The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

รายวิชา ง32101 งานพื้นฐานอาชีพ (งานเกษตร) ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by พิทักษ์ เชียงนางาม, 2020-05-20 06:04:29

กำหนดการจัดการเรียนรู้

รายวิชา ง32101 งานพื้นฐานอาชีพ (งานเกษตร) ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5

กำหนดกำรจดั กำรเรียนรู้
รำยวิชำ งำนพื้นฐำนอำชพี (งำนเกษตร) รหัสวิชำ 32101 ระดับชั้นมธั ยมศึกษำปีที่ 5

กลุ่มสำระกำรเรียนรกู้ ำรงำนอำชีพ เวลำเรยี น 20 ชวั่ โมง

ครูผู้สอน
นำยพิทักษ์ เชียงนำงำม

โรงเรียนโคกโพธ์ไิ ชยศึกษำ
สำนกั งำนเขตพืน้ ทีก่ ำรศึกษำมธั ยมศึกษำ เขต 25

สำนกั งำนคณะกรรมกำรกำรศึกษำขน้ั พ้ืนฐำน
กระทรวงศึกษำธิกำร

บันทกึ ขอ้ ควำม

ส่วนรำชกำร กลมุ่ บรหิ ารงานวชิ าการ โรงเรยี นโตกโพธิ์ไชศกึ ษา
ที่ พเิ ศษ / 2563 วนั ที่ 16 เดือนพฤษภาคม พ.ศ. 2563
เรื่อง ขออนุมัตกิ าหนดการจัดการเรียนรู้
เรยี น ผ้อู านวยการโรงเรียนโคกโพธ์ิไชยศึกษา

ดว้ ยข้าพเจ้านายพิทักษ์ เชยี งนางาม ตาแหน่ง ครู โรงเรียนโคกโพธ์ิไชยศึกษา อาเภอโคกธ์ิไชย จังหวัด
ขอนแกน่ สังกัดสานักงานเขตพ้นื ทกี่ ารศึกษามัธยมศึกษา เขต 25 ได้รับมอบหมายให้ทาการสอนรายวิชาการงาน
อาชีพ (เกษตรกรรม) รหสั วชิ า ง 32101 ช้นั มัธยมศกึ ษาปีท่ี 5 ในภาคเรียนท่ี 1 ปกี ารศกึ ษา 2563

ในการน้ี ขา้ พเจา้ ได้จดั ทากาหนดการจดั การเรยี นรู้ ท่แี บ่งหน่วยการเรียนรู้ และคะแนน เสร็จสิ้นแล้ว จึงขอ
อนมุ ิติใชก้ าหนดการจัดการเรยี นรู้ เพอ่ื จัดกจิ กรรมการเรยี นการสอนตอ่ ไป

จึงเรยี นมาเพือ่ โปรดพิจารณา ลงชอ่ื
ควำมเหน็ หัวหน้ำกล่มุ สำระกำรเรียนรู้ (นายพิทักษ์ เชียงนางาม)
ตาแหนง่ ครู

............................................................................................................................................................................
ลงช่อื

(นายพทิ กั ษ์ เชยี งนางาม)

หวั หน้ากลุ่มสาระการเรียนรกู้ ารงานอาชพี

ควำมเหน็ ของหวั หน้ำกลมุ่ บริหำรฝำ่ ยวิชำกำร

............................................................................................................................................................................
ลงชื่อ
(นางพรพริ ณุ แจง้ ใจ)

ตาแหน่ง หวั หน้ากลมุ่ บรหิ ารงานวิชาการ
 อนุมตั ิ  ไมอ่ นมุ ัติ เพราะ ................................................................................................................

ลงชอ่ื
(นางลดั ดา ผาพันธ์)

ตาแหน่ง ผู้อานวยการโรงเรียนโคกโพธ์ิไชยศกึ ษา

คำนำ

หลักสูตรและกาหนดการสอน รายวิชางานพื้นฐานอาชีพ(งานเกษตร) ง 32101 จัดทาขึ้นเพื่อ
นามาใช้เป็นคู่มือประกอบการจัดกิจกรรมการเรียนการเรียนรู้ ให้สอดคล้องกับหลักสูตรการศึกษาข้ันพื้นฐาน
พุทธศักราช 2551 และหลกั สตู รสถานศึกษา โรงเรยี นโคกโพธิไ์ ชยศึกษา สานกั งานเขตพนื้ ทก่ี ารศกึ ษามธั ยมศึกษา เขต
25

ผเู้ ขียนได้วเิ คราะห์วสิ ยั ทศั น์ เป้าหมาย และมาตรฐานการเรียนรู้ แล้วนามากาหนดผลการเรียนรู้ท่ี
คาดหวงั จากนั้นนามาจัดทาคาอธิบายรายวิชา กาหนดเนือ้ หา และตวั ชี้วดั / ผลการเรยี นรู้ แลว้ นามาวิเคราะห์หา
ความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งจุดประสงค์กับพฤติกรรม กาหนดอัตราส่วนคะแนนในการวัดและประเมินผล และจัดทาเป็น
กาหนดการสอน

เอกสารฉบับนี้ จะใช้สาหรับเป็นคู่มือในการเขียนแผนการจัดการเรียนรู้ เพื่อจะทาให้การจัดกิจกรรมการ
เรียนการสอน สอดคล้องกับหลักสูตรการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 เพ่ือเป็นประโยชน์แก่นักเรียนใน
โอกาสตอ่ ไป

(นายพทิ ักษ์ เชียงนางาม)
โรงเรียนโคกโพธิ์ไชยศกึ ษา

สำรบญั หนา้

เรื่อง 1
12
หลักสตู รการศกึ ษาขั้นพ้นื ฐาน พ.ศ. 2551 13
คาอธบิ ายรายวชิ า 15
ตวั ชว้ี ัด/ผลการเรยี นรู้ 16
โครงสรา้ งรายวิชา 17
กาหนดการจดั การเรยี นรู้ 18
ข้อตกลง 19
แบบประเมินคุณลกั ษณะ
แบบประเมนิ การอา่ น คิด วเิ คราะห์

ควำมนำ

กระทรวงศึกษาธิการได้ประกาศใช้หลักสูตรการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ ให้เป็นหลักสูตร
แกนกลางของประเทศ โดยกาหนดจุดหมาย และมาตรฐานการเรียนรู้เป็นเป้าหมายและกรอบทิศทางในการพัฒนา
คุณภาพผู้เรียนให้เป็นคนดี มีปัญญา มีคุณภาพชีวิตที่ดีและมีขีดความสามารถในการแข่งขันในเวทีระดับโลก
(กระทรวงศกึ ษาธิการ, ๒๕๔๔) พร้อมกนั นีไ้ ด้ปรับกระบวนการพัฒนาหลกั สูตรใหม้ คี วามสอดคล้องกบั เจตนารมณ์แห่ง
พระราชบญั ญตั กิ ารศึกษาแหง่ ชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒ และ ท่ีแก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๔๕ ที่มุ่งเน้นการกระจาย
อานาจทางการศึกษาใหท้ อ้ งถ่นิ และสถานศึกษาได้มบี ทบาทและมสี ่วนร่วมในการพฒั นาหลักสตู ร เพื่อให้สอดคล้องกับ
สภาพ และ ความต้องการของทอ้ งถิ่น (สานกั นายกรฐั มนตรี, ๒๕๔๒)

