The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

เศรษฐกิจพอเพียง

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Viper Two, 2021-02-09 06:31:33

เศรษฐกิจพอเพียง

เศรษฐกิจพอเพียง

รายงาน
เรอื่ ง เศรษฐกจิ พอเพยี ง

จดั ทาโดย
นาย ศภุ พล โสมภรี ์ม.3/11 เลขที่ 19

เสนอ
คณุ ครู ศริ ริ กั ษ ์ สมพงษ ์

รายงานนีเ้ ป็ นสว่ นหนึ่งของวชิ า อาชพี 3 (การเงนิ สว่ นบคุ คล)
รหสั วชิ า ง23201 กลมุ่ สาระการเรยี นรกู ้ ารงานอาชพี

คาํ นาํ

ค ว า ม สาํ คั ญ กั บ ก า ร น้ อ ม นาํ ห ลั ก ป รั ช ญ า ข อ ง เ ศ ร ษ ฐ กิ จ พ อ
เ พี ย ง

ข อ ง พ ร ะ บ า ท ส ม เ ด็ จ พ ร ะ ป ร มิ น ท ร ม ห า ภู มิ พ ล อ ดุ ล ย เ ด ช ม า
เ ป น แ น ว ท า ง ใ น ก า ร พั ฒ น า ป ร ะ เ ท ศ
แ ล ะ ไ ด้ ม อ บ ห ม า ย ใ ห้ ก ร ะ ท ร ว ง ม ห า ด ไ ท ย น้ อ ม นํา ห ลั ก
ป รั ช ญ า ข อ ง เ ศ ร ษ ฐ กิ จ พ อ เ พี ย ง
ไ ป เ ผ ย แ พ ร่ ส ร้ า ง ค ว า ม เ ข้ า ใ จ ทุ ก พื น ที ทั ว ทั ง ป ร ะ เ ท ศ จ น นํา
ไ ป สู่ ก า ร น้ อ ม นาํ ไ ป ป ฏิ บั ติ
จ น เ ป น ว ถี ชี ว ต ดั ง นั น เ พื อ ใ ห้ ก า ร ดํา เ นิ น ง า น ข อ ง ก ร ะ ท ร ว ง
ม ห า ด ไ ท ย บ ร ร ลุ ต า ม เ ป า ห ม า ย

กิตตกิ รรมประกาศ

โครงงานเรือง เศรษฐกิจพอเพียงนี จะ
สาํ เร็จไปด้วยดีอย่างยิงเพราะได้รับความ
ช่วย เหลือจากคุณครูศิริรักษ์ สมพงค์ ที
คุณครูให้คํา แนะนาํ ต่างๆเพือให้ผู้จัดทํา
โครงงานนาํ มา ปรับปรุงและแก้ไขโครง
งานให้สมบูรณ์มากยิง ขึนคณะผู้จัดทําขอ
ขอบพระคุณอย่างยิง

นาย ศุภพล โสมภรี ์

สารบญั หนา้

เรอง ข

คํานาํ
กิตติกรรมประกาศ
สารบัญ

ปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพยี ง 1

แนวคิดของปรัชญา 2
เศรษฐกิจพอเพยี ง 3

บรรณานกุ รม

ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง

(The Philosophy of Sufficiency Economy)

เศรษฐกจิ ฐานราก / เศรษฐกจิ พอเพียง

การพัฒนาตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ขององค์พระบาทสมเด็จพระ
เจ้าอยู่หัว เป็นแนวทางหน่ึงท่ีพระองค์ทรงคิดค้น และให้แนวทางไว้เพ่ือพสกนิกรของพระองค์ได้
ตระหนักถึงสภาวการณ์ของโลกท่ีเปล่ียนไป คือ การพัฒนาในปัจจุบันจะมุ่งเน้นการพัฒนาความ
เจริญทางด้านวัตถุ หรือจะพูดว่าเปน็ โลกแหง่ วัตถุนิยมก็ไม่ผดิ การพัฒนาทางดา้ นวตั ถุอย่างรวดเร็ว จะ
ทาใหว้ ิถชี วี ติ ของผู้คนเปลีย่ นไป ครอบครวั / ชุมชนหรอื สงั คมชนบทลม่ สลาย ทางหนึ่งท่ีต้องกลบั มา
ทบทวนถงึ ผลการพฒั นาทเ่ี กดิ ขึ้นในปจั จบุ นั การพัฒนาทางวตั ถุแบบสุดโตง่ จงึ ไม่ใชท่ างเลือกน้ดี ีนัก
ควรมีการถอยลงมาหรือก้าวอยา่ งระมดั ระวัง หรือจะใชค้ าว่ามชั ฌมิ าหรือทางสายกลางก็ได้ เมอ่ื มีระบบ
เศรษฐกิจระดับใหญ่(ระดบั ชาต)ิ หรือมหภาคกค็ วรมีเศรษฐกิจระดบั เล็ก (ชุมชน หรอื ครัวเรือน) ซง่ึ จะ
เป็นฐานทรี่ องรับระบบเศรษฐกิจใหญห่ รือขา้ งบนแนวทางปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพยี ง จึงเป็นเสมือนเกาะ
ปอ้ งกนั ตนเองทางเศรษฐกิจของประเทศไทยไดเ้ ป็นอย่างดี

