ศส�ำาคสัญนคสูแ่ ผถ่นาดนนิ
สศำ�าคสัญนคู่แสผถ่นาดนิน
พระพุทธศาสนา 1
ค�ำปรารภ
พลเอก ประยุทธ์ จนั ทร์โอชา นายกรฐั มนตรี
ในโอกาสการจดั พิมพ์หนงั สือ “ศาสนสถานส�ำคัญคูแ่ ผ่นดนิ ”
พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๑
ศาสนามีบทบาทส�ำคัญตอ่ ชีวติ มนุษย์ และมีหลักธรรมคำ� สอนทม่ี ุง่ หวังให้มนษุ ย์ทกุ คนเป็น
คนดี มศี ีลธรรม และประพฤตปิ ฏิบัตใิ นสงิ่ ที่ดีงาม ศาสนาจงึ เปน็ เครอ่ื งยึดเหนยี่ วทางจิตใจของคนใน
ชาตใิ ห้มีความรกั ความสามคั คี ไม่เบยี ดเบียนซง่ึ กนั และกนั ต้ังแต่โบราณกาล พระมหากษตั รยิ ไ์ ทย
ทุกพระองค์ทรงเป็นองค์เอกอัครศาสนูปถัมภกของทุกศาสนา ทรงให้การอุปถัมภ์ท�ำนุบ�ำรุงทุก
ศาสนาอย่างต่อเนื่องเพ่ือสืบทอดศาสนาให้ด�ำรงอยู่อย่างมั่นคงสถาพร รัฐบาลให้ความส�ำคัญต่อ
สถาบันศาสนา ซ่ึงเปน็ สถาบันหลกั ของชาติ โดยให้การสง่ เสริมและอุปถัมภค์ มุ้ ครองศาสนาตา่ งๆ ใน
ประเทศไทยท่ที างราชการให้การรบั รอง รวมท้งั สง่ เสรมิ ใหเ้ กิดความเข้าใจอนั ดแี ละความสมานฉันท์
ระหวา่ งศาสนกิ ชนทกุ ศาสนา ตลอดจนสนบั สนนุ ใหอ้ งคก์ รทางศาสนามบี ทบาทในการนำ� หลกั ธรรมของ
ศาสนามาปลกู ฝงั คณุ ธรรม จรยิ ธรรม เพอ่ื ใหค้ นในสงั คมเปน็ คนดี มศี ลี ธรรม และอยรู่ ว่ มกนั ในสงั คมไทย
อย่างสงบสนั ตสิ ุข มีความปรองดองสมานฉนั ท์
ศาสนสถานถอื เปน็ องคป์ ระกอบหลกั ของศาสนา โดยเปน็ ศนู ยร์ วมในการประกอบศาสนกจิ
และพธิ กี รรมทางศาสนาของศาสนกิ ชนในวาระสำ� คญั ตา่ งๆ ตามหลกั ศาสนบญั ญตั ิ ศาสนสถานสำ� คญั
ที่ตงั้ อยใู่ นประเทศไทยมศี ิลปะการกอ่ สรา้ งทางสถาปตั ยกรรมบนพ้นื ฐานความเชอื่ ความศรัทธาทาง
ศาสนา ทสี่ ะท้อนใหเ้ หน็ ถงึ มติ ิทางดา้ นประวัตศิ าสตร์ สังคม วฒั นธรรมในแต่ละชว่ งเวลา มีความ
งดงาม ทรงคุณค่าและมีเอกลักษณ์ที่โดดเด่นเป็นที่รู้จัก หนังสือ “ศาสนสถานส�ำคัญคู่แผ่นดิน”
เปน็ การรวบรวมสถานที่ท่ีเปน็ ศาสนสถานสำ� คัญของ ๕ ศาสนา ได้แก่ ศาสนาพทุ ธ ศาสนาอิสลาม
ศาสนาครสิ ต์ ศาสนาพราหมณ์ – ฮินดู และศาสนาซกิ ข์ท่ีมคี ณุ คา่ ทางประวตั ศิ าสตร์ในยุคสมยั ต่างๆ
ทอี่ ยคู่ ปู่ ระเทศไทยมาช้านาน รวมทง้ั เพ่ือเผยแพรค่ วามรู้ ความเข้าใจเก่ียวกับศาสนสถานส�ำคญั ของ
ทุกศาสนาในประเทศไทย และสร้างความตระหนักถึงความส�ำคัญของศาสนสถานให้แก่ประชาชน
ศาสนกิ ชน และผสู้ นใจทง้ั ชาวไทยและชาวตา่ งชาติ ซง่ึ จะกอ่ ใหเ้ กดิ ความเขา้ ใจอนั ดี ระหวา่ งศาสนกิ ชน
