วิจัยในชน้ั เรียน
ผลการใชส้ ือ่ การสอน Kahoot สง่ ผลใหม้ ีพฤติกรรมตงั้ ใจเรยี น
ชัน้ ประถมศึกษาปีที่ 6
ภาคเรยี นที่ 2 ปกี ารศกึ ษา 2563
นางสาวอานาตี ซีเซ็ง
ตาแหนง่ ครูผชู้ ว่ ย
โรงเรยี นนคิ มพฒั นา 6
สานักงานเขตพน้ื ท่กี ารศกึ ษาประถมศกึ ษานราธวิ าส เขต 2
สานกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาข้ันพ้ืนฐาน กระทรวงศกึ ษาธกิ าร
วิจยั ปฏบิ ัตกิ ารในชัน้ เรยี น
เร่อื ง ผลการใชส้ ือ่ การสอน Kahoot ส่งผลใหม้ พี ฤติกรรมตั้งใจเรยี น
สาหรับนกั เรยี นชั้นประถมศึกษาปีที่ ๖
โรงเรียนนิคมพัฒนา ๖
ผ้วู ิจยั
นางสาวอานาตี ซีเซ็ง
ตาแหนง่ ครูผู้ชว่ ย
พฤติกรรมนักเรียนช้นั ประถมศกึ ษาปีที่ ๖ ภาคเรียนที่ 2
พ.ศ. 2563
คานา
สถานศึกษาถือว่าเป็นแหล่งการเรียนรูท้ ี่สาคญั แห่งหน่ึงซึ่งใช้เปน็ สถานท่ีในการอบรมนักเรียนให้มี
ความรู้ มีระเบียบวินัย รวมท้ังพฤติกรรมในด้านต่าง ๆ และบุคคลสาคัญท่ีมีบทบาทหน้าที่ในการถ่ายทอด
ความรู้แก่นักเรียนก็คือ ครู นอกจากน้ันแล้ว ครูยังต้องใช้ความรู้ วิธีการสอน และส่ือการสอนต่าง ๆ ให้
ทันสมัยอยู่เสมอ และครูยังมีหน้าท่ีคอยปรับเปล่ียนพฤติกรรมต่าง ๆ ของนักเรียนให้อยู่ในสภาพท่ีดีและ
ถูกต้อง เช่น พฤติกรรมการไม่ต้ังใจเรียนในชั้นเรียน ซึ่งเป็นปัญหาสาคัญมากสาหรับครูท่ีจะต้องหา
ทางแก้ไข เพอ่ื ให้นักเรียนมีพฤตกิ รรมและผลสัมฤทธ์ิที่ดีข้นึ
นางสาวอานาตี ซเี ซง็
ผวู้ จิ ัย
หวั ข้องานวจิ ัย : ผลการใชส้ ือ่ การสอน Kahoot สง่ ผลใหม้ พี ฤติกรรมต้ังใจเรียน
สาหรบั นกั เรียนชั้นประถมศึกษาปีที่6โรงเรียนนิคมพฒั นา6
ชอื่ ผู้วิจัย: นางสาวอานาตี ซเี ซง็
ปกี ารศกึ ษา: 2563
บทคดั ย่อ
การศึกษาวิจยั ครง้ั นี้ มีวัตถปุ ระสงค์เพอื่ ศึกษาพฤติกรรมการเรยี น ของนกั เรยี นและเพอ่ื เปรยี บเทียบ
ผลสมั ฤทธ์ทิ างการเรียนของนักเรียนชั้นประถมปที ี่ 6 รายวชิ าภาษาไทย โรงเรียนนิคมพัฒนา ๖ ผู้วิจยั ไดส้ ร้าง
สอ่ื การสอน Kahoot เพื่อศึกษาพฤตกิ รรมการตงั้ ใจเรยี น และเพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธทิ์ างการเรยี นก่อน
และหลังใชส้ อ่ื การสอน Kahoot โดยทาการบันทึกผลสัมฤทธทิ์ างการเรียนก่อนใชส้ ื่อการสอน Kahootจานวน
20 ขอ้ และให้นกั เรยี นทาแบบทดสอบโดยการใช้ส่อื การสอน Kahoot วชิ าภาษาไทย แบบทดสอบจานวน 20
ข้อ นามาหาคา่ รอ้ ยละ คะแนนพฒั นาการ และคะแนนพัฒนาการสมั พัทธ์ แลว้ นาข้อมูลมาวเิ คราะห์และหา
ขอ้ สรปุ พร้อมทง้ั นาเสนอในรูปของตารางประกอบคาบรรยาย เพอ่ื ศึกษาพฤตกิ รรมการไม่ตั้งใจเรยี นของ
นกั เรยี น และผลสมั ฤทธทิ์ างการเรยี น ผลการศึกษาปรากฏว่า ผลสัมฤทธท์ิ างการเรียนของนักเรียนหลงั การใช้
สอื่ การสอน รายวิชา ภาษาไทย ช้ันประถมศกึ ษาปีท่ี 6 ทผ่ี ู้วจิ ยั สร้างขึน้ สูงข้ึนมคี ะแนนเฉลย่ี กอ่ นเรียน( X =
7.7) และคะแนนหลังเรียน ( X = 12.4 ) สว่ นพฤติกรรมในการเรียนอยู่ในระดบั มาก
2
กติ ติกรรมประกาศ
การวิจัยครั้งนี้ ไดร้ ับความกรุณาอยา่ งยิ่งจากผบู้ รหิ ารโรงเรียนนคิ มพัฒนา 6 ท่ีใหโ้ อกาสในการ
ทางานจนสามารถดาเนนิ การวิจัยได้สาเรจ็ เรียบร้อยด้วยดี ผวู้ จิ ยั ขอขอบพระคณุ อยา่ งสูงมา ณ โอกาสน้ี
ทา้ ยสุดขอขอบพระคุณบดิ า มารดา ผมู้ ีพระคุณทุกท่าน และเพ่ือน ๆ ทกุ คนที่คอยช่วยเหลือให้
คาแนะนาและเปน็ กาลงั ใจทด่ี ีตลอดระยะเวลาทศ่ี ึกษาและทางานวิจัย อันสง่ ผลใหง้ านวิจยั ฉบับนส้ี าเรจ็
ลุลว่ งได้ตามวตั ถปุ ระสงค์ ประโยชนแ์ ละคุณคา่ ของงานวจิ ัยฉบบั นี้ ขอมอบแด่พระคุณบิดา มารดา บุพการี
ครูอาจารย์ และผมู้ ีพระคุณทุกท่าน
อานาตี ซีเซ็ง
สารบัญ 3
เร่อื ง หน้า
คานา ก
สารบัญ ข
บทท่ี 1 1
ความเป็นมาและความสาคญั ของปญั หา 1
วัตถุประสงค์ของการวิจัย 1
สมมตุ ิฐานของการวจิ ยั 2
ขอบเขตของการวจิ ยั 2
นยิ ามศัพทเ์ ฉพาะ 2
ประโยชน์ทีจ่ ะไดร้ ับ 3
บทท่ี 2 5
หลักสตู รแกนกลางการศึกษาข้นั พนื้ ฐาน พ.ศ.2551 5
วธิ กี ารหรือสอ่ื นวตั กรรมทเ่ี ลอื กใช้(ตัวแปรตน้ ) 5
ผลทีเ่ กดิ ขึ้นจากการใช้วิธกี ารหรอื สือ่ นวัตกรรมทีเ่ ลือกใช้(ตัวแปรตาม) 8
งานวจิ ัยทเ่ี กี่ยวข้องกับวธิ ีการหรอื สื่อนวัตกรรมทีเ่ ลือกใช้(ตัวแปรต้น) 8
16
บทที่ 3
12
ข้ันตอนการเรยี นการสอนตามวธิ ีการหรือขน้ั การใช้ส่อื นวตั กรรม 12
ประชากรและกลุ่มตวั อยา่ ง 12
แบบแผนการทดลอง 12
เครอื่ งมอื ท่ีใชใ้ นการศกึ ษา 15
การเกบ็ รวบรวมขอ้ มูล 15
การวเิ คราะหข์ ้อมูล 15
สถิติท่ีใช้ในการ 15
วิเคราะห์ข้อมูล
บทที่ 4 17
ผลการวิจยั 24
เอกสารอา้ งอิง
บทที่ 1
บทนา
ความเป็นมาและความสาคัญของปญั หา
การเรียนการสอนในช้ันเรียนนอกจากจะเป็นสถานที่ฝึกพฤติกรรมให้อยู่ในระเบียบวินัยตามความ
ประสงคข์ องสังคมแล้วยังตอ้ งการพฤติกรรมท่ีอยใู่ นระเบียบวนิ ัย เพ่ือให้ กิจกรรมการเรยี นการสอนมีความ
เป็นระเบียบเรียบร้อย สภาพพฤตกิ รรมท่ีเป็นปัญหาในช้ันเรียนส่วนมากที่พบในปัจจุบันนีไ้ ด้แก่ พฤติกรรม
การไม่ต้ังใจเรียน เช่น ไม่ฟังเวลาครูสอน ไมส่ ่งงานตามกาหนดเวลา ไม่มีส่วนร่วมในกิจกรรม เป็นตน้ ซึ่ง
เป็นปัญหาในขณะท่ีทากิจกรรมการเรียนการสอน ทาให้นักเรียนมีความสนใจต่อการเรียนน้อยลง เพราะ
มักจะพูดคุยกนั ในขณะท่ีกาลังเรียน ทาให้ครูต้องหยุดการเรียนการสอนและหันมาตกั เตือนแทน บางคนส่ง
เสียงดังแสดงพฤติกรรมการพูดที่ไม่เหมาะสม เป็นพฤติกรรมที่เป็นปัญหาและอุปสรรคต่อการเรียนรู้อัน
เปน็ ผลทาให้ไม่สามารถดาเนินการสอนไปตาม จดุ ม่งุ หมายทต่ี ั้งไว้
เน่ืองจากครูเป็นผู้ท่ีมีหน้าท่ีโดยตรงท่ีปรับพฤติกรรมท่ีเป็นปัญหาให้เป็นไปในทางที่พึงประสงค์
และเอื้ออานวยต่อการเรียนการสอนให้มปี ระสทิ ธิภาพ เพ่อื ให้เด็กไทยเจริญทุกดา้ น ตามความมุ่งหมายของ
การศึกษา พฤติกรรมการไมต่ ั้งใจเรียนของนักเรียนขณะที่ทากจิ กรรมการเรียนการสอนเป็นปญั หามากทส่ี ุด
สาหรับครู ซ่ึงก่อให้เกิดปัญหาอ่ืน ๆ ตามมา เช่น ปัญหาการขาดระเบียบวินัย ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนต่า
ปญั หาตอ่ กิจกรรมการเรยี นการสอนในชั้นเรียน ซึ่งเป็นอปุ สรรคต่อความเจรญิ ก้าวหนา้ ทางการศึกษา
ด้วยเหตุน้ีผู้วิจัยจึงมีความสนใจที่จะสร้างสื่อการสอน Kahoot รายวิชาภาษาไทย เพื่อ
แก้ปัญหาพฤติกรรมการไม่สนใจการเรียนของนักเรียน และการใช้สื่อการสอน Kahoot ซ่ึงมีผลทาให้
ผเู้ รยี นเกิดความสนใจในบทเรียน และมผี ลสัมฤทธิท์ างการเรยี นดีขน้ึ
วตั ถุประสงค์ของการวิจัย
1. เพอ่ื ศึกษาพฤติกรรมการไม่ตั้งใจเรยี นของนกั เรียนชัน้ ประถมศึกษาปที ่ี 6 โรงเรียนนิคมพัฒนา 6
2. เพื่อเปรียบเทียบผลสมั ฤทธ์ทิ างเรียนก่อน และหลังการใชส้ อ่ื การสอน Kahoot
2
สมมตฐิ านของการวิจยั
ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรายวิชาภาษาไทย หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียน
ขอบเขตของการวิจยั
1. กลมุ่ เปา้ หมาย เปน็ นักเรยี นช้ันประถมศกึ ษาปีท่ี 6 จานวน 13 คน โรงเรยี นนคิ มพฒั นา 6 อาเภอ
สุคิริน จงั หวัดนราธวิ าส
2. ตวั แปรในการวจิ ยั ในการวิจยั ครง้ั นีม้ ีตัวแปร ดังน้ี
2.1 ตัวแปรต้น คอื การใช้ส่ือการสอน Kahoot
2.2 ตัวแปรตาม คอื พฤติกรรมตง้ั ใจเรยี นและผลสมั ฤทธทิ์ างการเรียน
3. เนอื้ หาสาระ เนอ้ื หาสาระท่ใี ชใ้ นการวจิ ยั คร้งั น้ี คือ รายวิชาภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีท่ี 6
เรอ่ื ง ต่อไปน้ี
- การเขียนคาอวยพร
- การเขยี นประกาศ
- คาราชาศัพท์
- คาสุภาพ
- ระดับของภาษา
- การเขียนจดหมาย
นยิ ามศัพทเ์ ฉพาะ
สอ่ื การสอน Kahoot รายวชิ า ภาษาไทย สาหรับนักเรียน ชน้ั ประถมศึกษาปีที่ 6 หมายถงึ
โปรแกรมทสี่ ามารถเล่นเกมส์ผา่ นทางเว็บไซตจ์ ากคอมพิวเตอร์ และแอพพลเิ คชนั่ เม่ือเริ่มกิจกรรมการ
ประเมนิ ผลผ่าน Kahoot (Kahoot, September 2, 2015)
พฤติกรรมไม่ต้ังใจเรียน หมายถึง พฤติกรรมท่ีแสดงถึงไม่สนใจ และไม่เอาใจใส่ต่อการเรียน เช่น
ไม่ฟงั คุยในชั้นเรียน เขา้ ห้องเรียนช้า ไมส่ ่งงาน เป็นต้น
ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน หมายถงึ ความรู้ความเขา้ ใจในเน้ือหาของบทเรียนทีไ่ ด้ศกึ ษาจากสอ่ื การ
สอน รายวิชา สาหรับนักเรียน ช้ันประถมศึกษาปีท่ี6 ซึ่งวดั ได้จากผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียนที่ผู้วจิ ัยสร้างข้ึน
และหาคุณภาพแล้ว
3
ประโยชนท์ ่จี ะไดร้ บั
1. นักเรยี นปรบั เปล่ียนพฤตกิ รรมต้ังใจเรยี นดีข้นึ
2. นักเรยี นมผี ลสัมฤทธ์ดิ ขี ้นึ
3. เผยแพรผ่ ลการวจิ ยั ให้ครผู ู้สอนในโรงเรยี นเดียวกนั ได้นาไปใชแ้ กป้ ญั หาให้แกน่ กั เรียนได้อยา่ ง
มปี ระสทิ ธภิ าพและเกิดประสิทธผิ ลสงู สุด
ไม่ส่งงาน เข้าห้องเร
พฤติกรรมไม่ต
ไม่ให้ความรว่ มมือใน
กจิ กรรม
รยี นชา้ 4
ต้ังใจเรียน ไมฟ่ งั คยุ ในช้นั
เรียน
เบ่อื ไม่อยากเรยี น
5
บทที่ 2
เอกสารและงานวิจยั ท่ีเกย่ี วข้อง
การศึกษาเอกสาร และงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการวิจัยครั้งนี้ ผู้วิจัยได้ศึกษารายละเอียดต่าง ๆ
ดังน้ี เอกสารที่เก่ียวขอ้ ง
1. เอกสารทเ่ี กี่ยวข้องเกีย่ วการจดั การเรยี นการสอน
2. เอกสารเกีย่ วกบั แนวคดิ การจัดการเรยี นรูโ้ ดยใชเ้ กม
3. งานวิจัยท่เี กีย่ วขอ้ ง
1. แนวคดิ เก่ยี วกบั การจัดการเรยี นการสอน
1.1 ความหมายของการเรียนรู้
ความรู้ 1เป็นพฤติกรรมข้ันตน้ ท่ีผู้เรียนรู้เพียงแต่เกิดความจาได้ โดยอาจจะเป็นการนึกได้หรอื โดย
การมองเห็น ได้ยิน จาได้ความรู้ในชั้นน้ี ได้แก่ ความรู้เกี่ยวกับคาจากัดความความหมายข้อเท็จจริง
กฎเกณฑ์โครงสร้างและวิธีแก้ไขปัญหาส่วนความเข้าใจอาจแสดงออกมาในรูปของทักษะด้าน“ การแปล
"ซง่ึ หมายถึงความสามารถในการเขยี นบรรยายเกย่ี วกับขา่ วสารน้ัน ๆ โดยใช้คาพูดของตนเองและ“ การให้
ความหมาย” ที่แสดงออกมาในรูปของความคิดเห็นและข้อสรุปรวมถึงความสามารถในการ“ คาดคะเน”
หรือการคาดหมายวา่ จะเกดิ อะไรขึน้ (ประภา เพญ็ สุวรรณ, 556)
เบนจามิน บลูม (Benjamin S. Bloom) อ้างถึงในอักษร สวัสดี 2542 ได้ให้ความหมายของ
ความรู้หมายถึงเรื่องท่ีเก่ียวกับการระลึกถึงส่ิงเฉพาะ วิธีการและกระบวนการต่าง ๆ รวมถึงแบบกระสวน
ของโครงการวตั ถุประสงคใ์ นด้านความรู้ โดยเน้นในเรือ่ งของกระบวนการทางจติ วิทยาของความจา อนั เป็น
กระบวนการเชื่อมโยงเกี่ยวกับการจัดระเบียบ โดยก่อนหน้าน้ันในปี ค.ศ. 1965 บลูม และคณะให้เสนอ
แนวคดิ เกี่ยวกบั การรับรูห้ รือพทุ ธิพิสัย (Cognitive domain) ของคนว่าประกอบด้วยความร้ตู ามระดบั ต่าง
ๆ รวม 6 ระดบั ซึง่ อาจพิจารณาจากระดบั ความรู้ในขั้นต่าไปสรู่ ะดับของความรู้ในระดบั ท่สี งู ขึ้นไป
นวลจติ ต์ เชาวภีรติพงษ์ (2542: บทคดั ย่อ) ให้ความหมายว่าการจัดกระบวนการเรียนการสอน
ท่ีเน้นการจัดการเรียนรู้ประกอบด้วยกิจกรรมท่ีส่งเสริมให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมในการสร้างความรู้ผู้เรียนมี
โอกาสปฏิสมั พันธแ์ ละเรยี นรูจ้ ากผอู้ น่ื
ดังนั้นการเรียนรู้คือการเปลี่ยนแปลงของบุคคลอันมีผลเนื่องมาจากการได้รับประสบการณ์โดย
การเปล่ียนแปลงนนั้ เป็นเหตทุ าให้บคุ คลเผชิญสถานการณ์เดมิ แตกตา่ งไปจากเดิมประสบการณ์ทกี่ ่อให้เกิด
การเปลย่ี นแปลงพฤติกรรมหมายถงึ ท้ังประสบการณ์ทางตรงและประสบการณ์อ้อม
6
1.2 องค์ประกอบของการจัดการเรยี นรู้
องคป์ ระกอบการจัดการเรยี นรมู้ ดี งั น้ี (สานักวิชาการและงานทะเบยี น, 2553)
1. ผู้สอนเป็นผู้ที่มีความสาคัญในการที่จะแปลมาตรฐานการเรียนรู้และสาระการเรียนรู้ท่ีเป็น
ตัวหนังสือให้เป็นกิจกรรมการเรียนรู้ที่เหมาะสม น่าสนใจ และมีกระบวนการเรียนรู้หลากหลายวิธีอย่าง
อิสระ จะต้องรู้จักเลือกปรับปรุงเทคนิคและวิธีการเรียนรู้ และกิจกรรมการเรียนรู้ให้เหมาะสมกับเนื้อหา
และผู้เรียน โดยไม่ใช้วิธีการเดียว ควรมีการดัดแปลงและเลือกใช้วิธีการให้เหมาะสมกับวัตถุประสงค์และ
เนื้อหาในแต่ละเร่อื ง เพอ่ื สง่ เสรมิ ให้ผู้เรยี นประสบผลสาเร็จในการเรียนรู้
2. ผู้เรียนเป็นอีกองค์ประกอบหนึ่งที่มีความสาคัญต่อการจัดการเรียนรู้ ผู้เรียนแต่ละคนมีความ
แตกต่างกันทั้งบุคลิกภาพ สติปัญญา ความถนัดความสนใจและความสมบูรณ์ของร่างกาย ผู้เรียนควรมี
โอกาสร่วมคิดร่วมวางแผนในการจัดการเรียนการสอนและมีโอกาสเลือกวิธีเรียนได้อย่างหลากหลายตาม
ความเหมาะสมกายการแนะนาของผู้สอน
3. เนื้อหาวิชาต่างๆ ซงึ่ ผู้สอนจะต้องจัดเนื้อหาวิชาให้มีความสัมพันธ์กันมีความน่าสนใจเหมาะสม
กับวัยระดบั ชัน้ รวมทง้ั สภาพสิ่งแวดล้อมของการจดั การเรียนรู้
4. ส่อื แหล่งการเรยี นรู้ ไดแ้ ก่ อปุ กรณ์ช่วยในการจดั การเรยี นรู้ใหม้ ีประสิทธิภาพมากย่ิงขนึ้
5. สภาพแวดล้อมและบรรยากาศการเรียนรู้ผู้สอนต้องมีวิธีการท่ีจะจัดสภาพแวดล้อม และ
บรรยากาศท่ีเอื้ออานวยต่อการพัฒนาทางวิชาการ เช่น จัดห้องชวนคิด ห้องกิจกรรมวิทยาศาสตร์
จัดระบบนิเวศจาลอง จัดบริเวณโรงเรียนเป็นแหล่งเรียนรู้ทางชีววิทยาธรณีวิทยา ฯลฯ มีการดัดแปลง
ห้องเรียน ให้นักเรียนทากิจกรรมการเรียนรู้ที่สามารถมีปฏิสัมพันธ์กันได้ดี และจัดกิจกรรมท่ีเอ้ือให้
ผ้ปู กครองและชุมชนเขา้ มามสี ่วนร่วมในการจัดกจิ กรรมการเรยี นรดู้ ้วย
ความหมายของการจัดการเรียนรู้
การจัดกระบวนการเรียนร้เู ป็นบทบาทสาคญั ของครทู ุกคน เร่ิมจากการวเิ คราะห์หลักสตู รเอกสาร
ท่ีเกยี่ วข้องการวเิ คราะหผ์ ้เู รียน นามาวางแผนการจัดการเรียนรู้ (สุมน, 2533) ได้ให้
ความหมายของการจัดการเรียนรู้ คือสถานการณ์อย่างหน่ึงท่ีมีส่ิงต่อไปน้ีเกิดข้ึน ได้แก่มี