จากการวิจัย และตดิ ตามประเมินผลการใช้หลักสูตรในช่วงระยะ ๖ ปีที่ผ่านมา (สานักวิชาการและมาตรฐาน
การศึกษา, ๒๕๔๖ ก., ๒๕๔๖ ข., ๒๕๔๘ ก., ๒๕๔๘ ข.; สานักงานเลขาธิการสภาการศึกษา, ๒๕๔๗; สานักผู้ตรวจ
ราชการและติดตามประเมินผล, ๒๕๔๘; สุวิมล ว่องวาณิช และ นงลักษณ์ วิรัชชัย, ๒๕๔๗; Nutravong, ๒๐๐๒;
Kittisunthorn, ๒๐๐๓) พบว่า หลักสูตรการศึกษาข้ันพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๔๔ มีจุดดีหลายประการ เช่น ช่วย
สง่ เสริมการกระจายอานาจทางการศึกษาทาให้ท้องถิ่นและสถานศึกษามีส่วนร่วมและมีบทบาทสาคัญในการพัฒนา
หลักสตู รใหส้ อดคลอ้ งกบั ความตอ้ งการของทอ้ งถิน่ และมแี นวคิดและหลกั การในการสง่ เสรมิ การพฒั นาผเู้ รียนแบบองค์
รวมอย่างชัดเจน อยา่ งไรกต็ าม ผลการศึกษาดังกล่าวยังได้สะท้อนให้เห็นถึงประเด็นท่ีเป็นปัญหาและความไม่ชัดเจน
ของหลกั สูตรหลายประการทง้ั ในส่วนของเอกสารหลกั สตู ร กระบวนการนาหลักสตู ร สูก่ ารปฏิบตั ิ และผลผลติ ทเี่ กดิ จาก
การใช้หลักสูตร ได้แก่ ปัญหาความสับสนของผู้ปฏิบัติในระดับสถานศึกษาในการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา
สถานศึกษาส่วนใหญ่กาหนดสาระและผลการเรียนรู้ท่ีคาดหวังไว้มาก ทาให้เกิดปัญหาหลักสูตรแน่น การวัดและ
ประเมินผลไมส่ ะทอ้ นมาตรฐาน ส่งผลต่อปญั หาการจดั ทาเอกสารหลกั ฐานทางการศึกษาและการเทียบโอนผลการเรียน
รวมทง้ั ปญั หาคณุ ภาพ ของผู้เรยี นในดา้ นความรู้ ทกั ษะ ความสามารถและคุณลักษณะท่ีพึงประสงค์อันยังไม่เป็นที่น่า
พอใจ

นอกจากน้ันแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสงั คมแหง่ ชาติ ฉบบั ที่ ๑๐ ( พ.ศ. ๒๕๕๐ – ๒๕๕๔) ได้ชี้ใหเ้ หน็ ถงึ ความ
จาเปน็ ในการปรับเปลย่ี นจดุ เน้นในการพฒั นาคณุ ภาพคนในสงั คมไทยให้ มคี ุณธรรม และมคี วามรอบรู้อยา่ งเทา่ ทัน ให้
มีความพร้อมท้ังด้านร่างกาย สติปัญญา อารมณ์ และศีลธรรม สามารถก้าวทันการเปล่ียนแปลงเพื่อนาไปสู่สังคม
ฐานความร้ไู ดอ้ ยา่ งม่นั คง แนวการพฒั นาคนดังกลา่ วมงุ่ เตรียมเดก็ และเยาวชนให้มีพืน้ ฐานจิตใจท่ีดีงาม มจี ิตสาธารณะ
พร้อมทั้งมีสมรรถนะ ทกั ษะและความรพู้ ้ืนฐานที่จาเปน็ ในการดารงชีวติ อนั จะส่งผลต่อการพัฒนาประเทศแบบย่ังยืน
(สภาพัฒนาเศรษฐกจิ และสงั คมแห่งชาติ, ๒๕๔๙) ซ่ึงแนวทางดังกลา่ วสอดคล้องกบั นโยบายของกระทรวงศึกษาธิการ
ในการพัฒนาเยาวชนของชาติเขา้ สู่โลกยุคศตวรรษท่ี ๒๑ โดยมงุ่ ส่งเสริมผู้เรยี นมคี ุณธรรม รกั ความเป็นไทย ให้มีทักษะ
การคิดวเิ คราะห์ สร้างสรรค์ มที กั ษะดา้ นเทคโนโลยี สามารถทางานรว่ มกับผูอ้ น่ื และสามารถอยู่รว่ มกับผ้อู ืน่ ในสงั คม
โลกได้อยา่ งสนั ติ (กระทรวงศกึ ษาธกิ าร, ๒๕๕๑)

จากขอ้ ค้นพบในการศกึ ษาวจิ ัยและติดตามผลการใช้หลักสตู รการศึกษาขนั้ พืน้ ฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๔๔ ท่ีผ่าน
มา ประกอบกับขอ้ มูลจากแผนพัฒนาเศรษฐกจิ และสังคมแหง่ ชาติ ฉบับท่ี ๑๐ เกย่ี วกบั แนวทางการพัฒนาคน

2

ในสงั คมไทย และจุดเนน้ ของกระทรวงศึกษาธกิ ารใน การพัฒนาเยาวชนสู่ศตวรรษท่ี ๒๑ จงึ เกดิ การทบทวนหลักสูตร
การศกึ ษาขัน้ พนื้ ฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๔๔ เพอื่ นาไปสกู่ ารพัฒนาหลักสตู รแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช
๒๕๕๑ ทมี่ ีความเหมาะสม ชัดเจน ท้งั เปา้ หมายของหลกั สตู รในการพฒั นาคุณภาพผเู้ รยี น และกระบวนการนาหลกั สตู ร
ไปสกู่ ารปฏิบตั ิในระดบั เขตพืน้ ท่ีการศึกษาและสถานศึกษา โดยได้มีการกาหนดวิสัยทัศน์ จุดหมาย สมรรถนะสาคัญ
ของผู้เรียน คุณลักษณะอันพึงประสงค์ มาตรฐานการเรียนรู้และตัวช้ีวัดที่ชัดเจน เพ่ือใช้เป็นทิศทางในการจัดทา
หลกั สตู ร การเรียนการสอนในแตล่ ะระดับ นอกจากนน้ั ไดก้ าหนดโครงสร้างเวลาเรียนขั้นต่าของแต่ละกลุ่มสาระการ
เรยี นรู้ในแตล่ ะชัน้ ปไี วใ้ นหลกั สตู รแกนกลาง และเปิดโอกาสให้สถานศึกษาเพิ่มเติมเวลาเรียนได้ตามความพร้อมและ
จุดเนน้ อีกท้ังได้ปรับกระบวนการวัดและประเมินผลผู้เรียน เกณฑ์การจบการศึกษาแต่ละระดับ และเอกสารแสดง
หลักฐานทางการศึกษาให้มีความสอดคลอ้ งกบั มาตรฐานการเรยี นรู้ และมีความชดั เจนตอ่ การนาไปปฏบิ ตั ิ

เอกสารหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาขนั้ พ้ืนฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ น้ี จดั ทาขึ้นสาหรบั ทอ้ งถิ่นและสถานศึกษา
ไ ด้ น า ไ ป ใ ช้ เ ป็ น ก ร อ บ แ ล ะ ทิ ศ ท า ง ใ น ก า ร จั ด ท า ห ลั ก สู ต ร ส ถ า น ศึ ก ษ า แ ล ะ จั ด ก า ร เ รี ย น
การสอนเพ่ือพัฒนาเด็กและเยาวชนไทยทุกคนในระดับการศึกษาข้ันพ้ืนฐานให้มีคุณภาพด้านความรู้ และทักษะที่
จาเป็นสาหรับการดารงชวี ิตในสังคมทมี่ กี ารเปลี่ยนแปลง และแสวงหาความรเู้ พื่อพัฒนาตนเองอยา่ งต่อเน่อื งตลอดชีวิต

มาตรฐานการเรยี นรแู้ ละตวั ชี้วดั ที่กาหนดไว้ในเอกสารน้ี ช่วยทาให้หน่วยงานท่ีเก่ียวข้อง ในทุกระดับเห็นผล
คาดหวังทตี่ ้องการในการพฒั นาการเรียนรขู้ องผู้เรยี นทชี่ ดั เจนตลอดแนว ซง่ึ จะสามารถช่วยให้หน่วยงานที่เก่ียวข้องใน
ระดับท้องถิ่นและสถานศึกษาร่วมกันพัฒนาหลักสูตรได้อย่างมั่นใจ ทาให้การจัดทาหลักสูตรในระดับสถานศึกษามี
คณุ ภาพและมีความเปน็ เอกภาพยิง่ ขึ้น อกี ทง้ั ยังช่วยให้เกดิ ความชดั เจนเร่อื งการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ และช่วย
แก้ปัญหาการเทียบโอนระหว่างสถานศึกษา ดังนั้นในการพัฒนาหลักสูตรในทุกระดับต้ังแต่ระดับชาติจนกระทั่งถึง
สถานศกึ ษา จะตอ้ งสะท้อนคุณภาพตามมาตรฐานการเรียนรูแ้ ละตัวชีว้ ดั ที่กาหนดไว้ในหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ัน
พ้ืนฐาน รวมท้ังเป็นกรอบทิศทางในการจัดการศึกษาทุกรูปแบบ และครอบคลุมผู้เรียนทุกกลุ่มเป้าหมายในระดับ
การศึกษาขน้ั พนื้ ฐาน