เศรษฐกิจพอเพยี ง คืออะไร

ปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพยี ง

ทางสายกลาง

พอประมาณ

มเี หตุผล มภี ูมคิ ุ้มกนั ทดี่ ี

ความรู้ คุณธรรม
ซ่ือสัตย์สุจริต ขยนั อดทน สตปิ ัญญา
รอบรู้ รอบคอบ ระมดั ระวงั
นำไปสู่

เศรษฐกจิ / สังคม / ส่ิงแวดล้อม / วฒั นธรรมสมดุล / พร้อมรับต่อการ

เปลย่ี นแปลง แบ่งปัน

แนวคิดหลกั
เศรษฐกจิ พอเพียง เป็นปรชั ญาท่ชี ถี้ งึ แบบการดารงอยแู่ ละปฏิบตั ติ นของประชาชนใน

ทุกระดับ ตงั้ แตร่ ะดับครอบครัว ระดบั ชมุ ชน จนถึงระดบั รฐั ทั้งในการพฒั นาและในการบริหารใหเ้ ป็นไปใน
“ทางสายกลาง” โดยเฉพาะการพฒั นาเศรษฐกิจใหก้ ้าวทนั ต่อโลกยุคโลกาภวิ ัฒน์

เปา้ ประสงค์
มงุ่ ใหเ้ กดิ ความสมดุล และพร้อมต่อการรองรบั การเปลยี่ นแปลงอย่างรวดเร็ว และ

กวา้ งขวางทัง้ ทางดา้ นวตั ถุ สังคม สิ่งแวดลอ้ มและวัฒนธรรมจากโลกภายนอก

หลักการ
ความพอเพยี ง หมายถึง ความพอประมาณ ความมเี หตุผล และการสร้างภมู คิ ุม้ กันทมี่ ี

ในตวั พอสมควร ตอ่ การมผี ลกระทบใด ๆ อนั เกดิ จากการเปล่ียนแปลงทั้งภายในและภายนอก

เงือ่ นไขพื้นฐาน (ความรู้ คู่คุณธรรม)
• จะต้องอาศยั ความรอบรู้ ความรอบคอบ และความระมดั ระวงั อย่างยิ่ง ในการนาวิชาการ

ตา่ ง ๆ มาใช้ ในการวางแผนและการดาเนนิ งานทุกขน้ั ตอน
• การเสรมิ สรา้ งพนื้ ฐานด้านจิตใจของคนให้ปกติ ใหม้ ีสานึกในคณุ ธรรม ความซ่อื สัตย์

สุจริตและให้มคี วามรอบรทู้ ีเ่ หมาะสม ดาเนนิ ชวี ิตดว้ ยความอดทน ความเพียร มีสติ มปี ญั ญา และความ
รอบคอบ

แนวคดิ การปฏิบตั ติ ามปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพยี ง

กรอบปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง

ฐานราก วธิ ีปฏบิ ตั ิ
มีความรู้รอบคอบ - พอประมาณ
- มีเหตุผล
ระมดั ระวงั - มีภูมิคุม้ กนั ในตวั ท่ีดี
เป็ นคนดีมีคุณธรรม

ซื่อสัตย์ สุจริต ขยนั อดทน
แบง่ ปัน

นาไปสู่ เป้ าหมาย
- ความสุข รองรับการเปล่ียนแปลง
- ความสมดุล มนั่ คง สร้างเครือขา่ ยมีส่วนร่วม
ยงั่ ยนื อิสรภาพ เสรีภาพ