ความสมั พันธแ์ ละมปี ฏสิ ัมพันธเ์ กดิ ขึ้น ระหวา่ งผู้สอนกบั ผูเ้ รียน ผูเ้ รียนกับผเู้ รยี น ผู้เรียนกบั สงิ่ แวดลอ้ มและ
ผูส้ อนกับส่งิ แวดล้อมความสัมพนั ธ์ และการมีปฏิสัมพันธ์ก่อให้เกิดการเรยี นรู้และประสบการณ์ใหม่ผู้เรียน
สามารถนาประสบการณ์ใหมน่ ั้นไปใช้ได้
7
1.3 วธิ ีการจัดการเรียนรู้
ทิศนา แขมมณี (2550) กล่าวว่ารูปแบบการสอน หมายถึง สภาพหรือลักษณะของการจัดการ
เรียนการสอนท่ีจัดขึ้นอย่างมีระบบระเบียบ มีแบบแผนตามหลักปรัชญา ทฤษฎี หลักการแนวคิด หรือ
ความเช่ือต่างๆ โดยอาศัยวิธีสอน และเทคนิคการสอนต่างๆเข้ามาช่วยให้สภาพการเรียนการสอนนั้น
เป็นไปตามหลักการท่ียึดถือ ดังน้ันคุณลักษณะสาคัญของรูปแบบการสอนจึงต้องประกอบด้วยส่ิงต่างๆ
ต่อไปน้ี
1.3.1 มีปรัชญาหรือทฤษฎีหรอื หลักการ หรอื แนวคิดหรือความเชื่อทเ่ี ป็นพ้ืนฐานหรือเป็นหลักการ
ของรูปแบบการสอนนัน้ ๆ
1.3.2 มกี ารบรรยายหรอื อธบิ าย หรือลักษณะการจัดการเรยี นการสอน
1.3.3 มีการจัดระบบคือมีการจัดองค์ประกอบและความสัมพันธ์ ขององค์ประกอบของระบบให้
สามารถนาผู้เรียนไปสู่เป้าหมายอย่างมีประสิทธิภาพ โดยมีการพิสูจน์ ทดลองถึงประสิทธิภาพของระบบ
น้ัน ดังน้ันรูปแบบการเรียนการสอนจึงหมายถึง สภาพหรือลักษณะของการจัดการเรียนการสอนท่ีจัดไว้
อย่างเป็นระเบียบตามหลักปรัชญา ทฤษฎี หลักการ แนวคิดหรือความเชื่อต่างๆโดยมีการจัดกระบวนการ
หรือขั้นตอนในการเรียนการสอน โดยอาศัยวิธีสอน และเทคนิคการสอนต่างๆ เข้ามาช่วยทาให้สภาพการ
เรียนการสอนน้ันเป็นไปตามหลักการท่ียึดถือ ซึ่งได้รับการพิสูจน์ ทดสอบ หรือยอมรับว่ามีประสิทธิภาพ
สามารถใช้เป็นแบบแผนในการเรียนการสอนให้บรรลุวัตถุประสงค์เฉพาะของรูปแบบน้ัน ๆ ซึ่งแต่ละ
รูปแบบมีวัตถุประสงค์ท่ีแตกต่างกันกล่าวคือเป็นรูปแบบการเรียนการสอนท่ีเน้นการพัฒนาด้านพุทธิพิสัย
(cognitive domain) การพัฒ นาด้านจิตพิ สัย (affective domain) การพั ฒ นาด้านทักษ ะพิ สัย
(psychomotor domain) การพัฒนาด้านทักษะกระบวนการ (process skills) หรือการบูรณาการ
(integration) ทั้งน้รี ูปแบบดังกลา่ วล้วนเป็นรูปแบบการเรยี นการสอนท่มี ีลกั ษณะเนน้ ผเู้ รยี นเปน็ สาคัญ
การเรียนการสอนโดยยึดเด็กเป็นศูนย์กลางโดยใช้ ICT เป็นเคร่ืองมือในการเรียนรู้ของผู้เรียนเป็น
รูปแบบหนึ่งของการจัดการเรียนรู้ และเป็นสิ่งที่จาเป็นในโลกยุคดิจิตอล อันที่ผู้เรียนจะต้องใช้เป็น
เครื่องมือในการเรียนรู้ และการประกอบอาชีพในอนาคตข้างหน้า การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ครูต้องจัด
ประสบการณ์เพ่ือให้เด็กสามารถนา ICT มาใช้ในการค้นหาความรู้ตลอดจนสามารถสร้างสรรค์งาน และ
เกิดเป็นความรู้ท่ีคงทน ซึ่งครูจะต้องใช้ความพยายาม ความอดทน ในการที่จะให้การจัดการเรียนรู้ตาม
จุดประสงค์ท่ีวางไว้ในฐานะท่ีเป็นครูสอนคอมพิวเตอร์ ซึ่งไม่พ้นท่ีจะต้องสอนพื้นฐานการใช้งานการใช้
คอมพิวเตอร์ เพื่อให้นักเรียนสามารถสร้างสรรค์งาน และใช้คอมพิวเตอร์เป็นเครื่องมือในการค้นหาข้อมูล
ทางอินเทอร์เน็ต ที่มีอยู่หลากหลายตลอดจนการเลกเปลี่ยนเรียนรู้ ระหว่างครูผู้สอนกับนักเรียน นักเรียน
8
กับนักเรียน การจัดการเรียนการสอนโดยบูรณาการระหว่างวิชาเป็นกิจกรรมการเรียนรู้ท่ีน่าสนใจ
โดยเฉพาะการเรียนรู้แบบโครงงานนักเรียนได้ประสบการณ์ตรงจากการปฏิบัติและลงมือทา และอาศัย
กระบวนการกลุ่มในการทางานกระบวนการทางานกลุ่ม การจัดการเรียนรู้ต้องมีความม่ันใจในตัวของ
นักเรียนว่า นักเรียนปฏิบัติได้และสามารถทางานร่วมกับผู้อ่ืนได้โดยใช้กลวิธีในการสอนที่หลากหลาย
ผู้เรียนสามารถท่ีสามารถใช้ IT เป็นเครื่องมือในการเรียนรู้และเกิดเป็นความรู้ที่คงทน(นภดล และคณะ
2560)
2.ความหมายการจัดการเรยี นรูโ้ ดยใช้เกม
ทศิ นาแขมมณี (2550) อธิบายว่าวธิ ีสอนโดยใช้เกมคือกระบวนการท่ีผู้สอนใช้ในการช่วยให้ผู้เรียน
เกิดการเรียนรู้ตามวัตถุประสงค์ท่ีกาหนด โดยการให้ผู้เรียนเล่นเกมตามกติกา และนาเนื้อหาและข้อมูล
ของเกมพฤติกรรมการเล่นวิธีการเล่นและผลการเล่นเกมของผู้เรียนมาใช้ในการอภิปรายเพื่อสรุปการ
เรยี นรู้
2.1 องคป์ ระกอบการจดั การเรยี นรโู้ ดยใช้เกม
ทศิ นาแขมมณี (2550) อธิบายองคป์ ระกอบของวธิ กี ารสอนโดยใชเ้ กมดังนี้
1. มีผสู้ อนและผู้เรยี น
2. มเี กมและกติกาการเลน่
3. มกี ารเลน่ เกมตามกติกา
4. มกี ารอภปิ รายเกีย่ วกับผลการเลน่ วิธีการเลน่ และพฤติกรรมการเล่นของผ้เู ล่นหลังการเลน่
5. มีผลการเรียนรขู้ องผู้เรยี น
2.2 ลักษณะการเรยี นร้โู ดยใช้เกม
การสอนโดยใช้เกมส์ คือกระบวนการท่ีผู้สอนใช้ในการช่วยให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ตาม
วัตถุประสงค์ที่กาหนด โดยการให้ผู้เรียนเล่นเกมตามกติกา และนาเนื้อหาและข้อมูลของพฤติกรรม การ
เล่น วิธีการเล่นและผลการเล่นเกมของผู้เรียน มาใช้ในการอภิปรายเพื่อสรุปการเรียนรู้วัตถุประสงค์เพ่ือ
เป็นส่ิงที่ช่วยในการจัดการเรียนการสอนโดยการใช้เกมเป็นวธิ ีการท่ีช่วยให้ผู้เรียนได้เรียนรู้เรื่องต่างๆอย่าง
สนุกสนานและท้าทายความสามารถโดยผูเ้ รียนเป็นผู้เล่นเอง ทาให้ได้รับประสบการณ์ตรง เป็นวิธีการเปิด
โอกาสใหผ้ ู้เรียนมีสว่ นร่วมสูง สธุ นา สิริธนดีพันธ์ (2561: 23)
9
2.3 การเรยี นการสอนโดยใช้ Kahoot
การเรียนการสอนโดยใช้ Kahoot มีฐานอยูบ่ นการสร้างพื้นท่ีในการเรียนร้ทู ่ีเช่อื ถือได้ เพ่อื ส่งเสริม
การส่งผ่านจาก“ ผู้สอน สู่ ผู้เรียนรู้” ในสภาพแวดล้อมห้องเรียนการส่งผ่านจาก“ ผู้สอน สู่ผู้เรียนรู้” ปกติ
แล้วมีวิธดี ังนี้
1. ครูแนะนาหัวขอ้ โดยใช้ Kahoot ซึง่ ถูกออกแบบมาเพื่อเร่ิมการได้แย้งการคิดวิเคราะห์ และการ
เรยี นรู้ท่เี นน้ บทบาท และการมสี ่วนร่วมของผู้เรยี น (active learning) ครสู ามารถใช้รปู ภาพและวดี โี อคู่กับ
Kahoot ขณะสอน
2. หลงั หัวหน้า หรือครูได้แนะนาหัวขอ้ แล้วพวกเขาจะเล่น Kahoot ทถี่ ูกออกแบบเพ่ือเพิ่มความ
เขา้ ใจของนักเรยี นในหัวข้อนน้ั ๆ
3. ครูนานักเรียนในกิจกรรมอ่ืน ๆ บทสนทนาและข้อสอบท่ีเก่ียวข้องเพื่อรวบรวมความรู้ของ
นักเรยี นบางท่ีอาจใช้ขอ้ สอบชดุ เดมิ หลายรอบ เพอื่ สนบั สนุนการเรียนรผู้ ่านการทาซา้
4. ครบู อกให้นกั เรยี นสร้างขอ้ สอบเกีย่ วกบั หวั ข้อเดียวกันหรอื ทีค่ ลา้ ยกัน
5. นักเรียนวจิ ัยเพิม่ พูนความรู้ และเก็บเกี่ยวหรือสรา้ งข้อมูลที่คล้ายกัน จากนั้นสร้างข้อสอบ โดย
ใช้ขอ้ มูลเหลา่ นน้ั จากนกั เรียนหรือกลมุ่ นกั เรยี นจึงผลดั กันรับตาแหนง่ หวั หน้าเพื่อให้ขอ้ สอบแกผ่ ู้รว่ มช้นั
6. ครสู ามารถจัดการกบั ความเข้าใจของนักเรียนและวิธีการ ตามคุณภาพของขอ้ มลู โครงสร้างของ
kahoot และวธิ ที ี่พวกเขาอธิบายคาตอบให้เพื่อนร่วมชนั้
3. งานวิจยั ทเี่ ก่ียวข้อง
