คำนำ
ศูนย์บริการสาธารณสุขเทศบาลเมืองลำพูน เปน็ หน่วยงานขา้ ร่วมการดำเนินงานคลินิกชุมชน
อบอุ่น.ต้ังแต่ปีงบประมาณ.2549.เป็นต้นมา.ในการดำเนินงานคลินิกชุมชนอบอุ่น.เทศบาลเมืองลำพูน
ไดบ้ ริหารจัดการโครงการเพ่อื ให้เปน็ ไปตามมาตรฐานของสำนกั งานหลักประกนั สุขภาพแห่งชาติ.การดำเนินงาน
ของคลินิกชุมชนอบอุ่นได้แสวงหาเครือข่ายร่วมในการดำเนินงานอย่างสม่ำเสมอ เพ่ือให้เกิดการพัฒนางาน
ซึ่งเครือข่ายสำคัญประกอบไปด้วย.สำนักงานหลักประกันสุขภาพ สนับสนุนงบประมาณ.เหมาจ่ายรายหัว
และวิชาการ รวมถึงการประเมินคุณภาพบริการรูปแบบหน่วยบริการประจำ ศูนย์อนามัยท่ี 10 ร่วมกันพัฒนา
งานด้านการส่งเสริมสุขภาพ ร่วมการดำเนินงานต่างๆ.เช่น.การดำเนินงานวัดส่งเสริมสุขภาพ การควบคุม
ป้องกันโรคต่างๆ สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดลำพูน/สาธารณสุขอำเภอเมืองลำพูน สนับสนุนด้านวิชาการ
การประสานขอ้ มูลการดำเนินงานและการประสานแผนการปฏิบัติงานด้านการส่งเสริมสขุ ภาพ ควบคุมป้องกัน
โรคต่างๆ และการประเมินคุณภาพบริการในรูปแบบต่างๆ โรงพยาบาลลำพูน สนับสนุนด้านวิชาการ
ร่วมพัฒนาเครือข่ายในฐานะของ CUP (Contracting Unit for Primary Care) อำเภอเมืองลำพูน บริหารงาน
ร่วมในรปู แบบคณะกรรมการประสานงานสาธารณสขุ ระดับอำเภอ (คปสอ.)
คลินิกชุมชนอบอุ่นได้มองชีวิตและสุขภาพในแนว“สุขภาพแบบองค์รวม (Holistic Health)”
มองวา่ สุขภาพเป็นเรื่องทีเ่ กี่ยวข้องกับท้ังชีวติ มากกว่าการเน้นแคค่ วามเจ็บป่วยหรือการจดั การส่วนใดส่วนหน่ึง
ของร่างกายจึงบูรณาการ“แนวคิดพหุลักษณ์ทางการแพทย์”เข้ามาใช้ในการดูแลผู้ป่วยโดยใช้การแพทย์
แบบผสมผสานสุขภาพทางเลือกเพื่อชุมชน โดยใช้สมุนไพรในท้องถ่ิน มาใช้ในการรักษาร่วมกับการแพทย์แผน
ตะวันตก กล่าวคือ มีการสร้างความร่วมมือการแพทย์แผนใหม่เข้ากับการแพทย์ทางเลือกโดยนำจุดแข็ง
ของแต่ละศาสตร์มาเสริมกัน นำภูมิปัญญาด้านการแพทย์และสุขภาพในท้องถ่ินน้ันมาเป็นฐานการพัฒนา
สุขภาพทางเลือก เช่น มีการนำการตอกเส้น มาใช้ในการบริการแพทย์แผนไทย และการใช้ยาสมุนไพร
รว่ มกับยาแผนปัจจุบนั เปน็ ต้น
รายงานสรุปผลการดำเนินงาน ประจำปี.2564 จัดทำขึ้นเพื่อเป็นการรวบรวมข้อมูล
การดำเนินงานด้านการส่งเสริมสุขภาพ.ป้องกันโรค.รักษาโรค.และฟ้ืนฟูอาการหลังการเจ็บป่วยในภาพรวม
เปรียบเทียบสถิติการดำเนินงาน. เพ่ือวิเคราะห์ข้อมูลนำมาปรับปรุงพัฒนาวางแผน โดยนำเสนอในรูปแบบ
ตาราง กราฟ แผนภูมวิ งกลม.และแผนภูมแิ ทง่
ศูนยบ์ ริการสาธารณสุข
กองการแพทย์ เทศบาลเมืองลำพูน
ก
สารบญั
คำนำ หนา้
สารบัญ
สารบัญตาราง ก
สารบญั ภาพ
ข
บทนำ
บทบาทหน้าท่ีกองการแพทย์ ค
โครงการบริหารงานกองการแพทย์
วสิ ยั ทัศน์ พันธกิจกองการแพทย์ 1
โครงการท่ีอยใู่ นความรับผดิ ชอบของกองการแพทย์ ประจำปี 2564 4
โครงการที่ขอรบั การสนับสนนุ จากกองทุนหลักประกันสขุ ภาพเทศบาลเมอื งลำพูน ประจำปี 2564 9
สรุปผลการดำเนนิ งานของกองการแพทย์ ประจำปี 2564 10
12
- งานส่งเสริมสขุ ภาพ 17
- งานป้องกนั ควบคุมโรค 19
- งานรกั ษาพยาบาล 24
- งานฟื้นฟสู มรรถภาพผปู้ ว่ ย และงานเย่ียมบ้าน 29
- งานผสู้ ูงอายุ 36
- งานแพทย์แผนไทย 41
- งานค้มุ ครองผบู้ รโิ ภค 44
ความพึงพอใจของผู้รับบริการศูนย์บริการสาธารณสุขเทศบาลเมอื งลำพนู ประจำปี 2564 47
ภาพกิจกรรมการดำเนินงาน ประจำปี 2564 48
50
51
ข
สารบญั ตาราง
หน้า
ตารางที่ 1 แสดงผลการดำเนินการโครงการท่ไี ด้รบั งบประมาณจากแหลง่ อ่นื 12
ตารางท่ี 2 แสดงผลการดำเนนิ การโครงการท่ีไมใ่ ชง้ บประมาณในการดำเนินโครงการ 15
ตารางท่ี 3 แสดงผลการดำเนินการโครงการทใ่ี ช้งบประมาณของเทศบาลเมืองลำพูน 16
ตารางท่ี 4 แสดงโครงการท่ีไดร้ ับการสนบั สนนุ งบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพ 17
ตารางที่ 5 แสดงงบประมาณที่ได้รบั อนุมตั จิ ากกองทุนหลกั ประกันสุขภาพเทศบาลเมืองลำพนู 17
ตารางท่ี 6 แสดงงบประมาณท่ใี ช้จริงจากกองทุนหลกั ประกันสุขภาพเทศบาลเมืองลำพนู 18
ตารางที่ 7 แสดงจำนวนของประชาชนเทศบาลเมืองลำพนู ทงั้ 17 ชมุ ชน (แยกรายชุมชน) 19
ตารางท่ี 8 แสดงจำนวนหลังคาเรอื นของประชาชนเทศบาลเมืองลำพูน 20
ตารางท่ี 9 แสดงจำนวนและร้อยละประชาชนเทศบาลเมืองลำพูนแยกตามกลุ่มอายุ. 22
ตารางท่ี 10 แสดงประเภทสทิ ธิการรกั ษาพยาบาลของประชาชนในเขตเทศบาลเมืองลำพนู 24
ตารางท่ี 11 แสดงการให้บรกิ ารทนั ตกรรมในศูนยบ์ รกิ ารสาธารณสุขเทศบาลเมืองลำพูน 29
ตารางที่ 12 แสดงจำนวนผู้ป่วยโรคติดตอ่ ที่ต้องเฝ้าระวังทางระบาดวทิ ยาที่เขา้ รบั บรกิ าร 30
ศนู ย์บริการฯสาธารณสขุ เทศบาลเมอื งลำพูน
ตารางที่ 13 แสดงจำนวนการประชาชนเทศบาลเมืองลำพูน ท่ีได้รับการกำกับติดตามควบคุมในการ
31
ดำเนินงานปอ้ งกนั โรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019
ตารางท่ี 14 แสดงผลการรณรงค์ปอ้ งกนั โรคไขเ้ ลอื ดออกในเขตพืน้ ที่รับผดิ ชอบเทศบาลเมอื งลำพูน 32
ตารางที่ 15 แสดงการคดั กรองมะเร็งเต้านมในสตรี อายุ 30 – 70 ปี 34
ตารางที่ 16.แสดงการคัดกรองมะเรง็ ปากมดลูกในสตรีอายุ.30.-.60.ปี 35
ตารางที่ 17 แสดงจำนวนผูป้ ว่ ยโรคไม่ตดิ ตอ่ เรื้อรงั (Non - communicable diseases) 36
ตารางท่ี 18 แสดงจำนวนผูม้ ารับบริการศูนย์บรกิ ารฯ แยกตามสทิ ธิการรกั ษาพยาบาล 37
ตารางที่ 19 แสดง 5 อันดับโรค ทผ่ี ู้ปว่ ยมาตรวจรกั ษาในศูนยบ์ รกิ ารสาธารณสขุ ฯ 38
ตารางท่ี 20 แสดงจำนวนผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสงู และโรคเบาหวานทีล่ งทะเบยี น 38
และมารับบริการในคลนิ ิกฯ
ตารางที่ 21 แสดงจำนวนผูป้ ว่ ยโรคความดนั โลหติ สูงทเ่ี ข้ารับการรักษาในคลนิ กิ ทส่ี ามารถ 38
ควบคมุ ระดบั ความดนั โลหิตได้
ตารางท่ี 22 แสดงผลการติดตามค่าการทำงานของไตในผู้ป่วยโรคความดนั โลหิตสงู 39
ตารางที่ 23 แสดงจำนวนผู้ป่วยโรคเบาหวานที่ควบคุมระดบั น้ำตาลไดด้ ี 39
ตารางที่ 24 แสดงผลการดำเนินงานตรวจตาผปู้ ่วยโรคเบาหวานในคลินิกเบาหวาน 40
ตารางที่ 25 แสดงผลมลู ค่าการใช้ยาศนู ย์บริการสาธารณสุขเทศบาลเมอื งลำพนู 41
ตารางที่ 26 แสดงจำนวนผู้สูงอายทุ ่ีได้รบั การประเมนิ ตามเกณฑ์ความสามารถในการ 44
ทำกจิ วตั รประจำวนั (Activity of Daily Living : ADL)
ตารางที่ 27 แสดงจำนวนผสู้ ูงอายุอายุเทศบาลเมืองลำพูน 45
ตารางท่ี 28 แสดงข้อมูลการตรวจร้านขายของชำในเขตเทศบาลเมืองลำพูน 49
ต า ร า ง ที่ 2 9 แ ส ด งง บ ป ร ะ ม า ณ ที่ ได้ รั บ จั ด ส ร ร ต า ม ผ ล งา น แ ล ะ คุ ณ ภ า พ บ ริ ก า ร : QOF
51
ค
สารบัญภาพ
หน้า
ภ า พ ที่ 1 แ ผ น ภู มิ แ ส ด ง จ ำ น ว น ห ลั ง ค า เรื อ น ข อ ง ป ร ะ ช า ช น เท ศ บ า ล เมื อ ง ล ำ พู น
20
ภ า พ ท่ี 2 แ ส ด ง ร้ อ ย ล ะ สั ด ส่ ว น ข อ ง ป ร ะ ช า ช น เท ศ บ า ล เมื อ ง ล ำ พู น เพ ศ ช า ย – ห ญิ ง
21
ภาพท่ี 3 กราฟแสดงแนวโนม้ จำนวนประชากรประชาชนเทศบาลเมืองลำพนู 21
ภ า พ ท่ี 4 ปิ ร า มิ ด ป ร ะ ช า ก ร แ ส ด ง สั ด ส่ ว น ก ลุ่ ม อ า ยุ ข อ ง ป ร ะ ช า ช น เท ศ บ า ล เมื อ ง ล ำ พู น
23
ภาพท่ี 5 แผนภูมิแสดงประเภทสิทธิการรักษาพยาบาลของประชาชนในเขตเทศบาลเมืองลำพูน
24
ภาพท่ี 6 แผนภูมิแสดงการติดตามเย่ียมหญงิ ตัง้ ครรภ์ในเขตเทศบาลเมืองลำพูน 25
ภ าพ ท่ี 7 แผนภู มิแสดงการเยี่ยมบ้านมารดาและทารกห ลังคลอด ในเขตเทศบ าลเมืองลำพู น
25
ภ าพ ที่ 8 แ ผ น ภู มิ แ ส ด งผ ล งาน ก ารเย่ี ย ม บ้ าน ก ลุ่ ม อ ายุ 0 -5 ปี ใน เข ต เท ศ บ าล เมื อ งล ำพู น
26
ภ าพ ที่ 9 แ ผ น ภู มิ แ ส ด งจ ำน ว น ผู้ รับ บ ริก ารใน ค ลิ นิ ก เด็ ก ดี 5 ปี ใน เข ต เท ศ บ าล เมื อ งล ำพู น
26
ภาพท่ี 10 แผนภูมิแสดงจำนวนเด็กในศนู ย์เดก็ เลก็ ฯที่ไดร้ บั การตรวจพฒั นาการตามโครงการ
27
เสริมสร้างทักษะพ้ืนฐานเดก็ ก่อนวยั เรียน
ภาพที่ 11 แผนภมู ิแสดงการตรวจสุขภาพนักเรยี นชั้นอนุบาลถึงประถมศึกษาปีท่ี 4 โรงเรียน
27
ในเขตเทศบาลเมืองลำพูน
ภาพท่ี 12 แผนภมู ิแสดงจำนวนนกั เรยี นในสงั กดั เทศบาลเมอื งลำพนู ที่เข้าร่วมโครงการ 28
ปรบั เปล่ียนพฤติกรรม.การบรโิ ภคที่เหมาะสม
ภาพที่ 13 แผนภูมแิ สดงการตรวจสุขภาพช่องปากในศนู ย์พัฒนาเดก็ เล็กและสถานรบั เล้ียงเด็ก 28
ในเขตรบั ผิดชอบเทศบาลเมอื งลำพูน
ภาพท่ี 14 แผนภมู แิ สดงการตรวจสุขภาพชอ่ งปากนักเรียนชัน้ ประถมศึกษาโรงเรียนในสังกดั 29
เทศบาลเมืองลำพนู
ภาพที่ 15 แผนภูมิแสดงการรับวัคซีนป้องกันโรคไข้หวัดใหญ่ตามฤดูกาล ศูนย์บริการสาธารณสุขฯ
30
ภาพที่ 16 แผนภมู แิ สดงการคัดกรองโรคความดันโลหติ สูงและโรคเบาหวานในเขตเทศบาลเมืองลำพนู 33
ในประชากรอายุ 35 ปีข้ึนไป
ภาพท่ี 17 แผนภูมิแสดงร้อยละการคัดกรองโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน ในเขตเทศบาล
33
เมอื งลำพนู ในประชากรอายุ 35 ปีขนึ้ ไป
ภาพที่ 18 แผนภมู ิแสดงการคดั กรองมะเร็งเต้านมในสตรี อายุ 30 – 70 ปี 34
ภาพท.่ี 19.แผนภูมิแสดงการคดั กรองมะเร็งปากมดลกู ในสตรีอายุ.30.-.60.ปี 35
ภาพที่ 20 แสดงจำนวนผปู้ ่วยโรคไม่ติดต่อเรอ้ื รงั (Non – communicable diseases) 36
37
ภาพท่ี 21 แผนภูมิแสดงจำนวนผมู้ ารับบรกิ ารศูนย์บรกิ ารสาธารณสุขเทศบาลเมอื งลำพนู
41
แยกตามสิทธกิ ารรกั ษาพยาบาล 42
ภาพท่ี 22 แผนภมู แิ สดงมูลค่าการใชย้ าศูนยบ์ รกิ ารสาธารณสุขเทศบาลเมอื งลำพนู 43
ภาพท่ี 23 แผนภูมิแสดงจำนวนผู้พิการในเขตเทศบาลเมืองลำพูน 43
ภาพท่ี 24 แผนภมู แิ สดงจำนวนผู้พกิ ารในเขตเทศบาลเมืองลำพนู ท่ีได้รบั การเยีย่ มโดยทีมสหวิชาชพี 44