การจัดหลกั สตู รการศึกษาขัน้ พน้ื ฐานจะประสบความสาเรจ็ ตามเป้าหมายท่ีคาดหวงั ได้ ทุกฝ่าย ที่เก่ียวข้องท้ัง
ระดับชาติ ชุมชน ครอบครัว และบุคคลต้องร่วมรับผิดชอบ โดยร่วมกันทางานอย่างเป็นระบบ และต่อเน่ือง ในการ
วางแผน ดาเนินการ ส่งเสริมสนบั สนุน ตรวจสอบ ตลอดจนปรบั ปรงุ แก้ไข เพื่อพฒั นาเยาวชนของชาตไิ ปสูค่ ณุ ภาพตาม
มาตรฐานการเรียนร้ทู กี่ าหนดไว้

3

วสิ ัยทศั น์

หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน มุ่งพัฒนาผู้เรียนทุกคน ซ่ึงเป็นกาลังของชาติให้เป็นมนุษย์ท่ีมีความ
สมดลุ ท้ังด้านรา่ งกาย ความรู้ คณุ ธรรม มีจิตสานึกในความเป็นพลเมืองไทยและเป็นพลโลก ยึดม่ันในการปกครองตาม
ระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข มีความรู้และทักษะพื้นฐาน รวมทั้ง เจตคติ ท่ีจาเป็นต่อ
การศึกษาตอ่ การประกอบอาชีพและการศึกษาตลอดชีวติ โดยมงุ่ เน้นผ้เู รยี นเป็นสาคัญบนพนื้ ฐานความเชื่อว่า ทุกคน
สามารถเรยี นรู้และพัฒนาตนเองไดเ้ ตม็ ตามศกั ยภาพ

หลกั กำร

หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขัน้ พื้นฐาน มหี ลักการท่สี าคัญ ดังน้ี
๑. เป็นหลักสูตรการศึกษาเพื่อความเป็นเอกภาพของชาติ มีจุดหมายและมาตรฐานการเรียนรู้

เปน็ เป้าหมายสาหรับพฒั นาเด็กและเยาวชนให้มีความรู้ ทักษะ เจตคติ และคุณธรรมบนพื้นฐาน ของความเป็นไทย
ควบค่กู บั ความเป็นสากล

๒. เป็นหลักสูตรการศกึ ษาเพอ่ื ปวงชน ท่ีประชาชนทกุ คนมีโอกาสได้รบั การศึกษาอยา่ งเสมอภาค และมีคณุ ภาพ
๓. เป็นหลักสูตรการศึกษาที่สนองการกระจายอานาจ ให้สังคมมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษา
ให้สอดคล้องกบั สภาพและความต้องการของทอ้ งถ่ิน
๔. เปน็ หลักสตู รการศกึ ษาทม่ี โี ครงสร้างยดื หย่นุ ทงั้ ดา้ นสาระการเรยี นรู้ เวลาและการจดั การเรียนรู้
๕. เป็นหลักสตู รการศึกษาทเ่ี นน้ ผู้เรยี นเป็นสาคญั
๖. เป็นหลักสูตรการศึกษาสาหรับการศึกษาในระบบ นอกระบบ และตามอัธยาศัย ครอบคลุมทุก
กลุ่มเป้าหมาย สามารถเทียบโอนผลการเรียนรู้ และประสบการณ์

จุดหมำย

หลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน มุ่งพัฒนาผู้เรียนให้เป็นคนดี มีปัญญา มีความสุข
มีศกั ยภาพในการศึกษาตอ่ และประกอบอาชพี จึงกาหนดเป็นจุดหมายเพื่อให้เกิดกับผู้เรียน เม่ือจบการศึกษาข้ัน
พืน้ ฐาน ดังนี้

๑. มีคุณธรรม จริยธรรม และค่านิยมที่พึงประสงค์ เห็นคุณค่าของตนเอง มีวินัยและปฏิบัติตนตาม
หลกั ธรรมของพระพทุ ธศาสนา หรือศาสนาทตี่ นนับถอื ยึดหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง

๒. มคี วามรู้ ความสามารถในการสอื่ สาร การคดิ การแก้ปญั หา การใช้เทคโนโลยี และมีทักษะชีวิต
๓. มีสขุ ภาพกายและสุขภาพจติ ทดี่ ี มสี ุขนิสยั และรกั การออกกาลังกาย
๔. มีความรักชาติ มีจิตสานึกในความเป็นพลเมืองไทยและพลโลก ยึดมั่นในวิถีชีวิตและการปกครองตาม
ระบอบประชาธปิ ไตยอันมพี ระมหากษัตริยท์ รงเปน็ ประมุข

4

๕. มีจิตสานึกในการอนุรักษ์วัฒนธรรมและภูมิปัญญาไทย การอนุรักษ์และพัฒนาสิ่งแวดล้อม มีจิต
สาธารณะท่มี งุ่ ทาประโยชนแ์ ละสร้างสงิ่ ทดี่ ีงามในสังคม และอยูร่ ว่ มกันในสงั คมอย่างมคี วามสุข

สมรรถนะสำคญั ของผู้เรยี น และคุณลกั ษณะอนั พึงประสงค์

ในการพัฒนาผู้เรียนตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐาน มุ่งเน้นพัฒนาผู้เรียนให้มีคุณภาพตาม
มาตรฐานทกี่ าหนด ซ่งึ จะช่วยใหผ้ ูเ้ รียนเกดิ สมรรถนะสาคญั และคณุ ลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ ดังน้ี

สมรรถนะสำคัญของผู้เรยี น

หลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาขั้นพน้ื ฐาน มงุ่ ใหผ้ ู้เรียนเกดิ สมรรถนะสาคัญ ๕ ประการ ดังนี้
๑. ควำมสำมำรถในกำรสือ่ สำร เป็นความสามารถในการรับและสง่ สาร มีวฒั นธรรมในการใชภ้ าษาถ่ายทอด
ความคิด ความรูค้ วามเขา้ ใจ ความรสู้ ึก และทัศนะของตนเองเพื่อแลกเปลย่ี นขอ้ มลู ขา่ วสารและประสบการณ์อันจะเปน็
ประโยชน์ต่อการพัฒนาตนเองและสงั คม รวมท้ังการเจรจาต่อรองเพื่อขจัดและลดปัญหาความขดั แย้งต่าง ๆ การเลือก
รบั หรือไมร่ บั ข้อมูลข่าวสารด้วยหลกั เหตุผลและความถูกตอ้ ง ตลอดจนการเลือกใชว้ ิธกี ารส่ือสาร ท่ีมีประสิทธิภาพโดย
คานึงถงึ ผลกระทบทมี่ ตี ่อตนเองและสังคม
๒. ควำมสำมำรถในกำรคดิ เป็นความสามารถในการคดิ วิเคราะห์ การคดิ สงั เคราะห์ การคดิ อย่างสร้างสรรค์
การคดิ อย่างมีวิจารณญาณ และการคิดเป็นระบบ เพื่อนาไปสู่การสร้างองค์ความรู้หรือสารสนเทศเพ่ือการตัดสินใจ
เกย่ี วกับตนเองและสงั คมได้อย่างเหมาะสม
๓. ควำมสำมำรถในกำรแก้ปัญหำ เป็นความสามารถในการแก้ปัญหาและอุปสรรคต่าง ๆ ท่ีเผชิญได้อย่าง
ถกู ต้องเหมาะสมบนพนื้ ฐานของหลักเหตผุ ล คุณธรรมและข้อมลู สารสนเทศ เข้าใจความสัมพันธ์และการเปลี่ยนแปลง
ของเหตุการณ์ตา่ ง ๆ ในสังคม แสวงหาความรู้ ประยกุ ต์ความรมู้ าใช้ในการป้องกนั และแก้ไขปญั หา และมีการตัดสินใจ
ทม่ี ปี ระสทิ ธภิ าพโดยคานงึ ถึงผลกระทบท่ีเกดิ ขน้ึ ตอ่ ตนเอง สงั คมและส่งิ แวดล้อม
๔. ควำมสำมำรถในกำรใช้ทักษะชีวิต เป็นความสามารถในการนากระบวนการต่าง ๆ ไปใช้ใน
การดาเนนิ ชีวิตประจาวนั การเรียนรดู้ ้วยตนเอง การเรียนรู้อย่างตอ่ เนื่อง การทางาน และการอยู่ร่วมกันในสังคมด้วย
การสร้างเสรมิ ความสัมพนั ธ์อันดีระหวา่ งบคุ คล การจดั การปัญหาและความขัดแย้งต่าง ๆ อยา่ งเหมาะสม การปรับตัวให้
ทันกับการเปล่ยี นแปลงของสังคมและสภาพแวดลอ้ ม และการรู้จกั หลกี เล่ียงพฤตกิ รรมไม่พึงประสงค์ท่ีส่งผลกระทบต่อ
ตนเองและผอู้ น่ื
๕. ควำมสำมำรถในกำรใชเ้ ทคโนโลยี เป็นความสามารถในการเลอื ก และใช้ เทคโนโลยีด้านต่าง ๆ และมีทักษะ
ก ร ะ บ วน ก า ร ท า ง เ ท คโ น โ ล ยี เ พื่ อ ก า ร พั ฒ น า ต น เ อ ง แ ล ะ สั ง คม ใ น ด้ า น ก า ร เ รี ย น รู้ ก า ร ส่ื อ ส า ร
การทางาน การแก้ปัญหาอยา่ งสรา้ งสรรค์ ถูกต้อง เหมาะสม และมคี ุณธรรม