นพ อนนท์ ชาครจิรเกียติ, (2558 :15) ได้ทาการวิจัยเร่ืองการใช้เกมแบบทดสอบเพื่อ
เปรียบเทยี บความพึงพอใจในการสอบวิชาพน้ื ฐานการเขยี นโปรแกรมคอมพิวเตอรร์ ะหวา่ งการใช้โปรแกรม
Kahoot กับการสอบปกติ ของนักเรียนระดังประกาศนียบัตรวิชาชีพช้ันปีที่ 2 สาขาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ
วทิ ยาลัยเทคโนโลยีวานิชบริหารธุรกจิ พบว่า ผลการทดสอบของผู้เรยี นทท่ี าแบบทดสอบโดยใชโ้ ปรแกรม
Kahoot วิชาพ้ืนฐานการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์มีประสทิ ธิภาพ อยทู่ มี่ ีคา่ เฉล่ียสงู กว่าผู้เรียนที่ทดสอบ
ด้วยวิธีปกติอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ. 05 ความพึงพอใจของผู้เรียบท่ีทาแบบทดสอบโดยใช้
โปรแกรม kahoot ! มคี า่ เฉล่ยี อยูใ่ นเกณฑร์ ะดับมาก
ศิรลิ ักษณ์ เลศิ หิรญั ทรพั ย์ (2560: 15)ได้ทาการวจิ ัยเรื่อง การพัฒนาผลสัมฤทธิท์ างการเรยี นวชิ า
คอมพิวเตอร์ โดยใช้แอปพลิเคชั่น kahoot ในการจัดการเร่ืองการสอนของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปี 6
โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยราชภัฎสวนสุนันทา พบว่า ได้พัฒนาทักษะแอปพลิเคชั่น Kahoot นักเรียนได้
10
ออกแบบสร้างภาพเกมสด์ ว้ ยแอปพลิเคช่ัน เก่ียวกับเนื้อหาการเรียนการสอนทาใหน้ กั เรียนเกิดจิตนาการได้
อยา่ งนา่ สนใจ
ธิดารัตน์ เลิศวิทยากุล (2560) ได้ทาการวิจัยเร่ือง การประเมินความก้าวหน้าการเรียนรู้โดยใช้
เกมเป็นฐาน ผลการวิจัยพบว่า ประชากรเป็นนักศึกษาพยาบาล มีความก้าวหน้าด้านการเรียนใน
รายวิชา 503 206 จริยศาสตร์และกฎหมายวิชาชีพพยาบาลหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียน และมีความพึง
พอใจต่อขอ้ สอบเกมออนไลน์โดยรวมมากท่ีสดุ
รุจาภา เพชรเจริญ และวรสิทธ์ิ เจริญศิลป์ (2560: 1) ศึกษาข้อมูลเรื่องการประเมินการใช้
kahoot program ในการจัดการเรยี นการสอนผ่านเครือข่ายการสอนทางไกล Telemedicine พบว่า การ
ประเมินการใช้ Kahoot Program ในการจัดการเรียนการสอนผ่านเครือข้อการสอนทางไกล
Telemedicine โดยรวมอยู่ในระดับมากที่สุด ความคิดเห็นของนิสิตแพทย์ที่มีต่อการใช้ Kahoot
Program ในการจัดการเรียนการสอนผ่านเครือข่ายการสอบทางไกล Telemedicine โดยรวมอยใู่ นระดับ
มากที่สุด
คารม บัวผัน (2560: 14) ศึกบาผลการเรียนรู้ของนักศึกษาโดยใช้กิจกรรม Kahoot เป็นฐานใน
รายวิชาการเมืองเปรียบเทียบสาขาวิชาการเมืองการปกครอง คณะรัฐศาสตร์มหาวิทยาลัยหาดใหญ่
พบว่า นักศึกษาสามารถจดจาและเข้าใจเน้ือหาได้ดีขึ้นเช่นการแบ่งยุคสมัยของการศึกษา การเมือง
เปรียบเทียบแนวคิดที่ใช้ศึกษานักศึกษาเริ่มคาดการณ์ ประเด็นคาถามท่ีคิดว่าผู้สอน จะใช้ตั้งเป็นคาถาม
ผ่านทาง Kahoot ในครั้งต่อไปได้ และนักศึกษามีการวางเป้าหมายให้กับตัวเองในการทบทวนเน้ือหาใน
รายวิชาเพ่ือท่ใี นการใช้ Kahoot ในคร้ังต่อ ๆ ไปให้มีคะแนนเพมิ่ ขึน้ หรอื การมีลาดับที่ดีขึ้นจากรอบกอ่ น
สมพร กุลนานันท์( 2560: 1) วิจัยเร่ืองการใช้สื่อการสอนโปรแกรม Kahoot Application ใน
การวดั และประเมนิ ผล เร่ือง โมเมมตัม และการชน รายวิชาฟิสิกส์ 2 ระดบั ชน้ั มธั ยมศึกษาปีท่ี 3 ภาคเรียน
ที่ 1 ปีการศึกษา 2560 โรงเรยี นเนนิ มะปรางศึกยาวิทยา พบว่า
1. นักเรียนมีการสนุกสนาน ให้ความสนใจ มีความกระตือรือร้น ในการเรียน การร่วมกิจกรรม
ตา่ งๆ ในรายวิชาฟสิ ิกสม์ ากขนึ้
2. เพ่อื ช่วยทาให้ผ้สู อนไดเ้ ข้าใจผูเ้ รียนในขณะเดียวกันจะรับทราบผลการสอนของตนเอง
11
ตามความคิดเหน็ ของนักเรยี น
1. นักเรยี นมผี ลสัมฤทธทิ์ างการเรยี นทีส่ งู ข้ึน
มิสนรีลักษณ์ ปัทมะทัตต์ (2558: 1) การใช้ส่ือการสอน Kahoot เพ่ือเพ่ิมผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนของ
นักเรียนระดับมัธยมศึกษาปีท่ี 4 รายวิชา Fundamental English การศึกษาเร่ือง“ การใช้ส่ือการสอน
Kahoot เพ่ือเพ่ิมผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนระดับมัธยมศึกษาปีท่ี 4 รายวิชา Fundamental
English มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน พบว่า การทดสอบความแตกต่างระหว่าง
คะแนนก่อนเรียนและหลังเรียน ผลการวิจัยพบว่า การวัดผลสัมฤทธทิ์ างการเรียนหลังเรียนด้วยการใช้
ส่ือการสอน kahoot ของนักเรียนมีผลคะแนนที่เพ่ิมขึ้น 5 คะแนนผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน อยู่ในระดับ
มากความพึงพอใจในการใช้สอ่ื การสอน Kahoot ของนักเรียนเสยี ในระดับมาก
กรอบแนวคิดในการวจิ ยั
ตวั แปรตน้ ตวั แปรตาม
การใชส้ ่ือการสอน พฤติกรรมไมต่ ั้งใจเรยี น
ผลสัมฤทธ์ทิ างการเรยี น
Kahoot
จากกรอบแนวความคดิ การวิจัย ตวั แปรตน้ ประกอบดว้ ย สื่อการสอน Kahoot มีผลตอ่ ตวั
แปรตาม คอื พฤติกรรมไม่ตั้งใจเรียน และผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน
12
บทที่ 3
วธิ ีดาเนนิ การศึกษา
ก า ร ศึ ก ษ า ค รั้ ง นี้ มี วั ต ถุ ป ร ะ ส ง ค์ เพื่ อ ศึ ก ษ า ศึ ก ษ า พ ฤ ติ ก ร ร ม ไม่ ต้ั ง ใจ เรี ย น ข อ ง นั ก เรี ย น ชั้ น
ประถมศกึ ษาปที ่ี 6 โรงเรียนนคิ มพฒั นา 6 ผวู้ จิ ยั ได้นาเสนอวิธดี าเนนิ การศกึ ษาตามหัวขอ้ ต่อไปนี้
1. กลมุ่ เป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย เป็นนักเรียนประถมศึกษาปีท่ี 6 จานวน 13 คน ปีการศึกษา 2563
โรงเรียนนคิ มพัฒนา6 อาเภอสคุ ริ ิน จงั หวัดนราธวิ าส
2. แบบแผนการทดลอง
การศึกษาคร้ังน้ีมีแบบแผนการทดลอง(Experimental Design) กลุ่มเดียวทดสอบก่อนและหลัง
การทดลอง One Group Pretest – Posttest Design ( พวงรัตน์ ทวีรัตน์, 2540 : 60-61)
สอบก่อน ทดลอง สอบหลงั
o1 X o2
สญั ลกั ษณท์ ่ีใช้ในแบบแผนการทดลอง
O1 แทน แบบสังเกตก่อน (Pretest)
X แทน การทดลองใชส้ อื่ การสอน Kahoot
O2 แทน การทดสอบหลงั เรียน (Posttest)
13
3. เครอ่ื งมือท่ีใช้ในการวิจยั
1. แผนการจัดการเรียนรู้กลุ่มสาระการเรียนรู้วิชาภาษาไทย ช้ันประถมศึกษาปีที่ 6 เร่ือง
ตอ่ ไปน้ี
- การเขียนคาอวยพร
- การเขียนประกาศ
- คาราชาศัพท์
- คาสุภาพ
- ระดับของภาษา
- การเขยี นจดหมาย
2. แบบวัดผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนกลุ่มสาระการเรียนรู้วิชาภาษาไทย ช้ันประถมศึกษาปี 6
แบบทดสอบชนดิ เลือกตอบจานวน 20 ขอ้
3. แบบสังเกตพฤติกรรมการเรยี น
4. แอพลิเคชัน่ kahoot
4. การสรา้ งและหาคุณภาพเครอ่ื งมือ
ผู้วิจยั ไดส้ รา้ งและพฒั นาเคร่ืองมอื ในการวิจัยดงั นี้
4.1 ศกึ ษาหลักสตู รแกนกลางการศึกษาข้ันพน้ื ฐาน 2551 กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย โดยศึกษา
สาระการเรียนรคู้ าอธิบายรายวิชาหลกั สูตรสถานศกึ ษาของกลมุ่ สาระการเรียนภาษาไทยของระดบั ชน้ั
