วิจยั ในช้ันเรยี น
(Classroom Action Research : CAR)
เร่ือง
การศกึ ษาพฤตกิ รรมการเรยี นของนกั เรยี น
วชิ างานสง่ กาลงั รถยนต์ ระดบั ชน้ั ปวช.2/1
แผนกวชิ าชา่ งยนต์ วิทยาลยั เทคนคิ สงิ หบ์ รุ ี
นายสัญญา ฉมิ อาพนั ธ์
ตาแหนง่ ครูแผนกวชิ าชา่ งยนต์
วิทยาลยั เทคนคิ สงิ หบ์ รุ ี
สถาบนั การอาชวี ศกึ ษา ภาคกลาง 2
สานักงานคณะกรรมการการอาชีวศกึ ษา
กระทรวงศกึ ษาธกิ าร
เร่อื ง การศกึ ษาพฤติกรรมการเรียนของนักเรียน วชิ างานส่งกำลงั รถยนต์ ระดบั ชัน้
ปวช.2/1 แผนกวิชาชา่ งยนต์ วทิ ยาลยั เทคนิคสงิ หบ์ ุรี
ผ้วู จิ ยั
นายสัญญา ฉมิ อำพันธ์
ครแู ผนกวชิ าช่างยนต์
ภาคเรียนท่ี 2 ปกี ารศกึ ษา 2564
วิทยาลยั เทคนิคสิงห์บรุ ี
สำนกั งานคณะกรรมการการอาชวี ศึกษา
กระทรวงศกึ ษาธิการ
หัวข้องานวิจัย การศกึ ษาพฤติกรรมการเรยี นของนักเรียนในวชิ างานส่งกำลังรถยนต์ ของ
นกั เรยี น ระดับช้ัน ปวช.2/1 แผนกวชิ าชา่ งยนต์
ผวู้ ิจัย นายสญั ญา ฉมิ อำพันธ์
ตำแหนง่ ครผู ู้ช่วย
สังกัด วทิ ยาลัยเทคนิคสงิ ห์บรุ ี จงั หวดั สงิ หบ์ รุ ี
สำนกั งานคณะกรรมการการอาชีวศกึ ษากระทรวงศึกษาธิการ
พ.ศ. 2564
บทคัดยอ่
การวิจัยเรื่องการศึกษาพฤติกรรมการเรียนของนักเรียนในวิชางานส่งกำลังรถยนต์ ระดับ ปวช. 2/1
แผนกวชิ าช่างยนต์ สามารถสรปุ ผลการวิจัยได้ดงั นี้
ผลการวิจัยพบว่านักเรียนมีพฤติกรรมการเรียนในชั้นเรียนโดยรวมอยู่ในระดับมากเมื่อพิจารณาเป็น
รายข้ออยู่ในระดับมากทุกข้อดังนี้ไม่คุยกันขณะสอนไม่เล่นเกมขณะสอนความสนใจใฝ่รู้ซักถามปัญหาหรือ
เนือ้ หาทีไ่ ม่เข้าใจการมปี ฏสิ มั พนั ธก์ บั เพ่ือนรว่ มช้ันเรียนและความรับผิดชอบและเพียรพยายาม
โดยสรุปการสร้างพฤติกรรมของผู้เรียนให้มีความกระตือรือร้นและมีความเอาใจใส่ต่อการเรียน
ครูผู้สอนต้องสร้างจิตสำนึกให้กับผู้เรียนอยู่เสมอตลอดจนการใช้รูปแบบการจัดการเรียนการสอนที่มีความ
หลากหลายเพื่อมิให้ผู้เรียนเกิดความเบ่ือหน่ายและมีความสนใจมากขึ้นการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนดว้ ย
ระบบใบงานเป็นอีกหนึ่งวธิ ีการสอนมสี ว่ นสำคัญในการปรับพฤติกรรมของผู้เรยี นให้เกิดความกระตือรือร้นและ
เอาใจใสต่ อ่ การเรียนการสอนเป็นอยา่ งดี
กติ ติกรรมประกาศ
การทำการวิจัยเรือ่ งการศึกษาพฤติกรรมการเรยี นของนกั เรียนในวชิ างานสง่ กำลังรถยนต์ ของนกั เรียน
ระดับชั้น ปวช. 2/1 แผนกวิชาช่างยนต์ ในครั้งนี้บรรลุวัตถุประสงค์สำเร็จลุล่วงได้ด้วยความกรุณาและ
ช่วยเหลือเป็นอย่างดียิ่งจากครูทุกท่านและผู้ทรงคุณวุฒิที่กรุณาเสียสละเวลาให้คำแนะนำตรวจแก้ไข
ข้อบกพร่องของบทเรียนและแบบทดสอบของงานวิจัยผู้วิจัยรู้สึกซาบซึ้งในความกรุณาของผู้ทรงคุณวุฒิและ
ขอขอบคุณเป็นอยา่ งสูงไว้ ณ ท่นี ้ดี ว้ ย
ขอขอบคุณทุกทา่ นทีใ่ ห้ความร่วมมือในการรวบรวมข้อมูลท้ังหมดและขอบพระคุณครูอาจารย์ท่ีอบรม
สั่งสอนให้คำแนะนำมาโดยตลอดขอขอบพระคุณบิดามารดาที่สนับสนุนในการศึกษาและกำลังใจและ
ขอขอบคุณเป็นอย่างยิ่งสำหรับผู้เขียนเอกสำรวจค้นคว้าตำราหนังสือที่ทำให้เข้าใจการทำโครงการชัดเจนขึ้น
คุณค่าและประโยชน์อันพึงมีจากการการวิจัยนี้ผู้จัดทำขอมอบเป็นเครื่องบูชาพระคุณบิดามารดาผู้ให้ชีวิตผู้มี
พระคณุ ตลอดจนอาจารย์และทกุ คนท่ีมีส่วนสร้างพ้ืนฐานการศึกษาให้แก่ผู้จัดทำ
สัญญา ฉิมอาพนั ธ์
สารบญั
หนา้
บทคดั ย่อภาษาไทย............................................................................................................................. ....... ก