เศรษฐกิจพอเพียงเป็นปรัชญาชี้ถึงแนวทางการดารงอยู่และปฏิบัติตนของประชาชนในทุก
ระดับต้ังแต่ครอบครัวระดับชุมชนจนถึงระดับรัฐ ท้ังในการพัฒนาและบริหารประเทศให้ดาเนินทาง
สายกลาง โดยเฉพาะการพัฒนาเศรษฐกจิ เพอื่ ใหก้ ้าวทันตอ่ โลกยคุ โลกาภิวฒั น์ ความพอเพียง หมายถึง
ความพอประมาณ ความมีเหตุผล รวมถึงความจาเป็นที่ต้องมีระบบภูมิคุ้มกันในตัวท่ีดีพอสมควรต่อ
การมีผลกระทบใดๆ อนั เกิดจากการเปลี่ยนแปลงท้ังภายในและภายนอก ท้ังนี้จะต้องอาศัยความรอบ
รู้ ความรอบคอบ และความระมัดระวังอย่างย่ิงในการนาวิชาการต่างๆ มาใช้ในการวางแผน และ
ดาเนินการ ทุกขั้นตอนและขณะเดียวกันจะต้องเสริมสร้างพื้นฐานจิตใจของคนในชาติ โดยเฉพาะ
เจา้ หนา้ ท่รี ฐั นกั ทฤษฎี และนกั ธุรกิจในทุกระดับใหม้ จี ติ สานึกในคณุ ธรรม ความซ่ือสัตย์สุจริตและให้มี
ความรอบรู้ที่เหมาะสม ดาเนินชีวิตด้วยความอดทน ความเพียร มีสติปัญญา และความรอบคอบ
เพ่ือให้สมดุลและพร้อมต่อการรองรับการเปล่ียนแปลงอย่างรวดเร็วและกว้างขวางท้ังด้านวัตถุ สังคม
สงิ่ แวดล้อมและวฒั นธรรม จากโลกภายนอกได้เป็นอยา่ งดี

ความหมายของเศรษฐกจิ พอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง หมายถึง เศรษฐกิจที่สามารถอุ้มชูตัวเองได้ ให้ความพอเพียงกับตัวเอง

(Self Sufficiency) อยู่ได้โดยไม่ต้องเดือดร้อน โดยต้องสร้างพ้ืนฐานทางเศรษฐกิจของตนเองให้ดี
เสียก่อน คือ ต้ังตัวให้มคี วามพอมพี อกนิ พอใช้ ไม่ใชม่ ุง่ หวังแต่จะทุ่มเทสร้างความเจริญยกเศรษฐกิจให้
รวดเร็ว แต่เพียงอย่างเดียว เพราะผู้ท่ีมีอาชีพและฐานะเพียงพอท่ีจะพึ่งตนเองย่อมสามารถสร้าง
ความเจริญก้าวหน้า และฐานะทางเศรษฐกจิ ข้นั ท่สี งู ขึ้นไปตามลาดับตอ่ ไปได้ โดยใช้หลักการพ่ึงตนเอง
5 ประการ คอื

๑. ด้านจิตใจ ทาตนให้เป็นที่พ่ึงของตนเอง มีจิตใจเข้มแข็ง มีจิตสานึกที่ดี สร้างสรรค์ให้
ตนเองและ
ชาติโดยรวม มจี ติ ใจเออื้ อาทา ประนีประนอม ซือ่ สัตย์สจุ รติ เห็นประโยชน์รวมเปน็ ทต่ี ้งั

๒. ด้านสังคม แต่ละสังคมต้องช่วยเหลือเกื้อกูลกัน เช่ือมโยงกันเป็นเครือข่ายชุมชนที่แข็งแรง
เป็นอิสระ

๓. ด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ให้ใช้และจัดการอย่างฉลาดพร้อมท้ังการเพ่ิม
มลู ค่า โดยใหย้ ึดหลักการของความยัง่ ยืนและเกดิ ประโยชน์สูงสุด

๔. ด้านเทคโนโลยี จากสภาพแวดล้อมที่เปล่ียนแปลงรวดเร็วเทคโนโลยีท่ีเข้ามาใหม่มีทั้งดี
และไม่ดี จึงต้องแยกแยะบนพ้ืนฐานของภูมิปัญญาชาวบ้านและเลือกใช้เฉพาะท่ีสอดคล้อง
กับความต้องการของสภาพแวดล้อม ภูมิประเทศ สังคมไทย และควรพัฒนาเทคโนโลยี
จากภมู ปิ ญั ญาของเราเอง

๕. ด้านเศรษฐกิจ แต่เดิมนักพัฒนามักมุ่งที่การเพ่ิมรายได้ และไม่มีการมุ่งที่การลด
ค่าใช้จา่ ย ในเวลาเช่นน้ีจะต้องปรับทิศทางใหม่ คือจะต้องมุ่งลดรายจ่ายก่อนเป็นสาคัญ
และยึดหลักพอกินพอใช้และสามารถอยไู่ ด้ด้วยตนเองในระดบั เบื้องต้น

แนวคิดของปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง

กับการแก้ไขวิกฤติทางเศรษฐกิจและปัญหาทางสังคมไทย

ประการแรก

เป็นระบบเศรษฐกิจท่ียึดหลักการท่ีว่า “ตนเป็นที่พึ่งแห่งตน” โดยมุ่งเน้นการผลิตพืชผลให้
เพยี งพอกับความต้องการบริโภคในครัวเรือนเป็นอันดับแรก เม่ือเหลือพอจากการบริโภคแล้วจึงคานึงถึง
การผลิตเพ่ือค้า ผลผลิตส่วนเกินที่ออกสู่ตลาดก็จะเป็นกาไรของเกษตรกรลักษณะเช่นนี้เกษตรกรจะมี
หลายสถานะ โดยจะเป็นผู้กาหนดหรือเป็นผู้กระทาต่อตลาดแทนท่ีว่า ตลาดจะเป็นตัวกาหนด
เกษตรกร ดังเชน่ ท่เี ป็นอยแู่ ละหลักใหญ่สาคัญยิง่ คือ การลดค่าใช้จ่ายในการสร้างสิ่งอุปโภคบริโภคใน
ทด่ี นิ ของตนเอง เชน่ ข้าว นา้ ปลา ไก่ ไข่ ไมผ้ ล พืชผัก ฯลฯ

ประการที่สอง

เศรษฐกิจพอเพียงให้ความสาคัญกับการรวมกลุ่มของชาวบ้าน ทั้งนี้กลุ่มชาวบ้านหรือองค์กร
ชาวบา้ นจาทาหน้าท่ีเป็นผู้ดาเนินกิจกรรมทางเศรษฐกิจต่างๆ ให้หลากหลายครอบคลุมท้ังการเกษตร
แบบผสมผสาน หัตถกรรม การแปรรูปอาหาร การทาธุรกิจค้าขาย และการท่องเท่ียวระดับชุมชน
ฯลฯ เมื่อองค์กรชาวบ้านเหล่านี้ได้รับการพัฒนาให้เข้มแข็ง และมีเครือข่ายท่ีกว้างขวางมากขึ้นแล้ว
เกษตรกรทงั้ หมด ในชมุ ชนกไ็ ด้รับการดแู ลใหม้ ีรายไดเ้ พิ่มขึ้น รวมทั้งได้รับการแก้ไขปัญหาทุกๆ ด้าน
ซึ่งจะทาให้เศรษฐกิจโดยรวมของประเทศเติบโตได้อย่างมีเสถียรภาพ ซึ่งหมายความว่า เศรษฐกิจ
สามารถขยายตัวตอ่ สภาวการณ์ดา้ นการกระจายรายได้ทด่ี ขี ้ึน

ประการทสี่ าม

เศรษฐกิจพอพียงตั้งอยู่บนพื้นฐานของความเมตตา ความเอ้ืออาทรและความสามัคคีของสมาชิก
ในชุมชน ในการร่วมแรงร่วมใจเพ่ือประกอบอาชีพต่างๆ ให้บรรลุผลสาเร็จประโยชน์ที่เกิดขึ้นจึงไม่ได้
หมายถึง รายได้แต่เพียงมิติเดียว หากแต่ยังรวมถึงประโยชน์ด้านอื่นๆ ด้วย ได้แก่ การสร้างความ
มนั่ คงใหก้ ับ สถาบันครอบครัว สถาบนั ชมุ ชน ความสามารถในการอนรุ กั ษ์ทรัพยากรธรรมชาติและ
สิ่งแวดลอ้ ม การพัฒนากระบวนการเรยี นรขู้ องชุมชนบนฐานของภูมิปัญญาท้องถิ่น รวมท้ังการรักษา
ไว้ ซึ่งขนบธรรมเนยี มประเพณที ่ดี งี ามของไทยใหค้ งอยู่ตลอดไป

จากผลการพัฒนาประเทศท่ีเน้นการขยายตัวทางเศรษฐกิจในเชิงปริมาณ พระบาทสมเด็จพระ
เจ้าอยู่หัวจึงทรงห่วงใยในวิถีการดาเนินชีวิตของประชาชน โดยทรงช้ีแนะให้เห็นถึง “ความพอเพียง
พอสมควร ตามอัตภาพ” เป็นแนวทางในการดาเนินชีวิตมาโดยตลอดและเมื่อเกิดวิกฤตทางเศรษฐกิจ
ในปี ๒๕๔๐ ได้ทรงขยายความให้เห็นถึงรูปธรรมของการไม่ประมาณตนเอง ความโลภและความเห็น
แกไ่ ด้ โดยไมค่ านึงถึงผลเสียท้ังต่อตนเองและสังคมส่วนรวมหลังจากน้ันได้พระราชทานพระราชดาริ
“เศรษฐกจิ พอเพยี ง” มาเป็นปรชั ญาในการดาเนินชีวิตให้กับคนทุกระดับ ทุกภาคส่วน ทุกสาขาอาชีพ