ภาพที่ 25 แผนภมู แิ สดงจำนวนครง้ั ที่ผ้พู กิ ารทไ่ี ดร้ บั การเยย่ี มโดยอาสาสมัครดูแลผพู้ กิ าร
ภาพที่ 26 กราฟแสดงแนวโนม้ ผู้ปว่ ยตดิ บา้ นและผู้ป่วยติดเตียง ค
สารบัญภาพ
หน้า
ภาพที่ 27 กราฟแสดงแนวโนม้ ประชากรผู้สูงอายุเทศบาลเมอื งลำพนู 45
ภาพท่ี 28 กราฟแสดงสดั ส่วนจำนวนผู้สูงอายุอายุเทียบกบั ประชากรทง้ั หมดในเขต เทศบาลเมอื งลำพนู 46
ภาพท่ี 29 แผนภูมแิ สดงจำนวนสมาชกิ ชมรมผ้สู ูงอายเุ ทศบาลเมอื งลำพูน 46
ภาพท่ี 30 แผนภูมแิ สดงจำนวนชมุ ชนท่ีก่อตัง้ ชมรมผู้สูงอายใุ นชมุ ชนเขตเทศบาลเมอื งลำพนู 47
ภาพที่ 31 แผนภูมิแสดงจำนวนผู้รับบริการแยกตามสิทธิการรักษาคลินิกแพทย์แผนไทยประยุกต์
48
ภาพท่ี 32 แผนภมู ิแสดงรายรบั ทงั้ หมดของคลนิ กิ แพทย์แผนไทยประยกุ ต์ศนู ยบ์ รกิ ารสาธารณสขุ ฯ 48
ภาพที่ 33 กราฟแสดงความพึงพอใจผ้รู ับบริการศนู ยบ์ ริการสาธารณสขุ เทศบาลเมืองลำพนู 50
ภาพที่ 34 กราฟแสดงความพงึ พอใจผู้รบั บริการคลินิกแพทย์แผนไทย 50
๑
กองการแพทยเ์ ทศบาลเมอื งลาพนู
บทนา
เทศบาลเมืองลาพูนเป็นองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นท่ีจัดต้ังข้ึนโดยพระราชกฤษฏีกา
พ.ศ. 2479 มีพื้นท่ีรับผิดชอบ 6 ตารางกิโลเมตร แบ่งเป็น 17 ชุมชน มีประชากรกลางปี.ณ.วันที่
1 กรกฎาคม 2564 จานวน 11,627 คน มจี านวนบ้านท้ังหมด 3,842 หลงั คาเรือน ศนู ยบ์ ริการสาธารณสุข
เทศบาลเมืองลาพูน ดาเนินงานด้านสุขภาพภายใต้นโยบายของคณะผู้บริหารท่ีมาจากการเลือกต้ัง
มีปลัดเทศบาลเป็นข้าราชการประจา เป็นผู้นานโยบายไปสู่การปฏิบัติ นับตั้งแต่วันท่ี 13 ธันวาคม 2548
ศูนย์บริการสาธารณสุขเทศบาลเมืองลาพูน ได้สมัครขึ้นเป็นหน่วยบริการประจาในระบบหลักประกันสุขภาพ
ถ้ว น ห น้ ารู ป แ บ บ .“ค ลิ นิ ก ชุ ม ช น อ บ อุ่ น ”.แ ล ะโร งพ ย าบ าล ล าพู น เป็ น ห น่ ว ย บ ริ ก าร รั บ .-.ส่ งต่อ .โด ย ค ว าม
รับผิดชอบในการดาเนินงานของกองการแพทย์เทศบาลเมืองลาพูน.“คลินิกชุมชนอบอุ่น”.รูปแบบบริการด้าน
สุขภาพที่เอื้อประโยชน์แก่ประชาชน ให้สามารถเข้าถึงระบบบริการได้อย่างสะดวก รวดเร็ว ครบวงจร
มีมาตรฐานเน้นการดูแลสุขภาพแบบองค์รวม ด้านร่างกาย จิตใจ สังคม วัฒนธรรม ความเชื่อ ขนบธรรมเนียม
ประเพณี เศรษฐกิจสังคม ส่ิงแวดล้อม บุคคล ครอบครวั และชมุ ชน เปน็ หน่วยบรกิ ารประจา “ใกลบ้ ้าน ใกล้ใจ”
ตอบสนองความต้องการของประชาชนอย่างครอบคลุม ทัว่ ถึงทุกเพศ ทกุ วัย ภายใตว้ ิสยั ทัศน์ ในการทางานทว่ี ่า
“องค์กรปกครองส่วนทอ้ งถ่ินทีม่ ีความเปน็ เลศิ ในระบบบริการปฐมภูมิ”
การดาเนินงานของคลินิกชุมชนอบอุ่น ได้แสวงหาเครือข่ายร่วมในการดาเนินงาน
อย่างสม่าเสมอ เพื่อให้เกิดการพัฒนางาน ซ่ึงเครือข่ายสาคัญประกอบไปด้วย สานักงานหลักประกัน
สุขภาพ สนับสนุนงบประมาณเหมาจ่ายรายหัวและด้านวิชาการ รวมถึงการประเมินคุณภาพบริการรูปแบบ
หน่วยบริการประจา ศูนย์อนามัยท่ี 10 ร่วมกันพัฒนางานด้านการส่งเสริมสุขภาพ ร่วมการดาเนินงานต่างๆ
เช่น การดาเนินงานวัดส่งเสริมสุขภาพ การควบคุมป้องกันโรคต่างๆสานักงานสาธารณสุขจังหวัดลาพูน
สาธารณสุขอาเภอเมือง สนับสนุนด้านวิชาการ การประสานข้อมูลการดาเนินงานและการประสาน
แผนการปฏิบัติงานด้านการส่งเสริมสุขภาพ ควบคุมป้องกันโรคต่างๆ และการประเมินคุณภาพบริการ
ใน รู ป แ บ บ ต่ า ง ๆ .โร ง พ ย า บ า ล ล า พู น .ส นั บ ส นุ น ด้ า น วิ ช า ก า ร .ร่ ว ม พั ฒ น า เค รื อ ข่ า ย ใน ฐ า น ะ ข อ ง .CUP
(Contracting Unit for.Primary.Care).อาเภอเมือง.บริหารงานร่วมในรูปแบบคณะกรรมการประสานงาน
สาธารณสุขระดับอาเภอ (คปสอ.) ประสานแผนการดาเนินงานข้อมูลด้านสุขภาพต่างๆ การประเมินคุณภาพ
บริการในรูปแบบต่างๆ เช่น PCA และเป็นโรงพยาบาลรับส่งต่อผู้ป่วยท่ีต้องส่งตัวให้แพทย์เฉพาะทาง
ในการดูแลรักษา ด้านระบบการศึกษาโรงเรียนร่วมมือกันดาเนินการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ จนเป็นต้นแบบ
ของโรงเรียนต่างๆ ทง้ั โรงเรียนในสงั กดั เทศบาลและสังกดั อ่ืนๆ ศูนยก์ ารศึกษานอกโรงเรยี น สนับสนุนวิทยากร
ในการจัดอบรมอาชีพให้ผู้พิการ วัดสนับสนุนส่งเสริมให้วัดเข้าร่วมโครงการวัดส่งเสริมสุขภาพ โดยความ
ร่วมมือของวัดในรูปแบบ.“บวร”.(บ้าน วัด โรงเรียน).เข้าร่วมจัดการ ด้านส่ิงแวดล้อมของวัด.การดูแลสุขภาพ
ของบุคลากรในวดั และการสนับสนนุ การดูแลสุขภาพ ของประชาชน ปราชญ์ชาวบา้ น มีการเชญิ แพทยพ์ ืน้ บ้าน
หมอพื้นบ้านเป็นวิทยากรในการ ถ่ายทอดความรู้ด้านการแพทย์พ้ืนบ้านให้แก่ประชาชนทั่วไปจนสามารถ
ประกอบเป็นอาชีพ และนาภูมิปัญญาท้องถ่ิน มาผสมผสานในการรักษาพยาบาลควบคู่การแพทย์
แผนปัจจุบัน นอกจากน้ี ยังมีกลุ่มอาสาสมัครต่างๆ ท่ีเข้ามาร่วมสนับสนุนการปฏิบัติงานในชุมชนในการดูแล
สุขภาพ เช่น ชมรมอาสาสมคั รสาธารณสุข ชมรมผสู้ งู อายุ ชมรมผู้พิการ ชมรมอาสาสมคั รดแู ลผพู้ ิการ เปน็ ต้น
๒
การดาเนินนโยบายของคลินิกชุมชนอบอุ่นได้มองชีวิตและสุขภาพในแนว“สุขภาพแบบ
องค์รวม (Holistic Health)”.มองว่าสุขภาพเป็นเรื่องที่เกี่ยวข้องกับทั้งชีวิตมากกว่าการเน้นแค่ความเจ็บป่วย
หรือการจดั การส่วนใดส่วนหนึ่งของร่างกาย โดยจะพิจารณาท่ีตัวคนทง้ั คนความเก่ียวเน่ืองของ ร่างกาย จติ ใจ
วิญญาณ รวมถึงปัจจัยทางสังคม ส่ิงแวดล้อมต่างๆที่มีปฏิสัมพันธ์กับคนคนนั้น นอกจากน้ันแล้วยังนาแนวคิด
ทีว่ ่า สุขภาพและความเจ็บป่วยมีความสลับซับซ้อน ไมม่ ีระบบการแพทย์ใด สามารถตอบสนองปัญหาสุขภาพ
ได้อย่างพร้อมมูลตามลาพัง จึงบูรณาการ“แนวคิดพหุลักษณ์ทางการแพทย์”เข้ามาใช้ในการดูแลผู้ป่วย
โดยใช้การแพทย์แบบผสมผสานสุขภาพทางเลือกเพ่ือชุมชน โดยใช้สมุนไพรในท้องถ่ินมาใช้ในการรักษา
ร่วมกับการแพทย์แผนตะวันตก กล่าวคือ มีการสร้างความร่วมมือการแพทย์แผนไทย เข้ากับการแพทย์
ทางเลือก โดยนาจุดแข็งของแต่ละศาสตร์มาเสริมกัน นาภูมิปัญญาด้านการแพทย์และสุขภาพในท้องถ่ิน
มาเป็นฐานการพัฒนาสุขภาพทางเลือก.เช่น.มีการนาการตอกเส้นมาใช้ในการบริการแพทย์แผนไทย
และการใชย้ าสมนุ ไพรร่วมกบั ยาแผนปัจจุบัน
จุดเด่นที่ทาให้นโยบายดังกล่าวเกิดขึ้นได้อย่างสมบูรณ์น้ัน.คือการที่คลินิกชุมชนอบอุ่น
เทศบาลเมืองลาพูนมีบุคลากรท่ีมีศักยภาพและมีความพร้อม ได้แก่ แพทย์ ทันตแพทย์ พยาบาลวิชาชีพ
เภสัชกร นักอาชีวบาบัด เจ้าพนักงานทันตสาธารณสุข นักวิชาการสาธารณสุข และนักการแพทย์แผนไทย
เพ่ือให้สามารถดูแลจัดการสุขภาพประชาชนในเขตเทศบาลเมืองลาพูน อย่างครอบคลุมท่ัวถึงและตรงกับ
ความต้องการของประชาชน จึงได้มีการจัดการสุขภาพแบบองค์รวมด้วยพหุลักษณ์ทางการแพทย์
ในกลุ่มเป้าหมายทุกช่วงวัยเป็นการแบ่งกลุ่มในการจัดการสุขภาพเพ่ือการบริหารจัดการทรัพยากร บุคลากร
วัสดุอุปกรณ์ ยาและเวชภัณฑ์.ให้เกิดความเหมาะสมและมีประสิทธิภาพในการบริหารจัดการ.ประกอบด้วย
8.กลุ่ม ซง่ึ แตล่ ะกลมุ่ กต็ อ้ งมีการจดั การสขุ ภาพท่ีแตกต่างกนั ไป ดังนี้
1. กลุ่มหญิงต้ังครรภ์ ต้องมีการออกเย่ียมบ้านหญิงต้ังครรภ์ทุกราย.เพ่ือกระตุ้นให้ได้รับ
การฝากครรภ์และรับวัคซีนครบถ้วน.ให้คาแนะนาการดูแลสุขภาพช่องปากขณะตั้งครรภ์.การตรวจสุขภาพ
ช่องปากใหห้ ญงิ มีครรภ์ เมือ่ ออกเยี่ยมบ้านและเมือ่ พบโรคในช่องปากจึงนัด มารับบรกิ ารทันตกรรม
2. มารดาและทารกหลังคลอด ทีมเจ้าหน้าที่ได้ติดตามเยี่ยมบ้าน.เพ่ือให้คาแนะนา
การปฏิบัติตัวหลังคลอดท่ีถูกต้อง การดูแลสุขภาพทารกและส่งเสริมการเล้ียงลูกด้วยนมแม่ การแนะนา
การรับประทานอาหารพ้ืนบ้าน ให้คาแนะนาแก่มารดาในการดูแลช่องปากของทารก และของตัวมารดาเอง
ให้คาแนะนาเรื่อง การดูแลสุขภาพของมารดาและทารกหลังคลอดให้มีสุขภาพท่ีสมบูรณ์แข็งแรง
ไม่มีภาวะแทรกซ้อนหลังคลอดมีน้านมเพียงพอสาหรับเล้ียงบุตรทาการติดตาม การได้รับวัคซีนของเด็ก
ทารก ให้บริการฉดี วัคซีนในคลินิกเด็กดี การส่งเสริมพัฒนาการเด็กการให้ความรู้เร่ืองอาหารทีเ่ หมาะสมกับเด็ก
ตามช่วงวยั
3 . เด็ก 0 -5 ปี มีการติดตามพัฒ นาการของทารกแรกเกิดไปจนถึงอายุ 5 ขวบ
วา่ มีพัฒนาการเหมาะสมตามวัยหรือไม่ หากพบความผิดปกติ เช่น เด็กออทิสติก หรือมีความผิดปกติทางสมอง
ก็จะนานาและติดตามผู้ปกครอง ช่วยในด้านพัฒนาการของเด็กให้ดีข้ึนด้วยวิธีการทางการแพทย์ที่เหมาะสม
รวมไปถึงการได้รับตรวจสขุ ภาพช่องปาก
๓
4. เดก็ วัยเรยี น เมื่อเด็กถึงวัยเรียนทางคลินิกได้ตรวจสุขภาพเด็กและตดิ ตาม การได้รับวัคซีน
ของเด็กนักเรียนชั้นประถมศึกษาการตรวจสุขภาพช่องปากเพ่ือคัดกรองโรคในช่องปาก ให้บริการทันตกรรม
นกั เรยี นทีม่ ีปัญหาสุขภาพชอ่ งปาก เพื่อแก้ไขปัญหาฟันผุในนักเรียน มีการอบรมผู้นานกั เรยี นด้านสุขภาพให้เด็ก
มคี วามรู้และทกั ษะในการดูแลสุขภาพเบ้อื งต้น เพ่ือเปน็ ตวั อย่างท่ีดีให้แก่เพ่ือนนักเรยี น.จัดอบรมอย.น้อยเพอื่ ให้
เด็กนักเรียนในโรงเรียนได้รับรู้ถึงข้อมูลในเรื่องของโภชนาการที่เหมาะสม ส่งเสริมการรับประทานผักผลไม้
และอาหารท่ีปลอดสารพิษ รวมถึงเด็กท่ีมีภาวะโภชนาการเกิน หรือเด็กอ้วนให้ได้รับการอบรมเพ่ือการ
ปรบั เปลี่ยนพฤติกรรม การบริโภค
5. วัยเจริญพันธุ์ คลินิกชุมชนอบอุ่นได้ดาเนินงานใน 5 ด้าน ได้แก่ การส่งเสริมสุขภาพ
การควบคุมป้องกันโรค การรักษาพยาบาล การฟ้ืนฟูสมรรถภาพ รวมถึงส่งเสริมการแพทย์แผนไทย ซึ่งเป็น
ระบบการแพทย์พื้นบ้าน (Folk Sector) ควบคู่กับระบบการแพทย์แผนปัจจุบัน (Professional sector) โดย
ดาเนินกิจกรรมแบบองค์รวม เพื่อตอบสนองท้ังทางด้านร่างกาย จิตใจ ตลอดจนสังคม และสภาพแวดล้อม