5

คุณลกั ษณะอันพงึ ประสงค์

หลกั สูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐาน มุ่งพัฒนาผู้เรียนให้มีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ เพ่ือให้สามารถอยู่
ร่วมกบั ผ้อู ืน่ ในสงั คมไดอ้ ย่างมคี วามสุข ในฐานะเปน็ พลเมอื งไทยและพลโลก ดงั น้ี

๑. รกั ชาติ ศาสน์ กษตั รยิ ์
๒. ซ่อื สตั ย์สจุ ริต
๓. มีวินยั
๔. ใฝเ่ รยี นรู้
๕. อยอู่ ยา่ งพอเพยี ง
๖. มุ่งม่ันในการทางาน
๗. รักความเปน็ ไทย
๘. มีจติ สาธารณะ
นอกจากนี้ สถานศึกษาสามารถกาหนดคุณลกั ษณะอนั พึงประสงค์เพม่ิ เติมใหส้ อดคลอ้ งตามบริบทและจุดเน้น
ของตนเอง

มำตรฐำนกำรเรียนรู้

การพัฒนาผู้เรียนใหเ้ กิดความสมดลุ ต้องคานงึ ถึงหลกั พฒั นาการทางสมองและพหปุ ัญญา หลักสตู รแกนกลาง
การศกึ ษาข้ันพื้นฐาน จึงกาหนดใหผ้ เู้ รียนเรียนรู้ ๘ กลุม่ สาระการเรยี นรู้ ดงั นี้

๑. ภาษาไทย
๒. คณิตศาสตร์
๓. วทิ ยาศาสตร์
๔. สงั คมศกึ ษา ศาสนา และวฒั นธรรม
๕. สุขศกึ ษาและพลศึกษา
๖. ศลิ ปะ
๗. การงานอาชีพและเทคโนโลยี
๘. ภาษาต่างประเทศ
ในแตล่ ะกลุ่มสาระการเรียนรูไ้ ดก้ าหนดมาตรฐานการเรยี นรเู้ ปน็ เป้าหมายสาคญั ของการพัฒนาคณุ ภาพผู้เรียน
มาตรฐานการเรียนรู้ระบุสง่ิ ที่ผเู้ รียนพงึ รู้ ปฏิบตั ิได้ มีคณุ ธรรมจริยธรรม และค่านิยม ท่ีพึงประสงค์เม่ือจบการศึกษา
ขั้นพื้นฐาน นอกจากน้ันมาตรฐานการเรียนรู้ยังเป็นกลไกสาคัญ ในการขับเคล่ือนพัฒนาการศึกษาทั้งระบบ เพราะ
มาตรฐานการเรียนร้จู ะสะท้อนใหท้ ราบวา่ ตอ้ งการอะไร จะสอนอย่างไร และประเมินอย่างไร รวมท้ังเป็นเคร่ืองมือใน
การตรวจสอบเพ่ือการประกันคุณภาพการศึกษาโดยใช้ระบบการประเมินคุณภาพภายในและกา รประเมินคุณภาพ
ภายนอก ซง่ึ รวมถึงการทดสอบระดับเขตพ้ืนทก่ี ารศึกษา และการทดสอบระดบั ชาติ ระบบการ

6

ตรวจสอบเพ่อื ประกันคณุ ภาพดังกลา่ วเป็นสิ่งสาคัญท่ีช่วยสะท้อนภาพการจัดการศึกษาว่าสามารถพัฒนาผู้เรียนให้มี
คุณภาพตามท่มี าตรฐานการเรียนร้กู าหนดเพยี งใด

ตัวชีว้ ัด

ตัวชี้วัดระบุส่ิงที่นักเรยี นพึงรู้และปฏิบัติได้ รวมทั้งคุณลักษณะของผู้เรียนในแต่ละระดับชั้น ซ่ึงสะท้อนถึง
มาตรฐานการเรยี นรู้ มีความเฉพาะเจาะจงและมคี วามเป็นรปู ธรรม นาไปใช้ ในการกาหนดเน้อื หา จดั ทาหน่วยการเรียนรู้
จัดการเรียนการสอน และเป็นเกณฑ์สาคญั สาหรับการวัดประเมินผลเพ่อื ตรวจสอบคุณภาพผเู้ รียน

๑. ตัวช้ีวัดชั้นปี เป็นเป้าหมายในการพัฒนาผู้เรียนแต่ละชั้นปีในระดับการศึกษาภาคบังคับ
(ประถมศกึ ษาปีท่ี ๑ – มัธยมศกึ ษาปที ี่ ๓)

๒. ตวั ช้ีวัดชว่ งชั้น เปน็ เปา้ หมายในการพัฒนาผู้เรยี นในระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย(มัธยมศกึ ษาปีท่ี ๔- ๖)

หลกั สูตรไดม้ ีการกาหนดรหสั กากับมาตรฐานการเรียนร้แู ละตวั ชีว้ ดั เพือ่ ความเขา้ ใจและใหส้ ือ่ สารตรงกัน ดังน้ี

ว ๑.๑ ป. ๑/๒ ตัวชว้ี ัดช้นั ประถมศกึ ษาปีที่ ๑ ข้อท่ี ๒
สาระที่ ๑ มาตรฐานข้อท่ี ๑
ป.๑/๒ กลุ่มสาระการเรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตร์
๑.๑


ต ๒.๒ ม.๔-๖/ ๓ ตัวช้วี ัดชั้นมธั ยมศึกษาตอนปลาย ข้อท่ี ๓
สาระท่ี ๒ มาตรฐานขอ้ ที่ ๒
ม.๔-๖/๓ กลุ่มสาระการเรยี นรู้ภาษาตา่ งประเทศ
๒.๓


7

สำระกำรเรียนรู้

สาระการเรียนรู้ ประกอบด้วย องคค์ วามรู้ ทักษะหรอื กระบวนการเรยี นรู้ และคุณลกั ษณะ อันพึง

ประสงค์ ซึ่งกาหนดให้ผู้เรียนทุกคนในระดับการศึกษาข้ันพ้ืนฐานจาเป็นต้องเรียนรู้ โดยแบ่งเป็น ๘ กลุ่มสาระการ

เรยี นรู้ ดงั นี้

คณติ ศาสตร์ : การนาความรู้

ภาษาไทย : ความรู้ ทกั ษะ ทกั ษะและกระบวนการทาง วิทยาศาสตร์ : การนาความรู้
และวฒั นธรรมการใช้ภาษา
เพื่อ การสอื่ สาร ความชื่นชม คณติ ศาสตร์ไปใช้ใน และกระบวนการทางวิทยาศาสตร์
การเห็นคุณคา่ ภูมิปัญญาไทย และ
ภมู ิใจในภาษาประจาชาติ การแก้ปัญหา การดาเนินชีวิต ไปใช้ในการศกึ ษา ค้นคว้าหาความรู้

ภาษาต่างประเทศ : ความรู้ และศกึ ษาต่อ การมีเหตมุ ผี ล และแก้ปัญหาอย่างเป็ นระบบ การคดิ
ทกั ษะ เจตคติ และวฒั นธรรม
การใช้ภาษาตา่ งประเทศในการ มเี จตคตทิ ่ีดตี ่อคณิตศาสตร์ อย่างเป็ นเหตเุ ป็ นผล คิดวิเคราะห์
สอื่ สาร การแสวงหาความรู้
และการประกอบอาชพี พฒั นาการคิดอย่างเป็ นระบบ คิดสร้างสรรค์ และจิตวิทยาศาสตร์

และสร้างสรรค์

สงั คมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรม :

องค์ควำมรู้ ทักษะสำคัญ การอย่รู ่วมกนั ในสงั คมไทยและสงั คมโลก
และคณุ ลกั ษณะ อย่างสนั ติสขุ การเป็ นพลเมืองดี
ศรัทธาในหลกั ธรรมของศาสนา