กติ ติกรรมประกาศ..................................................................................................................................... ข
สารบญั ...................................................................................................................................................... ค
สารบัญตำราง............................................................................................................................. ............... ง
1 บทนำ ..................................................................................................................................... 1
ความสำคญั และความเปน็ มาของการวจิ ยั .................................................................... 1
ความมุง่ หมายของการวจิ ยั ........................................................................................... 1
ความสำคญั ของการวิจยั ............................................................................................... 1
ขอบเขตของการวจิ ัย .................................................................................................... 1
สมมุติฐานการวิจยั ....................................................................................................... 2
นยิ ามศัพท์เฉพาะ ......................................................................................................... 2
2 เอกสารและงานวจิ ยั ท่ีเกยี่ วข้อง ............................................................................................. 3
แนวความคิดพฤติกรรม ............................................................................................... 4
งานวจิ ัยที่เกีย่ วข้อง ...................................................................................................... 6
3 วธิ ีดำเนินการวจิ ยั ................................................................................................................... 8
ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง .......................................................................................... 8
เครื่องมอื ที่ใช้ในการวจิ ยั .............................................................................................. 8
การเกบ็ รวบรวมข้อมูล ................................................................................................. 8
การจัดกระทำข้อมูลและการวิเคราะหข์ ้อมูล ............................................................... 9
สถติ ทิ ใี่ ชใ้ นการวเิ คราะห์ขอ้ มูล .................................................................................... 9
4 ผลการวิเคราะห์ข้อมูล .......................................................................................................... 10
5 สรุปผลอภปิ รายผลและขอ้ เสนอแนะ ................................................................................. 11
บรรณานุกรม ............................................................................................................................ 13
ประวตั อิ ย่างย่อของผู้วิจยั ......................................................................................................... 15
สารบญั ตาราง
ตารางที่ หนา้