โดยรวม เพือ่ นาไปสู่การเกิดสุขภาวะทดี่ ีแก่ประชาชน และเน่ืองจากกลุ่มวัยนีเ้ ป็นกล่มุ ทมี่ ีภาวะเสี่ยงต่อการเกิด
โรคเรอื้ รัง โดยกิจกรรมเริม่ แรกได้ทาการ คัดกรองโรคเรื้อรงั ให้แก่ประชาชน จากนัน้ นาผลท่ไี ด้จากการคัดกรอง
มาจาแนกประชาชนออกเป็น 3 กลุ่ม คือ กลุ่มปกติ กลุ่มเสี่ยง และกลุ่มป่วย จากน้ันจึงดาเนินกิจกรรม
ให้สอดคลอ้ งกบั สภาวะสขุ ภาพของประชาชนแต่ละกลมุ่ โดยมีการผสมผสานระบบการแพทยแ์ บบพหุลักษณ์
6.ผู้สูงอายุ คลินิกชุมชนอบอุ่นให้บริการด้านสุขภาพกลุ่มสูงวัยแบบพหุลักษณ์ โดยจัดต้ัง
คลินิกแพทย์แผนปัจจุบัน คลินิกแพทย์แผนไทยให้บริการสุขภาพแบบผสมผสาน โดยการประสานงานส่งต่อ
ผู้รับบริการระหว่างการรักษาท้ังสองคลินิก เพื่อดูแลสุขภาพประชากรสูงวัย เม่ือมีภาวะเจ็บป่วยโดยแผน
ปัจจุบันบริการดูแลตรวจรักษาโรคทั่วไป การแพทย์แผนไทยให้บริการด้านยาสมุนไพร รวมทั้งกิจกรรมฟ้ืนฟู
สุขภาพประชากรสูงวัย เช่น บริการนวดตัว ประคบสมุนไพรและอบไอน้าสมุนไพร นอกจากนี้ยังได้จัดอาคาร
ศูนย์บริการผู้สูงอายุ ให้บริการกลุ่มผู้สูงอายุในทากิจกรรม.เช่น.กิจกรรม ฟังธรรมะบรรยาย การออกกาลังกาย
การร้องเพลง การให้ความรู้โดยทีมสหวชิ าชีพ เป็นต้น ซ่ึงการดาเนินงานแบบผสมผสานระหว่างการแพทย์แผน
ปจั จุบนั และการแพทยแ์ ผนไทย มีผสู้ งู วัยสนใจมารับบรกิ าร.เขา้ ร่วมกจิ กรรมส่งเสรมิ สขุ ภาพประจาทุกเดือน
7. ผู้พิการ เน้นท่ีการประสานความร่วมมือและการช่วยเหลือเก้ือกูลกันระหว่าง คนในชุมชน
ดาเนินการโดยชุมชน เพ่ือชุมชนที่เข้มแข็ง และชุมชนมีความเข้าใจและยอมรับ ในศักยภาพคุณค่าของผู้พิการ
โดยมีเจ้าหน้าที่สาธารณสุขเป็นผู้สนับสนุนและเอื้อให้เกิดการพัฒนา ผู้พิการทุกรายได้รับการเยี่ยมบ้าน
โดยเจ้าหน้าที่สาธารณสุขและทีมสหวิชาชีพ ประกอบไปด้วย แพทย์ พยาบาล เภสัชกร นักอาชีวบาบัด
เจา้ พนกั งานทันตกรรม และนกั การแพทยแ์ ผนไทย
8. กลุ่มป่วย คลินิกชุมชนอบอุ่นมีการจัดการดูแลรักษาพยาบาลผู้รับบริการในกลุ่มป่วย
ดว้ ยพหุลักษณ์ทางการแพทย์ โดยเฉพาะอย่างย่ิงกลุ่มผู้ปว่ ยที่เป็นโรคอันดับแรกๆในพื้นทอ่ี ันได้แก่ โรคความดัน
โลหิตสูงและโรคเบาหวาน โดยนาการรกั ษาด้านการแพทย์แผนปัจจุบัน มาประยกุ ต์ร่วมกับการแพทย์แผนไทย
มีการติดตาม กากับดูแลอย่างต่อเน่ือง ติดตามการรับประทานยาตามแผนการรักษา การให้องค์ความรู้ในการ
ปรับเปลย่ี นพฤติกรรมสขุ ภาพ เพือ่ ใหไ้ มเ่ กิดภาวะแทรกซ้อนในอนาคต
๔
บทบาทหนา้ ทกี่ องการแพทย์
การรักษาพยาบาล
คลินิกชุมชนอบอุ่นเทศบาลเมืองลาพูน ทาการตรวจรักษาโดยแพทย์.ทันตแพทย์.เภสัชกร
พยาบาลวชิ าชีพ และเจา้ หนา้ ท่อี น่ื ๆทีเ่ กี่ยวข้อง เปดิ ให้บริการตั้งแตว่ ันจันทร์.-.วันศกุ ร์ เวลา 08.00 - 18.00.น.
และในวันเสาร์ เวลา 09.00 - 16.00 น. และเข้าร่วมในระบบการแพทย์ฉุกเฉินของจังหวัดลาพูน ให้บรกิ าร
รถพยาบาลฉุกเฉิน ในระดับการปฏิบัติการฉุกเฉินเบ้ืองต้น แก่ประชาชนในเขตเทศบาลเมืองลาพูน
ตลอด 24 ช่ัวโมง ในการรักษาพยาบาล แบ่งออกเป็น 2 แนวทางการรักษา คือ การรักษาแผนปัจจุบัน
และการแพทย์แผนไทยประยุกต์
ด้านการแพทย์แผนปัจจุบัน นอกเหนือจากการตรวจรักษาโรคทั่วไปแล้ว ยังเปิดให้บริการ
คลินิกพิเศษ ได้แก่ คลินิกโรคความดันโลหิตสูง คลินิกโรคเบาหวาน คลินิกเด็กดี คลินิกทันตกรรม การตรวจ
รักษาโดยแพทย์เฉพาะทางคลินิกโรคกระดูกและข้อ คลินิกเฉพาะทางกุมารเวช อีกท้ังยังให้บริการฝากครรภ์
มีคลินกิ ให้คาปรกึ ษาปญั หาสุขภาพจติ .คลินกิ เลกิ บุหรี่.คลินิกโรคหอบหืด.รวมท้ังได้ดาเนนิ การคลินิกปรับเปล่ียน
พฤติกรรมสุขภาพสาหรบั ผูป้ ่วยโรคความดนั โลหิตสงู และโรคเบาหวานที่ไมส่ ามารถควบคุมอาการได้
ดา้ นการแพทย์แผนไทยประยกุ ต์ ผปู้ ่วยทุกสทิ ธิบัตรสามารถเข้าถึงบรกิ ารไดโ้ ดยเฉพาะผมู้ สี ิทธิ
หลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า.สามารถเข้ารับบริการได้โดยไม่เสียค่ารักษาพยาบาลใดๆ.ให้บริการนวดตัว
นวดกดจุด นวดฝ่าเท้า ประคบสมุนไพร อบสมุนไพร การรักษาโรคด้วยยาสมุนไพร ตลอดจนการฟื้นฟู
มารดาหลงั คลอด เช่น การนงั่ กระโจม การทับหม้อเกลือ เป็นต้น
การส่งเสรมิ สขุ ภาพ
การดูแลส่งเสริมสุขภาพหญิงต้ังครรภ์ มารดาและทารกหลังคลอด เด็กก่อนวัยเรียน
ทาการติดตามเย่ียมบ้านหญิงต้ังครรภ์ เพื่อส่งเสริมการฝากครรภ์และการได้รับวัคซีนรวมทั้งให้คาแนะนาเร่ือง
การดูแลสุขภาพของหญิงตั้งครรภ์ ทาการติดตามเยี่ยมมารดาและทารกหลังคลอด เพื่อส่งเสริมการได้รับวัคซีน
การเล้ียงลูกน้อยด้วยนมแม่ ตลอดจนประเมินพัฒนาการของทารกแรกเกิดจนถึงวัยเด็ก อีกทั้งยังดาเนินการ
ประเมินศูนย์เด็กเล็กน่าอยู่ปลอดโรคร่วมกับสานักงานสาธารณสุขจังหวัดลาพูน โดยศูนย์เด็กเล็กเทศบาล
เมอื งลาพูนได้รบั การประเมนิ ผา่ นมาตรฐาน ศนู ย์เดก็ เล็กคณุ ภาพ
การส่งเสริมสุขภาพเด็กวัยเรียนและวัยรุ่น มีการจัดกิจกรรมโครงการต่างๆ .ท้ังในและนอก
สถานศึกษา เช่น โครงการอบรมผู้นานักเรียน โครงการอบรม อสม.น้อย โครงการอนามัยโรงเรียน เป็นต้น
มีโรงเรียนที่อยู่ในความดูแลของคลินิกชุมชนอบอุ่นท้ังหมด.5.โรงเรียน.ได้รับการประเมินโรงเรียนส่งเสริม
สุขภาพระดบั เพชร 1 โรงเรียน ระดบั ทอง 3 โรงเรียนและระดบั เงิน 1 โรงเรียน
การส่งเสริมสุขภาพประชาชนทั่วไป และผู้สูงอายุ ศูนย์บริการสาธารณสุขฯ ได้มีการจัด
กจิ กรรมโครงการด้านการสง่ เสรมิ สุขภาพเปน็ ประจาทกุ ปี โดยได้เชญิ ชวนประชาชนเทศบาลเมืองลาพูนเขา้ รว่ ม
กิจกรรม อีกทั้งชุมชนในเขตเทศบาลเมืองลาพูนได้จัดตั้งชมรมสร้างสุขภาพในชุมชน เช่นชมรมเต้นแอโรบิค
ชมรมลีลาศ .และชมรมผู้สูงอายุทั้งหมด 18 ชมรม โดยกิจกรรมต่างๆ ของชมรมมุ่งเน้นการส่งเสริมสุขภาพ
ท้ังด้านร่างกายและจิตใจ มีการส่งเสริมกิจกรรมทางเลือกต่างๆ ที่เหมาะสมกับผู้สูงอายุ เช่น การฟังธรรม
บรรยาย การออกกาลงั กาย กจิ กรรมการใหค้ วามรูใ้ นดา้ นตา่ งๆ ทเี่ ปน็ ประโยชนต์ ่อผสู้ งู อายุ เป็นต้น
๕
การส่งเสริมสุขภาพพระสงฆ์ โดยได้รับความร่วมมือจากวัดในเขตเทศบาลเมืองลาพูน
ทั้งหมด 19 วัด ซ่ึงได้เข้าร่วมโครงการวัดส่งเสริมสุขภาพ โดยการสนับสนุนของศูนย์อนามัยที่ 10 เชียงใหม่
และสานักงานสาธารณสุขจังหวัดลาพูน ได้รับการประเมินวัดส่งเสริมสุขภาพ และผ่านเกณฑ์ทั้งหมด 19 วัด
คิดเปน็ รอ้ ยละ 100
การควบคมุ และปอ้ งกนั โรค
การดาเนินงานควบคุมและป้องกันโรค ได้แบ่งออกเป็น 2 แนวทาง คือ การควบคุมป้องกัน
โรคติดตอ่ และการควบคมุ ปอ้ งกันโรคไมต่ ดิ ต่อ
การควบคุมปอ้ งกันโรคติดตอ่ ท่สี าคัญ
โรคไข้เลือดออก เป็นปัญหาทางด้านสาธารณสุขที่สาคัญในเขตเทศบาลเมืองลาพูน
ในการปฏิบัติงาน เน้นการทางานเชิงรุกของเจ้าหน้าที่ศูนย์บริการฯ และอาสาสมัครสาธารณสุขเทศบาล
เมืองลาพูน ทั้ง 17 ชุมชน ในการออกสารวจและกาจัดแหล่งเพาะพันธ์ุยุงลาย จัดกิจกรรมเดินรณรงค์
แจกแผ่นพับและทรายกาจัดลูกน้าในชุมชน และประสานกองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อมเทศบาลเมืองลาพูน
และองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินใกล้เคียงออกพ่นหมอกควันในชุมชน เพื่อเป็นการควบคุมการระบาด
ของโรคไข้เลอื ดออก
โรคไข้หวัดใหญ่ ดาเนินการจัดกิจกรรมรณรงค์เคาะประตูบ้านทั้ง 17 ชุมชนรวมถึง
สถานศึกษาท่ีอยู่ในความรับผิดชอบ โดยแจกหน้ากากอนามัยและแผ่นพับ เพ่ือให้ประชาชนและผู้ป่วยด้วย
โรคระบบทางเดินหายใจสวมใส่หน้ากากอนามัย ล้างมือให้สะอาดถูกวิธี 7 ข้ันตอน และปฏิบัติตามหลัก
สุขบัญญัติแห่งชาติ 10 ประการ เพื่อลดโอกาสเสี่ยงต่อการสัมผัสเช้ือโรคและป้องกันการแพร่กระจาย
ของเช้ือโรค และยังจัดทาบทความประชาสัมพันธ์ให้ความรู้แก่ประชาชนทางเสียงตามสายท้ัง 17 ชุมชน
ในช่วงท่ีมีการระบาดของโรค ได้จัดทีมรณรงค์ให้สุขศึกษาแก่เด็กนักเรียนทุกโรงเรียนท่ีรับผิดชอบ
และมอบหมายให้ครูอนามัยโรงเรียนทาการคัดกรองนักเรียนในตอนเช้า พรอ้ มท้ังรายงานผลเมอื่ พบจานวนเด็ก
นักเรียนที่ป่วยมากผิดปกติ และทีมเฝ้าระวังสอบสวนเคลื่อนท่ีเร็วของเทศบาลเมืองลาพูน (SRRT)
จะดาเนินการประสานงานกับสานักงานสาธารณสุขจังหวัดลาพูน ติดตามและคัดกรองผู้ป่วยด้วยโรคระบบ
ทางเดินหายใจท่ีมารับบริการทุกราย พร้อมส่งรายงานการเฝ้าระวังโรคให้กับกลุ่มงานควบคุม และป้องกันโรค
ทั้งน้ใี นปี 2564 ไดร้ บั การสนับสนนุ วคั ซนี ป้องกนั โรคไข้หวัดใหญ่ตามฤดกู าลจากสานักงานหลกั ประกันสุขภาพ
แห่งชาติ จานวน 1,050 โด๊ส เพ่ือให้บริการแก่ประชาชนกลุ่มเสี่ยงในพ้ืนที่เขตเทศบาลเมืองลาพูน
ตามที่กระทรวงสาธารณสุขกาหนดหลักเกณฑ์ในการให้บริการแก่ประชาชนกลุ่มเป้าหมายซ่ึงได้ดาเนินงาน
เปน็ ทเี่ รียบรอ้ ยแลว้ ในเดอื นพฤษภาคม 2564
โรควัณโรค ได้ดาเนินการเชิงรุกร่วมกับทีมอาสาสมัคราธารณสุขเทศบาลเมืองลาพูน
ออกคัดกรองโรควัณโรคแก่ประชาชนทั้ง.17.ชุมชน.ส่วนผู้ป่วยโรควัณโรคท่ีได้รับการขึ้นทะเบียนแล้ว
ทีมสหวิชาชีพนาทีมโดยแพทย์จะออกติดตามเย่ียมบ้านเป็นประจาเพื่อเฝ้าติดตามอาการ และให้คาแนะนา
เรอ่ื งการปฏิบัติตัวทถ่ี กู ตอ้ งของผู้ปว่ ย.เชน่ .การรบั ประทานยาทต่ี ่อเน่อื งถูกวิธี การพบแพทยต์ ามนดั เป็นตน้
๖
โรคติดเชื้อไวรัสโคโรน่า 2019 ศูนย์บริการสาธารณสุขได้ดาเนินการในการป้องกัน
และควบคุมโรค ตามมาตรการและคาสั่งคณะกรรมการโรคติดต่อจังหวัดลาพูน โดยดาเนินการล งพื้นท่ี
สอบสวนโรค ควบคมุ กากับติดตามทัง้ ผ้ปู ่วย และผู้สัมผัสทม่ี ีความเสี่ยง และได้มกี ารประสานงานจากภาคีหลาย
ภาคส่วนในกระบวนการทางานป้องกนั ควบคุมโรคตดิ เชอ้ื ไวรัสโคโรน่า 2019 โดยมี ผนู้ าชมุ ชน อสม.เทศบาล