ในหลกั สูตรแกนกลำงกำรศกึ ษำ การเห็นคุณค่าของทรัพยากรและ
สง่ิ แวดล้อม ความรักชาติ และภมู ใิ จใน

ความเป็ นไทย

การงานอาชีพและเทคโนโลยี : ศิลปะ : ความรู้และทกั ษะใน สขุ ศกึ ษาและพลศกึ ษา : ความรู้
ความรู้ ทกั ษะ และเจตคติ การคิดริเร่ิม จนิ ตนาการ ทกั ษะและเจตคติในการสร้างเสริม
ในการทางาน การจดั การ สร้างสรรค์งานศิลปะ สขุ ภาพพลานามยั ของตนเองและ
การดารงชวี ติ การประกอบอาชพี สนุ ทรียภาพและการเห็น ผ้อู นื่ การป้ องกนั และปฏิบตั ิต่อ
และการใช้เทคโนโลยี คณุ ค่าทางศิลปะ สงิ่ ตา่ ง ๆ ท่มี ผี ลตอ่ สขุ ภาพอย่าง
ถกู วิธีและทักษะในการดาเนนิ ชีวิต

ควำมสมั พนั ธช์ องกำรพฒั นำคณุ ภำพผู้เรยี นตำมหลักสตู รแกนกลำงกำรศึกษำขน้ั พืน้ ฐำน

วิสัยทัศน์
หลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาข้นั พ้นื ฐาน มงุ่ พฒั นาผเู้ รียนทกุ คน ซ่ึงเป็นกาลงั ของชาตใิ หเ้ ป็นมนุษยท์ ่ีมีความ
สมดลุ ท้งั ดา้ นร่างกาย ความรู้ คุณธรรม มจี ิตสานึกในความเป็นพลเมอื งไทยและเป็นพลโลก ยดึ มน่ั ในการปกครองตาม
ระบอบประชาธิปไตยอนั มพี ระมหากษตั ริยท์ รงเป็นประมขุ มคี วามรูแ้ ละทกั ษะพ้นื ฐาน รวมท้งั เจตคติ ทีจ่ าเป็นตอ่
การศกึ ษาตอ่ การประกอบอาชีพและการศกึ ษาตลอดชีวติ โดยมุ่งเนน้ ผูเ้ รียนเป็นสาคญั บนพ้ืนฐานความเช่อื วา่ ทกุ คน
สามารถเรียนรู้และพฒั นาตนเองไดเ้ ตม็ ตามศกั ยภาพ

จุดหมำย
๑. มีคณุ ธรรม จริยธรรม และค่านิยมท่ีพึงประสงค์ เหน็ คณุ คา่ ของตนเอง มวี นิ ยั และปฏบิ ตั ติ นตาม
หลกั ธรรมของพระพทุ ธศาสนา หรือศาสนาท่ตี นนบั ถือ ยดึ หลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
๒. มีความรู้อนั เป็นสากลและมคี วามสามารถในการสื่อสาร การคดิ การแกป้ ัญหา การใชเ้ ทคโนโลยแี ละ
มที กั ษะชวี ติ
๓. มีสุขภาพกายและสุขภาพจิตท่ดี ี มสี ุขนิสัย และรักการออกกาลงั กาย
๔. มคี วามรักชาติ มีจิตสานึกในความเป็นพลเมอื งไทยและพลโลก ยดึ มนั่ ในวถิ ีชีวิตและการปกครองใน
ระบอบประชาธิปไตยอนั มพี ระมหากษตั ริยท์ รงเป็นประมุข
๕. มจี ิตสานึกในการอนุรักษว์ ฒั นธรรมและภมู ปิ ัญญาไทย การอนุรักษแ์ ละพฒั นาสิ่งแวดลอ้ ม
มจี ิตสาธารณะท่ีม่งุ ทาประโยชนแ์ ละสร้างส่ิงที่ดงี ามในสังคม และอยรู่ ่วมกนั ในสงั คมอยา่ งมีความสุข

สมรรถนะสำคญั ของผู้เรียน คณุ ลักษณะอนั พงึ ประสงค์

๑. ความสามารถในการส่ือสาร ๑. รักชาติ ศาสน์ กษตั ริย์
๒. ซื่อสตั ยส์ ุจริต
๒. ความสามารถในการคิด ๓. มีวินยั
๓. ความสามารถในการแกป้ ัญหา ๔. ใฝ่ เรียนรู้
๔. ความสามารถในการใชท้ กั ษะชีวติ ๕. อยอู่ ย่างพอเพียง
๕. ความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยี ๖. มุ่งมนั่ ในการทางาน

๗. รักความเป็นไทย
๘. มีจิตสาธารณะ

มำตรฐำนกำรเรียนรู้และตวั ช้ีวดั ๘ กล่มุ สำระกำรเรียนรู้
๑. ภาษาไทย ๒. คณิตศาสตร์ ๓. วิทยาศาสตร์

๔. สงั คมศกึ ษา ศาสนาและวฒั นธรรม ๕. สุขศกึ ษาและพลศึกษา ๖. ศิลปะ
๗. การงานอาชพี และเทคโนโลยี ๘. ภาษาต่างประเทศ

คุณภำพของผู้เรียนระดบั กำรศึกษำข้นั พนื้ ฐำน

9

สำระและมำตรฐำนกำรเรียนรู้

กลมุ่ สำระกำรเรียนรู้กำรงำนอำชพี และเทคโนโลยี

ทำไมต้องเรยี นกำรงำนอำชพี และเทคโนโลยี

กลมุ่ สาระการเรียนรูก้ ารงานอาชีพและเทคโนโลยเี ป็นกล่มุ สาระท่ชี ว่ ยพัฒนาใหผ้ เู้ รียนมีความรู้ ความเข้าใจ
มีทักษะพื้นฐานทจ่ี าเป็นตอ่ การดารงชีวติ และรู้เท่าทันการเปลย่ี นแปลง สามารถนาความร้เู กี่ยวกับการดารงชีวิต
การอาชีพ และเทคโนโลยี มาใชป้ ระโยชนใ์ นการทางาน อยา่ งมีความคิดสรา้ งสรรค์ และแขง่ ขันในสงั คมไทยและ
สากล เห็นแนวทางในการประกอบอาชพี รกั การทางาน และมเี จตคติท่ีดีต่อการทางาน สามารถดารงชีวิตอยู่ใน
สังคมไดอ้ ย่างพอเพียง และมคี วามสขุ

เรียนรู้อะไรในกำรงำนอำชพี และเทคโนโลยี

กล่มุ สาระการเรียนรูก้ ารงานอาชพี และเทคโนโลยี มุ่งพฒั นาผู้เรียนแบบองค์รวม เพอื่ ใหม้ ีความรู้
ความสามารถ มที ักษะในการทางาน เหน็ แนวทางในการประกอบอาชพี และการศึกษาต่อไดอ้ ย่างมปี ระสทิ ธิภาพ
โดยมีสาระสาคญั ดังน้ี

 กำรดำรงชีวิตและครอบครัว เปน็ สาระเกย่ี วกบั การทางานในชีวติ ประจาวัน การช่วยเหลอื
ตนเอง ครอบครวั และสงั คมไดใ้ นสภาพเศรษฐกจิ ทพี่ อเพียง ไมท่ าลายส่งิ แวดลอ้ ม เน้นการปฏบิ ตั จิ ริงจนเกดิ
ความม่ันใจและภมู ใิ จในผลสาเรจ็ ของงาน เพ่อื ใหค้ น้ พบความสามารถ ความถนัด และความสนใจของตนเอง

 กำรอำชพี เป็นสาระเก่ียวกบั ทกั ษะท่จี าเป็นต่ออาชพี เห็นความสาคัญของคุณธรรม
จรยิ ธรรม และเจตคตทิ ่ีดีต่ออาชพี ใช้เทคโนโลยีไดเ้ หมาะสม เหน็ คุณคา่ ของอาชีพสจุ ริต และเหน็ แนวทางในการ
ประกอบอาชีพ

คณุ ภำพผเู้ รียน

จบช้ันมธั ยมศกึ ษำปีท่ี ๓

 เขา้ ใจกระบวนการทางานท่ีมปี ระสทิ ธภิ าพ ใชก้ ระบวนการกลมุ่ ในการทางาน มีทักษะการแสวงหาความรู้
ทกั ษะกระบวนการแกป้ ญั หาและทักษะการจดั การ มีลักษณะนิสัยการทางาน ท่ีเสียสละ มีคุณธรรม ตัดสินใจอย่างมี
เหตผุ ลและถูกต้อง และมจี ติ สานึกในการใชพ้ ลงั งาน ทรัพยากร และสิ่งแวดลอ้ มอย่างประหยัดและคุ้มค่า