ประถมศกึ ษาปีท่ี 6
4.1.1 ศึกษาเน้ือหาทีป่ รากฏในหลักสตู รและตาราเรยี นภาษาไทยอจท. เพื่อใหเ้ กดิ ความถูกต้องและ
แมน่ ยาในการสอน
4.1.2สร้างแผนการจดั การเรยี นรโู้ ดยใชแ้ อพพลิเคชั่น kahoot ในการทาแบบทดสอบวัดและ
ประเมินผล
4. 1.3 นาแผนการจดั การเรยี นรู้ทีผ่ ่านการตรวจสอบความถกู ต้องจากผเู้ ช่ียวชาญใช้กับนักเรียนที่
จานวน 13 คน
4.2. การสรา้ งแผนการจดั การเรียนรู้กลุ่มสาระการเรยี นรู้วิชาภาษาไทย ชนั้ ประถมศึกษาปที ี่ 6 ได้
ดาเนินการตามขัน้ ตอนดงั น้ี
4. 2.1 ศกึ ษาหลกั สูตรกลมุ่ สาระการเรยี นร้ภู าษาไทย พทุ ธศักราช 2551 และหลักสตู รสถานศึกษาของ
โรงเรียนนิคมพัฒนา 6 สาระการเรยี นรมู้ าตรฐานการเรยี นรู้ การเรยี นรูท้ คี่ าดหวงั บางรายปี คาอธิบายราย
รายวชิ าและหน่วยการเรียนรู้
4.2.2 ศกึ ษาเอกสาร แนวคดิ และงานวจิ ยั ที่เก่ยี วข้องกบั การสอนโดยเกม
14
4.2.3 ศกึ ษาเอกสาร แนวคิดเกย่ี วกับวิธกี าร และข้นั ตอนการสรา้ งแผนการจัดการเรยี นรู้
5. การสรา้ งแบบสังเกตพฤติกรรมการเรยี น
5.1 ผู้วิจัยได้สร้างแบบสังเกตพฤติกรรมการเรียน โดยมีค่าระดับความคิดเห็นเป็นมาตราส่วน
ประมาณค่า 5 ระดับ ดงั น้ี
คะแนนระดับ 5 หมายถึง ดมี าก
คะแนนระดบั 4 หมายถงึ ดี
คะแนนระดับ 3 หมายถงึ ปานกลาง
คะแนนระดบั 2 หมายถงึ พอใช้
คะแนนระดบั 1 หมายถึง ควรปรับปรุง
ส่วนเกณฑ์การแปลความหมายของค่าเฉลย่ี โดยใช้เกณฑ์สัมบรู ณ์ (Absolute Criteria) ตาม
แนวทางของเบสต์ (Best, 1981) โดยมรี ายละเอยี ดดงั นี้
ค่าเฉลีย่ 4.51–5.00 หมายความวา่ มากทสี่ ุด
ค่าเฉล่ยี 3.51–4.50 หมายความว่า มาก
ค่าเฉลีย่ 2.51–3.50 หมายความว่า ปานกลาง
ค่าเฉลี่ย 1.51–2.50 หมายความว่า น้อย
คา่ เฉลี่ย 1.00–1.50 หมายความว่า นอ้ ยทสี่ ุด
5.2นาแบบสงั เกตพฤติกรรมการเรียนใหอ้ าจารยท์ ี่ปรึกษา และผู้ทรงคุณวุฒิอกี 3 คน
เพอื่ ตรวจความเท่ียงตรงของเนอ้ื หา และภาษาทใ่ี หใ้ ห้สอดคล้องกับนยิ ามพฤติกรรมการตง้ั ใจเรียน
3.3 ปรับปรงุ คณุ ลกั ษณะการประเมินตามคาแนะนาของผู้ทรงคุณวฒุ ิ
3.4 นาไปทดลองใช้
5. การสร้างแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์ิ รายวิชา ภาษาไทย
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนวิชาภาษาไทย ของนักเรียนช้ันประถมศึกษาปีท่ี 6
ผู้วิจัยสร้างขึ้น เป็นแบบทดสอบปรนัยชนิดเลือกตอบมี 4 ตัวเลือก มีขั้นตอนในการสร้างและหา
ประสิทธิภาพดังนี้
4.1 ศึกษาทฤษฎี วิธีสร้าง เทคนิคการเขียนข้อสอบแบบเลือกตอบ คู่มือการจัดการเรียนรู้กลุ่ม
สาระการเรียนรภู้ าษาไทย ช้ัน ชัน้ ประถมมศกึ ษาปที ่ี 6 ตามหลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ.
2551
4.2 สรา้ งตารางวิเคราะหจ์ ุดประสงค์การเรยี นรแู้ ละเนื้อหา
15
4.3.3 สร้างแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนวิชาชีววิทยา แบบปรนัยชนิดเลือกตอบมี 4
ตวั เลอื ก จานวน 20 ข้อ ให้ครอบคลมุ เนอื้ หาสาระและผลการเรียนรทู้ ่คี าดหวงั
4.3.4 นาแบบทดสอบที่สร้างข้ึนเสนอต่อผู้เช่ียวชาญ จานวน 3 ท่าน ซึ่งเป็นผู้เช่ียวชาญด้านการ
สอนชวี วิทยา ด้านการสอน การวิจัย และด้านการวัดผลและประเมินผล เพอ่ื ตรวจสอบความเท่ยี งตรงเชิง
เน้ือหา โดยใช้ค่าดัชนีความสอดคล้อง(IOC)โดยให้ผู้เช่ียวชาญพิจารณา ตรวจสอบ โดยมีเกณฑ์การให้
คะแนนดังน้ี
ให้คะแนน +1 เม่ือแนใ่ จวา่ ข้อสอบน้นั วดั ได้สอดคล้องกบั ผลการเรยี นรู้ที่คาดหวัง
ให้คะแนน 0 เมือ่ ไมแ่ น่ใจวา่ ขอ้ สอบนั้นวัดได้สอดคลอ้ งกับผลการเรยี นรู้ท่ีคาดหวัง
ให้คะแนน -1 เมอื่ แนใ่ จวา่ ข้อสอบนั้นวัดไมส่ อดคล้องกับผลการเรียนรทู้ ีค่ าดหวงั
3.4.4 นาผลการประเมินของผู้เช่ียวชาญ วิเคราะห์หาค่าดัชนีความสอดคล้องระหว่างข้อคาถาม
ของแบบทดสอบกบั ผลสัมฤทธท์ิ างการเรียน โดยหาค่า IOC ซ่งึ มคี า่ ไดเ้ ท่ากบั 1.00 ทุกข้อ
เก็บรวบรวมข้อมลู
1. ผู้วิจัยนาแบบสังเกตพฤติกรรมการเรียน และแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์ิ เพ่ือเก็บข้อมูล
ก่อนใช้สือ่ การสอน Kahoot
2. นาผลการวัดพฤติกรรมการตง้ั ใจเรียน และการสอบมาวเิ คราะห์ เป็นคา่ ร้อยละ
3. นาส่ือการสอน Kahoot ใช้ และสังเกตพฤติกรรมการเรียนของนักเรียน เพ่ือเก็บข้อมูล
หลังการใช้สื่อการสอน Kahoot
4. นาแบบทดสอบการวัดผลสัมฤทธิ์มาทาการทดสอบอีกครั้ง เพื่อเก็บข้อมูลหลังการใช้สื่อ
การสอน Kahoot
5. นาผลการเก็บข้อมลู มาวเิ คราะห์เป็นรอ้ ยละ
6. นาเสนอข้อมูลในรปู แบบตาราง
การวเิ คราะห์ข้อมลู
ผู้วิจัยดาเนินการศึกษา และสังเกตพฤติกรรมการเรียน รายวิชาภาษาไทย เร่ือง สื่อการสอน
Kahoot ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนนิคมพัฒนา 6 โดยการสังเกตพฤติกรรมการเรียนในชั่วโมง
รายวิชาภาษาไทย และดาเนินการวัดผลสมั ฤทธ์ิ และนาขอ้ มูลมาวเิ คราะห์ และแปลผล
16
ในการวิเคราะห์ข้อมูล ผวู้ ิจัยเลือกใช้สถติ ิ ดังนี้
1. สถติ พิ ้ืนฐาน
1.1 ร้อยละ (Percentage) ใชส้ ูตรดงั น้ี (บญุ ชม ศรีสะอาด, 2545 : 104)
สูตร P f 100
N
เม่อื P แทน รอ้ ยละ
f แทน ความถ่ีทีต่ ้องการแปลงให้เป็นร้อยละ
N แทน จานวนความถี่ทั้งหมด
1.2 คา่ เฉลย่ี (arithmetic Mean) ใชส้ ตู รดงั น้ี (บญุ ชม ศรีสะอาด, 2545 : 105)
สตู ร X= x
N
เมอ่ื X แทน คา่ เฉลย่ี
x แทน ผลรวมของคะแนนทั้งหมดในกล่มุ
N แทน จานวนคะแนนในกลมุ่
1.3 ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation) ใช้สูตร ดังน้ี (บุญชม ศรีสะอาด,
2545 : 106)
สตู ร S.D. = N X2 ( X)2
เมอื่ S.D. N(N1)
แทน สว่ นเบี่ยงเบนมาตรฐาน
X แทน คะแนนแตล่ ะตวั
N แทน จานวนคะแนนในกลมุ่
แทน ผลรวม
1. สถิตทิ ใ่ี ช้ทดสอบสมมุตฐิ าน โดยใชโ้ ปรแกรมสาเรจ็ รปู ทางสถติ สิ าหรับขอ้ มลู ทาง
สังคมศาสตร์ ใช้ทดสอบความแตกตา่ งของการใช้ส่ือการสอน Kahoot มาใช้ก่อนเรียนกับ
หลังเรยี น คือ การทดสอบทีแบบไม่อิสระ (t – test for Dependent Sample)
17
บทท่ี 4
ผลการวจิ ยั
การวิจัยคร้ังน้ีเป็นการวจิ ัยเพื่อสังเกตพฤติกรรมการตั้งใจเรียนของนักเรียน และเพ่ือศึกษาผลการ
ใช้สื่อการสอน Kahoot รายวิชาภาษาไทย ช้ันประถมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนนิคมพัฒนา 6 จานวน 13
คน ได้ดาเนนิ การวิเคราะหผ์ ลข้อมลู 3 ตอน ดังนี้
ตอนท่ี 1 การสังเกตพฤติกรรมการเรียนของนักเรียนในระหว่างการจดั กิจกรรม วิเคราะห์ผลโดย
การแจกแจงคะแนนการประเมนิ
ที่ ระดับความคดิ เห็น ค่าเฉลี่ย SD ระดบั
รายการประเมิน ( ) พฤติกรรมการ
เรียน
5 4321
1 นักเรียนมาเรียนตรงเวลา และตัง้ ใจเรยี น 8 14 4.3 0.9 มาก
2 กจิ กรรมการสอน ทาใหฉ้ นั สนุกสนาน และทา 8 2 1 1 1 4.5 0.9 มาก
2.7 1.4 ปานกลาง
ใหฉ้ นั เรยี นรู้ได้เร็ว 2 2324 4.4 0.7 มาก