เมืองลาพูน.อาเภอเมืองลาพูน.สานักงานสาธารณสุขอาเภอเมืองลาพูน.โรงพยาบาลลาพูน.และสานักงาน
สาธารณสุขจังหวดั ลาพนู
การควบคุมปอ้ งกันโรคไมต่ ิดต่อท่ีสาคัญ
โรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน เป็นโรคไม่ติดต่อที่เป็นปัญหาสาธารณสุขที่สาคัญ
ในเขตเทศบาลเมืองลาพูน คลินิกชุมชนอบอุ่นได้ดาเนินการเฝ้าระวัง ค้นหาผู้ป่วยโดย การคัดกรองโรค
ความดันโลหิตสูง และโรคเบาหวานให้แก่ประชาชนในเขตเทศบาลเมืองลาพูน ท่ีมีอายุต้ังแต่ 35 ปีข้ึนไป
ท้ัง 17 ชุมชน เมื่อค้นพบกลุ่มเส่ียงแล้วได้แนะนาให้ได้รับการวินิจฉัยโดยแพทย์ท่ีคลินิกชุมชนอบอุ่น
เพื่อที่จะได้รับคาแนะนาในการดูแลสุขภาพของตนเอง และได้รับการรักษาโรคอย่างถูกวิธีต่อไป ในปี 2564
ได้ดาเนินการคัดกรองโรคความดันโลหิตสงู และโรคเบาหวานให้กับประชาชนอายุ 35 ปีข้ึนไป จานวน 5,570
คน คิดเปน็ ร้อยละ 95.57
โรคระบบหลอดเลือดและหัวใจ ได้ดาเนินกิจกรรมการความรู้แก่ประชาชนเกี่ยว
กับพฤติกรรมต่างๆที่เป็นปัจจัยเส่ียง อันจะทาให้เกิดโรคระบบหลอดเลือดและหัวใจเพื่อให้ประชาชนมีความรู้
ความเข้าใจที่ถูกตอ้ งในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสขุ ภาพ และดูแลตนเองให้มสี ุขภาพท่ดี ี
โรคมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเตา้ นม สาหรบั สตรีท่ีมีอายตุ ง้ั แต่ 30 - 60 ปี ในเขตเทศบาล
เมืองลาพูนประจาปี 2564 คลินิกชุมชนอบอุ่นได้ทาการเฝ้าระวังโรคด้วยการจัดอบรม ให้ความรู้
แก่อาสาสมัครสาธารณสุขเพื่อเป็นพื้นฐานในการออกคัดกรองกลุ่มเป้าหมายทั้ง.17.ชุมชน เป้าหมายการคัด
กรองมะเร็งปากมดลูก 2,342 ราย ได้รับการตรวจคัดกรอง จานวน 2,052 ราย คิดเป็นร้อยละ 87.62
และคัดกรองมะเร็งเต้านมเป้าหมาย 3,287 ราย ได้รับการตรวจคัดกรอง จานวน 2,๙5๙ ราย คิดเป็นรอ้ ยละ
92.02
การควบคุมและป้องกันโรคด้วยการส่งเสริมการให้วัคซีน คลินิกชุมชนอบอุ่นเทศบาล
เมืองลาพูน ได้ให้บริการวัคซีนแก่เด็กก่อนวัยเรียนในคลินิกเด็กดีทุกวันพุธ และดาเนินงานอนามัยโรงเรียน
ด้วยการเสริมสรา้ งวัคซีน ในโรงเรยี นสงั กดั เทศบาลเมอื งลาพนู และศูนย์พัฒนาเด็กเล็กท่ีอยู่ในความรับผดิ ชอบ
๗
การฟ้ืนฟูสมรรถภาพผู้ป่วยและงานเยย่ี มบ้าน
ก าร ฟื้ น ฟู ส ม รรถ ภ า พ แ ล ะ งาน เยี่ ย ม บ้ าน ด า เนิ น ก าร โด ย ที ม ส ห วิช าชี พ .ป ระ ก อ บ ด้ ว ย
แพทย์ เภสัชกร พยาบาลวิชาชีพอและนักอาชีวบาบัด ออกเยี่ยมผู้ป่วยโรคเรื้อรัง ผู้พิการ ผู้ที่มีปัญหาทางด้าน
สติปัญญาและผู้ท่ีมีปัญหาสุขภาพจิตที่ได้รับการส่งต่อจากโรงพยาบาลลาพูน และจากการสอดส่องดูแล
ประชาชนในชุมชน โดยอาสาสมัครสาธารณสุขสารวจและประสานข้อมูลเจ้าหน้าที่ศูนย์บริการฯ จากน้ันทีม
สหวชิ าชีพจะดาเนินการวางแผนการเย่ียมบ้าน โดยแบ่งตามเกณฑ์ประเภทของผู้ป่วยและตามระดับของปัญหา
ทางดา้ นสขุ ภาพ ตลอดจนความตอ้ งการ.ในการดูแล และความสามารถในการช่วยเหลือตนเองของผ้ปู ว่ ย
การเยี่ยมบ้านท่ีนาทีมโดยแพทย์จะออกเย่ียมสัปดาห์ละ 2 คร้ัง ทุกวันอังคาร และวันศุกร์
ส่วนผู้ป่วยอื่นๆจะมีทีมสขุ ภาพประจาชมุ ชนออกเย่ยี มตามแผนงานทีไ่ ดก้ าหนด ปัจจุบันชุมชนไดใ้ ห้ความสาคัญ
ในการดูแล ผทู้ ่ีมปี ัญหาสุขภาพจติ และผู้พิการ ในชุมชนจงึ ได้ร่วมกันจัดตั้งแกนนาสุขภาพจิตในชุมชนและชมรม
อาสาสมคั รดูแลผ้พู กิ าร โดยแกนนาสุขภาพจติ และอาสาสมคั รดูแลผพู้ ิการได้ผา่ นการฝกึ อบรมหลกั สูตร การเฝ้า
ระวังปัญหาสุขภาพจิต ในชุมชนและการดูแลผู้พิการ โดยสามารถออกปฏิบัติงานดูแลผู้ที่มีปัญหาสุขภาพจิต
และผู้พิการในชุมชนได้ สาหรับผู้พิการในเขตเทศบาลน้ัน ได้จัดต้ังชมรมเพื่อนช่วยเพ่ือนผู้พิการเทศบาลเมือง
ลาพูน เพอื่ ใหผ้ พู้ ิการไดท้ ากจิ กรรมตา่ งๆร่วมกนั
งานคลินิกแพทย์แผนไทยประยุกต์ศูนย์บริการสาธารณสุขเทศบาลเมืองลาพูน ยังได้มีการลง
พ้ืนที่เยี่ยมผู้สูงอายุ.ผู้พิการ.และผู้ป่วยโรคเร้ือรัง.ได้จัดทีมแพทย์แผนไทยได้การเยี่ยมบ้านสัปดาห์ละ.2.คร้ัง
ทุกจันทร์ และวันพฤหัสบดี โดยนาองค์ความรู้ด้านศาสตร์การแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก ไปดูแล
ประชาชนในชมุ ชน
การจัดกิจกรรมกายภาพบาบัด หรือกิจกรรมบาบัดโดยมีการนัดหมายผู้ป่วยท่ีเห็นสมควร
ท่ีจะได้รับการบาบัดฟ้ืนฟูทางกาย เข้ามารับบริการฟ้ืนฟู ภายใต้การกากับติดตามดูแล ประเมินผลโดย
นกั อาชีวบาบัด โดยจะให้บริการสัปดาหล์ ะ 2 คร้งั ในวนั จนั ทรแ์ ละวันพฤหัสบดี
งานสขุ ศกึ ษา
การดาเนินงานสุขศึกษาในสถานบริการ ได้จัดกิจกรรมให้สุขศึกษาในระหว่างท่ีผู้ป่วยรอรับ
บริการในช่วงเช้า โดยกิจกรรมเน้นให้ผู้ป่วยได้แลกเปล่ียนประสบการณ์และความคิดเห็นในการดูแลสุขภาพ
ของตนเองตลอดจนให้ความรู้ และเปิดโอกาสให้ผู้ป่วยได้ซักถามและมีส่วนร่วมในกิจกรรม เพื่อให้เข้าใจสภาพ
ความเจ็บป่วยของตนเองและผู้อื่น ภายในคลินิกได้จัดให้มีมุมสุขศึกษามีวารสารด้านสุขภาพ แผ่นพับ เอกสาร
ความรู้ต่างๆ บอร์ดนิทรรศการเกี่ยวกับสุขภาพอนามัยเพ่ือให้ผู้มารับบริการสามารถศึกษาค้นคว้าสาระน่ารู้
ต่างๆ ในช่วงเวลาท่ีรอรับบริการ และยังมีการดาเนินงานสุขศึกษานอกสถานบริการด้านการให้ความรู้ การเป็น
วิทยากรให้ความรู้แกป่ ระชาชนเทศบาลเมอื งลาพนู ในชมุ ชน
งานพฒั นาองคก์ ร
การดาเนินงานของคลินิกชุมชนอบอุ่นเทศบาลเมืองลาพูน ด้านการส่งเสริมสุขภาพ
การควบคุมและป้องกันโรค การฟ้ืนฟูสมรรถภาพ ได้รับงบประมาณสนับสนุนจากกองทุนระบบหลักประกัน
สขุ ภาพเทศบาลเมอื งลาพูน และจัดใหม้ ีการพฒั นาบุคลากรภายในองคก์ ร โดยการจัดประชุมทีมงานเป็นประจา
อย่างน้อยเดือนละ 1 ครั้ง และจัดให้มีการประชุมวิชาการแก่บุคลากรอย่างสม่าเสมอ โดยวิทยากรภายนอก
องค์กรและบุคลากรภายในองค์กรเป็นผู้ให้ความรู้ เพ่ือเป็นการฟ้ืนฟูและเพ่ิมเติมความรู้ทางด้านวิชาการ
ให้บุคลากรสามารถนาไปใช้ในการดาเนินงานได้ จัดให้มีการประเมินผลการทางานและประเมินความพึงพอใจ
ของผู้รับบริการเป็นประจาทุก 6 เดอื น
๘
แผนทเ่ี ทศบาลเมอื งลาพนู แยกรายชมุ ชน
เทศบาลเมืองลาพูน
สัญลักษณ์
ชมุ ชน
ชมุ ชนจามเทวี
ชมุ ชนชยั มงคล
ชมุ ชนชา่ งฆอ่ ง
ชมุ ชนทา่ ขามบา้ นฮอ่ ม
ชมุ ชนบา้ นทา่ นาง
ชมุ ชนบา้ นหลวย
ชมุ ชนประตลู ี้
ชมุ ชนพระคงฤาษี
ชมุ ชนมหาวนั
ชมุ ชนศรบี ญุ เรอื ง
ชมุ ชนสวนดอก
ชมุ ชนสนั ดอนรอม
ชมุ ชนสนั ป่ ายางหนอ่ ม
ชมุ ชนสนั ป่ ายางหลวง
ชมุ ชนหนองเสง้
ชมุ ชนหนา้ สถานนีรถไฟ
ชมุ ชนไกแ่ กว้
โครงสรา้ งการบรหิ ารงานกอ
นางทศั นยี
หัวหนา้ งาน
รก.ผอ.ก
งานธรุ การ งานการเงนิ และบญั ชี งานศนู ยบ์ รกิ า
นางสาวรัตติยา มูลยศ นางสาวนุชจรพี นั ธ์ุ คงจิตงาม นางทัศนยี ์ ส
เจา้ พนกั งานธรุ การ นกั วชิ าการการเงนิ และบญั ชี พยาบาลวชิ าชพี ช
นางสาวอรพรรณ เตชะนนั ท์ - นางสาวนารีรัตน์ จินาใหม่
- นางสาวอริศรา สวุ รรณนคร
ผช.เจ้าพนกั งานธรุ การ - นางสาวพรไพลนิ ตาพนสั
- นางสาวณัฐนนั ท์ มน่ั คง
งานรกั ษาพยาบาล - นางสาวอัจฉรา ใจเรอื น
- นายศริ พิ ัฒน์ โอกระจ่าง (ผช.เจา้ พนักงานการเงนิ และบญั ช)ี
(นายแพทย)์ งานสง่ เสรมิ สขุ ภาพ งานควบคมุ ปอ้ งกันโรค
- นางสาววราภรณ์ มลู ธง - นางณัฏฐนิชา โสภณจติ ร - นางสาวเมธนิ ี งานดี
- นางสาวอภญิ ญา จันทร์ต๊ะอินทร์ - นางประภัสสร เครือผวิ
(พยาบาลวชิ าชพี )
(พยาบาลวชิ าชพี ) (พยาบาลวชิ าชพี ) - นางสาวชนกิ านต์ จาเตจะ๊
- นางสาวนงนุช พรหมสวรรค์
นางสาวณัฐชานนทน์ วงคเ์ ตงิ งานทะเบยี นและบตั ร (ผช.นวก.สาธารณสขุ )
- นางสาวจิรัฐติกาล เนตรสัก - นางสมศรี กันทะวงค์
- นางสาวหนง่ึ ฤทัย ขนั นารัตน์ (จนท.งานทะเบยี นและบตั ร) งานสวน
- นางสาวกมลทพิ ย์ ปกติ - นายบรรจง นพบรุ ี
(ผชู้ ่วยพยาบาล) (ผช.งานทะเบยี นและบตั ร) - นายนพพร เขยี วธง
- นายวทิ รู ณ์ กรุณา
- นายฤทธศิ ักด์ิ เปง็ วนั นา (คนสวน)
- นายรัตนศกั ด์ิ หนอ่ ใหม่
- นายพงศ์สันต์ แกว้ อดุ๊
- นายพงศกร คาตา
- นายสุรพงษ์ มหาไม้
- นายกฤษดา กนั เกตุ
(ผชู้ ่วยเหลอื คนไข)้
องการแพทย์ เทศบาลเมอื งลาพนู ๙
ย์ สทุ ธไิ ชยากลุ
นศนู ยบ์ รกิ ารฯ
กองการแพทย์
ารสาธารณสขุ งานทนั ตสาธารณสขุ งานสง่ เสรมิ ภมู ปิ ญั ญาฯ
สทุ ธิไชยากุล นางสาวพชิ ญาณี ชมุ พลกุล นายปวีณ เอี่ยมฤทธ์ิ
ชานาญการพเิ ศษ นกั วชิ าการสาธารณสขุ
ทนั ตแพทย์
- นางสาววรรณนสิ า เนตรสุ
- นางเครือวลั ย์ เครอื ผิว - นางสาววรานันทน์ ยอดลลิ า
(เจา้ พนักงานทนั สาธารณสขุ ) - นางสาวเรนกุ า เขียววงศต์ ัน
- นางสาวบงกชธร อินตะ๊ เหลก็ - นางสาวกานต์พชิ า จมุ ป๋าน้า
(ผช.เจา้ หนา้ ท่ที นั ตกรรม) (แพทยแ์ ผนไทย)
งานฟนื้ ฟสู มรรถภาพภาพ งานเภสชั กรรม งานiระบบคอมพวิ เตอร์
- นางเทพนที อุนจะนา - นายพงษ์นรินทร์ จินดา - นายนพดล อรุณวรพทิ กั ษ์
- นางสาวโฉมชฎา ดวงเกิด
(พยาบาลวชิ าชีพ) (นกั วชิ าการคอมพวิ เตอร)์
- นางสาวรงุ่ ชฎาพร ใจยา (เภสชั กร) - นางสาวนรศิ รา สรุ ยิ ะธง
นางสาวพชิ ญาพร กนั ตศี ิลป์ (ผช.เจา้ หนา้ ทบี่ ันทกั ขอ้ มลู )
(นักอาชวี บาบดั ) - นางสาวอรพินธ์ สมสาร
- นางสาวธนาภรณ์ ซอนสุข ผช.งานเภสชั กร
(ผชู้ ่วยนกั ประชาสมั พนั ธ)์
(ผช.นกั อาชวี บาบดั ) งานแมบ่ า้ น
ชยมาลา - นางพลอยเพ็ชร สรุ ิยะมะโน
- นางสาววาณี โทะ๊ ทองซวิ
(ผชู้ งว่ ายนนยกั าอนายชนวี ตบ์ าบดั ) - นางจันจิรา บญุ บผุ า
- นายพนั ธ์ศักดิ์ อินทะชยั
- นายรชานนท์ กาพยต์ ุ้ม (แมบ่ า้ น)
(พนกั งานขบั รถยนต)์
๑๐
วสิ ยั ทศั น์ พนั ธกจิ กองการแพทยเ์ ทศบาลเมอื งลาพนู
วิสยั ทัศน์
"องคก์ รปกครองส่วนท้องถ่นิ ท่มี คี วามเป็นเลิศในระบบบริการปฐมภมู ิ”