1 พฤติกรรมการเรยี นของนกั ศกึ ษา.........................................................……………..….…............ 12
บทท่ี 1
บทนำ
ความสำคัญและความเป็นมาของการวิจัย
จากการที่ได้มีการจัดการเรียนการสอนวิชางานส่งกำลังรถยนต์ในระดับชั้น ปวช. 2/1 แผนกวิชาช่าง
ยนต์มีจำนวนนักเรียน 15 คนซึ่งเป็นวิชาทฤษฎีและปฏิบัติพบปัญหาที่เกิดขึ้นคือนักเรียนมีพฤติกรรมชอบ
หยอกล้อกันในช่วั โมงเรียนเล่นโทรศัพท์ดังกลา่ ว
จากเหตุผลดังกล่าวผู้วิจัยจึงได้ศึกษาการแก้ไขปัญหาพฤติกรรมดังกล่าวของนักเรียนในวิชาเครื่องทำ
ความเยน็ และปรับอากาศในระดับ ปวช. 2/1 แผนกวิชาชา่ งยนต์โดยการให้ผู้เรียนได้มปี ฏิสัมพันธ์กับเพื่อนร่วม
ชั้นเรียนเพิ่มมากขึ้นการเพิ่มภาระงานให้กับนักเรียนเพิ่มมากขึ้นที่เป็นประโยชน์และสอดคล้องกับกับเนื้อหา
ของรายวชิ าเพ่อื ให้ผ้เู รยี นไดแ้ สดงความสามารถเพ่ิมมากข้ึน
ความมงุ่ หมายของการวจิ ยั
เพอ่ื ศกึ ษาพฤติกรรมการเรียนของนักเรยี นระดับช้นั ปวช. 2/1 แผนกวชิ าช่างยนต์
ความสำคัญของการวจิ ัย
1. เพ่ือเป็นแนวทางในการพัฒนาคุณภาพของผู้เรียน
2. เพอ่ื เป็นแนวทางในการแก้ไขปัญหาการเล่นเกมของนักเรียนในขณะสอน
ขอบเขตของการวิจยั
1. ประชากรกลมุ่ ตวั อยา่ งได้แก่นกั เรียนในระดบั ชน้ั ปวช.3 แผนกวิชาชา่ งยนต์ที่ศกึ ษาวชิ างานสง่ กำลงั
รถยนต์จำนวน 49 คน
2. พื้นท่ีที่ใชใ้ นการวจิ ัยไดแ้ ก่ห้องปฏิบัติการ แผนกวิชาชา่ งยนต์วทิ ยาลัยเทคนิคสิงห์บรุ ี
3. ระยะเวลาท่ใี ช้ในการวจิ ยั ตลุ าคม 2564 – กมุ ภาพันธ์ 2565
4. ตวั แปรที่ใช้ในการวจิ ยั
4.1 ตัวแปรอิสระได้แกว่ ิธกี ารแกไ้ ขปญั หาด้วยใบงาน
4.2 ตวั แปรตามได้แก่พฤติกรรมการเรยี น
สมมตุ ิฐานการวจิ ัย
นักเรียนมีพฤติกรรมการเรียนทีด่ ีขนึ้ โดยรวมรอ้ ยละ 80
นยิ ามศพั ท์เฉพาะ
นกั เรยี นหมายถึงนกั เรียนท่ีกำลงั ศกึ ษารายวิชางานสง่ กำลังรถยนต์ของนักเรยี นระดับชนั้ ปวช.2/1
แผนกวิชาชา่ งยนต์
วิทยาลยั หมายถงึ วทิ ยาลัยเทคนคิ สิงหบ์ ุรี สังกัดสำนกั งานคณะกรรมการการอาชวี ศึกษา
บทที่ 2
เอกสารและงานวจิ ัยที่เกยี่ วขอ้ ง
การวจิ ัยเรื่องการศกึ ษาพฤติกรรมการเรียนของนกั เรยี นในวิชางานสง่ กำลงั รถยนต์ของนักเรยี นระดับ
ปวช. 2/1 แผนกวชิ าชา่ งยนตผ์ ู้วิจัยได้ศกึ ษาเอกสารและงานวจิ ยั ทีเ่ ก่ียวขอ้ งโดยกำหนดเปน็ กรอบแนวคิดใน
การวิจัยดงั ตอ่ ไปนี้
1. แนวความคดิ พฤตกิ รรม
2. งานวิจยั ที่เก่ยี วข้อง
แนวความคิดเก่ยี วกบั พฤติกรรม
1. ความหมายพฤติกรรม
พฤติกรรม (Behavior) คือกริยาอาการที่แสดงออกหรือปฏิกิริยาโต้ตอบเมื่อเผชิญกับสิ่งเร้า
(Stimulus) หรือสถานการณ์ตา่ งๆอาการแสดงออกต่างๆเหลา่ น้ันอาจเป็นการเคลื่อนไหวทีส่ ังเกตได้หรือวดั ได้
เช่นการเดินการพูดการเขยี นการคิดการเต้นของหัวใจเป็นต้นส่วนสิ่งเร้าที่มากระทบแลว้ ก่อให้เกิดพฤติกรรมก็
อาจจะเปน็ สงิ่ เร้าภายใน (Internal Stimulus) และสิง่ เร้าภายนอก (External Stimulus)สง่ิ เร้าภายในไดแ้ ก่สิ่ง
เร้าที่เกิดจากความต้องการทางกายภาพเช่นความหิวความกระหายสิ่งเร้าภายในนี้จะมีอิทธิพลสูงสุดในการ
กระตุ้นเด็กให้แสดงพฤติกรรมและเมื่อเด็กเหล่านี้โตขึ้นในสังคมสิ่งเร้าใจภายในจะลดความ สำคัญลงสิ่งเร้า
ภายนอกทางสังคมที่เด็กได้รับรู้ในสังคมจะมีอิทธิพลมากกว่าในการกำหนดว่าบุคคลควรจะแสดงพฤติกรรม
อย่างใดต่อผู้อื่นสิ่งเร้าภายนอกไดแ้ ก่สิ่งกระตุ้นต่างๆสง่ิ แวดล้อมทางสังคมท่ี สามารถสัมผสั ได้ด้วยประสาทท้ัง5
คือหูตาคอจมูกการสัมผัสสิ่งเร้าที่มีอิทธิพลที่จะจูงใจให้บุคคลแสดงพฤติกรรมได้แก่สิ่งเร้าท่ี ทำให้บุคคลเกิด