3 นักเรียนพดู คยุ และเลน่ กับเพ่ือนขณะที่ครู 2.7 1.5 ปานกลาง
4.7 0.6 มากทส่ี ดุ
สอน
4 ช่วยฝีกให้ฉันรู้จักการทางานร่วมกัน และช่วย 7 4 2
เหลอซ่ึงกนั และกนั 2 3134
5 นกั เรยี นนอนหลบั ในห้องเรียนขณะช่วั โมง
เรยี น 10 2 1
6 นักเรยี นอยากมาเรยี นมากขึ้น
7 นกั เรียนทาผดิ พยายามแก้ไขโดยไมท่ ้อ 7 3 1 1 1 4.1 1.3 มาก
8 นักเรยี นมักนาวชิ าอ่ืนมาทาขณะท่ีกาลังเรียน 3 3 4 2 1 3.4 1.2 ปานกลาง
วิชาหนงึ่
18
9 นกั เรยี นมคี วามรับผิดชอบต่องานที่ไดร้ บั 10 2 1 4.7 0.6 มากท่ีสดุ
มอบหมาย 1.2 ปานกลาง
3 3 4 2 1 3.4 1.0 มาก
10 นกั เรยี นใชเ้ วลาว่างให้เกดิ ประโยชน์
61 25 22 11 11 3.9
เฉลีย่ โดยรวม
สรปุ ผู้เรียนมีพฤติกรรมต้งั ใจเรียน หลงั ใชส้ ื่อการสอน kahoot อยใู่ นระดับ มาก
เกณฑก์ ารแปลความหมายระดับคุณภาพ
คา่ เฉลย่ี 4.51–5.00 หมายความว่า มากทสี่ ุด
ค่าเฉลย่ี 3.51–4.50 หมายความว่า มาก
ค่าเฉลี่ย 2.51–3.50 หมายความว่า ปานกลาง
ค่าเฉล่ีย 1.51–2.50 หมายความวา่ น้อย
ค่าเฉลี่ย 1.00–1.50 หมายความวา่ น้อยทสี่ ดุ
19
ตอนท่ี 2 ตารางแสดงคะแนนการทดสอบก่อน และหลงั เรียน วิเคราะหผ์ ลโดยคิดเป็นร้อยละ
ชื่อ – สกลุ คะแนน แบบทดสอบ แบบทด คะแนน คะแนน
ลา เต็ม ก่อนเรียน สอบหลัง พฒั นาการ พัฒนาการ
ดบั สมั พัทธ์
20 คะแนน เรยี น คะแนน
20 คะแนน
20 5
1 เดก็ ชายแวอารง มะแซ 20 10 9 4 26.6
20 12
2 เด็กหญิงรสุ มงิ ตา บินแสลแม 20 8 12 2 20.0
20 4
3 เด็กชายฮาฟีซี เจ๊ะนาแว 20 10 20 7 87.5
20 8
4 เดก็ หญงิ รอซานี อาแวเลาะห์ 20 3 12 4 33.3
20 7
5 เด็กชายวรวุฒิ ชาตวิ งศ์ 20 11 10 6 37.5
20 13
6 เด็กชายอะมะลดุ ดนิ มะดา 6 16 6 60.0
260 4
7 เดก็ ชายอุสมาน มาหะมะ 13 5 41.6
101
8 เด็กชายต่วนอสั รี กหู ะยี 7.7 8 5 29.4
9 เดก็ ชายอมั รยี ์ อาแซ 12 5 38.4
10 เด็กชายทพั ไท อินประดิษฐ์ 15 4 44.4
11 เด็กหญงิ ภัทรวดี สวุ รรณพงษ์ 17 4 57.1
12 เด็กชายอานสิ ทองคง 9 3 21.4
13 เดก็ ชายมฮู าหมดั ฮยั ฟาน อีซอ 9 5 31.2
รวม 162 60 528.7
ค่าเฉลี่ย 12.46 4.62 40.6
จากตารางที่ 2 พบว่า จากการทดสอบนกั เรียนมผี ลสมั ฤทธ์ิทางการเรยี น รายวชิ าภาษาไทย
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียน โดยก่อนเรียน มาเฉล่ีย 7.7 คะแนน หลังเรียนมี
คะแนนเฉล่ีย 12.4 คะแนน คะแนนพัฒนาการ มคี ะแนนเฉลี่ย 4.62 และมีคะแนนพัฒนาการสัมพัทธ์ เป็น
59.69
20
แผนภมู ิแสดงการเปรยี บเทยี บผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนกอ่ น และหลังการใชส้ อ่ื การสอน Kahoot
ตอนท่ี 3 การเปรยี บเทียบผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน กอ่ น และหลังเรียน
การทดสอบ N X S.D t P(Value)
กอ่ นเรียน 13 7.77 3.269
หลงั เรียน 13 12.46 3.642 -11.327* .000
จากตารางท่ี 3 พบว่า ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน รายวิชา ของนักเรียนกลุ่มเป้าหมายก่อนและหลัง
การจดั กจิ กรรมการเรยี นการสอนแตกต่างกนั อยา่ งมนี ัยสาคัญทางสถิติที่ระดบั .05
21
บทท่ี 5
สรปุ ผล อภปิ รายผล และขอ้ เสนอแนะ
ความมุ่งหมายของการวิจัย
1. เพอื่ ศึกษาพฤตกิ รรมการไม่ตงั้ ใจเรยี นของนักเรยี นชนั้ ประถมศึกษาปที ่ี 1 โรงเรยี นนิคมพฒั นา 6
2. เพื่อเปรียบเทยี บผลสัมฤทธท์ิ างเรยี นก่อน และหลังการใช้ส่ือการสอน kahoot
ขอบเขตของการวจิ ัย
ประชากร
ประชากรที่ใช้ในการวิจัย คอื กลุม่ ผู้เช่ยี วชาญดา้ นเนือ้ หา และ กลุ่มผูเ้ ช่ยี วชาญด้านส่ือ รวม
ทงั้ หมด 3 คน และกลุ่มผู้ใช้เปน็ นักเรยี น ชัน้ ประถมศกึ ษาปที ี่ 6 โรงเรยี นนคิ มพัฒนา 6 ภาคเรยี นท่ี 2 ปี
การศึกษา 2563 จานวน 1 หอ้ ง รวมท้งั สิ้น 16 คน
กลุ่มเปา้ หมายที่ใชใ้ นการวิจัย
การวิจัยครัง้ น้ี ทาการศึกษากับนักเรียนประถมศึกษาปีท่ี 6 ของโรงเรยี นนิคมพัฒนา 6 ภาคเรียน
ที่ 2 ปีการศึกษา 2563 จานวน 13 คน เกบ็ การวจิ ัยเดือนมนี าคม 2563
ตวั แปรทใ่ี ชใ้ นการวจิ ัย
1. ตวั แปรต้น คือ การใช้ส่อื การสอน Kahoot
2. ตัวแปรตาม คือ พฤติกรรมต้ังใจเรยี นและผลสัมฤทธทิ์ างการเรียน
เครอ่ื งมอื ท่ใี ช้ในการวิจัย
1. ส่ือการสอน kahoot เรอ่ื ง
- การเขียนคาอวยพร
- การเขยี นประกาศ
- คาราชาศพั ท์
- คาสภุ าพ
- ระดับของภาษา
- การเขยี นจดหมาย
2. แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์ิทางการเรยี น
3. แบบวัดพฤตกิ รรมการเรยี นของนักเรียน
วิธกี ารเก็บรวบรวบข้อมูล
การเกบ็ ข้อมลู ในการวิจยั ครั้งน้ี ผู้วจิ ัยดาเนินการดว้ ยตนเอง โดยการประเมนิ พฤติกรรมการเรยี น
ของนักเรยี น และวดั ผลสมั ฤทธท์ิ างการเรียนก่อน และหลงั การใช้สอ่ื การสอน Kahoot ใช้เวลาในการเก็บ
22
2 สปั ดาห์ หลงั จากน้ันได้ดาเนินการตรวจสอบผลสัมฤทธิท์ างการเรยี นแล้ว นามาวเิ คราะห์ผลในลาดับ
ต่อไป
สถิติที่ใชใ้ นการวเิ คราะหข์ ้อมูล
1. วเิ คราะหข์ ้อมูลเบ้ืองต้นใชส้ ถิติพนื้ ฐาน ได้แก่ รอ้ ยละ ค่าเฉลย่ี และพฒั นาการสัมพัทธ์
2. ทดสอบสมมติฐาน โดยใชส้ ถิติ t-test dependent เพ่ือเปรยี บเทียบคะแนนก่อน และหลงั
การใช้สอ่ื การสอน Kahoot
สรปุ ผลวจิ ัย
การหาประสิทธิภาพของส่ือการสอน Kahoot และการเปรียบเทียบผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน
รายวิชาภาษาไทย ช้ันประถมศึกษาปีที่ 6 ระหว่างคะแนนผลสัมฤทธ์ิก่อน และหลังเรียนโดยใช้สื่อการ
สอน Kahoot สรุปผลการวิจัยได้ดังน้ี
1. สือ่ การสอน Kahoot รายวิชา ภาษาไทย ประถมศึกษาปีที่ 6 ท่ผี ู้วิจัยสร้างขึ้น และได้เหน็ พอ้ งกนั
2. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนหลังการใช้สื่อการสอน Kahoot รายวิชา ภาษาไทย ช้ัน
ประถมศึกษาปีท่ี 6 ท่ีผู้วจิ ัยสร้างข้ึน สูงข้ึนมีคะแนนเฉลี่ยก่อนเรียน( X = 7.7 ) และคะแนนหลังเรียน
( X = 12.4) เมื่อนามาเปรียบเทียบกัน โดยการทดสอบค่า t ปรากฏว่ามีผลสัมฤทธิ์ทางการเรยี นหลัง
เรยี นสงู กว่าก่อนเรยี น อยา่ งมีนัยสาคัญทางสถติ ทิ ่รี ะดับ .05
อภปิ รายผลการวจิ ัย
1. สื่อการสอน Kahoot ที่ผู้วิจัยสร้างข้ึนนั้น ผู้วิจัยได้ศึกษาและออกแบบ แบบทดสอบ ใน
แอปพลิเคช่ัน Kahoot ให้มีคุณภาพอยู่ในระดับท่ีดี โดยการศึกษาองค์ประกอบหลักในการสร้างสื่อ
มัลติมีเดีย รวมท้ังเทคนิควิธีการ ได้แก่ โปรแกรมที่ใช้ในการผลิต ออกแบบแบบทดสอบ เพ่ือนามา
ผสมผสานกันในการนาเสนอข้อมูลและสร้างสื่อการสอนเพ่ือดึงดูดความสนใจของผู้เรียน และต้องศึกษา
หลักการทฤษฎีท่ีเกี่ยวข้องทางด้านจิตวิทยา และการพัฒนาบทเรียนให้มีความน่าสนใจ มีแรงกระตุ้นให้
ผู้เรียนเกิดการเรียนรูด้ ้วยตนเอง และมีพฒั นาการทางการเรียนรูท้ ีด่ ขี น้ึ
นอกจากนี้แล้วผู้วิจัยต้องวางแผนขั้นตอนในการดาเนินการและส่ือการสอน Kahoot อย่างเป็น