พนั ธกจิ
1. สร้างหลกั ประกนั สขุ ภาพให้ครอบคลมุ ประชาชนทุกครัวเรอื นในเขตเทศบาลเมืองลาพนู
2. ใหก้ ารรักษาพยาบาลท่ีได้มาตรฐาน มคี วามสอดคลอ้ งต่อเนอ่ื งระหว่างสถานบริการสุขภาพและบ้าน
3. ส่งเสรมิ สขุ ภาพและฟน้ื ฟสู มรรถภาพให้ประชาชนมีสขุ ภาวะทง้ั ทางกายและใจ
4. ป้องกันโรคและควบคมุ โรคเพื่อลดการเจ็บปว่ ยของประชาชนให้การรกั ษาพยาบาลท่ีไดม้ าตรฐาน
5. พฒั นาการแพทยแ์ ผนไทยและภมู ปิ ญั ญาท้องถ่ินเพอ่ื เสริมสรา้ งคณุ ภาพชวี ิตที่ดขี องประชาชน
6. พัฒนาองค์กรใหม้ ีการบรหิ ารจดั การท่ดี ีอย่างต่อเนื่อง
7. สร้างเครอื ข่ายความร่วมมือทุกภาคส่วน ท้ังภาครฐั เอกชนและภาคประชาสงั คม
คา่ นยิ มขององคก์ ร
1. การยึดมัน่ ในระบอบประชาธปิ ไตยอนั มีพระมหากษตั รยิ ์ทรงเปน็ ประมขุ
2. การยดึ มน่ั ในคุณธรรมและจรยิ ธรรม
3. การมจี ติ สานึกทด่ี ี ซื่อสตั ย์ และรับผิดชอบ
4. การยึดถือประโยชน์ของประเทศชาตเิ หนือกว่าประโยชนส์ ว่ นตน และไม่มีผลประโยชนท์ บั ซ้อน
5. การยนื หยดั ทาในส่งิ ทถ่ี ูกต้อง เป็นธรรม และถูกกฎหมาย
6. การใหบ้ ริการแกป่ ระชาชนด้วยความรวดเรว็ มีอัธยาศัย และไม่เลือกปฏิบัติ
7. การใหข้ ้อมูลข่าวสารแก่ประชาชนอย่างครบถ้วน ถกู ต้อง และไม่บิดเบอื นข้อเทจ็ จรงิ
8. การมุ่งผลสัมฤทธ์ขิ องงาน รักษามาตรฐาน มีคณุ ภาพ โปรง่ ใสและตรวจสอบได้
9. การยึดมนั่ ในหลกั จรรยาวิชาชีพขององค์กร
10. การสร้างจิตสานึกให้ประชาชนในทอ้ งถน่ิ ประพฤติตนเป็นพลเมอื งทด่ี รี ว่ มกันพฒั นาชุมชนใหน้ ่าอยู่คู่
คณุ ธรรมและดูแลสภาพสงิ่ แวดล้อมให้สอดคลอ้ งรัฐธรรมนูญฉบับปจั จุบนั
วฒั นธรรมองคก์ ร
1. ใหบ้ ริการตามมาตรฐานวิชาชีพโดยยดึ ถอื ผูร้ บั บริการเป็นศนู ยก์ ลาง
2. ใหบ้ ริการโดยยดึ หลกั เสมอภาค
3. เมอื่ มาปฏบิ ตั งิ านพบหน้ากันจะยม้ิ ไหว้ ทักทายสวัสดีกัน
4. ทางานโดยยึดหลักการทางานเปน็ ทมี และเคารพมติส่วนใหญ่
5. ให้ความรว่ มมือในการเขา้ รว่ มประชมุ / ทากจิ กรรม / โครงการตา่ งๆ
6. ให้ความร่วมมือในการประหยัดพลงั งาน
7. ให้บริการผู้มาติดต่อราชการ ให้ได้รับความสะดวก รวดเร็วเป็นอย่างดี และยินดีต้อนรับผู้มารับ บริการด้วย
ความเต็มใจ ย้มิ แย้ม แจม่ ใส พูดจาไพเราะกับทุกๆ ท่าน
๑๑
8. การแต่งกายสุภาพ เหมาะสม ถกู ต้องตามข้อตกลงขององค์กร
9. ส่งเสริมสุขภาพและเป็นแบบอย่างที่ดีด้านสุขภาพ เช่น การออกกาลังกาย, การรับประทานอาหารท่ีถูก
สขุ ลักษณะ, การสวมหมวกกนั น็อค, คาดเข็มขัดนิรภยั เป็นต้น
10. จะรว่ มมือกนั ในการพัฒนางานอยา่ งต่อเน่ือง
11. ให้ปฏบิ ัติต่อผูม้ ารับบริการ/ผู้มสี ่วนได้ส่วนเสยี โดยไม่มงุ่ หวงั ประโยชน์จากทรัพยส์ ินของกานัลใดๆ
จรรยาบรรณวชิ าชีพขององคก์ ร
1.ข้าราช การพ นั กงาน แล ะลู กจ้ างเทศบ าล เมืองลาพู น ต้ องจ งรักภั กดี ต่อช าติ ศาส น า และพระมห ากษั ต ริย์
2.ข้าราชการพนักงานและลูกจ้างเทศบาลเมืองลาพูน ต้องเป็นแบบอย่างที่ดีในการรักษาไว้และปฏิบัติตาม
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจกั รไทยทุกประการ
3. พนักงานและลูกจ้างเทศบาลเมืองลาพูน ต้องเป็นแบบอย่างที่ดีในการเป็นพลเมืองดีเคารพและปฏิบัติตาม
กฎหมายอย่างเครง่ ครดั
4. ข้าราชการพนักงานและลูกจ้างเทศบาลเมืองลาพูน ต้องไม่ประพฤติตนอันอาจก่อให้เกิดความเสื่อมเสีย
ตอ่ เกียรติภูมขิ องตาแหนง่ หน้าที่
5. ขา้ ราชการพนกั งานและลูกจ้างเทศบาลเมืองลาพนู ต้องปฏิบัติหน้าที่อย่างเต็มกาลังความสามารถ ด้วยความ
เสียสละ ทุ่มเทสติปัญญา ความรู้ความสามารถ ให้บรรลุผลสาเร็จและมีประสิทธิภาพตามภาระหน้าที่ที่ได้รับ
มอบหมาย เพอื่ กอ่ ใหเ้ กิดประโยชนส์ ูงสดุ แก่ประเทศชาตแิ ละประชาชน
6. ขา้ ราชการพนักงานและลูกจ้างเทศบาลเมอื งลาพูน ตอ้ งมุ่งแก้ปัญหาความเดือดรอ้ นของประชาชนดว้ ยความ
เป็นธรรม รวดเร็ว และมุง่ เสริมสร้างความเข้าใจอนั ดีระหว่างหนว่ ยงานและประชาชน
7. ข้าราชการพนักงานและลูกจ้างเทศบาลเมืองลาพูน ต้องปฏิบัติหน้าท่ีด้วยความสุภาพเรียบร้อย มีอัธยาศัย
8. ขา้ ราชการพนักงานและลูกจ้างเทศบาลเมืองลาพูน ต้องรักษาความลับที่ได้จากการปฏบิ ัตหิ น้าท่ีการเปิดเผย
ข้อมูลที่เป็นความลับโดยข้าราชการพนักงานและลูกจ้างจะกระทาได้ต่อเมื่อมีอานาจหน้าท่ีและได้รับอนุญาต
จากผบู้ งั คบั บญั ชา หรอื เปน็ ไปตามท่กี ฎหมายกาหนดเท่านนั้
9. ขา้ ราชการพนักงานและลูกจา้ งเทศบาลเมืองลาพูน ต้องรักษา และเสริมสร้างความสามัคครี ะหว่างผู้รว่ มงาน
พร้อมกบั ให้ความช่วยเหลือเกือ้ กลู ซ่ึงกนั และกันในทางท่ีชอบ
10. ข้าราชการพนักงานและลูกจ้างเทศบาลเมืองลาพูน ต้องไม่ใช้สถานะหรือตาแหน่งไปแสวงหาประโยชน์
ที่มิควรได้รับสาหรบั ตนเองหรอื ผอู้ ื่น ไมว่ า่ จะเป็นประโยชน์ในทางทรัพย์สินหรือไมก่ ็ตามตลอดจนไม่รับของขวัญ
ของกานัล หรือประโยชน์อ่ืนใดจากผู้ร้องเรียน หรือบุคคลที่เก่ียวข้องเพ่ือประโยชน์ต่างๆ อันอาจเกิดจากการ
ปฏิบัติหน้าท่ขี องตน เวน้ แตเ่ ปน็ การใหโ้ ดยธรรมจรรยาบรรณหรือการให้ตามประเพณี
11. ข้าราชการพนักงานและลูกจ้างเทศบาลเมืองลาพูน ต้องประพฤติตนให้สามารถทางานร่วมกับผู้อื่นด้วย
ความสุภาพ มนี ้าใจ มีมนษุ ย์สัมพนั ธอ์ นั ดี ต้องไม่ปิดบงั ข้อมลู ทจี่ าเป็นในการปฏิบัตงิ านของเพ่ือนร่วมงานและไม่
นาผลงานของผูอ้ น่ื มาแอบอา้ งเปน็ ผลงานของตน
12. ขา้ ราชการเทศบาลเมอื งลาพูน ตอ้ งปฏิบตั ิหนา้ ทีโ่ ดยยึดหลกั การบริหารกิจการบ้านเมอื งทีด่ ี
แนวทางการลงโทษทางวนิ ยั
หากข้าราชการพนักงานและลูกจ้างไม่ปฏิบัติหรือฝ่าฝืน จะต้องถูกดาเนินการลงโทษตามข้อตกลง
ที่กาหนดไว้ ตามแนวทางการลงโทษทางวินยั ดังน้ี
1. ว่ากลา่ วตักเตอื น 2. ภาคทัณฑ์ 3. ตดั เงินเดอื น 4. ปลดออก 5. ไล่ออก
๑๒
โครงการทอ่ี ยใู่ นความรบั ผดิ ชอบของกองการแพทย์ เทศบาลเมอื งลาพนู
ประจาปงี บประมาณ 2564
ตารางท่ี 1 ผลการดาเนินการโครงการท่ีไดร้ ับงบประมาณจากแหลง่ อ่นื ประจาปี 2564
งบประมาณ (บาท) แหลง่ งบ
ประมาณ
ท่ี โครงการ ท่ีได้รบั อนุมตั ิ ใช้จรงิ
98,355 (เบกิ จา่ ย กองทนุ ฯ
1 โครงการ อสม.เทศบาลเมอื งลาพนู ร่วมมือรว่ มใจ รณรงค์ ป้องกัน ณ ปัจจุบนั )
และควบคมุ โรคไขเ้ ลือดออก กองทุนฯ
98,355
2 โครงการ อสม.เทศบาลเมอื งลาพนู รว่ มมอื ร่วมใจ รณรงคส์ วมหนา้ กาก เงนิ บารุงฯ
อนามัยปอ้ งกนั โรคไขห้ วัดใหญแ่ ละโรคติดต่อทางเดนิ หายใจ 78,020 78,020 กองทุนฯ
3 โครงการประกวดหมูบ่ า้ นปลอดลกู นา้ ยงุ ลาย 21,150 0 กองทุนฯ
4 โครงการตรวจคดั กรองเพอ่ื คน้ หาผ้ปู ว่ ยโรคความดนั โลหิตสูงและ 38,430 38,395
กองทนุ ฯ
โรคเบาหวาน 17,795 17,795 กองทนุ ฯ
5 โครงการอสม.เทศบาลเมืองลาพูนร่วมมอื รว่ มใจรณรงค์คัดกรอง
27,150 27,150 กองทนุ ฯ
มะเรง็ เต้านมและมะเร็งปากมดลกู 27,330 0 กองทุนฯ
6 โครงการสนับสนุนส่งเสริมการดาเนินงานหม่บู ้านจัดการสขุ ภาพ อดุ หนุนฯ
7 โครงการสง่ เสรมิ การดาเนนิ งานของชมรมผู้สงู อายุชุมชนใน 135,600 33,900 กองทุนฯ
เขตเทศบาลเมอื งลาพูน กองทุนฯ
8 โครงการสง่ เสรมิ คณุ ภาพชีวติ สมาชกิ ชมรมผูส้ งู อายเุ ทศบาลเมอื งลาพูน กองทนุ ฯ
กองทนุ ฯ
9 โครงการอนามยั แม่และเดก็ 2,500 0 กองทุนฯ
กองทุนฯ
10 โครงการอบรมดา้ นสาธารณสุขในดา้ นการสง่ เสรมิ สุขภาพและกลุม่ เสย่ี ง กองทนุ ฯ
กจิ กรรมที่ 1 โครงการตรวจคดั กรองความเส่ียงหาสารเคมีกาจดั ศัตรพู ืช 14,613 0
ในเลือดสาหรบั ประชาชนในเขตเทศบาลเมืองลาพนู 19,800 0
17,250 0
กิจกรรมที่ 2 โครงการแลกเปล่ียนเรยี นรูใ้ นผู้ปว่ ยเรื้อรังท่ีมี
ภาวะแทรกซอ้ น
กจิ กรรมที่ 3 โครงการลดความเสย่ี งโรคหลอดเลอื ดสมองและหัวใจ
11 โครงการอาสาสมัครรว่ มใจเยย่ี มผปู้ ว่ ยสงู วยั ใสใ่ จผ้พู กิ าร 32,065 0
12 โครงการเยยี่ มบ้านประชาชนและฟื้นฟสู มรรถภาพผูพ้ กิ าร/ผู้ป่วยเรอื้ รัง 14,475 4,800
13 โครงการดูแลและสง่ เสริมสุขภาพผพู้ กิ ารในเขตเทศบาลเมืองลาพูน 33,822 17,421
14 โครงการใส่ใจสขุ ภาพจติ ไมค่ ดิ ฆา่ ตัวตาย เทศบาลเมอื งลาพูน 12,245 12,245
(ตอ่ ) งบประมาณ (บาท) ๑๓
ที่ โครงการ ทไ่ี ดร้ บั อนมุ ตั ิ (เบกิ จา่ ย แหลง่
ณ ปจั จบุ นั ) งบประมาณ
15 โครงการป้องกนั ความพกิ ารผสู้ ูงอายุในเขตเทศบาลเมอื งลาพนู กองทนุ ฯ
16 โครงการปรบั เปล่ียนพฤติกรรมการบรโิ ภคอาหารท่เี หมาะสมในวยั เรยี น 4,550 0 กองทุนฯ
17 โครงการส่งเสริมสขุ ภาพอนามยั นกั เรียน กองทุนฯ
18 โครงการส่งเสริมทนั ตสุขภาพและปอ้ งกนั โรคของเด็ก 0-5 ปี 18,125 16,625 กองทนุ ฯ
19 โครงการส่งเสริมทนั ตสขุ ภาพและปอ้ งกันโรคในช่องปากของเด็กนกั เรียน กองทนุ ฯ
4,820 4,820
ประถมศกึ ษา กองทนุ ฯ
20 โครงการใสใ่ จดแู ลช่องปากผสู้ งู อายุ 21,800 0 กองทุนฯ
21 โครงการอบรมผนู้ านักเรยี นสง่ เสรมิ สุขภาพ กองทนุ ฯ
22 โครงการอบรมพ่ีเล้ยี งเดก็ ในสถานประกอบการสาหรับเลย้ี งเด็กฯ 13,650 0 กองทนุ ฯ
23 โครงการป้องกันและแก้ไขปญั หาโรคตดิ ต่อทางเพศสมั พันธแ์ ละ
9,300 0 กองทนุ ฯ
การตัง้ ครรภใ์ นวยั รนุ่ เทศบาลเมืองลาพนู 36,492 36,492 กองทุนฯ
24 โครงการสร้างเสรมิ สุขภาพผปู้ ว่ ยเบาหวาน-ความดันโลหติ สูง 9,000 9,000 เงินบารงุ ฯ
25 โครงการคดั กรองภาวะโลหติ จางจากการขาดธาตเุ หลก็ ในเดก็ ฯ 48,595 กองทุนฯ
0
26 โครงการสรา้ งเสรมิ สุขภาพและความปลอดภยั ให้ห่างไกลโรคจาก กองทนุ ฯ
การทางาน 8,906 0
2,850 0 กองทนุ ฯ
27 โครงการตรวจเยี่ยมรา้ นชาและอบรมผู้ประกอบการร้านชาในเขต
เทศบาลเมืองลาพูนในการดาเนินงานคมุ้ ครองผู้บรโิ ภคด้านสขุ ภาพ 16,080 14,580 กองทนุ ฯ
(คคส.)