 เขา้ ใจกระบวนการเทคโนโลยีและระดบั ของเทคโนโลยี มีความคิดสรา้ งสรรค์ ในการแก้ปญั หาหรือสนอง
ความตอ้ งการ สร้างส่ิงของเครื่องใช้หรือวธิ กี ารตามกระบวนการเทคโนโลยี อย่างถกู ต้องและปลอดภัย โดยถ่ายทอด
ความคิดเป็นภาพฉายเพอื่ นาไปสกู่ ารสรา้ งช้นิ งานหรอื แบบจาลองความคิดและการรายงานผล เลอื กใช้

10

เทคโนโลยีอย่างสร้างสรรค์ต่อชีวิต สังคม ส่ิงแวดล้อม และมีการจัดการเทคโนโลยีด้วยการลดการใช้ทรัพยากรหรือ
เลือกใชเ้ ทคโนโลยที ี่ไม่มผี ลกระทบกบั สง่ิ แวดลอ้ ม

 เข้าใจหลักการเบื้องตน้ ของการสอ่ื สารขอ้ มลู เครือข่ายคอมพิวเตอร์ หลักการและวิธีแก้ปัญหา หรือการ
ทาโครงงานดว้ ยกระบวนการทางเทคโนโลยีสารสนเทศ มีทักษะการค้นหาขอ้ มูล และการติดต่อสื่อสารผ่านเครือข่าย
คอมพิวเตอร์อย่างมีคุณธรรมและจริยธรรม การใช้คอมพิวเตอร์ ในการแก้ปัญหา สร้างช้ินงานหรือโครงงานจาก
จนิ ตนาการ และการใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศนาเสนองาน

 เขา้ ใจแนวทางการเลือกอาชพี การมเี จตคตทิ ดี่ ีและเหน็ ความสาคัญของการประกอบอาชีพ วิธีการหางาน
ทา คณุ สมบตั ทิ ี่จาเปน็ สาหรบั การมงี านทา วเิ คราะห์แนวทางเขา้ สู่อาชพี มที กั ษะพน้ื ฐาน ทีจ่ าเป็นสาหรบั การประกอบ
อาชพี และประสบการณต์ ่ออาชพี ท่ีสนใจ และประเมินทางเลอื ก ในการประกอบอาชีพท่ีสอดคล้องกับความรู้ ความ
ถนดั และความสนใจ

จบช้นั มัธยมศึกษำปีที่ ๖

 เขา้ ใจวิธีการทางานเพื่อการดารงชีวติ สรา้ งผลงานอยา่ งมีความคิดสร้างสรรค์ มีทักษะ การทางานร่วมกัน
ทักษะการจดั การ ทักษะกระบวนการแกป้ ญั หา และทกั ษะการแสวงหาความรู้ ทางาน อยา่ งมีคุณธรรม และมจี ิตสานึก
ในการใช้พลังงานและทรพั ยากรอย่างคุ้มคา่ และย่ังยนื

 เข้าใจความสัมพันธ์ระหวา่ งเทคโนโลยกี บั ศาสตร์อนื่ ๆ วิเคราะห์ระบบเทคโนโลยี มีความคิดสร้างสรรค์
ในการแก้ปัญหาหรอื สนองความต้องการ สร้างและพัฒนาสิ่งของเคร่ืองใช้หรือวิธีการ ตามกระบวนการเทคโนโลยี
อยา่ งปลอดภัยโดยใชซ้ อฟท์แวรช์ ว่ ยในการออกแบบหรือนาเสนอผลงาน วิเคราะห์และเลือกใช้เทคโนโลยีท่ีเหมาะสม
กบั ชีวิตประจาวันอยา่ งสร้างสรรค์ตอ่ ชวี ติ สังคม สงิ่ แวดลอ้ ม และมีการจัดการเทคโนโลยีด้วยวิธีการของเทคโนโลยี
สะอาด

 เข้าใจองค์ประกอบของระบบสารสนเทศ องค์ประกอบและหลักการทางานของคอมพิวเตอร์
ระบบส่ือสารข้อมูลสาหรบั เครอื ขา่ ยคอมพวิ เตอร์ คณุ ลกั ษณะของคอมพวิ เตอร์และอปุ กรณต์ ่อพ่วง และมีทกั ษะการ
ใช้คอมพิวเตอร์แก้ปัญหา เขียนโปรแกรมภาษา พัฒนาโครงงานคอมพิวเตอร์ ใช้ฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์
ติดต่อส่ือสารและค้นหาข้อมูลผ่านอินเทอร์เน็ต ใช้คอมพิวเตอร์ในการประมวลผลข้อมูลให้เป็นสารสนเทศเพื่อการ
ตดั สินใจ ใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศนาเสนองาน และใชค้ อมพวิ เตอรส์ ร้างชิ้นงานหรือโครงงาน

 เขา้ ใจแนวทางส่อู าชีพ การเลือก และใช้เทคโนโลยีอย่างเหมาะสมกับอาชีพ มีประสบการณ์ในอาชีพท่ี
ถนัดและสนใจ และมคี ณุ ลักษณะท่ดี ีตอ่ อาชีพ

11

สำระที่ ๑ กำรดำรงชวี ติ และครอบครัว
มำตรฐำน ง ๑.๑ เข้าใจการทางาน มีความคิดสร้างสรรค์ มีทักษะกระบวนการทางาน ทักษะการจัดการ

ทกั ษะกระบวนการแกป้ ัญหา
ทักษะการทางานรว่ มกัน และทักษะการแสวงหาความรู้ มีคณุ ธรรม และลักษณะนิสัยในการ

ทางาน มีจติ สานกึ ในการใชพ้ ลงั งาน
ทรัพยากร และส่ิงแวดล้อม เพ่อื การดารงชวี ิตและครอบครัว

ม. ๑ ตัวชว้ี ัดชนั้ ปี ม. ๓ ตวั ช้วี ดั ช่วงชั้น

๑. วเิ คราะห์ข้นั ตอน ม. ๒ ๑. อภิปรายขน้ั ตอนการ ม. ๔-๖
การทางาน ทางานทม่ี ีประสทิ ธภิ าพ ๑. อธิบายวิธกี ารทางานเพอ่ื การดารงชวี ติ
ตามกระบวนการทางาน ๑. ใชท้ กั ษะ ๒. ใช้ทักษะ ๒. สรา้ งผลงานอย่างมีความคดิ
๒.ใชก้ ระบวนการกลุม่ ใน การแสวงหาความรู้ เพอ่ื ในการทางานรว่ มกัน สรา้ งสรรค์ และมที ักษะการทางานรว่ มกนั
การทางานด้วยความ พัฒนาการทางาน อย่างมีคุณธรรม ๓. มที กั ษะการจดั การในการทางาน
เสียสละ ๒. ใช้ทกั ษะ ๓. อภิปราย ๔. มที กั ษะกระบวนการแกป้ ัญหา
๓. ตัดสินใจแกป้ ญั หา กระบวนการแก้ปัญหา การทางานโดยใชท้ ักษะ ในการทางาน
การทางาน ในการทางาน การจดั การเพอ่ื ๕ มที กั ษะในการแสวงหาความรเู้ พอื่
อยา่ งมีเหตผุ ล ๓. มีจติ สานกึ การประหยดั พลงั งาน การดารงชวี ิต
ในการทางานและใช้ ทรพั ยากร และ ๖. มคี ุณธรรมและลักษณะนสิ ยั ในการทางาน
ทรพั ยากร สงิ่ แวดลอ้ ม ๗.ใช้พลงั งาน ทรัพยากร
ในการปฏิบัติงาน ในการทางานอย่างคุม้ ค่าและยง่ั ยืน
อย่างประหยดั และคมุ้ คา่
เพ่ือการอนุรกั ษ์ส่งิ แวดลอ้ ม

สำระที่ ๔ กำรอำชีพ
มำตรฐำน ง ๔.๑ เข้าใจ มีทกั ษะที่จาเปน็ มีประสบการณ์ เห็นแนวทางในงานอาชีพ ใช้เทคโนโลยีเพอื่ พฒั นาอาชีพ
มคี ุณธรรม และมเี จตคติท่ีดตี ่ออาชพี

ม. ๑ ตัวชวี้ ัดชนั้ ปี ม. ๓ ตัวช้ีวดั ชว่ งชน้ั

๑. อธบิ ายแนวทางการ ม. ๒ ๑. อภปิ ราย ม. ๔-๖
เลอื กอาชีพ การหางานด้วยวธิ ีที่ ๑. อภปิ รายแนวทางสู่อาชีพทส่ี นใจ
๒. มเี จตคตทิ ีด่ ีต่อการ ๑. อธิบายการเสรมิ สรา้ ง หลากหลาย ๒. เลอื ก และใช้เทคโนโลยอี ยา่ ง
ประกอบอาชพี ประสบการณ์อาชพี ๒. วิเคราะหแ์ นวทางเขา้ เหมาะสมกบั อาชีพ
๓. เหน็ ความสาคญั ของ ๒. ระบุการเตรียมตัว สอู่ าชพี ๓. มปี ระสบการณ์ในอาชพี ทถี่ นัดและ
การสร้างอาชีพ เข้าสอู่ าชีพ ๓. ประเมินทางเลือกใน สนใจ
๓. มที ักษะพื้นฐาน การประกอบอาชีพท่ี ๔. มีคุณลักษณะที่ดตี ่ออาชีพ
ทีจ่ าเป็นสาหรับการ สอดคลอ้ งกับความรู้
ประกอบอาชีพทสี่ นใจ ความถนดั และความ
สนใจของตนเอง

12

คำอธิบำยรำยวิชำ

รายวชิ า งานเกษตร รหสั วิชา ง32102 สาระพื้นฐาน กลุ่มสาระการเรยี นรกู้ ารงานอาชพี

ภาคเรยี นที่ 2 ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 5 จานวน 0.5 หนว่ ยการเรียน เวลา 20 ชว่ั โมง

ศกึ ษาความหมายความสาคัญเกี่ยวกบั บทบาทหน้าที่ของสมาชิกในครอบครัว อธบิ ายวิธกี าร ขนั้ ตอน
กระบวนการทางาน งานเกษตร และแนวทางการเลอื กอาชพี ในอนาคต

วิเคราะห์ ขั้นตอน กระบวนการทางานเลือกใช้ เครอื่ งมอื วสั ดุ อุปกรณ์ อย่างสรา้ งสรรค์ และเหมาะสมกบั งาน
โดยคานึงถึง ความคมุ้ ค่า มีประสทิ ธิภาพ อนุรกั ษ์สง่ิ แวดลอ้ ม และสงั คม ลงมือผลติ ชน้ิ งานตามขัน้ ตอน กระบวนการ
ทางานโดยใช้กระบวนการกลมุ่ นาเสนอผลงาน และแนวทางการประกอบอาชีพได้อย่างสรา้ งสรรค์

เพอื่ ใหเ้ กิดความรู้ ความเข้าใจ ทกั ษะ เจตคติ ทด่ี ตี ่อการประกอบอาชีพ เหน็ ความสาคัญของการสรา้ งอาชีพ
ทางานด้วยความเสยี สละ และการแกป้ ญั หา อย่างมเี หตผุ ล
มำตรฐำน/ตวั ชว้ี ดั

ง 1.1 ม.1/1,ม1/2,ม1/3

ง 4.1 ม.1/1, ม1/2, ม1/3

13

ตัวชีว้ ดั /ผลกำรเรยี นรู้
1.บอกประโยชน์และความสาคญั ของการเกษตรได้
2.อธิบายเกษตรทฤษฎีใหมต่ ามหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียงได้
3.บอกประโยชน์และความสาคัญของดนิ ได้
4.อธิบายเรอื่ งการอนุรกั ษด์ นิ และน้าเพ่อื การเกษตรได้
5.บอกประโยชนแ์ ละความสาคญั ของปยุ๋ ได้
6.อธบิ ายเคร่อื งมอื การเกษตรได้
7.คดั เลือกและการขยายพันธุ์พชื ได้
8.สามารถปลกู พชื ตามกาหนดได้
9.อธิบายวธิ ีการป้องกันและกาจดั ศตั รพู ชื ได้
10.บอกประโยชน์และความสาคัญของการเลยี้ งสัตว์ได้
11.อธบิ ายสถานที่และอปุ กรณก์ ารเลย้ี งสตั ว์
12.อธิบายเรอื่ งอาหารสตั ว์ได้
13.อธิบายเร่อื งโรคและการสุขาภบิ าลสัตว์ได้
14.สามารถเล้ียงสัตว์ได้
15.สามารถแปรรปู ผลผลติ และการนาไปใช้ได้

รวมท้งั หมด 15 ตวั ชวี้ ัด

ตัวช้วี ดั /ผลกำรเรียนรู้ 14

วชิ ำ งำนพน้ื ฐำนอำชีพ(เกษตรกรรม) รหสั วิชำ ง32102 ระดบั ชั้นมธั ยมศึกษำปีท่ี 5
กลุ่มสำระกำรเรียนรู้กำรงำนอำชพี ตัวชี้วัด/ผลกำรเรยี นรู้ เวลำ 20 ชัว่ โมง
ข้อที่
เวลำเรียน คะแนน
1 บอกประโยชนแ์ ละความสาคญั ของการเกษตรได้ 15
2 อธบิ ายเกษตรทฤษฎใี หมต่ ามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียงได้ 16
3 บอกประโยชนแ์ ละความสาคญั ของดนิ ได้ 15
4 อธิบายเรอ่ื งการอนรุ กั ษด์ นิ และนา้ เพื่อการเกษตรได้ 15
5 บอกประโยชนแ์ ละความสาคัญของปุย๋ ได้ 18
6 อธิบายเครื่องมอื การเกษตรได้ 18
7 คดั เลอื กและการขยายพันธุ์ไมผ้ ลได้ 28
8 สามารถปลกู ไมผ้ ลตามกาหนดได้ 25
9 อธิบายวธิ ีการปอ้ งกันและกาจัดศัตรพู ืชไม้ผลได้ 17
10 บอกประโยชน์และความสาคญั ของการเล้ียงสตั ว์ได้ 18
11 อธิบายสถานทแ่ี ละอุปกรณก์ ารเล้ยี งสัตว์ 18
12 อธิบายเรื่องอาหารสตั ว์ได้ 16
13 อธิบายเร่อื งโรคและการสุขาภิบาลสัตว์ได้ 2 10
14 สามารถเลยี้ งสตั ว์ได้ 25
15 สามารถแปรรปู ผลผลติ และการนาไปใช้ได้ 29

รวมคะแนน 20 100

โครงสร้ำงรำยวชิ ำ 15

วิชำ งำนพื้นฐำนอำชีพ(เกษตรกรรม) รหัสวิชำ ง32102 ระดบั ชน้ั มธั ยมศกึ ษำปที ่ี 5
เวลำ 20 ชั่วโมง
กลมุ่ สำระกำรเรียนรู้กำรงำนอำชพี
เวล คะแนน
หน่วย ชือ่ หน่วยกำรเรยี นรู้ มำตรฐำนกำรเรยี นรู้ สำระกำรเรยี นรู้ ำ KPA
ท่ี / ตัวชี้วดั (ตวั ยอ่ ) 1 311

1 การเกษตร ง 1.1 ประโยชนแ์ ละ 1 222

2 เกษตรทฤษฎีใหม่ ม.1/1,ม1/2,ม1/3 ความสาคัญของ 1 221
ง 4.1 การเกษตร
ม.1/1, ม1/2, ม1/3 เกษตรทฤษฎีใหมต่ าม 1 221
หลกั ปรชั ญาของ
1 422
เศรษฐกจิ พอเพยี ง
1 422
3 ดิน ประโยชนแ์ ละ 2 242
2 131
ความสาคญั ของดนิ 1 232

การอนุรกั ษ์ดินและนา้ 1 422

เพื่อการเกษตร 1 242

4 ปุ๋ย ประโยชนแ์ ละ 1 222
2 343
ความสาคัญของปุ๋ย
2 131
5 เครื่องมอื การเกษตร เครื่องมือการเกษตร 2 333