ระบบ โดยมีการตรวจสอบและประเมิน เพื่อปรับปรุงแก้ไขทุกข้ันตอนตามคาแนะนา จากครูที่ปรึกษา
ผู้เชี่ยวชาญด้านเน้ือหา และด้านสื่อ แล้วนาไปทดลองตามกระบวนการของการวิจัยและพัฒนา จึงทาให้
บทเรยี นมคี ณุ ภาพอยู่ในระดบั ดแี ละเปน็ ไปตามเกณฑ์ท่ีกาหนด
23
2. สื่อการสอน Kahoot เป็นทางเลือกแนวใหม่ สาหรับการเรียนการสอนเน่ืองจากส่ือการสอน
Kahoot เป็นสื่อประสมทรี่ วมทั้งภาพนิ่ง ภาพเคลื่อนไหว กราฟกิ เสียง ข้อความ ตัวอักษร ท่ีชว่ ยใหผ้ ู้เรียน
เกดิ แรงจูงใจในการเรียนรู้ และสามารถดงึ ดดู ความสนใจผูเ้ รียนใหอ้ ยากเรียนรู้ รวมทงั้ สร้างบรรยากาศการ
เรียนรู้ ไม่ให้ผู้เรียนเกิดความเบ่ือหน่ายได้ เม่ือผู้วิจัยสังเกตพฤติกรรมผู้เรียนในระหว่างการทดลอง พบว่า
ผู้เรียนมีความกระตือรือร้น และมีความต้ังใจเรียนได้เป็นอย่างดี เพราะผู้เรียนช่ืนชอบกับการโต้ตอบและ
การควบคุมบทเรียนได้ด้วยตนเอง โดยผู้เรียนสามารถเลอื กที่จะเรียนรู้บทเรียนใดก่อนก็ได้ตามความสนใจ
สามารถทบทวนเนื้อหาบทเรียนได้ตามความต้องการ การทาแบบฝึกหัดระหว่างเรียน และแบบทดสอบ
หลังเรียนท่ผี ูเ้ รียนสามารถโตต้ อบและมปี ฏิสัมพนั ธ์กับบทเรียนได้ รวมทั้งผลป้อนกลบั (Feed Back) ท่ีเป็น
ผลคะแนน หรือคาชมเชยต่าง ๆ ทัง้ ทเี่ ปน็ เสยี งหรือข้อความ ทสี่ รา้ งความพึงพอใจแก่ผู้เรียนไดเ้ ป็นอยา่ งดี
ขอ้ เสนอแนะ
ขอ้ เสนอแนะในการนาไปใช้
1. ครูควรทาสื่อการสอน Kahoot ไปใชใ้ นการจัดการเรยี นรู้ รายวิชา ภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1
โดยศกึ ษาเนื้อหาท่ีใชส้ รา้ งส่อื การสอน Kahoot กอ่ นใช้ทกุ คร้งั หรอื หาแบบทดสอบก่อนจดั การเรียน
การสอน
2. ครคู วรสร้างสื่อหลากหลายเพื่อใชป้ ระกอบสื่อการสอน Kahoot
3. การจดั กจิ กรมการเรยี นการสอน โดยใช้สอ่ื การสอน Kahoot นน้ั ครผู ู้สอนควรใหค้ าแนะนา และช้ีแจง
แนวปฏบิ ตั ิแก่นักเรยี นใหป้ ฏิบัติตามขนั้ ตอนอย่างเครง่ ครั้ด โดยครคู วรเน้นย้า เรอ่ื งความซ่ือสัตย์ ความ
รับผิดชอบ ความอดทน ความมีระเบยี บวินยั ในการศกษาส่อื การสอน Kahoot
ขอ้ เสนอแนะสาหรบั การวิจัยคร้งั ต่อไป
1. ควรพฒั นาส่อื การสอน Kahoot ในเน้อื หาวชิ าอน่ื ๆ และระดบั ช้ันตา่ ง ๆ
2. การใชง้านแอพลเิ คชั่น kahoot ตอง้ มอี ุปกรณ์การสื่อสารท่มี ปี ระสทิ ธิภาพ ระบบอินเตอร์ ตอ้ งเสถียร
เพ่ือใหก้ ารดาเนินกจิ กรรมเป็นไปได้อยา่ งราบร่ืน
3. ครูผ้สู อนควรจัดเตรียมเกมหรือแอพลเิ คชนั่ อน่ื ให้มีความหลากหลาย เพื่อให้โอกาส นักเรียน ในการ
เลือกเกมท่ีต้องการจะเล่น นักเรยี นจะไดร้ ู้สกึ วา่ มสี ่วนร่วมในดา้ นการเรียน การสอนมากข้ึน
24
เอกสารอ้างอิง/บรรณานกุ รม
คารมบัวผัน (2560), ศกึ ษาผลการเรยี นรขู้ องนกั ศึกษาโดยใช้กจิ กรรม Kahoot เปน็ ฐาน
สืบจาก http://hu-polsci.blogspot.com/2018/04/kahoot.himl
ทิศนา แขมณี (2550). รูปแบบการเรียนการสอนท่ีหลากหลาย. กรุงเทพฯ, สานักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์
มหาวิทยาลัย
ธิดารตั น์ เลิศวทิ ยากลุ . (2560), การประเมนิ ความกา้ วหนา้ การเรียนรโู้ ดยใชเ้ กมเปน็ ฐาน
สื บ ค้ น จ า ก http://www.casjournal.cas.ac.th/admin/filedocuments/1515726877-ED034.pdf
นพดล กองศิลป์. (2561), การศึกษาผลการใช้หลักสูตรบูรณา การสร้างสรรค์ผลงานบนแท็บเล็ต โดยใช้
แฟม้ สะสมผลงานอเิ ล็กทรอนิกสผ์ า่ นส่ือสงั คมระดับประถมศึกษา
สบื ค้นจาก https://tci-thanijo.org/index.php/swurd/article/view/140735
นพอนนท์ ชาครจิรเกียรติ. (2558). การใช้เกมแบบทดสอบเพื่อเปรียบเทียบความพึงพอใจในการสอบวิชา
พ้ืนฐานการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ระหว่างการใช้โปรแกรม Kahoot! กับการสอบปกติของนักเรียน
ระดับประกาศนยี บัตรวิชาชีพชั้นปีท่ี 2
สืบค้นจาก http://www.wanich.sc t/download/research/research58/re_58_6 .pdf
ประภา เพ็ญสุวรรณ (2542). การวิเคราะห์สถานการณ์เพ่ือวางแผนกงเสริมสุขภาพในโรงเรียนของ
ประเทศไทย, สืบค้นจาก http://www.yala.ac.th/noonoh/center/4804009020/%.pdf
เผชิญ กิจระการ. (2546).“ ดัชนีประสิทธิผล, ในเอกสารประกอบการสอน, หน้า 1-6.
มหาสารคาม : ภาควชิ าเทคโนโลยกี ารศึกษา คณะศกึ ษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม
มีสนรีลักษณ์ ปัทมะทัตต์.(2560).การใช้สื่อการสอน Kahoot เพื่อเพิ่มผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของ
นักเรียนระดับมัธยมศึกษาปีท่ี 4 รายวิชา Fundamental English. สืบค้นจาก http:// swis act
ac.th/html_edu/act/temp_emp_research/2813.pdf
รจุ าภา เพชรเจริญ และวรสิทธ์ิเจริญศิลป์ (2560) .ศึกษาข้อมูลเรอ่ื งการประเมินการใช้ Khoot Program
ใน ก า ร จั ด ก า ร เรี ย น ก า ร ส อ น ผ่ า น เค รื อ ข่ า ย ก า ร ส อ น ท า ง ไก ล สื บ ค้ น จ า ก https://tci-
thaijo.org/index.php/edupsru/article/view/98356
25
บรรณานกุ รม (ตอ่ )
ศิริลักษณ์เลิศหิรัญทรัพย์. (2560), การศึกษาผลการใช้หลักสูตรบูรณาการสร้างสรรค์ผลงานบนแท็บเล็ต
โดยใชแ้ ฟ้มสะสมผลงานอเิ ล็กทรอนิกส์ผา่ นสอ่ื สังคมระดบั ประถมศกึ ษา
สืบค้นจาก hitp: //elsd.ssru ac.th/siriluck_le/pluginfile.php/141/block_html/content/.pdf
สุมนอมรวิวัฒน์ (2533), สมบัติทิพย์ของการศึกษาไทย, พิมพ์คร้ังท่ี 1 กรุงเทพฯ: สานักพิมพ์แห่ง
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยสมพรกุลนานันท์. (2560). การใช้ส่ือการสอนโปรแกรม Kahoot Application
ในการวดั และประเมินผล
สืบค้นจาก I http: //202.159 164.60/~eme66/includes/standard61/filiestd61/pl658__2:.1:7-
2018-10-16_144606-1.pdf
สานกั วชิ าการและงานทะเบยี น. 2560. คู่มอื จัดระบบการเรียนการสอน
สืบคน้ จากhttp://acad.vru.ac.th/pdf-handbook/Hand_Teacher_57.pdf
อักษร สวัสดี.(2542).ความรู้ความเข้าใจและความตระหนักในการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมของนักเรียน ช้ัน
มัธยมศึกษาตอนปลาย : กรณีศกึ ษาในเขตบางกะปิ กรุงเทพมหานคร.สถาบันพัฒนาบรหิ ารศาสตร์
สถาบันพัฒนบริหารศาสตร์เผชิญกิจระคาร (2546).“ ดัชนีประสิทธิผล” ในเอกสารประกอบการสอน,
หน้า 1-6. มหาสารคามภาควชิ าเทคโนโลยีการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยมหาสารคาม
26
ภาคผนวก
27
แบบวดั พฤติกรรมความตั้งใจเรียน
นกั เรียนชั้นประถมศกึ ษาปีท่ี 6 (หลังใช้สื่อการสอน kahoot)
คาชแี้ จง
1. โปรดเติมเครอื่ งหมาย และกรอกขอ้ ความให้สมบูรณ์
ช่อื -นามสกลุ
.................................................................................................................................................