22,193 18,818 กองทุนฯ
28 โครงการเครอื ข่ายเฝ้าระวงั สารเคมีตกคา้ งในพชื ผักในตลาดสด
เทศบาลเมอื งลาพนู (โครงการผกั ติดดาว) 30,065 9,100 กองทุนฯ
29 โครงการเครือข่ายระบบความปลอดภยั ด้านยาและผลิตภัณฑส์ ขุ ภาพ 10,912 5,962 เงนิ บารงุ ฯ
ในชมุ ชน เงินบารุงฯ
6,513 6,513 สปสช./
30 โครงการอบรมใหค้ วามรู้ดา้ นการแพทยท์ างเลอื ก (นวดตนเองเพอ่ื เทศบาล
สขุ ภาพ 9,413 5,063
31 โครงการใช้สมุนไพรในท้องถ่นิ (กนิ ผกั พืน้ บา้ น ทานสมุนไพรปรุงอาหาร 4,773 4,773
ให้เปน็ ยา) 60,159 0
24,850 0
32 โครงการพฒั นาเจ้าหน้าท่ีและพนกั งานนวดด้านแพทย์แผนไทย
33 โครงการมหกรรมรวมพลังหยดุ ยงั้ ยาเสพตดิ
34 โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการการถอดบทเรียนการดาเนินงาน
คลนิ ิกชมุ ชนอบอุ่น
(ตอ่ ) ๑๔
งบประมาณ (บาท) แหลง่
งบประมาณ
ที่ โครงการ ทไ่ี ดร้ บั อนมุ ตั ิ (เบกิ จา่ ย
ณ ปจั จบุ นั ) เงนิ บารุง/
เทศบาล
35 โครงการปรับปรงุ ซอ่ มแซมอาคารสถานทส่ี าหรับใหบ้ รกิ ารในศนู ยบ์ รกิ าร 2,000,000 0 เงนิ บารุง/
สาธารณสขุ เทศบาลเมอื งลาพูน เทศบาล
เงินบารงุ ฯ
36 โครงการกอ่ สรา้ งอาคารสาหรบั ใหบ้ รกิ ารดา้ นการแพทยแ์ ผนไทย คลนิ ิก 1,000,000 0
แพทย์แผนไทยประยุกต์ 100,000 14,100 เงินบารงุ /
เงนิ บารุง/
37 โครงการดูแลระยะยาวดา้ นสาธารณสขุ สาหรับผสู้ ูงอายุทีม่ ภี าวะพง่ึ พงิ เทศบาล
(Long Term Care) กองทนุ ฯ
กองทุนฯ
38 การจดั ทาระบบบาบดั นา้ เสีย ศนู ย์บริการสาธารณสุขฯ 200,000 0 เงินบารงุ ฯ
39 โครงการปรับปรุงเครือขา่ ยคอมพวิ เตอร์ภายในศูนย์บรกิ ารสาธารณสขุ ฯ 150,000 0 เงนิ บารุง/
เทศบาล
40 โครงการอบรมเชงิ ปฏิบัติการเพ่ือพัฒนาทีมสอบสวนเคลือ่ นท่ีเร็ว (SRRT) 20,663 20,663 กองทนุ ฯ
41 โครงการอบรมเพอื่ สร้างความรอบรูด้ ้านสขุ ภาพ (Health Literacy) 18,250 5,550 เทศบาลฯ
เงินบารุงฯ
ใหก้ บั บุคลากรสขุ ภาพ ประชาชนในเขตเทศบาลเมอื งลาพูน 500,000 0
42 โครงการปรบั ปรุงระบบไฟฟา้ ศนู ย์บริการสาธารณสุขฯ เงินบารุงฯ
43 โครงการวดั ส่งเสริมสขุ ภาพ 2,400 2,400
44 โครงการพัฒนาศักยภาพอาสาสมคั รบริบาลท้องถิ่น เทศบาลเมืองลาพูน 200,000 0
45 โครงการให้บริการทันตกรรมโดยไมค่ ดิ มลู คา่ สาหรับประชาชนท่วั ไป 50,000 0
ในเขตเทศบาลเมืองลาพูน (โครงการพระราชดารใิ นพระบาทสมเดจ็ 26,035 26,035
พระบรมชนกาธเิ บศมหาภมู ิพลอดลุ ยเดชมหาราช บรมนาถบพิตรและ
สมเดจ็ พระศรนี ครินทรา บรมราชชนนี) 5,220,994 528,575
46 โครงการใหบ้ ริการวคั ซนี ปอ้ งกนั โรคไข้หวัดใหญต่ ามฤดูกาล ประชาชน
กลุ่มเส่ยี งในเขตเทศบาลเมืองลาพนู
งบประมาณ (บาท)
ตารางที่ 2 โครงการทไ่ี ม่ได้ใช้งบประมาณในการดาเนินโครงการ ประจาปี 2564 ๑๕
งบประมาณ (บาท) แหลง่ งบ
ท่ี โครงการ ทไ่ี ดร้ บั อนมุ ตั ิ ใชจ้ รงิ ประมาณ
(เบกิ จา่ ย
1 โครงการสร้างเสรมิ ภูมคิ มุ้ กนั โรคดว้ ยวัคซนี ในเด็กนกั เรยี นชัน้ ป.1 และ -
ป.5 โรงเรียนในสังกัดเทศบาลเมอื งลาพนู ณ ปจั จบุ นั ) -
-
2 โครงการเฝ้าระวังอุบตั ิเหตทุ างบกและทางน้า ไม่ใชง้ บฯ - -
3 โครงการเฝา้ ระวังการเกดิ โรคระบบทางเดนิ อาหารจากการใช้ยา -
ไมใ่ ชง้ บฯ - -
กล่มุ NSIADS และ Bisphosphonates -
4 โครงการคลนิ กิ โรคหืดแบบงา่ ย ไมใ่ ชง้ บฯ - -
5 โครงการฟืน้ ฟูสมรรถภาพผ้พู กิ ารในเขตเทศบาลเมอื งลาพูน -
6 โครงการส่งเสริมทนั ตสขุ ภาพและป้องกันโรคของหญิงมีครรภ์ ไมใ่ ชง้ บฯ - -
7 โครงการส่งเสรมิ สขุ ภาพหญงิ มีครรภ์ ไมใ่ ช้งบฯ - -
8 โครงการบอกเลา่ ขา่ วสารสุขภาพทางเสียงตามสายของศูนยบ์ รกิ ารฯ ไม่ใชง้ บฯ -
9 โครงการใหส้ ุขศกึ ษาผมู้ ารับบริการทศ่ี ูนยบ์ ริการฯ ไมใ่ ชง้ บฯ - -
10 โครงการสง่ เสรมิ ทกั ษะพื้นฐานสาหรับเด็กก่อนวยั เรียน ไมใ่ ชง้ บฯ - -
11 โครงการสารวจความพึงพอใจของผมู้ ารบั บรกิ ารในศนู ย์บริการ ไมใ่ ชง้ บฯ - -
ไมใ่ ชง้ บฯ - -
สาธารณสุข -
12 โครงการอบรมฟืน้ ฟูวิชาการและการฝกึ ปฏบิ ตั งิ านการช่วยฟ้ืนคืนชีพ ไม่ใช้งบฯ - -
-
(CPR) ไม่ใช้งบฯ - -
13 โครงการการพฒั นาบุคลากรศนู ยบ์ ริการสาธารณสขุ เทศบาลเมืองลาพนู ไม่ใช้งบฯ - -
14 โครงการรณรงคจ์ ัดทาบตั รประกันสุขภาพ (บตั รทอง) ไม่ใช้งบฯ -
15 โครงการสง่ เสริมความรู้เพอ่ื ลดปัจจัยเสย่ี งในการใชย้ าและผลติ ภณั ฑ์ ไม่ใช้งบฯ - -
ไม่ใช้งบฯ -
สุขภาพท่ีไมเ่ หมาะสม ไม่ใช้งบฯ - -
16 โครงการส่งเสริมพัฒนาการเด็ก 0-5 ปี ไมใ่ ชง้ บฯ -
17 โครงการคดั กรองเด็กท่มี คี วามตอ้ งการพิเศษทางการศกึ ษา ไมใ่ ชง้ บฯ - -
18 โครงการตรวจหาสารปนเปือ้ นในอาหารจากตลาดสดเทศบาลเมือง ไมใ่ ชง้ บฯ -
ลาพูนด้วยชดุ ทดสอบจากกรมวิทยาศาสตร์ฯ ไมใ่ ช้งบฯ -
19 โครงการสารวจความพึงพอใจผู้ใชบ้ ริการสขุ าของศูนยบ์ ริการฯ
20 โครงการสารวจความพงึ พอใจของผ้รู ับบรกิ ารคลนิ ิกแพทยแ์ ผนไทย ไม่ใช้งบฯ -
ประยกุ ต์ ไมใ่ ช้งบฯ -
21 โครงการบาบดั และฟื้นฟสู มรรถภาพผู้ตดิ สารเสพตดิ ในเขตเทศบาล
เมอื งลาพูน
22 โครงการเลกิ บุหร่ดี ว้ ยสมุนไพรหญา้ ดอกขาวและการปรบั เปลย่ี น
พฤติกรรมดว้ ยหลัก 5A
23 โครงการพัฒนาความรูแ้ ละการดาเนินงาน อสม.
(ตอ่ ) งบประมาณ (บาท) ๑๖
ที่ โครงการ ทีไ่ ดร้ บั อนุมตั ิ ใช้จริง แหล่ง
(เบิกจ่าย งบประมาณ
24 โครงการสารวจความพงึ พอใจและแรงจูงใจในการทางานของบคุ ลากร ณ ปัจจบุ นั )
ศนู ยบ์ ริการสาธารณสขุ -
ไม่ใชง้ บฯ -
25 การจัดทาค่านยิ มและจรยิ ธรรมขององค์กรที่มีแนวทางให้ผู้ปฏิบัตงิ าน -
ยดึ ถอื และปฏบิ ัตริ ่วมกนั ไม่ใชง้ บฯ - -
-
26 โครงการดาเนินงานตามกจิ กรรมในระบบ 5 ส. กองการแพทย์ ไม่ใช้งบฯ - -
27 การจัดบริการสาธารณะและการบริการประชาชน ไม่ใช้งบฯ - -
28 การใหค้ วามรู้และเผยแพรข่ อ้ มลู ขา่ วสารและการรับเรอื่ งรอ้ งเรียน ไมใ่ ช้งบฯ -
29 การแก้ไข ปรบั ปรงุ หรือออกระเบยี บ คาส่ัง ประกาศ ข้อบัญญัติ อปท. -
ไมใ่ ช้งบฯ -
ท่ีสนบั สนุนการปอ้ งกันทุจรติ -
30 โครงการเยย่ี มบา้ นผปู้ ว่ ยโรคเรื้อรงั ผูส้ ูงอายแุ ละผู้พิการดว้ ยศาสตร์ ไมใ่ ช้งบฯ - -
-
การแพทยแ์ ผนไทย ไม่ใช้งบฯ - -
31 โครงการสารวจความพึงพอใจของผใู้ ชบ้ รกิ ารสขุ าของคลนิ กิ แพทย์แผน -
ไมใ่ ช้งบฯ - -
ไทยฯ ไม่ใช้งบฯ -
32 โครงการระบบบริการการแพทยฉ์ กุ เฉนิ ไม่ใช้งบฯ -
33 โครงการฟ้ืนฟสู มรรถภาพผสู้ ูงอายทุ ม่ี คี วามเสย่ี งตอ่ การพลดั ตกหกล้ม
34 โครงการดแู ลแมห่ ลงั คลอดด้วยการแพทย์แผนไทย ไมใ่ ชง้ บฯ -
35 โครงการบรหิ ารจัดการและแกไ้ ขปัญหาการดาเนนิ งานคลนิ ิกชุมชน
- -
อบอนุ่
รวม....35......โครงการ
ตารางท่ี 3 ผลการดาเนินการโครงการท่ีใชง้ บประมาณของเทศบาลเมืองลาพูน ประจาปี 2564
งบประมาณ (บาท)
ที่ โครงการ ทไี่ ดร้ บั อนมุ ตั ิ ใชจ้ รงิ หมายเหตุ
360,000
1 โครงการระบบหลกั ประกนั สขุ ภาพในระดับท้องถน่ิ หรือพ้นื ท่ี (เบกิ จา่ ย ณ เทศบาลฯ
ปจั จบุ นั ) เทศบาลฯ
360,000 เทศบาลฯ
เทศบาลฯ
2 โครงการอบรมกลมุ่ แกนนาด้านสขุ ภาพชุมชน เทศบาลเมือง 5,000 5,000
ลาพูน -
3 โครงการสง่ เสริมสขุ ภาพผสู้ ูงอายุ เทศบาลเมืองลาพนู 5,000 5,000
340,000 38,332
4 โครงการพระราชดารดิ ้านสาธารณสุขเทศบาลเมืองลาพูน 710,000 408,332
งบประมาณ (บาท)
๑๗
โครงการทข่ี อรบั การสนบั สนนุ จากกองทนุ หลกั ประกนั สขุ ภาพเทศบาลเมืองลาพนู
ตารางท่ี 4 แสดงจานวนโครงการท่ีได้รับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาล
.................. เมอื งลาพนู ประจาปี 2560 – 2564
ประเภทกจิ กรรมทส่ี นบั สนนุ งบประมาณ 2560 2561 2562 2563 2564
20 19 24 32 28
ประเภทท่ี 1 สนบั สนุนและส่งเสรมิ การจดั บริการ 5 5 8 8 7
สาธารณสุขของหน่วยบริการหรือสถานบริการ 5 5 8 7 7
หรอื หน่วยงานสาธารณสขุ ในพ้นื ท่ี 3 3 5 3 5
ประเภทท่ี 2 สนับสนุนให้กลุ่มหรือองค์กร 1 1 1 1 2
ประชาชน หรอื หนว่ ยงานอน่ื ในพน้ื ที่ 34 33 46 51 49
ประเภทท่ี 3 สนับสนุนศูนย์เด็กเล็กหรือศูนย์ชื่อ
อื่นที่ดาเนินกิจกรรมเกี่ยวกับการพัฒนาและดูแล
เด็กเล็กในชุมชน หรือศูนย์พัฒนาและฟ้ืนฟู
คณุ ภาพชีวิตผิ ู้สูงอายแุ ละคนพกิ าร
ประเภทที่ 4 สนับสนุนค่าใช้จ่ายในการบริหาร
หรอื พัฒนากองทุนหลกั ประกันสขุ ภาพ
ประเภทที่ 5 สนับสนุนและส่งเสริมกิจกรรมใน
การปอ้ งกนั และแก้ไขปัญหาสาธารณสุข กรณีเกิด
โรคระบาดหรือพบิ ตั ิภยั ในพืน้ ท่ี
รวมจานวนโครงการ
ตารางท่ี.5.แสดงงบประมาณที่ได้รับอนุมัติจากกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลเมืองลาพูน.ประจาปี
2560 – 2564
ประเภทกจิ กรรมทสี่ นบั สนนุ งบประมาณ 2560 2561 2562 2563 2564
441,079 307,328 568,508 607,587 525,683
ป ระเภ ท ที่ 1 สนับ สนุนและส่งเสริมการ 421,770 438,505 348,735 343,806 360,417
จัดบริการสาธารณสุขของหน่วยบริการหรือ
สถานบริการ หรอื หนว่ ยงานสาธารณสุขในพน้ื ท่ี 154,636 165,681 155,554 149,487 132,417
ประเภทท่ี 2 สนับสนุนให้กลุ่มหรือองค์กร
ประชาชน หรอื หนว่ ยงานอ่นื ในพนื้ ท่ี 104,925 148,661 153,230 80,581 120,146
ประเภทที่ 3 สนับสนนุ ศนู ย์เดก็ เล็กหรือศูนยช์ ่ือ 31,713 34,621.80 7,600 99,880 200,000
อื่นท่ดี าเนนิ กิจกรรมเกี่ยวกบั การพัฒนาและดูแล 1,001,957 1,154,123 1,094,797 1,233,391 1,338,416
เด็กเล็กในชุมชน หรือศูนย์พัฒนาและฟื้นฟู
คณุ ภาพชวี ติ ผิ ้สู งู อายุและคนพิการ
ประเภทที่ 4 สนับสนุนค่าใช้จ่ายในการบริหาร
หรือพฒั นากองทุนหลกั ประกันสุขภาพ
ประเภทท่ี 5 สนับสนุนและส่งเสริมกิจกรรมใน
การป้องกันและแก้ไขปัญหาสาธารณสุข กรณี