ความพึงพอใจที่เรียกว่าการเสริมแรง (Reinforcement) ซึ่งแบ่งออกได้เป็น2ชนิดคือการเสริมแรงทำงบวก
(Positive Reinforcement) คือสิ่งเร้าที่พอใจทำให้บุคคลมีการแสดงพฤติกรรมเพิ่มขึ้นเช่นคาชมเชยการ
ยอมรับของเพื่อนส่วนการเสริมแรงทางลบ (Negative Reinforcement) คือสิ่งเร้าที่ไม่พอใจหรือไม่พึงปารถ
นานำมาใชเ้ พือ่ ลดพฤตกิ รรมที่ไม่พงึ ปารถนานำให้น้อยลงเช่นการลงโทษเด็กเม่อื ลักขโมยการปรับเงนิ เม่ือผู้ขับขี่
ยานพาหนะไม่ปฏิบตั ิตามกฎจราจรเป็นต้น
จากการศึกษาเอกสารและงานวิจยั ที่เกยี่ วข้องมีผู้ใหค้ วามหมายคาว่า “พฤตกิ รรม”ไวห้ ลายประการซึ่ง
มีทง้ั ท่คี ล้ายกนั หรือแตกต่างกันดังต่อไปนี้โสภาชูพกิ ุลชัย (2521 : 82) ได้ใหค้ วามหมายไวว้ ่ากระทำหรือกิจการ
ตา่ งๆของมนษุ ยห์ รือสง่ิ มชี วี ิตกระทำลงไปหรือแสดงออกด้วยกิริยาความคิดเช่นการกนิ การนอนการเดินการพูด
แสดงความรสู้ กึ ความคิดเห็นเป็นตน้ สิง่ ทไี่ ด้แสดงออกมานน้ั สามารถสงั เกตและใช้เคร่ืองมือทดสอบได้
ชุดำจิตพิทักษ์ (2525 : 25) ได้ให้ความหมายไว้ว่าพฤติกรรมหมายถึงการกระทำของบุคคลไม่เฉพาะ
แสดงปรากฏออกมาภายนอกเท่านน้ั แตร่ วมถงึ ส่ิงท่ีอยภู่ ายในจิตใจของบคุ คล
สังเกตเห็นไม่ได้โดยตรงเช่นคุณค่าที่เขายดึ ถือเป็นหลกั ในการประเมินสิ่งต่างๆทัศนคติหรือเจตคตทิ ี่เขามีต่อส่ิง
ต่างๆความคิดเห็นความเชื่อรสนิยมและสภาพจิตใจซึ่งถือได้วา่ เป็นลักษณะของบคุ ลิกภาพของบุคคลท่ีกำหนด
พฤตกิ รรม
สมโภชน์เอี่ยมสุภาษิต (2526 : 45) ได้ให้ความหมายไว้ว่าพฤติกรรมหมายถึงสิ่งที่บุคคลกระทำ
แสดงออกตอบสนองต่อสง่ิ ใดสิ่งหนึ่งในสถานการณใ์ ดสถานการณ์หนงึ่ ท่ีสำมารถสังเกตได้หรือได้ยินอีกท้ังวัดได้
ตรงกันด้วยเครื่องมือที่เป็นวัตถุนิสัยไม่ว่าการแสดงออกหรือการตอบสนองนั้น จะเกิดขึ้นภายในหรือภายนอก
รา่ งกาย
สุดำวรรณขันธมติ ร (2538 : 56) ไดใ้ ห้ความหมายไวว้ ่าพฤติกรรมหมายถึงปฏิกริ ิยาหรือการแสดงออก
ของบุคคลต่อสิ่งเร้าซึ่งอาจจะเป็นไปโดยไม่รู้สึกตัวหรือมีการตรึกตรองมาอย่างดีแล้วโดยมีความรู้ความเข้าใจ
และการปฏิบัตเิ ปน็ ตัวกอ่ ให้แสดงออกมาโดยทบ่ี ุคคลอน่ื ที่อย่รู อบๆจะสงั เกตการณ์กระทำน้ันไดห้ รือไม่ก็ตามซ่ึง
สำมารถใชเ้ คร่อื งมือทดสอบวัดได้
จากความหมายทีน่ กั วชิ าการได้ให้ความหมายไวข้ า้ งตน้ ผูว้ ิจัยสำมารถสรุปได้ว่าพฤติกรรมหมายถึงการ
กระทำที่แสดงออกของบุคคลที่กระทำตอบสนองสิ่งกระต้นซึ่งการกระทำที่แสดงออกมานั้นมีทั้งที่พึงประสงค์
และไม่พึงประสงค์พฤติกรรมหรือการแสดงออกนั้นสำมารถวัดได้ทั้งนีเ้ ป็นการแสดงออกที่สังเกตได้และสังเกต
ไมไ่ ด้
2. องค์ประกอบของพฤติกรรม
Cronbach (อา้ งอิงในสุดาวรรณขันธมิตร. 2538 : 11) ได้อธบิ ายวา่ พฤติกรรมมนุษย์มีองค์ประกอบ 7
ประการไดแ้ ก่
1. ความมงุ่ หมาย (Goal) เปน็ ความต้องการหรือวัตถุประสงค์ท่ีทำใหเ้ กิดกจิ กรรมทีค่ นต้องทำ
กิจกรรมเพ่ือตอบสนองความต้องการที่เกิดขึ้นของกจิ กรรมบางอย่างกใ็ ห้ความพอใจหรือสนองความต้องการได้
ทันทีแต่ความต้องการหรือวัตถุประสงค์บางอย่างก็ต้องใช้เวลานานจึงจะสำมารถบรรลุผลสมความต้องการ
หลายๆอย่างในเวลาเดียวกันและมักจะต้องเลือกสนองความต้องการที่รีบด่วนก่อนแล ะสนองความต้องการท่ี
ห่างออกไปในภายหลงั
2. ความพร้อม (Readiness) หมายถึงระดับวุฒิภาวะหรือความสำมารถที่จาเป็นในการทำ
กิจกรรมเพื่อสนองความต้องการคนเราไม่สำมารถสนองความต้องการได้หมดทุกอย่างความต้องการบางอย่าง
อยนู่ อกเหนอื ความสำมารถของเขา
3. สถานการณ์ (Situation) เป็นเหตุการณ์ที่เปิดโอกาสให้เลือกทำกิจกรรมเพื่อสนองความ
ต้องการ
4. การแปลความหมาย (Interpretation) ก่อนที่คนเราจะทำกิจกรรมใดกิจกรรมหนึ่งลงไป
เขาจะตอ้ งพิจารณาสถานการณเ์ สยี ก่อนแลว้ ตดั สินใจเลอื กวิธที ่คี าดว่าจะไดค้ วามพอใจ
มากท่ีสดุ
5. ตอบสนอง (Response) เป็นพฤติกรรมเพื่อตอบสนองความต้องการโดยวิธีการที่ได้เลือก
แลว้ ในขน้ั แปลความหมาย
6. ผลท่ไี ด้รับหรือผลที่ตามมา (Consequence) เม่ือทำกจิ กรรมแลว้ ย่อมไดร้ ับผลการกระทำ
นัน้ ผลทีไ่ ดร้ บั อาจจะตามท่คี าดคดิ ไว้ (Confirm) หรืออาจตรงกันข้ามกบั ความคาดหมาย (Contradict) ได้
7. ปฏิกิริยาต่อความคาดหวังหากคนเราไม่สำมารถสนองความต้องการได้ก็กล่าวได้ว่าเขา
ประสบกับความผิดหวังในกรณีเช่นนี้เขาอาจจะย้อนกลับไปแปลความหมายของสถานะเสียใหม่และเลือก
วธิ ีการตอบสนองใหม่กไ็ ด้
3. สิ่งที่กำหนดพฤติกรรมมนุษย์จากความหมายและองค์ประกอบของพฤติกรรมดังกล่าวจะเห็นได้ว่า
การแสดงของพฤตกิ รรมต่างๆของมนุษยน์ ั้นจะต้องมสี งิ่ ทเ่ี ป็นตวั กำหนดพฤติกรรมซงึ่ จะทำใหก้ ารแสดงออก
ของพฤตกิ รรมของมนษุ ย์แต่ละบคุ คลแตกต่างกันไปดงั นัน้ ควรเขา้ ใจถงึ สงิ่ ทีก่ ำหนดพฤติกรรม
มนษุ ยด์ ังต่อไปนี้
ชุดาจิตพิทักษ์ (อ้างอิงจากสุดาวรรณ. 2538 : 13) กล่าวว่าสิ่งที่กำหนดพฤติกรรมมนุษย์มีหลาย
ประการซ่งึ อาจจะแยกได้ 2 ประเภทคือ
1. ลักษณะนิสัยส่วนตัวได้แก่ความเชื่อหมายถึงการที่บุคคลคิดถึงอะไรก็ได้ในแง่ของ
ข้อเท็จจริงซึ่งไม่จำเป็นจะต้องถูกหรือผิดเสมอไปความเชื่ออาจมาโดยการเห็นการบอกเล่าการอ่านรวมทั้งการ
คิดข้ึนมาเอง
2. กระบวนการอื่นๆทางสังคมได้แก่สิ่งที่กระตุ้นพฤติกรรม (StimulusObject) และความ
เข้มขน้ ของสิ่งกระตนุ้ พฤติกรรมลักษณะนสิ ัยของบุคคลคอื ความเช่ือทัศนคตบิ ุคลิกภาพมีอทิ ธิพลต่อพฤติกรรมก็
จริงแตพ่ ฤตกิ รรมจะเกดิ ข้นึ ไม่ได้ถ้าไม่มีส่ิงกระตุ้นพฤติกรรม
สุชาจนั ทรเ์ อม (2536 : 86) สิง่ ทีม่ ีอทิ ธิพลตอ่ พฤติกรรมของมนุษย์มดี ังน้ี
1. ความเชื่อคือการที่บุคคลยอมรับข้อเทจ็ จรงิ ต่างๆซึ่งความคิดของเราอาจจะถูกต้องหรือไม่
ถูกต้องตามความเป็นจริงก็ได้ความเช่ือเป็นส่ิงที่หักหา้ มได้ยากและมีอิทธพิ ลต่อบคุ คลมากบุคคลใดมีความเชอื่
ยา่ งใดกจ็ ะมพี ฤติกรรมเปน็ ไปตามความเช่อื ของเขา
2. ค่านยิ มเปน็ เครอ่ื งชี้วดั แนวปฏิบตั ขิ องบคุ คลว่าอะไรเปน็ จุดมุง่ หมายของชวี ติ ค่านยิ มอาจมา
จากการอา่ นคาบอกเลา่ หรอื คิดเองกไ็ ด้
3. บคุ ลิกภาพเปน็ ลกั ษณะของแตล่ ะบุคคลซึ่งมีอิทธิพลต่อพฤติกรรมของบคุ คลน้ัน
4. สิ่งทมี่ ากระตนุ้ พฤตกิ รรม (Stimulus Object) สง่ิ ทมี่ ากระตุ้นพฤติกรรมน้ีจะเป็นอะไรก็ได้
เช่นความสวยความหิวอาหารฯลฯสิ่งที่กระตุ้นพฤติกรรมอย่างหนึ่งก็อาจมีพลังกระตุ้นพฤติกรรมของแต่ละ
บคุ คลไม่เท่ากนั
5. ทัศนคติหมายถึงความรู้สึกหรือท่าทีของบุคคลที่มีต่อบุคคลวัตถุสิ่งของหรือสถานการณ์
ต่างๆเกิดจากประสบการณ์และการเรียนรู้ของบุคคลทัศนคติจึงเปลี่ยนแปลงได้ตลอดเวลาซึ่งขึ้นอยู่กับการ
เรยี นรู้และประสบการณ์ใหม่ๆทบี่ ุคคลไดร้ ับ
6. สถานการณ์หมายถึงสภาพแวดล้อมหรือสภาวะที่บุคคลกาลังจะมีพฤติกรรมโดยสรุป
พฤตกิ รรมเกดิ จากการแสดงออกทางความรู้สกึ อารมณ์ทศั นคติคา่ นยิ มความเชื่อหรือการเลยี นแบบท่ีแสดงออก
ทั้งมองเห็นและไม่สำมารถมองเห็นได้พฤติกรรมนอกจากนั้นแล้วสิ่งที่กำหนดพฤติกรรมของมนุษย์คือลักษณะ
นสิ ัยส่วนตัวและกระบวนการอนื่ ของสังคมเปน็ สำคัญ
งานวิจยั ท่เี กย่ี วข้อง
1. งานวิจยั ภายในประเทศ
ประพันธ์ขันติธีระกุล (2550 : บทคัดย่อ) ได้ศึกษาพฤติกรรมการบริโภคอาหารของนักศึกษา
มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐมพบว่านักศึกษามีความรู้เกี่ยวกับการบริโภคอาหารส่วนใหญ่อยู่ในระดับ พอใช้
64.20 ความรู้ที่อยู่ในระดับดีคิดเป็นร้อยละ 17.10 ได้แก่ความรู้เกี่ยวกับอาหารที่เป็นปัจจัยต่อการเกิดโรค
ความรู้ที่อยู่ในระดับปรับปรุงเป็นความรู้ที่เกี่ยวกับอาหารที่ให้โปรตีนวิ ตำเมินและเกลือแร่ส่วนพฤติกรรมการ
บริโภคอาหารโดยส่วนรวมมีพฤติกรรมอยู่ในระดับพอใช้คิดเป็นร้อยละ 71.90 พฤติกรรมที่ดีของนักศึกษาเช่น
การดื่มนมเป็นประจาทุกวันการล้างผักผลไม้ก่อนรับประทานการรับประทานอาหารเย็นตรงเวลาสำหรับ
พฤตกิ รรมที่นักศึกษาต้องปรับปรุงเป็นเร่ืองเก่ียวกับสุขวิทยาส่วนบุคคลวธิ ีการรบั ประทานอาหารและการเลือก
รับประทานอาหารได้แก่รับประทานอาหารโดยไม่ใช้ช้อนกลางดื่มน้าอัดลมและรับประทานอาหารโดยไม่
คำนึงถงึ การได้รบั สารอาหารครบ 5 หมู่
Cusatis (1995 : Abstract) ไดศ้ กึ ษาอทิ ธิพลของปจั จัยทางสงั คมจติ วทิ ยาท่มี ีต่อพฤติกรรมการบริโภค
ของวัยรุ่นมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างพฤติกรรมการบริโภคอาหารกับพฤติกรรมของบุคคล
พบว่านักเรียนชายและหญิงส่วนใหญ่มีการบริโภคนิสัยที่ชอบรับประทานอาหารมื้อหลักและอาหารว่างจาก
บ้านมีความสัมพันธ์กับความพึงพอใจของตนเองความพร้อมของครัวครัวและจานวนมื้ออาหารของครอบครัว
โดยทีน่ กั เรยี นชายมกี จิ กรรมการออกกาลังกายรว่ มด้วยส่วนบรโิ ภคนสิ ัยเกี่ยวกับไขมันน้ำตาลและความถี่ในการ
บรโิ ภคอาหารระหว่างนักเรยี นชายและนักเรียนหญิงไม่มีความแตกต่างกันนอกจากน้ีพบว่าปัจจัยท่ีแตกต่างกัน
สง่ ผลใหพ้ ฤติกรรมการบรโิ ภคอาหารของวยั รุ่นแตกตา่ งกนั
บทท่ี 3
วธิ ดี ำเนินการวิจัย
การวจิ ัยเรอ่ื งการศึกษาพฤติกรรมการเรียนของนกั เรียนในวชิ างานงานส่งกำลงั รถยนต์ของนักเรียน
ระดับ ปวช. 2/1 แผนกวชิ าชา่ งยนต์ผ้วู ิจยั ไดด้ ำเนินการตามขน้ั ตอนดงั ต่อไปนี้
1. ประชากรและกลมุ่ ตวั อย่าง
2. เครอื่ งมือท่ใี ช้ในการวจิ ยั
3. การเกบ็ รวบรวมข้อมลู
4. สถติ ทิ ี่ใชใ้ นการวเิ คราะหข์ ้อมลู
ประชาการและกลุ่มตัวอย่าง
ประชาการกลุ่มตวั อยา่ งทีใ่ ช้ในการวิจัยไดแ้ กน่ กั เรยี นระดบั ช้นั ปวช.2/1 แผนกวิชาชา่ งยนต์
วทิ ยาลัยเทคนิคสิงห์บุรี
เคร่อื งมอื ทใ่ี ชใ้ นการวิจยั
แบบสงั เกตพฤติกรรม
การเก็บรวบรวมขอ้ มลู
ในการเกบ็ รวบรวมข้อมูลคร้งั นผี้ ู้วจิ ยั ได้ดำเนินการตามข้ันตอนดังต่อไปนี้
1. ผวู้ ิจัยดำเนนิ การจัดทำแบบสงั เกตพฤตกิ รรมของนักเรียนโดยครอบเนอื้ หาเก่ยี วกับพฤติกรรม
2. ผวู้ ิจยั สงั เกตพฤตกิ รรมของนักเรียนแล้วทำการบันทกึ ข้อมูลเป็นทางสถติ ิในสัปดาห์ท่ี 4 – 7
3. ผ้วู จิ ัยนำแบบสังเกตไปวิเคราะหข์ ้อมลู ตอ่ ไป
การจัดกระทำข้อมลู และการวเิ คราะห์ขอ้ มูล
การวเิ คราะห์ขอ้ มลู ท่รี วบรวมได้จากแบบสงั เกตพฤติกรรมโดยใชโ้ ปรแกรมสำเรจ็ รปู เพ่ือการวิจยั โดยใช้
สถิติเชิงพรรณนา (Descriptive Statistic) โดยการหาค่าเฉลี่ย (Mean)ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน(Standard
Deviation) และค่าร้อยละ (Percentage) การนำเสนอข้อมูลในรูปแบบตารางควบคู่กับการบรรยายและสรุป
ผลการวิจัยโดยการกำหนดให้คะแนนค่าตอบของแบบสังเกตพฤติกรรมดังน้ี (บุญชมศรีสะอาด. 2545 : 102 –
103) ดังน้ี
ระดบั พฤตกิ รรมมากท่สี ดุ กำหนดให้ 5 คะแนน
ระดับพฤตกิ รรมมากกำหนดให้ 4 คะแนน
ระดับพฤติกรรมปานกลางกำหนดให้ 3 คะแนน
ระดบั พฤตกิ รรมนอ้ ยกำหนดให้ 2 คะแนน
ระดบั พฤตกิ รรมนอ้ ยท่สี ดุ กำหนดให้ 1 คะแนน
คา่ เฉลี่ยของคำตอบแบบสอบถามโดยใช้เกณฑใ์ นการแปลความหมายของค่าเฉล่ีย(บญุ ชมศรสี ะอาด.