6 การขยายพนั ธ์ุพืช การขยายพนั ธุพ์ ืช

7 การปลกู พชื ปลูกพืชตามกาหนด

8 ศัตรูพชื การปอ้ งกันและกาจัด

ศตั รพู ืช

9 การเลย้ี งสตั ว์ ประโยชนแ์ ละ

ความสาคัญของการเลย้ี ง

สตั ว์

10 อปุ กรณเ์ ลีย้ งสตั ว์ สถานทีแ่ ละอุปกรณ์การ

เลย้ี งสตั ว์

11 อาหารสตั ว์ อาหารสตั ว์

12 โรคสัตว์ โรคและการสุขาภิบาล

สตั ว์

13 การเลย้ี งสัตว์ เลย้ี งสตั ว์

14 การแปรรปู ผลผลติ แปรรปู ผลผลิตและการ

นาไปใช้

16

กำหนดกำรสอน

วชิ ำ งำนพ้ืนฐำนอำชีพ(เกษตรกรรม) รหสั วิชำ ง32102 ระดบั ช้ันมัธยมศึกษำปีที่ 5
เวลำ 20 ชัว่ โมง
กลมุ่ สำระกำรเรียนรู้กำรงำนอำชีพ
ภำระงำน / เครือ่ งมือวดั และ
หน่วย ชวั่ โมง สำระกำรเรยี นรู้ กจิ กรรมกำรเรยี นรู้ ช้ินงำน ประเมินผล
ท่ี ท่ี รายงาน แบบทดสอบ
ผลงาน แบบสงั เกต
1 1 ประโยชน์และความสาคัญของ ความคิดรวบยอด แบบตรวจงาน

การเกษตร

2 2 เกษตรทฤษฎใี หมต่ ามหลกั กิจกรรมกลมุ่

ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง

3 3 ประโยชนแ์ ละความสาคญั ของ ความคดิ รวบยอด

ดิน

4 4 การอนรุ กั ษ์ดินและนา้ เพ่อื บรรยายประกอบ

การเกษตร การสาธติ

5 5 ประโยชนแ์ ละความสาคัญของ ค้นควา้ หาความรู้

ปุ๋ย เปน็ กลุ่ม

6 6 เคร่ืองมือการเกษตร สืบค้นและสรุป

7 7-8 การขยายพนั ธุพ์ ืช ความรู้

8 9-10 ปลกู พืชตามกาหนด ปฏบิ ตั ิ

9 11 การป้องกันและกาจดั ศัตรูพชื ด้วยผังความคดิ

10 12 ประโยชนแ์ ละความสาคญั ของ (mind mapping)

11 13 การเลีย้ งสัตว์

สถานทแ่ี ละอปุ กรณ์การเลี้ยง ความคดิ รวบยอด

12 14 สตั ว์ ด้วยผังความคิด

อาหารสัตว์ (mind mapping)

13 15-16 โรคและการสุขาภบิ าลสัตว์

14 17-18 เลยี้ งสัตว์ ปฏิบีติ

19-20 แปรรปู ผลผลิตและการ ด้วยผงั ความคดิ

นาไปใช้ (mind mapping)

17

ขอ้ ตกลงรว่ มกนั
อตั รำส่วนคะแนน คะแนนกลำงภำค : คะแนนปลำยภำค (80: 20)

1. คะแนนกลำงภำค 80 คะแนน 30 คะแนน
1.1 คะแนนเก็บกอ่ นสอบกลางภาค 20 คะแนน
1.2 คะแนนสอบกลางภาค
1.3 คะแนนเกบ็ หลงั สอบกลางภาค 30 คะแนน

2. คะแนนปลำยภำค 20 คะแนน 20 ข้อ 10 คะแนน
1) แบบทดสอบอัตนยั จานวน 5 ข้อ 10 คะแนน
2) แบบทดสอบปรนยั จานวน

18

แบบประเมนิ คณุ ลกั ษณะของผ้เู รยี นตำมหลักสูตร ระดับคุณภำพ
3210
ขอ้ ที่ คุณลักษณะของผเู้ รยี นฯ

1 รักชาติศาสนก์ ษตั ริย์
1) เป็นพลเมืองดีของชาติ
2) ธารงไวซ้ ่ึงความเป็นชาตไิ ทย
3) ศรทั ธายึดมัน่ และปฏบิ ตั ิตามหลักศาสนา
4) เคารพเทิดทนู สถาบันพระมหากษตั รยิ ์

2 ซื่อสตั ย์สจุ ริต
1) ประพฤติตรงตามความเปน็ จริงต่อตนเองทงั้ กาย วาจา ใจ
2) ประพฤติตรงตามความเป็นจรงิ ต่อผู้อน่ื ทั้งกาย วาจา ใจ

3 มีวินยั
ปฏิบตั ติ ามข้อตกลง กฎเกณฑ์ ระเบยี บ ขอ้ บังคับ ของครอบครวั
โรงเรยี นและสังคม

4 ใฝ่เรียนรู้
1) ตัง้ ใจเพียรพยายามในการเรยี นและเข้าร่วมกจิ กรรม
2) แสวงหาความรู้จากแหลง่ การเรยี นรตู้ า่ ง ๆ

5 อยอู่ ย่างพอเพยี ง
1) ดาเนินชีวติ อย่างพอประมาณ มีเหตผุ ล รอบคอบ มคี ณุ ธรรม
2) มีภูมิคุ้มกันในตัวทีด่ ี ปรับตัวเพ่ืออยใู่ นสงั คมได้อย่างมีความสุข

6 มุ่งมน่ั ในการทางาน
1) ต้ังใจและรบั ผิดชอบในหน้าท่ีการงาน
2) ทางานดว้ ยความเพยี รพยายาม และอดทนเพอื่ ใหง้ านสาเร็จตาม
เปา้ หมาย

7 รกั ความเปน็ ไทย
1) ภาคภมู ิใจในขนบธรรมเนยี มประเพณี ศลิ ปะ วัฒนธรรมและมคี วาม
กตัญญูกตเวที
2) เห็นคณุ คา่ และใชภ้ าษาไทยในการสื่อสารได้อย่างถูกต้องเหมาะสม
3) อนุรกั ษ์และสืบทอดภูมิปญั ญาไทย

8 มจี ติ สาธารณะ
1) ช่วยเหลือผู้อื่นด้วยความเตม็ ใจ
2) เข้าร่วมกิจกรรมทีเ่ ป็นประโยชนต์ ่อโรงเรยี น ชมุ ชน และสงั คม

เกณฑร์ ะดับคุณภำพ
3 = ดเี ย่ยี ม
2 = ดี
1 = ผา่ น
0 = ไม่ผา่ น

19

แบบประเมินกำรอ่ำน คดิ วิเครำะห์ และเขยี น

ขอบเขตกำรประเมนิ

การอ่านจากสื่อส่ิงพิมพ์และส่ืออิเล็กทรอนิกส์ที่ให้ข้อมูลสารสนเทศ ความรู้ประสบการณ์ แนวคิดทฤษฎี
รวมท้ังความงดงามที่เอื้อให้ผู้อ่านวิเคราะห์ วิพากษ์วิจารณ์ แสดงความคิดเห็นโต้แย้งหรือสนับสนุน ทานาย
คาดการณ์ ตลอดจนประยุกตใ์ ช้ในการตัดสนิ ใจ แก้ปญั หา และถ่ายทอดเปน็ ขอ้ เขียนเชิงสรา้ งสรรค์ รายงานบทความ
ทางวิชาการอยา่ งถกู ตอ้ งตามหลกั วิชา เช่น อ่านบทความทางวชิ าการ วรรณกรรมประเภทตา่ ง ๆ

ตาราง ประเมนิ ระดับคุณภาพการอา่ น คิดวิเคราะห์ และเขยี น ระดบั คุณภำพ
3210
ข้อท่ี ตวั บ่งชกี้ ำรอ่ำน คิดวิเครำะห์ และเขียน

1 สามารถอา่ นเพ่อื การศึกษาค้นควา้ เพ่มิ พนู ความรู้ ประสบการณ์
และประยกุ ต์ใชใ้ นชวี ิตประจาวนั

2 สามารถจับประเด็นสาคญั ลาดบั เหตุการณ์ จากการอา่ นสอื่ สิ่งท่ีมคี วาม
ซับซอ้ น

3 สามารถวิเคราะหส์ งิ่ ทีผ่ เู้ รยี นต้องการส่อื กบั ผู้อา่ น และสามารถวพิ ากษ์
ใหข้ อ้ เสนอแนะในแงม่ มุ ตา่ ง ๆ

4 สามารถประเมินความนา่ เชือ่ ถอื คณุ ค่า แนวคิดท่ไี ด้จากสง่ิ ทอ่ี า่ น
อยา่ งหลากหลาย

5 สามารถเขียน แสดงความคดิ เห็น โตแ้ ยง้ สรุป โดยมขี อ้ มลู อธบิ าย
สนับสนนุ อยา่ งเพยี งพอ และสมเหตสุ มผล

เกณฑร์ ะดับคุณภาพ ดเี ยี่ยม
3= ดี
2= ผา่ น
1= ไม่ผ่าน
0=


Click to View FlipBook Version