เกดิ โรคระบาดหรอื พบิ ัติภยั ในพืน้ ท่ี
รวมงบประมาณ (บาท)
๑๘
ตารางที่ 6 ตารางแสดงงบประมาณท่ีใช้จริงจากกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลเมืองลาพูน ประจาปี
2560 – 2564
ประเภทกจิ กรรมทสี่ นบั สนนุ งบประมาณ 2560 2561 2562 2563 2564
534,945 477,088
ป ระเภ ท ที่ 1 สนับสนุนและส่งเสริมการ 417,597 301,248 495,067 281,531 281,575
จัดบริการสาธารณสุขของหน่วยบริการหรือ
สถานบริการ หรอื หน่วยงานสาธารณสุขในพนื้ ท่ี 28,521 102,237
49,546 64,271
ประเภทท่ี 2 สนับสนุนให้กลุ่มหรือองค์กร 318,020 408,505 339,735 99,880 100,000
ประชาชน หรือหนว่ ยงานอ่ืนในพ้ืนที่ 994,423 1,025,171
155,554
ประเภทท่ี 3 สนบั สนุนศูนย์เด็กเลก็ หรือศนู ยช์ ่ือ 153,084.20 165,129.20 150,580
อ่นื ทีด่ าเนนิ กจิ กรรมเกย่ี วกับการพฒั นาและดแู ล
เด็กเล็กในชุมชน หรือศูนย์พัฒนาและฟื้นฟู 70,375 42,521 -
คณุ ภาพชวี ิติผสู้ ูงอายุและคนพิการ - - 1,148,936
ประเภทท่ี 4 สนับสนุนค่าใช้จ่ายในการบริหาร 959,076.20 917,403.20
หรอื พัฒนากองทุนหลกั ประกนั สขุ ภาพ
ประเภทที่ 5 สนับสนุนและส่งเสริมกิจกรรมใน
การป้องกันและแก้ไขปัญหาสาธารณสุข กรณี
เกดิ โรคระบาดหรอื พิบัติภยั ในพน้ื ท่ี
รวมงบประมาณ (บาท)
สรปุ : ผลการดาเนนิ งานประจาปงี บประมาณ 2564 ๑๙
จานวนประชากรเทศบาลเมืองลาพนู รอ้ ยละ
- จานวนประชากรในเขตเทศบาลเมืองลาพูน จานวน 11,627 คน 5.50
- จานวนบ้านทัง้ หมด 3,842 หลงั คาเรอื น 5.44
12.74
ตารางที่ 7 แสดงจานวนของประชาชนเทศบาลเมืองลาพูน 17 ชมุ ชน 8.08
8.97
สถติ ปิ ระชากรประชาชนเทศบาลเมอื งลาพนู 5.32
5.02
(1 กรกฎาคม 2564) 13.48
2.78
ลาดบั ชมุ ชน เพศ (คน) รวม (คน) 7.12
ชาย หญงิ 4.38
1 ทา่ ขาม – บ้านฮอ่ ม 3.80
2 บา้ นหลวย 310 329 639 3.60
3 สันดอนรอม 2.29
4 หนองเส้ง 283 350 633 6.99
5 ไกแ่ กว้ 2.64
6 สนั ป่ายางหลวง 669 812 1,481 1.86
7 จามเทวี 100
8 มหาวนั 410 529 939
9 พระคงฤาษี
10 ประตลู ้ี 493 550 1,043
11 ชา่ งฆ้อง
12 บา้ นทา่ - ท่านาง 269 350 619
13 ชัยมงคล
14 สนั ปา่ ยางหนอ่ ม 272 312 584
15 สวนดอก
16 หนา้ สถานรี ถไฟ 665 902 1,567
17 ศรบี ญุ เรอื ง
164 159 323
รวม
386 442 828
241 268 509
200 242 442
196 222 418
117 149 266
384 429 813
142 165 307
102 114 216
5,303 6,324 11,627
๒๐
ตารางท่ี 8 แสดงจานวนหลงั คาเรอื นของประชาชนเทศบาลเมอื งลาพูน 17 ชมุ ชน
ลาดับ ชมุ ชน จานวน (คน) รอ้ ยละ
1 ทา่ ขาม – บา้ นฮ่อม 201 5.23
2 บา้ นหลวย 206 5.36
3 สันดอนรอม 550 14.32
4 หนองเสง้ 301 7.83
5 ไกแ่ ก้ว 313 8.15
6 สนั ป่ายางหลวง 195 5.08
7 จามเทวี 181 4.71
8 มหาวัน 531 13.82
9 พระคงฤาษี 115 2.99
10 ประตลู ้ี 322 8.38
11 ช่างฆอ้ ง 151 3.93
12 บา้ นท่า - ทา่ นาง 143 3.72
13 ชัยมงคล 159 4.14
14 สันปา่ ยางหน่อม 71 1.85
15 สวนดอก 236 6.14
16 หน้าสถานรี ถไฟ 88 2.29
17 ศรบี ุญเรือง 79 2.06
รวม 3,842 100.00
ภาพที่ 1 แผนภูมแิ สดงจานวนหลงั คาเรือนของประชาชนเทศบาลเมอื งลาพูน 17 ชุมชน
๒๑
ภาพที่ 2 แผนภูมแิ สดงรอ้ ยละสัดสว่ นของประชาชนเทศบาลเมอื งลาพูน เพศชาย–หญงิ ประจาปี 2564
ภาพท่ี.3.กราฟแสดงแนวโนม้ จานวนประชากรประชาชนเทศบาลเมืองลาพูน.ประจาปี.2560.–.2564
๒๒
ตารางที่.9.แสดงจานวนและร้อยละประชาชนเทศบาลเมอื งลาพนู แยกตามกล่มุ อายุ.ประจาปี.2564
กลมุ่ อายุ จานวน (คน) รอ้ ยละ
0 - 4 ปี
5 - 9 ปี 328 2.82
10 - 14 ปี 468 4.03
15 - 19 ปี 573 4.93
20 - 24 ปี 569 4.89
25 - 29 ปี 675 5.81
30 - 34 ปี 778 6.69
35 - 39 ปี 740 6.36
40 - 44 ปี 806 6.93
45 - 49 ปี 813 6.99
50 - 54 ปี 762 6.55
55 - 59 ปี 771 6.63
60 - 44 ปี 967 8.32
65 - 69 ปี 1,043 8.97
70 - 74 ปี 889 7.65
75 - 79 ปี 555 4.77
80 ปี ขน้ึ ไป 382 3.29
508 4.37
รวม 11,627 100
๒๓
ภาพท่ี.4.ปริ ามดิ ประชากรแสดงสัดส่วนกลุม่ อายขุ องประชาชนเทศบาลเมอื งลาพนู ประจาปี.2564
๒๔
ตารางที่.10.แสดงประเภทสิทธิการรักษาพยาบาลประชาชนในเขตเทศบาลเมืองลาพนู ประจาปี 2564
ประเภทสทิ ธกิ ารรกั ษาพยาบาล จานวน (คน) รอ้ ยละ
สิทธิบตั รประกันสขุ ภาพถว้ นหนา้ 6,167 53.04
สิทธขิ า้ ราชการกรมบัญชกี ลาง 2,596 22.33
สิทธขิ ้าราชการส่วนท้องถ่นิ (อปท.) 326 2.80
ประกนั สังคม 2,538 21.83
รวม 11,627 100.00
ภ า พ ที่ .5.แ ผ น ภู มิ แ ส ด ง ป ร ะ เภ ท สิ ท ธิ ก า ร รั ก ษ า พ ย า บ า ล ข อ ง ป ร ะ ช า ช น ใน เข ต เท ศ บ า ล เมื อ ง ล า พู น
ประจาปี 2564
๒๕
1. งานสง่ เสรมิ สขุ ภาพ
กลมุ่ หญิงตง้ั ครรภ์ และทารกหลงั คลอด
ภาพท่ี.6.แผนภมู แิ สดงการตดิ ตามเยยี่ มหญิงตัง้ ครรภ์ในเขตเทศบาลเมอื งลาพูน.ประจาปีงบ.2560.–.2564
ภาพท่ี.7.แผนภูมแิ สดงการเยยี่ มบ้านมารดาและทารกหลังคลอดในเขตเทศบาลเมอื งลาพนู .ป.ี 2560 –.2564.
๒๖
กลมุ่ เด็กอายุ 0 – 5 ปี และเดก็ วยั เรยี น
ภาพที่ 8 แผนภูมแิ สดงผลงานการเยี่ยมบา้ นกลุ่มอายุ 0 - 5 ปี ในเขตเทศบาลเมอื งลาพนู ปี 2560 – 2564
ภาพท่ี ๙ แผนภมู แิ สดงจานวนผรู้ ับบริการในคลินกิ เด็กดี ประจาปี 2560 – 2564
๒๗
ภาพท่ี 10 แผนภูมิแสดงจานวนเด็กในศูนย์เด็กเล็กที่ได้รับการตรวจพัฒนาการตามโครงการเสริมสร้างทักษะ
พ้ืนฐานเด็กกอ่ นวยั เรียน ประจาปี 2560 – 2564
ภาพที่ 11 แผนภูมิแสดงการตรวจสุขภาพนักเรียนช้ันอนุบาลถึงประถมศึกษาปีท่ี 4 โรงเรียนในเขตเทศบาล
เมืองลาพูน ประจาปี 2560 – 2564
๒๘
ภาพที่ 12 แผนภูมแิ สดงจานวนนักเรียนในสงั กัดเทศบาลเมืองลาพูนที่เข้ารว่ มโครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม.
การบริโภคท่เี หมาะสม ประจาปี 2560 – 2564
ภาพท่ี 13 แผนภูมิแสดงการตรวจสุขภาพช่องปากในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กและสถานรับเล้ียงเด็กในเขต
รับผิดชอบเทศบาลเมอื งลาพนู ประจาปี 2560 – 2564
๒๙
ภาพที่ 14 แผนภูมิแสดงการตรวจสุขภาพช่องปากนักเรียนชั้นประถมศึกษาโรงเรียนในสังกัดเทศบาล
เมอื งลาพูน ประจาปี 2560 – 2564
ตารางที่ 11 แสดงการใหบ้ ริการทนั ตกรรมในศูนยบ์ ริการสาธารณสขุ เทศบาลเมืองลาพูน ปี 2560 – 2564
ประจาปี ผรู้ บั บรกิ าร ทา ตรวจฟนั ถอนฟนั ขดู บรกิ าร ตรวจฟนั อดุ ฟนั เคลอื บ
ท้งั หมด ฟลอู อไร ในคลนิ กิ หนิ ปนู ทนั ตกรรม เดก็ คลนิ กิ หลมุ งานอน่ื ๆ
ดว์ านชิ นกั เรยี น WBC รอ่ งฟนั
2560 1,280 47 81 62 228 116 117 216 165 248
2561 1,227 36 38 196 271 62 104 187 115 218
2562 1,690 56 400 269 317 45 114 211 93 185
2563 608 37 17 141 131 50 80 127 0 37
2564 646 11 104 84 107 0 71 65 0 204
๓๐
2. งานป้องกนั ควบคมุ โรค
ปอ้ งกนั ควบคุมโรคตดิ ตอ่
ภาพท่ี 15 แผนภูมิแสดงการรับวัคซีนป้องกันโรคไข้หวัดใหญ่ตามฤดูกาล ศูนย์บริการสาธารณสุขเทศบาล
เมอื งลาพูน ประจาปี 2560 – 2564
ตารางที่ 12 แสดงจานวนผู้ป่วยโรคตดิ ตอ่ ที่ต้องเฝ้าระวงั ทางระบาดวทิ ยา ท่พี บในเขตพื้นที่รบั ผิดชอบเทศบาล
เมอื งลาพนู ประจาปี 2560 – 2564
ลาดับ โรค จานวนผู้ปว่ ยทงั้ หมด (คน)
2560 2561 2562 2563 2564
1 โรคไข้/ไข้ไมท่ ราบสาเหตุ 66 66 96 47 25
2 โรคอุจจาระรว่ ง 70 42 42 23 13
3 โรคอาหารเป็นพิษ 49 61 63 43 40
4 โรคไขเ้ ลือดออก 32152
5 โรคไขห้ วัดใหญ่ 18 42 50 16 1
6 โรคสุกใส 33861
7 โรคเอดส์ 15 15 11 11 11
8 โรคตาแดง 5 8 15 7 2
9 โรคปอดบวม 22 12 11 2 1
10 โรคมือเท้าปาก 07523
11 โรควณั โรค 00200
รวม 254 243 293 151 88
๓๑
ตารางท่ี 13 แสดงการดาเนินงานในการป้องกัน ควบคุม โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)
ในประชาชนเทศบาลเมืองลาพนู ประจาปี 2564
ลาดับ ประเภท จานวน
(คน)
1 ผปู้ ว่ ยยนื ยนั ตดิ เชอื้ ไวรัสโคโรน่า 2019 (เสียชีวิต 1 ราย) 41
2 ผู้สัมผัสเสี่ยงสูงท่ีสัมผัสกับผู้ป่วยยืนยันติดเช้ือไวรัสโคโรน่า 2019 ในเขตเทศบาลเมือง 254
ลาพนู และได้รับคาสงั่ ใหก้ ักตัวจากเจา้ พนกั งานควบคมุ โรคตดิ ต่ออาเภอเมืองลาพนู 209
3 ผู้เดินทางมาจาก หรือกลับจาก หรือร่วมเดินทางมาจากพ้ืนที่จังหวัดเสี่ยงต่อการติดเชื้อ
ไวรัสโคโรนา่ 2019 ตามประกาศคณะกรรมการโรคติดต่อจังหวัดลาพูน
รวม 504
๓๒
ตารางที่ 14 ตารางการแสดงผลการรณรงค์ป้องกันโรคไข้เลือดออกในเขตพื้นที่รับผิดชอบเทศบาลเมืองลาพูน
ประจาปี 2560 – 2564
เกณฑป์ ระเมนิ ปี 2560 ปี 2561 ปี 2562 ปี 2563 ปี 2564
1 .จ า น ว น ค รั ว เ รื อ น ที่ รอ้ ยละ 90 รอ้ ยละ 90 ร้อยละ 90 ร้อยละ 90 ร้อยละ 90
ไ ด้ รั บ เ อ ก ส า ร
ป ระ ช าสั ม พั น ธ์แ ล ะ
ทรายอะเบท
คร้ังที่ 1 98.90 93.04 91.25 92.81 93.07
ครง้ั ท่ี 2 92.99 91.06 95.25 95.19 95.22
ครง้ั ท่ี 3 91.14 95.48 96.48 - 95.97
2 .ชุ ม ช น ที่ มี ค่ า H.I. ไม่มี ไมม่ ี ไม่มี จามเทว,ี มหาวนั มหาวนั ,ประตลู ี้
ไมผ่ ่านเกณฑ์ ,ชา่ งฆ้อง
4.วดั ทม่ี คี ่าC.I. - สวนดอก - สวนดอก สวนดอก,จามเทวี - วัดพระธาตฯุ - วดั พระธาตฯุ
ชา้ งรอง,หนองเสง้ - วดั สวนดอก
ไม่ผา่ นเกณฑ์ -วดั พระธาตหุ ริภุญชัย - หนองเสง้ สนั ป่ายางหนอ่ ม - วดั หนองเส้ง
- พระคงฤๅษี สันดอนรอม
- ชา้ งรอง - สนั ปา่ ยางหลวง พระคงฤาษี,ประตลู ้ี - วัดสันป่ายางหน่อม
- จามเทวี - สนั ดอนรอม สนั ป่ายางหลวง
- สันป่ายางหลวง
ชยั มงคล,มหาวัน
วันพระธาตุหริภุญชยั
5. โรงเรียนที่มคี า่ C.I. - จกั รคาคณาทร - จกั รคาคณาทร สว่ นบญุ โญปถัมภ์ -เทศบาลสนั ปา่ ยาง - เทศบาลจามเทวี