2545 : 103) กำหนดให้
ค่าเฉลี่ยระดับพฤติกรรมมากทสี่ ุดกำหนดให้ 4.51 - 5.00 คะแนน
คา่ เฉลย่ี ระดับพฤติกรรมระดับมากกำหนดให้ 3.51 - 4.50 คะแนน
ค่าเฉลี่ยระดบั พฤติกรรมระดับปานกลางกำหนดให้ 2.51 - 3.50 คะแนน
คา่ เฉลย่ี ระดบั พฤติกรรมระดับนอ้ ยกำหนดให้ 1.51 - 2.50 คะแนน
ค่าเฉลย่ี ระดับพฤติกรรมระดับนอ้ ยทสี่ ดุ กำหนดให้ 1.00 - 1.50 คะแนน
สถิตทิ ีใ่ ช้ในการวเิ คราะหข์ อ้ มลู
1. ค่าเฉลี่ย (Mean)
2. ส่วนเบยี่ งเบนมาตรฐาน (Standard Deviation)
3. คา่ รอ้ ยละ (Percentage)
บทที่ 4
ผลการวิเคราะห์ข้อมูล
การวเิ คราะห์ข้อมูลเรื่องการศึกษาพฤติกรรมการเรยี นของนักเรียนในวชิ างานสง่ กำลงั รถยนต์ของ
นักเรยี นระดบั ชน้ั ปวช .2/1 แผนกวชิ าชา่ งยนต์ผูว้ ิจัยนำเสนอผลการวเิ คราะห์ข้อมูลดังต่อไปนี้
ตาราง 1 พฤติกรรมของนกั เรียนทเ่ี รียนรายวิชางานสง่ กำลังรถยนต์
ในสัปดาห์ที่ 4 -7
รายการ ̅ S.D ร้อยละ ระดับพฤติกรรม
1.ไมค่ ยุ ขณะสอน
2.ไม่เล่นเกมขณะสอน 4.20 0.45 84.00 มาก
3.ความสนใจไผ่รู้ 4.47
4.การซักถามปัญหาหรอื เนือ้ หาทไ่ี ม่ 4.42 0.27 89.40 มาก
เขา้ ใจ 3.89
5.การมปี ฏสิ ัมพนั ธก์ บั เพ่อื นร่วมชั้นเรียน 0.36 88.40 มาก
6.ความรับผดิ ชอบและเพยี รพยายาม 3.75
4.23 0.46 77.80 มาก
รวม 4.16
0.38 75.00 มาก
0.21 84.60 มาก
0.35 83.20 มาก
จากตาราง 1 พบว่านักเรียนมีพฤติกรรมการเรียนในชั้นเรียนโดยรวมอยู่ในระดับมาก( ̅ = 4.16) เมื่อ
พิจารณาเป็นรายข้ออยู่ในระดับมากทุกข้อดังนี้ไม่คุยกันขณะสอนไม่เล่นเกมขณะสอนความสนใจใฝ่รู้ซักถาม
ปญั หาหรอื เน้ือหาทีไ่ มเ่ ข้าใจการมีปฏสิ ัมพันธก์ บั เพอื่ นรว่ มช้นั เรียนและความรบั ผดิ ชอบและเพียรพยายาม
บทที่ 5
สรุปผลอภปิ รายผลและข้อเสนอแนะ
การวิจัยเรื่องการศึกษาพฤติกรรมการเรียนของนักเรียนในวิชางานส่งกำลังรถยนต์ของนักเรียนระดับ
ปวช. 2/1 แผนกวชิ าชา่ งยนต์มีประเดน็ สำคญั ในการนำเสนอตามลำดบั ดังน้ี
1. ความมงุ่ หมายของการวจิ ยั
2. สรุปผล
3. อภปิ รายผล
4. ขอ้ เสนอแนะ
ความมุง่ หมายของการวิจยั
เพื่อการศึกษาพฤติกรรมการเรียนของนักเรียนในวิชางานส่งกำลังรถยนต์ของนักเรียนระดับชั้น ปวช.
2/1 แผนกวิชาชา่ งยนต์
สรุปผล
การวิจัยเรื่องการศึกษาพฤติกรรมการเรียนของนักเรียนในวิชา งานส่งกำลังรถยนต์ ของนักเรียน
ระดบั ชน้ั ปวช.2/1 แผนกวชิ าช่างยนต์ สามารถสรุปผลการวิจัยไดด้ งั นี้
ผลการวิจัยพบว่านักเรียนมีพฤติกรรมการเรียนในชั้นเรียนโดยรวมอยู่ในระดับมากเมื่อพิจารณาเป็น
รายข้ออยู่ในระดับมากทุกข้อดังน้ี ไม่คุยกันขณะสอน ไม่เล่นเกมขณะสอน ความสนใจใฝ่รู้ซัก ถามปัญหาหรือ
เน้ือหาทไ่ี ม่เขา้ ใจการมปี ฏสิ ัมพนั ธก์ ับเพื่อนรว่ มช้ันเรียนและความรบั ผิดชอบและเพียรพยายาม
อภปิ รายผล
การวิจัยเรื่องการศึกษาพฤติกรรมการเรียนของนักเรียนในวิชางานส่งกำลังรถยนต์ของนักเรียนระดับ
ปวช. 2/1 แผนกวิชาช่างยนต์ผู้วิจัยสามารถอภปิ รายผลได้ดงั นี้
นักเรียนมีพฤติกรรมการเรียนดีขึ้นจากการให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมในกิจกรรมการเรียนการสอนอาทิ การ
ตอบคำถามในชั้นเรียนการเล่นเกมเพื่อให้ผู้เรียนมีความกระตือรือร้นการให้ผู้เรียนได้แสดงทัศนคติหรือ
ข้อคิดเห็นต่างๆในบทเรียนอันส่งผลให้ผู้เรียนเกิดความสนใจเพิ่มขั้นซึ่งสอดคล้องกับงานวิจัยของอร่ามบุญมา
ไชย (2532 : 87) พบว่านักเรียนที่ได้รับการสอนโดยกิจกรรมเพื่อการสื่อสารประกอบบทเรียนมีผลสัมฤทธิ์
ทางการเรียนวิชาภาษาอังกฤษและความสนใจในการเรียนวิชาภาษาอังกฤษแตกต่างกันและสอดคล้องกับ
งานวิจัยของสุชาติหล่อนกลาง (2536: 92) พบว่าการใช้การ์ตูนและการสอนส่งผลให้ผู้เรียนมีความสนใจกว่า
นกั เรยี นท่เี รียนคามคู่มอื ครแู ตกต่างกนั อย่างมีนยั สำคัญทางสถิตทิ ีร่ ะดับ 0.01
บรรณานกุ รม
บรรณานกุ รม
กฤษณาศกั ดศิ์ รี. จติ วิทยาการศึกษา. กรุงเทพฯ : บารุงสาสน์ , 2530.