สว่ นที่ 1 ข้อมูลทว่ั ไปของผตู้ อบแบบสอบถาม
1. เพศ ชาย หญงิ
2. สถานะ ครู นักเรยี น
3. หนว่ ยงาน ………………………………………………………………………………….…
สว่ นท่ี 2 ความพงึ พอใจตอ่ กิจกรรม
ระดับ 5 = มากท่สี ดุ หรือดมี าก 4 = มากหรือดี 3 = ปานกลางหรือพอใช้ 2 = น้อยหรอื ต่ากวา่
มาตรฐาน 1 = นอ้ ยทส่ี ุดหรือตอ้ งปรับปรุงแก้ไข
รายละเอียด ระดบั ความพึงพอใจ
5 432 1
1. นกั เรียนมาเรียนตรงเวลา และตัง้ ใจเรียน
2. กิจกรรมการสอน ทาให้ฉันสนุกสนานและทาใหฉ้ นั เรยี นรู้ไดเ้ ร็ว
3. นกั เรียนพดู คยุ และเลน่ เพ่ือนในขณะทคี่ รสู อน
4. ชว่ ยฝกึ ใหฉ้ นั รู้จกั การทางานร่วมกนั และชว่ ยเหลือซ่งึ กนั และกนั
5 นักเรยี นนอนหลบั ในห้องเรียนขณะชั่วโมงเรยี น
6. นักเรียนอยากมาเรียนมากข้ึน
7.นกั เรียนทาผดิ พยายามแก้ไขโดยไม่ท้อ
8 นักเรยี นมกั นางานวิชาอ่นื มาทาขณะที่กาลงั งเรยี นวิชาหนง่ึ
9 นกั เรียนมีความรับผดิ ชอบตอ่ งานทไ่ี ด้รบั มอบหมาย
10.นกั เรยี นใชเ้ วลาวา่ งให้เกดิ ประโยชน์
ขอ้ เสนอแนะ
.......................................................................................................................................................................
................................................................................................................................ .......................................
28
แบบทดสอบ ช้นั ประถมศึกษา
รายวชิ า ภาษาไทย
ปที ี่ 6
คาชแ้ี จง : ให้นักเรียนเลอื กคาตอบท่ีถกู ต้องที่สดุ เพียงข้อเดียว
1.คาอวยพร คืออะไร ๔. จุดประสงค์ของประกาศข้างต้นคืออะไร
ก. คาพูดท่แี สดงถึงปรารถนาดตี อ่ กนั
ข.คาพูดทีแ่ สดงถึงความหว่ งใยต่อกนั ก. เชิญชวนให้เขา้ ชมนิทรรศการ
ค. คาพดู ท่แี สดงถึงความในใจต่อกัน
ง.คาพูดท่แี สดงถึงความตอ้ งการในด้าน ๆ ตอ่ กัน ข. เชิญร่วมจัดนิทรรศการ
2. “ขออานาจคุณพระศรรี ัตนตรยั และสง่ิ ศกั ดิส์ ทิ ธิ์ ค. เชิญชวนใหช้ มการแสดงของชมรม
ท้ังหลายโปรดดลบันดาลใหค้ ุณปู่ ประสบแต่ความสุข
สขุ ภาพพลานามัยแข็งแรง ปราศจากทุกขโ์ ศกโรคภยั ง. บอกเงื่อนไขในการเขา้ ชมนิทรรศการ
ท้ังปวง...”
จากข้อความ เป็นการอวยพรเน่ืองโอกาสใด 5. ข้อใดกลา่ วถึงคาราชาศพั ท์ถูกต้องท่สี ดุ
ก. วนั ปใี หม่ ก. ถอ้ ยคาทใี่ ช้กับพระมหากษตั รยิ ์
ข. วันเกิด
ค. วันสงกรานต์ ข. ขอ้ ความท่ีใข้กับพระราชวงศ์
ง. ถกู ทุกข้อ
ตอบคาถาม ข้อ 3 - 4 ค. ภาษาท่ใี ชใ้ หเ้ หมาะสมกับฐานนะของบคุ คล
3.
ง. คาสภุ าพท่ีใชย้ กย่องบุคคลในสังคม
ประกาศข้างตน้ เป็นประกาศแบบใด
ก. .ประกาศของหาย 6.คาราชาศพั ทใ์ นข้อใดที่ใชก้ ับบคุ ลท่ีมฐี านะสูง
ข. ประกาศให้บริการ
ค. ประกาศรับสมัครงาน ทส่ี ุด
ง. ประกาศใหเ้ ชา่ ส่งิ ของ
ก. ประสูติ
ข. ตรัส
ค. สวรรคต
ง. พอพระทยั
7."พนกั งานตั้งเครือ่ งในห้องส่วนพระองค"์ คาท่ี
ขีดเสน้ ไตห้ มายถึงสงิ่ ใด
ก. เครือ่ งแตง่ กาย ข. อาหาร
ค. หนังสอื ง. อาภรณ์
8. พอ่ " ในคาราชาศัพท์เรียกว่าอะไร
ก.พระชนก
ข.พระบดิ า
ค.พระอนุชา
ง.พระเชษฐา
9. " เสื้อ " ในคาราชาศัพท์เรียกวา่ อะไร 29
ก.ฉลองพระบาท ข.พระย่ีภู่ 16. คาลงทา้ ยในการเขียนจดหมายถึงพ่อแมแ่ ละ
ญาตผิ ูใ้ หญ่ ควรใช้ข้อความใด เหมาะสมทีส่ ุด
ค.พระทวาร ง.ฉลองพระองค์ ก.ดว้ ยรัก จากใจ
ข.ด้วยความเคารพรกั อย่างสงู
10. . ข้ีควาย ใช้คาสุภาพทีถ่ ูกตอ้ งวา่ อยา่ งไร ค.ด้วยความคดิ ถึง
ง. ไม่บงั คบั
ก. กนิ ข. มูล 17. ข้อใดเปน็ ประโยคคาถาม
ก.ฉนั ไม่อยากไปกับเธอเลย
ค. ถ่าย ง. ดม่ื ข.ผ้าชนิดนี้ไม่ยับงา่ ยหรอกนะ
ค.ผู้หญิงคนน้ไี ม่สวยถูกใจหรอื
11. สกุ ร เปน็ คาสุภาพทใี่ ชเ้ รียกสตั ว์ชนดิ ใด ง. ภาพยนตรเ์ รือ่ งน้ไี ม่สนกุ เลย
18. . ขอ้ ใดเปน็ ประโยคขอรอ้ ง
ก. สุนขั ข. หมู ก.โปรดช่วยกันรกั ษาความสะอาด
ข.อย่าจอดรถขวางประตู
ค. แกะ ง. ไก่ ค.ทุกคนควรรักษาระเบยี บวนิ ัย
ง.หา้ มเดินลัดสนาม
12. ตวั เลือกใดเป็นคาสภุ าพท่ีใช้เรียกผักตบชวา 19. ข้อใดเป็นประโยคปฏเิ สธ
ก.ชใู จจะทางานหรือไม่
ก. ผักทอดยอด ข. ผกั ริมน้า ข.อย่าทง้ิ กระดาษให้เกลอื่ นกลาด
ค.วไิ ลสวยมากแค่ไหน
ค. ผักแพ ง. ผกั สามหาว ง.ณฐั ดลหาได้ทาการบา้ นไม่
20. ขอ้ ใดคอื ประโยคความเดียว
13. ขอ้ ใดใชภ้ าษาระดบั ไม่เป็นทางการ ก.น้าทะเลสีคราม
ข.เกง่ และก้อยชอบทานผลไม้
ก. ธนาคารสง่ จดหมายนดั ให้สุดาไปสอบสัมภาษณ์ ค.ปา้ แชม่ ขายผลไมใ้ นตลาด
ง.นุดปี ว่ ยจึงไมม่ าโรงเรยี น
ข. ลูกสาวของเขาทง้ั สามคนหน้าตาพอไปวัดไปวาได้
ค. อธบิ ดีรบั เชญิ ใหก้ ล่าวคาอวยพรในงานมงคลสมรส
ง. เจา้ หน้าทต่ี รวจเอกสารวา่ ถูกตอ้ งแล้วจงึ ประทบั ตรา
รบั รอง
14. ขอ้ ใดไม่ใช่องคป์ ระกอบในจดหมาย
ก.ทีอ่ ย่ผู ู้สง่ ข.คาอวยพร
ค.วนั ท่ีเขียน ง.คาลงท้าย
15. ตาแหน่งของท่ีอยผู่ เู้ ขยี นในจดหมาย ควรอยู่
ตาแหนง่ ใด
ก.มมุ ซา้ ยลา่ ง ข.มมุ ขวาบน
ค.มุมขวาลา่ ง ง.กลางกระดาษสว่ นบน
30
ข้อคาถามในแอปพลิเคชัน่ คาฮทู ( kahoot )
รายงานผลในการใช้แอพลิเคชนั คาฮูท
31
32
33
ภาพประกอบการวจิ ัย
34
35
ผลการวเิ คราะห์ข้อมลู โดยใช้ โปรแกรม SPSS 16.0
Paired Samples Statistics
Mean N Std. Deviation Std. Error Mean
.90691
Pair 1 pretest 7.7692 13 3.26991 1.01030
posttest
12.4615 13 3.64270
Paired Samples Correlations
N Correlation Sig.
Pair 1 pretest & posttest 13 .912 .000
Paired Samples Test
Paired Differences
95% Confidence Interval of the
Difference
Mean Std. Deviation Std. Error Mean Lower Upper t df Sig. (2-tailed)
-11.327* 12 .000
Ppretest - posttest -4.69231 1.49358 .41424 -5.59487 -3.78975
a
i
r
1
36
ประวัตขิ องผู้วจิ ัย
ชื่อ-นาม : นางสาวอานาตี ซีเซ็ง
วนั เดอื น ปี เกดิ : 11 สิงหาคม 2530
สถานท่อี ยู่ปัจจุบนั : 30 ม.2 ต. โคกเคยี น อ. เมือง จ. นราธวิ าส
ตาแหน่งหน้าที่การงานปัจจุบนั : ข้าราชการครู
สถานท่ที างานปจั จบุ ัน : โรงเรยี นคิ มพัฒนา
6 ม.8 ต.สุคิริน อ. เมือง จ. นราธวิ าส
ประวัติการศกึ ษา : ปรญิ ญาตรี มหาวทิ ยาลัยสงขลานครินทร์ วทิ ยาเขตหาดใหญ่
คณะวิทยาศาสตร์ สาขา เทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสาร