The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

R2R ตรวจถนนคนเดิน Menuscript English Abstract

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

R2R ตรวจถนนคนเดิน Menuscript English Abstract

R2R ตรวจถนนคนเดิน Menuscript English Abstract

ผลของกลไกเฝา้ ระวังผลิตภัณฑส์ ขุ ภาพไมเ่ หมาะสมที่จาหน่ายในถนนคนเดินลาพูน

พงษ์นรนิ ทร์ จินดา, ชดิ ชนก เรือนก้อน
ศูนย์บรกิ ารสาธารณสขุ เทศบาลเมอื งลาพนู
ศูนยว์ จิ ัยเภสชั ระบาดวิทยาและสถติ ิ คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลยั เชยี งใหม่

บทคัดย่อ
ความเป็นมา ถนนคนเดินเป็นแหล่งท่องเที่ยวที่กระตุ้นเศรษฐกิจชุมชน เนื่องจากมีสินค้าให้เลือกหลากหลาย
ประชาชนสามารถเข้าถึงได้ง่าย หนึ่งในสินค้าท่ีนิยมมาขายในถนนคนเดนิ คือ สินค้าผลิตภัณฑ์สุขภาพ ด้วยเหตุน้ี
จึงมีความจาเป็นที่ต้องมีกลไกเฝ้าระวังในการซื้อขายผลติ ภัณฑ์สุขภาพที่ไม่เหมาะสมขึ้น เพื่อลดอันตรายจากการ
บรโิ ภคผลิตภณั ฑเ์ หล่านน้ั
วัตถปุ ระสงค์ เพอ่ื ประเมินผลของกลไกการเฝ้าระวังผลติ ภัณฑส์ ุขภาพในถนนคนเดินลาพนู
วิธีการศึกษา งานวิจัยนี้เป็นการศึกษาชนิดกึ่งทดลอง โดยผู้วิจัยได้พัฒนากลไกเฝ้าระวัง ได้แก่ 1. การคัดกรอง
ผลิตภัณฑ์สุขภาพที่มาจาหน่ายโดยใช้ Google Docs 2. การตรวจผลิตภัณฑ์สุขภาพโดยเครือข่ายภาคประชาชน
3. การให้ความรู้ในการคุ้มครองตนเองในการบริโภคผลิตภัณฑ์สุขภาพ จากนั้นทาการเก็บข้อมูลด้านความชุกของ
ผลติ ภณั ฑ์สขุ ภาพที่ไม่เหมาะสม ด้านความรู้และพฤติกรรมการจาหน่ายผลิตภัณฑส์ ุขภาพของผู้ประกอบการร้านค้า
ในถนนคนเดิน และด้านความรู้ในการคุ้มครองผูบ้ ริโภคก่อนและหลงั การใช้กลไกเฝา้ ระวงั วเิ คราะห์และเปรยี บเทียบ
ความแตกต่างระหว่างกลุ่มดว้ ยสถิติ dependent t-test, Wilcoxon ranksum test และ McNemar’s test
ผลการศึกษา จากการสารวจพบว่ามรี ้านค้าท่ีจาหน่ายผลิตภัณฑ์สุขภาพจานวน 8 ร้านในถนนคนเดินลาพูน การใช้
กลไกเฝ้าระวังสามารถลดร้อยละของจานวนผลิตภัณฑ์สุขภาพที่ไม่เหมาะสมจากร้อยละ 5.1 (40 รายการจาก 780
รายการ) เป็นรอ้ ยละ 0.5 (3 รายการจาก 607 รายการ) (p<0.001) สาหรบั ด้านความรู้และพฤติกรรมการจาหน่าย
ผลิตภัณฑ์สุขภาพของผู้ประกอบการร้านค้าในถนนคนเดิน พบว่า ผูป้ ระกอบการมีคะแนนความรู้เก่ียวกับผลิตภัณฑ์
สุขภาพเพิ่มขึ้นจาก 11.38±0.92 คะแนน เป็น 13.25±1.16 คะแนน (p<0.01) และมีพฤติกรรมการตรวจสอบเลข
สารบนอาหาร หรือเลขจดแจ้งเครื่องสาอางเพิ่มขึ้นจาก 2 ร้านเป็น 8 ร้าน (p=0.031) นอกจากนี้กลไกการเฝ้าระวัง
ยังช่วยเพิ่มความรอบรู้ด้านสุขภาพ ในด้านการเข้าถึงข้อมูลเกี่ยวกับผลิตภัณฑ์สุขภาพ ด้านความรู้ความเข้าใจ
เกี่ยวกับผลิตภัณฑ์สุขภาพ การสื่อสารเกี่ยวกับผลิตภัณฑ์สุขภาพ และการจัดการตนเองเกี่ยวกับผลิตภัณฑ์สุขภาพ
ของกลุม่ ตัวอยา่ งผู้บรโิ ภคจานวน 77 คน จาก 1.74±1.07 เปน็ 3.82±0.48 (p<0.01)
สรปุ และข้อเสนอแนะ กลไกเฝ้าระวังสามารถเพ่ิมความปลอดภัยของการบริโภคผลิตภัณฑ์สุขภาพของประชาชนได้
ทั้งน้กี ารใช้เทคโนโลยีอย่างง่าย เช่น Google docs ในการคัดกรองผลิตภัณฑส์ ุขภาพทจี่ าหน่าย ร่วมกับการทางาน
ผ่านเครือข่ายภาคประชาชนในการให้ความรู้แกผ่ ู้ประกอบการและผู้บริโภคทาให้กลไกเฝ้าระวังมีความเข้มแข็งและ
มีประสิทธิภาพที่เพ่ิมมากขึ้น
คาสาคัญ ผลิตภณั ฑส์ ขุ ภาพ กลไกเฝ้าระวัง ถนนคนเดิน

Effect of Surveillance mechanism on Inappropriate Health Products Selling at
Lamphun Walking Street

Abstract
Background Walking street is a tourist attraction that stimulates the community economy since
there are variety of local products and people are easily accessible. One of popular items sold
at walking street is health products. Therefore, it is important to have surveillance mechanism to
reduce the risk of inappropriate health products.
Objective To evaluate surveillance mechanism of inappropriate health products at Lamphun
Walking Street.
Methods This study is a Quasi – Experimental Research. The authors developed surveillance
mechanisms including 1. Screening system of health products using Google Docs 2. Health
products inspection by public sector network 3. Providing self-protection knowledge about health
products consumption. Data on the prevalence of inappropriate health products, knowledge and
behavior of health product distribution of entrepreneurs, and consumer’s self-protection
knowledge about health products were compared before and after surveillance mechanism
implementation. Dependent t-test, Wilcoxon ranksum test and McNemar’s test were used to
compare the difference between groups.
Results We found that there were 8 stores selling health products at Lamphun walking street.
Surveillance mechanism could reduce percentage of inappropriate health products from 5.1% (40
items from 789 items) to 0.5% (3 items from 607 items) (p<0.01). Entrepreneurs have increased
knowledge about health products from 11.38±0.92 to 13.25±1.16 points (p<0.01) and increase
checking food and cosmetic labeling behavior from 2 store to 8 stores (p=0.031). Moreover, the
data from 77 consumers showed that surveillance mechanisms can improve health literacy in
health products in Health product information accessibility, Knowledge and understanding about
health products, Health product communication, and Self-management of health products from
1.74±1.07 to 3.82±0.48 (p<0.01)
Conclusion Surveillance mechanisms can increase the safety of health products consumption.
Concomitant using simple system such as Google Docs in screening health products with working
through public sectors in providing knowledge to entrepreneurs and consumers could strengthen
surveillance mechanism and increase its efficacy.
Keywords Health products, Surveillance mechanisms; Walking street


Click to View FlipBook Version