ไม่ผา่ นเกณฑ์ - เทคนคิ ลาพนู - เทศบาลประตูลี้ จกั รคาคณาทร หน่อม - เทศบาลสันป่ายาง
- เทศบาลจามเทวี - เทศบาลสันป่ายาง มงคลวิทยา -เทศบาลสนั ปา่ ยาง หน่อม
- ส่วนบุญโญปถัมภ์ หนอ่ ม เทศบาลประตูล้ี หลวง -เทศบาลสนั ปา่ ยาง
- เทศบาลสันป่ายาง เมธีวุฒกิ ร -เทศบาลประตูลี้ หลวง
หนอ่ ม
เทศบาลสันป่ายาง - เมธีวุฒิกร
- อนุบาลคริสเตียน หน่อม
ลาพูน อนบุ าลลาพนู
เทคนคิ ลาพนู
6. สถานที่ราชการท่ีมี - แ ข ว ง ก า ร ท า ง - ศู น ย์ ป ฏิ บั ติ สนง.ป่าไม่ลาพนู ศาลากลางจังหวดั ศาลากลางจังหวดั
ค่า C.I. ไม่ผา่ นเกณฑ์ ลาพนู การจราจร สถานี สนง.ทม.ลาพนู
- สนง.ไฟฟา้ ลาพนู ตารวจภูธรจังหวัด ทที่ าการไปรษณยี ์ ลาพูน ลาพูน
- สถานีรถไฟลาพนู ลาพนู ศาลากลาง
- ศูนย์บริการฯทม. สภ.เมืองลาพูน
ลาพนู ป้องกันบรรเทาสา
- ศาลากลางจังหวัด ธารณภัยทม.ลาพนู
ลาพนู
7. ศูนย์เดก็ ทม่ี ีค่า C.I. ไม่มี ศนู ย์พัฒนาเดก็ เล็ก ศูนย์พัฒนาเดก็ เลก็ ไมม่ ี -
ไมผ่ า่ นเกณฑ์ เทศบาลเมอื งลาพูน เทศบาลเมืองลาพนู
๓๓
ปอ้ งกนั ควบคมุ โรคไมต่ ดิ ตอ่
ภาพท่ี 16 แผนภูมิแสดงการคัดกรองโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวานในเขตเทศบาลเมืองลาพูน
ในประชากรอายุ 35 ปขี ึ้นไป ประจาปี 2560 – 2564
ภาพท่ี 17 แผนภูมิแสดงร้อยละการคัดกรองโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน ในเขตเทศบาล
เมอื งลาพูนในประชากรอายุ 35 ปีข้ึนไป ประจาปี 2560 – 2564
๓๔
ตารางท่ี 15 แสดงการคัดกรองมะเร็งเต้านมในสตรี อายุ 30 – 70 ปี ประจาปี 2564
ประจาปี เป้าหมาย การคดั กรอง รอ้ ยละ
2560 4,400 3,274 74.41
2561 3,515 3,078 87.57
2562 3,264 3,443 94.80
2563 3,685 3,416 92.70
2564 3,287 2,959 90.02
ภาพท่ี 18 แผนภูมิแสดงการคัดกรองมะเร็งเต้านมในสตรี อายุ 30 – 70 ปี (เป้าหมาย 3,287 ราย) ได้รับ
การคดั กรอง ประจาปี 2564 จานวน 2,959 ราย คดิ เปน็ รอ้ ยละ 90.02
๓๕
ตารางที่ 16.แสดงการคดั กรองมะเรง็ ปากมดลกู ในสตรอี ายุ.30.-.60.ปี. ประจาปี 2560 – 2564
ประจาปี เปา้ หมาย การคัดกรอง ร้อยละ
2560 7,407 6,714 90.64
2561 4,444 4,037 90.68
2562 4,037 3,863 95.69
2563 2,417 2,121 87.75
2564 2,342 2,052 87.62
ภาพที่.19.แผนภูมิแสดงการคัดกรองมะเร็งปากมดลูกในสตรีอายุ.30.-.60.ปี.(เป้าหมาย.2,342.ราย)
ได้รบั การคัดกรอง ประจาปี 2564 จานวน 2,052 ราย คดิ เปน็ รอ้ ยละ 87.62
๓๖
ตารางที่ 17 แสดงจานวนผูป้ ่วยโรคไมต่ ิดต่อเร้ือรัง (Non-communicable diseases) ปี 2560 – 2564
ปงี บประมาณ โรคเบาหวาน ดนั โลหติ สูง โรคหวั ใจ โรคหลอด โรคถงุ ลม เนอื้ งอกรา้ ย
2560 (คน) (คน) และหลอด เลือดสมอง โปง่ พอง และมะเรง็
เลือด (คน) (คน)
271 904 (คน) (คน)
74 24
57 90
2561 272 814 81 81 26 94
2562 258 629 91 89 32 85
2563 204 465 55 61 26 78
2564 258 718 43 44 19 68
ภาพท่ี 20 แสดงจานวนผู้ป่วยโรคไม่ตดิ ต่อเรอื้ รงั (Non-communicable diseases) ปี 2560 – 2564
๓๗
3. งานรกั ษาพยาบาล
ตารางท่ี 18 ตารางแสดงจานวนผู้มารับบริการศูนย์บริการสาธารณสุขเทศบาลเมืองลาพูนแยกตามสิทธิ
การรกั ษาพยาบาล ประจาปี 2560 – 2564
ปงี บประมาณ บตั รทอง ข้าราชการ/ ประกนั สงั คม รวม (คน)
(ทกุ ประเภท) รฐั วสิ าหกจิ ชาระเงิน
2560 15,116 20,135 3,378 38,629
2561 13,251 21,590 11,121 45,692
2562 12,032 14,901 9,132 36,613
2563 12,114 13,788 11,609 37,919
2564 9,286 8,566 512 24,597
ภาพที่ 21 แผนภูมิแสดงจานวนผู้มารับบริการศูนย์บริการสาธารณสุขเทศบาลเมืองลาพูนแยกตามสิทธิ
การรกั ษาพยาบาล ประจาปี 2560 – 2564
๓๘
ตารางท่ี 19 ตารางแสดง 5 อันดับโรค ท่ีผู้ป่วยมาตรวจรักษาในศูนย์บริการสาธารณสุขเทศบาลเมืองลาพูน
ประจาปี 2560 – 2564
ลาดบั ปีงบประมาณ ปีงบประมาณ ปีงบประมาณ ปีงบประมาณ ปงี บประมาณ
2560 2561 2562 2563 2564
1 โรคความดันโลหิตสงู โรคความดันโลหิตสูง โรคความดันโลหติ สูง โรคความดันโลหติ สูง โรคความดนั โลหิตสูง
2 โรคกระดกู และ โรคกระดกู โรคกระดูก โรคกระดูก โรคกระดกู
กล้ามเน้ือ และกลา้ มเน้ือ และกลา้ มเน้ือ และกลา้ มเนือ้ และกล้ามเนอ้ื
3 โรคเบาหวาน เยือ่ จมูก เย่ือจมูก โรคเบาหวาน โรคไขมันในเลอื ดสงู
และลาคออกั เสบ และลาคออกั เสบ
4 โรคไขมันในเลอื ดสงู โรคเบาหวาน โรคเบาหวาน เยือ่ จมกู โรคเบาหวาน
และลาคออักเสบ
5 เย่อื จมกู โรคไขมนั ในเลอื ดสูง โรคทางผวิ หนงั โรคไขมนั ในเลอื ดสูง เยื่อจมูก
และลาคออกั เสบ และลาคออักเสบ
ตารางที่ 20 ตารางแสดงจานวนผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวานที่ลงทะเบียนและมารับบริการ
ในคลินิกฯ ประจาปี 2560 – 2564
ปงี บประมาณ ผปู้ ว่ ยโรคเบาหวาน (คน) ผปู้ ว่ ยโรคความดนั โลหติ สงู (คน)
2560 271 904
2561 272 814
2562 258 629
2563 204 797
2564 258 718
ตารางที่ 21 ตารางแสดงจานวนผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงท่ีเข้ารับการรักษาในคลินิก ท่ีสามารถ
ควบคมุ ระดบั ความดนั โลหติ ได้ ประจาปี 2560 – 2564
ปงี บประมาณ 2560 2561 2562 2563 2564
ผปู้ ่วยโรคความดันโลหิตสงู ทั้งหมด (คน) 904 814 629 797 718
ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสงู ท่สี ามารถ 475 491 328 488 535
ควบคุมระดบั ความดันโลหติ ได้ (คน)
รอ้ ยละผปู้ ่วยโรคความดนั โลหติ สูงท่สี ามารถ 52.3 60.3 52.14 61.22 74.5
ควบคมุ ระดบั ความดันโลหิตได้ (คน)
๓๙
ตารางท่ี 22 ตารางแสดงผลการติดตามค่าการทางานของไตในผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง ประจาปี
2560 – 2564
ปงี บประมาณ ผู้ป่วยโรคความดัน ผู้ป่วยโรคความดัน ผู้ป่วยโรคความดัน ผู้ป่วโรคเบาหวาน
2560 โลหิตสงู ท่ไี ดร้ ับการ โลหิ ต ท่ี มีค่าก าร โลหิตสงู ที่ไดร้ บั การ ทีมีค่าการทางาน
ตรวจติดตามการ ท า ง า น ข อ ง ไ ต ตรวจติดตามการ ข อ ง ไ ต ( EGFR)
ทางานของไต (คน) (EGFR) STAGE ทางานของไต (คน) STAGE 4-5 (คน)
4-5 (คน)
801 26 227 5
2561 760 23 225 9
2562 555 9 190 10
2563 572 9 188 7
2564 554 3 211 4
ตารางที่ 23 ตารางแสดงจานวนผู้ป่วยโรคเบาหวานท่ีควบคุมระดับน้าตาลได้ดี (HbA1-C ครั้งสุดท้าย<7%)
ประจาปี 2560 – 2564
ปงี บประมาณ ผปู้ ว่ ยเบาหวานท่รี บั การ ผปู้ ว่ ยโรคเบาหวาน ร้อยละผปู้ ว่ ยโรคเบาหวาน
รกั ษาทค่ี ลนิ กิ ทม่ี คี ่า HbA1-C ท่คี มุ ระดบั นา้ ตาลในเลอื ดได้
ตา่ กวา่ 7 % (คน)
โรคเบาหวาน (คน) เกณฑ์ > 40%
2560 271 104 38.38
2561 272 103 37.86
2562 258 107 41.47
2563 204 87 42.675
2564 258 108 41.86
๔๐
ตารางที่ 24 ตารางแสดงผลการดาเนินงานตรวจตาผปู้ ่วยโรคเบาหวานในคลนิ กิ เบาหวาน ปี 2560 – 2564
ผปู้ ว่ ย ผปู้ ว่ ย ผปู้ ว่ ย ผปู้ ว่ ย ผปู้ ว่ ย
ปงี บประมาณ โรคเบาหวาน โรคเบาหวาน โรคเบาหวาน โรคเบาหวานที่ โรคเบาหวาน
ทม่ี ารบั การ ทงั้ หมดท่ีมี ท่ีมภี าวะเสยี่ ง
(คน) ภาวะเบาหวาน ไดร้ บั การ (high risk)
ตรวจตา เขา้ จอตา (คน) ตรวจเทา้
(คน) (คน
(คน)
2560 271 225 9 225 -
2651 272 183 5 183 -
2562 258 194 5 194 9
(Moderate risk)
2563 204 198 5 198 1
2564 258 228 5 228 11
(Moderate risk)
๔๑
ตารางที่ 25 ตารางแสดงผลมูลคา่ การใช้ยาศนู ยบ์ ริการสาธารณสุขเทศบาลเมืองลาพนู ปี 2560 - 2564
ลาดบั ปีงบประมาณ มลู คา่ การใชย้ า (บาท)
1 2560 5,036,594.00
2 2561 3,030,609.00
3 2562 2,581,881.00
4 2563 2,638,236.00
5 2564 2,961,696.00
ภาพท่ี 22 แผนภูมแิ สดงมลู ค่าการใช้ยาศนู ยบ์ รกิ ารสาธารณสุขเทศบาลเมืองลาพูน ประจาปี 2560 - 2564
จากภาพที่ 22 แสดงมูลค่าการใช้ยาย้อนหลัง ประจาปี 2560 - 2564 มูลค่าการใช้ยา
มีแนวโน้มลดลง เนื่องจากศูนย์บริการสาธารณสุขเทศบาลเมืองลาพูน ไม่มีการใช้ยานอกบัญชียาหลักแห่งชาติ
ซ่ึงยานอกบัญชียาหลักแห่งชาติเป็นยาที่มีมูลค่าสูง ประกอบกับมีการควบคุมราคายาให้ขายตามราคากลาง
ทาให้มูลคา่ การใชย้ าศูนยบ์ ริการสาธารณสุขเทศบาลเมอื งลาพูนมกี ารใช้ยาโดยรวมลดลง
๔๒
4. การฟนื้ ฟสู มรรถภาพผปู้ ่วย และงานเยย่ี มบา้ น
ภาพที่ 23 แผนภมู แิ สดงจานวนผู้พิการในเขตเทศบาลเมอื งลาพูน ประจาปี 2560 - 2564
เกณฑ์การเยยี่ มผูพ้ กิ าร
ประเภทท่ี 1 หมายถึง ครอบครัวที่มีปัญหาสุขภาพหรือเจ็บป่วยท่ีสามารถดูแลตัวเองได้ดีมีนักสุขภาพ
ครอบครวั ประจาบา้ น และมีอาสาสมคั รสาธารณสขุ ประจาหมู่บ้านเป็นผดู้ แู ล
ประเภทที่ 2 หมายถึง ครอบครัวท่ีมีปัญหาสุขภาพหรือเจ็บป่วยและเร่ิมมีภาวะแทรกซ้อนแต่ยังสามารถช่วย
ตัวเองได้ บางส่วนพยาบาลประจา รพ.สต และนักสุขภาพ ครอบครัวประจาบ้าน สามารถดูแลได้ และส่ง
ปรึกษากับทีมสหวิชาชีพ ผู้เช่ียวชาญในรายท่ีมีความจาเป็นมี Care giver/อสม./นักสุขภาพครอบครัวประจา
บ้านเปน็ ผู้ดแู ล
ประเภทท่ี 3 หมายถึง ครอบครัวที่มีปัญหาสุขภาพหรือเจ็บป่วยด้วยโรคซับซ้อนมีความยุ่งยากในการดูแล
รพ.สต.และ.นกั สขุ ภาพ ครอบครัว ต้องการการดแู ล จากผู้อน่ื เกือบท้ังหมด มีสหสาขาวิชาชีพรว่ มการดูแล กับ
พ ย า บ า ล ป ร ะ จ า บ้ า น .มี ผู้ ดู แ ล .(Care.giver).ดู แ ล ป ร ะ จ า ทุ ก วั น แ ล ะ เป็ น .Care.giver.ท่ี ส า ม า ร ถ ดู แ ล
กลุ่มเป้าหมายได้จริงผา่ นการฝกึ อบรม ทกั ษะการดูแลเฉพาะราย
๔๓
ภาพท่ี 24 แผนภูมิแสดงจานวนผู้พิการในเขตเทศบาลเมืองลาพูนท่ีได้รับการเยี่ยมโดยทีมสหวิชาชีพ ประจาปี
2560 – 2564
ภาพท่ี 25 แผนภมู แิ สดงจานวนคร้งั ท่ีผพู้ ิการท่ไี ด้รบั การเยีย่ มโดยอาสาสมคั รดแู ลผูพ้ ิการ ปี 2560 – 2564