง พ่อแม่ ครอบครัว ชุมชน และทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้องมีส่วนร่วมในการส่งเสริม
พัฒนาการของเดก็

PA 1/บส

ขัน้ ท่ี 2. การรวมกลมุ่ ชุมชนการเรียนร้ทู างวชิ าชีพเพื่อพิจารณาแผนการสอน (ความรว่ มมือ และการ
มีสว่ นร่วม) (C)

๒.๑ ครูนำเสนอแผนการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ ในรูปแบบกลุ่ม PLC แบบ Growth Mindset โดย
Buddy เพื่อพิจารณา ข้อดี และข้อควรพัฒนาต่อยอด เพื่อนำไปสู่การปรับปรุงแผนการจัดประสบการณ์การ
เรียนรู้ให้เหมาะสม มปี ระสทิ ธิภาพ

๒.๒ ครูบันทกึ ภาพหรอื คลิปวีดีโอกิจกรรมการจัดประสบการณก์ ารเรียนรู้ เพอ่ื การนเิ ทศ ผ่านเฟสบุ๊คงาน
วิชาการ ไลน์ และคลปิ จากชอ่ งยทู ูปของ โรงเรียน ขุนยวม

ขั้นที่ 3. การนำแผนการสอนจากการพิจารณาไปทดลองใช้และมีการเยี่ยมชั้นเรียน (การจัดการ
ศกึ ษาระดับปฐมวยั เพือ่ พัฒนาใหค้ รบท้งั 4 ดา้ น) (k)

๓.๑ ครนู ำแผนการจดั ประสบการณ์การเรยี นรขู้ องเดก็ ระดับปฐมวัย จากการปรบั ปรงุ ในรูปแบบกลมุ่ PLC
แบบ Growth Mindset โดย Buddy ไปทดลองใช้ในชั้นเรียน หรือ ออกแบบเครื่องมือ ใบงาน ในการจัด
ประสบการณ์แบบออนไลน์ หรือออนแฮนด์ โดยมผี ู้นิเทศ และบัดดเ้ี ยยี่ มช้นั เรียน สงั เกตุการสอน

3.2 ปรับปรุงแผนการจดั ประสบการณ์การเรยี นร้ใู หเ้ หมาะสม และมีประสิทธภิ าพ

ขั้นท่ี 4. การวภิ าคกระบวนการจัดการเรยี นรู้เพือ่ นำข้อเสนอแนะไปปรับปรงุ (ครูรวบรวม และจดั การ
ความรู้ ให้เปน็ ระบบ) (K)

๔.๑ ผนู้ เิ ทศ (ครใู นทีมพัฒนา) ศึกษาข้อมลู กิจกรรมการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ จากการสังเกตการณ์
สอน ผา่ น Google Meet และคลปิ จากช่อง YouTube ของ โรงเรยี นขนุ ยวม

๔.๒ ผู้นิเทศเสนอความคดิ เห็น ข้อเสนอแนะจากการศึกษาข้อมูล ตามประเด็นในเครื่องมือประกอบการ
นิเทศโดยใชข้ อ้ มลู เป็นฐาน ซ่ึงสอดคลอ้ งกบั จุดเน้นการพฒั นาเด็กปฐมวยั โรงเรียนขนุ ยวม

ขน้ั ท่ี 5. นำองค์ความร้แู ละผลงาน สรา้ งนวตั กรรมทางการศึกษา (มีผลงาน นวัตกรรมเปน็ ท่ปี ระจักษ์
และปฏบิ ัติงานโดยเน้นผลสัมฤทธิ์) (Y)

ครูผู้สอนและทีมนิเทศ ร่วมประชุมสรุปผล สะท้อนผล ให้ข้อคิดเห็น เสนอแนะ พัฒนา ตามประเด็น
ประกอบการนเิ ทศ ดังน้ี

๕.๑ ความสมั พันธ์ของแผนการจัดประสบ การณก์ ารเรียนรู้กับมาตรฐานของหลกั สูตร
๕.๒ การกำหนดเป้าหมาย วัตถุประสงค์ ของแผนการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ เพื่อการนำไปใช้จัด
กิจกรรมสง่ เสริมประสบการณก์ ารเรยี นรู้
๕.๓ ความสอดคล้องของการจดั ประสบ การณก์ ารเรียนรกู้ บั จดุ เน้นการพฒั นาคุณภาพเดก็
๕.๔ การใช้แพลตฟอร์มออนไลน์ ระบบ ICT มาช่วยสนับสนนุ การจัดประสบการณก์ ารเรียนรู้ ทั้งการจัด
ประสบการณแ์ บบออนไซต์ ออนไลน์ หรือแบบออนแฮนด์
๕.๕ วธิ ีการ เครื่องมอื วัด การประเมนิ ผล และการนำผลไปปรบั ปรุง ออกแบบการเรยี นรู้

PA 1/บส

3. ผลลัพธ์การพัฒนาท่คี าดหวงั
3.1 เชงิ ปรมิ าณ
ครูปฐมวัยโรงเรียนขุนยวมจัดประสบการณ์การเรียนรู้ในรูปแบบต่างๆ ที่มีผลการจาก

กระบวนการนิเทศภายใน เพื่อพฒั นาเด็กตามวยั อยา่ งมปี ระสทิ ธิภาพ ร้อยละ 100
3.2 เชงิ คณุ ภาพ
โรงเรียนขุนยวมมีกระบวนการนเิ ทศภายใน ในจดั การศึกษาระดับปฐมวัย ท่เี ปน็ ระบบ มคี ุณภาพ

และเปน็ ที่ยอมรบั แพร่หลาย

ลงชอื่ ............................................................
( นายอรรถพล ชมุ พู )

ตำแหน่ง รองผอู้ ำนวยการโรงเรียนขุนยวม .
๑ / ตุลาคม / ๒๕๖๔

ความเห็นของผบู้ งั คบั บัญชา
( ) เห็นชอบให้เป็นขอ้ ตกลงในการพัฒนางาน
( ) ไม่เห็นชอบใหเ้ ป็นขอ้ ตกลงในการพฒั นางาน โดยมขี ้อเสนอแนะเพอื่ นำไปแกไ้ ข และเสนอ

เพอ่ื พจิ ารณาอกี ครั้งดงั น้ี

ลงช่ือ............................................................
( นายนิกร สขุ ใจ )

ตำแหนง่ ผ้อู ำนวยการโรงเรยี นขนุ ยวม .
๑ / ตุลาคม / ๒๕๖๔

PA 1/บส


Click to View FlipBook Version