จินดาสุขมาก. เอกสารประกอบเรียนการสอนวิชาการศึกษา 2143205 หลักการสอน. กรุงเทพฯ:
คณะวิชาครศุ าสตรว์ ิทยาลยั ครสู ุนนั ทำ, 2536.
ฉันทนากล่อมจิต, กอบพรอินทรตั้งและวิลาวัลย์จตุรธารง. การสร้างแบบสำรวจลักษณะนิสัยการ
เรยี นนกั ศึกษามหาวิทยาลัยขอนแก่น. งานวจิ ัยคณะศึกษาศาสตร์ขอนแก่น :มหาวิทยาลยั ขอนแก่น, 2543.
ชดุ ำจิตพิทักษ.์ หลกั และการสอน. กรงุ เทพฯ : โอเดียนสโตร์, 2540.
เทพาเครือคา. ความสัมพันธ์ระหว่างความสำมารถทางสมองตามทฤษฎีเชาว์ปัญญาของสเติร์น
เบอร์กกับความสามารถในการคิดวิจารณญาณและความสามารถในการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ของ
นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 : การวิเคราะห์สหสัมพันธ์คาโนนิคอล.วิทยานิพนธ์กศ.ม. มหาสารคาม :
มหาวิทยาลยั มหาสารคาม, 2547.
นพพรพานิชสุข. คู่มือครูคณิตศาสตร์มัธยมศึกษาตอนต้น. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยรามคา
แหง, 2522.
นพิ ันธ์สนิ พูน. ความสมั พนั ธร์ ะหว่างความถนัดทางการเรยี นความรู้พืน้ ฐานเดิมแรงจูงใจใฝ่สัมฤทธิ์
เจตคติต่อวิชาคณิตศาสตร์พฤติกรรมการเรียนคณิตศาสตร์และพฤติกรรมการสอนคณิต สำสตร์กับ
ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 3 ในจังหวัดมุกดำหาร.
วิทยานพิ นธก์ ศ.ม. มหาสารคาม :
มหาวิทยาลัยมหาสารคาม, 2545.
บรรพตสุวรรณเสรญิ . วธิ วี จิ ัยทางสถิตสิ ำหรับการวจิ ยั เล่ม 1. พิมพ์คร้ังที่ 2. กรงุ เทพฯ
สุวีรยิ าสาสน์ , 2541.
สงดั อุทรานนั ท.์ การจัดการเรียนการสอนอยา่ งเปน็ ระเบยี บ. กรงุ เทพฯ : คณะครุศาสตร์
จฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั , 2532.
สมพรสุทศั นีย.์ จิตวิทยาการปกครองชน้ั เรียน. พมิ พค์ รง้ั ที่ 3. กรุงเทพฯ : ไทยวัฒนาพาณิช,
2531.
สมโภชน์เอี่ยมสุภาษิต. การจัดกิจกรรมการสอนของครูในระดับมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนท่านาง
แนววิทยายนอาแวงน้อยจังหวัดขอนแก่น. วิทยานิพนธ์ศษ.ม. ขอนแก่นมหาวิทยาลัยขอนแก่น,
2534.
โสภาชพู ิกุลชัย. จติ วทิ ยาการศกึ ษา. พษิ ณโุ ลก : วทิ ยาลัยวิชาการการศกึ ษาพิษณโุ ลก,2521 : 82
ประวัตยิ อ่ ของผู้วจิ ยั
ประวัตผิ ู้วจิ ยั
ช่ือ – ชือ่ สกลุ นายสญั ญา ฉมิ อำพันธ์
วนั เดอื นปเี กดิ 31 มกราคม 2517
สถานที่เกิด จังหวดั สงิ ห์บรุ ี
ท่ีอย่ปู จั จบุ ัน 19 หม่ทู ่ี 1 ตำบลโพประจกั ษ์ อำเภอทา่ ช้าง จังหวัดสงิ ห์บุรี
ตำแหนง่ – หน้าท่ี ครผู ูช้ ่วย
ครปู ระจำแผนกวิชาชา่ งยนต์
สถานทท่ี ำงาน เจ้าหนา้ ที่งานโครงการพิเศษและบรกิ ารชุมชน
ประวตั กิ ารศึกษา เจา้ หน้าทง่ี านทวภิ าคี
วทิ ยาลยั เทคนิคสงิ หบ์ รุ ี
ประถมศึกษาตอนตน้ โรงเรยี นวัดโบสถ์
มัธยมศกึ ษาตอนตน้ โรงเรยี นท่าชา้ งวทิ ยาคาร
ประกาศนยี บัตรวิชาชพี (ปวช.) วิทยาลัยเทคนคิ สงิ ห์บุรี
ประกาศนยี บตั รวชิ าชีพช้ันสูง(ปวส.) วทิ ยาลัยเทคนิคสิงหบ์ รุ ี
ปรญิ ญาตรี สถาบนั เทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