ซ่ึงเศรษฐกิจพอเพียงน้ันมิใช่เป็นปรัชญาหรือแนวคิดเท่านั้น แต่เป็นข้อสรุปที่ได้จากการปฏิบัติจริงแล
มิใช่เป็นเพียงปรัชญาในการดาเนินชีวิตของปัจเจกบุคคล แต่เป็นยุทธศาสตร์การพัฒนาประเทศ และ
ปัจจบุ นั ไดก้ ้าวล้าไปสู่ยทุ ธศาสตร์การพัฒนาในอกี หลายๆ ประเทศ

“เศรษฐกิจพอเพียง” จึงเป็นปรัชญาที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ได้พระราชทานเพื่อ
ชี้แนะแนวทางในการดาเนนิ ชีวิตและปฏบิ ตั ิตนให้กับประชาชนชาวไทยทุกหมู่เหล่าทุกระดับ ทุกสาขา
อาชีพ มาโดยตลอดนานกว่า ๓๐ ปี นับต้ังแต่ปี ๒๕๑๗ โดยเป็นปรัชญาแนวคิดท่ีมีคุณค่าอย่างอเนก
อนันต์ เป็นแนวคิดใหม่ท่ีก่อให้เกิดการปรับเปล่ียนกระบวนทัศน์ในการพัฒนาประเทศภายใต้
สภาวการณ์การเปลี่ยนแปลง และวิกฤตการณ์ทางเศรษฐกิจต่างๆ เพ่ือเป็นเคร่ืองเตือนสติให้แก่
ประชาชนชาวไทยและสังคมไทยในการปรับตัวเพ่ือรองรับกระแสการเปล่ียนแปลงต่างๆ ภายในและ
ภายนอกประเทศ รวมทั้งเป็นการนาเสนอแนวทางออกจากสภาวะวิกฤติที่กาลังเผชิญหน้าอยู่ โดย
สามารถประยกุ ตเ์ ขา้ กบั วถิ ภี ูมปิ ญั ญาไทยอยา่ งลงตัว

“เศรษฐกจิ พอเพียง” ไมใ่ ชแ่ นวคดิ ลอยๆ ตามกระแสสังคมเท่านั้นหากแต่สามารถนามาปรับ
ใช้ และแปลงแนวคดิ ไปส่กู ารปฏิบตั ไิ ดเ้ ปน็ รปู ธรรม ซึ่งปัจจบุ นั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียงได้รับการ
ยอมรบั อยา่ งกวา้ งขวางจากประชาชนชาวไทย และชาวต่างชาติ ดังตัวอย่างแห่งความช่ืนชม และเห็น
ถึงความสาคัญในวิสัยทัศน์ท่ีกว้างและยาวไกลในด้านการพัฒนาของพระบาทสมเด็จพร ะเจ้าอยู่หัว
โดย องค์การสหประชาชาติได้ประกาศเกียรติคุณว่า พระองค์เป็น “พระมหากษัตริย์นักพัฒนาของ
โลก” และทูลเกล้าทูลกระหม่อมถวายรางวัล “Human Development Lifetime Achievement
Award” แดพ่ ระบาทสมเดจ็ พระเจ้าอยหู่ วั เมอ่ื วนั ที่ ๒๖ พฤษภาคม ๒๕๔๙ อนั นามาซ่ึงความปลื้มติ
แกพ่ สกนกิ รชาวไทยอยา่ งหาท่ีเปรยี บมไิ ด้ ขอพระองคท์ รงพระเจรญิ ยงิ่ ยืนนาน.

บรรณานุกรม

1)https://www.krungsri.com/th/plearn-
plearn/practical-self-sufficient-economy-

philosophy?
fbclid=IwAR3zvdGYihCFKua8aKr01StscdNFSA

600tX-QbFOk7N14CL6AoVbhNEEP1M

2)https://sites.google.com/site/s
uxkarrekicp55hxpheiyng/khwa
m-ru-keiyw-kab-sersthkic-phx-
pheiyng?fbclid=IwAR07GWV94-
CfYz3DzEcECpihpibzwOWpAVWT

fioefsNIJaEzZv7hvLW1gc4


Click to View FlipBook Version