ทุกศาสนา และร่วมกันอนรุ กั ษ์ศาสนสถานส�ำคัญใหด้ �ำรงอยู่คูแ่ ผน่ ดนิ ไทยสืบไป
พลเอก
(ประยทุ ธ์ จันทรโ์ อชา)
นายกรฐั มนตรี
สาร
นายวิษณุ เครอื งาม รองนายกรัฐมนตรี
รัฐบาลตระหนกั ในความสำ� คญั ของศาสนา เพราะศาสนาสอนให้ทกุ คนเปน็ คนดี มศี ลี ธรรม
ตลอดจนชแ้ี นวทางในการดำ� เนนิ ชวี ิตใหเ้ กิดความร่มเย็นเป็นสขุ กอปรกบั ประเทศไทยเป็นประเทศท่ี
ไมม่ ีการกีดกันในการนับถือศาสนา ประเทศชาติจึงสขุ สงบ สนั ติ ภายใตร้ ม่ พระบารมแี หง่ พระมหา
กษัตริย์ไทยท่ีทรงอปุ ถมั ภ์บำ� รงุ ทุกศาสนา เปน็ บุญของคนไทยและประเทศไทยอยา่ งย่งิ
การสนบั สนนุ ใหค้ นในชาตเิ กดิ ความรกั ความสมานฉนั ทก์ ลมเกลยี วกนั เปน็ หนา้ ทข่ี องรฐั บาล
ทางหน่ึงคอื การดำ� เนนิ งานด้านศาสนา เมอื่ กระทรวงวฒั นธรรมซ่งึ มภี ารกิจโดยตรงไดข้ ับเคลอ่ื นการ
ดำ� เนนิ งานดว้ ยการจดั พมิ พห์ นงั สอื เผยแพรค่ วามรดู้ า้ นศาสนา อนั กอ่ ใหเ้ กดิ ประโยชนท์ งั้ ทางตรงและ
ทางออ้ ม จงึ เปน็ สงิ่ ทน่ี า่ ยนิ ดแี ละนา่ สรรเสรญิ ยงิ่ นอกจากคนในชาตจิ ะไดร้ บั ความรู้ ความเพลดิ เพลนิ
เจริญใจในความงดงามทางศิลปะ สถาปัตยกรรม ประวตั ศิ าสตร์ และความส�ำคญั ของสถานที่แล้ว
ยงั กอ่ ใหเ้ กดิ ความศรทั ธาเชอ่ื มนั่ ความเบกิ บานใจและเปน็ สขุ ตลอดจนสรา้ งความเขา้ ใจซง่ึ กนั และกนั
ระหวา่ งศาสนกิ ชนในแตล่ ะศาสนาได้เป็นอย่างดี
หวังว่าหนังสือ “ศาสนสถานส�ำคัญคู่แผ่นดิน” เล่มน้ี จะท�ำหน้าท่ีเป็นส่วนหนึ่งในการ
เผยแพร่และบันทึกไวเ้ ป็นองค์ความรู้คแู่ ผ่นดนิ ไทย ตามวตั ถปุ ระสงค์ของกระทรวงวฒั นธรรมต่อไป
(นายวษิ ณุ เครืองาม)
รองนายกรฐั มนตรี
สาร
รัฐมนตรวี ่าการกระทรวงวฒั นธรรม
สถาบนั ศาสนา เปน็ สถาบนั ทมี่ คี วามสำ� คญั ตอ่ ชาตบิ า้ นเมอื งเปน็ อยา่ งยงิ่ เพราะทำ� ใหค้ นใน
ชาตมิ คี วามผาสกุ หลกั ธรรมของทกุ ศาสนาลว้ นสอนใหป้ ระพฤตปิ ฏบิ ตั ใิ นสง่ิ ทดี่ งี าม เปน็ เครอื่ งยดึ เหนย่ี ว
จติ ใจไมใ่ หเ้ บยี ดเบยี นซงึ่ กนั และกนั ดว้ ยหลกั ธรรมอนั เปน็ รากฐานสำ� คญั น้ี ทำ� ใหส้ งั คมอยรู่ ว่ มกนั อยา่ ง
สงบสขุ เหน็ แกป่ ระโยชนส์ ว่ นรวมมากกวา่ ประโยชนส์ ว่ นตน สง่ ผลใหช้ าตมิ คี วามกา้ วหนา้ อยา่ งยง่ั ยนื
ภารกจิ สำ� คญั ของกระทรวงวฒั นธรรมดา้ นหนง่ึ คอื การขบั เคลอื่ นงานดา้ นวฒั นธรรมในเรอื่ ง
ของการเทดิ ทนู สถาบนั ชาติ ศาสนา พระมหากษตั รยิ ์ การสรา้ งคนดแี ละสงั คมดดี ว้ ยมติ ทิ างวฒั นธรรม
ตามแผนแม่บทส่งเสริมคุณธรรมแห่งชาติ รวมท้ังการส่งเสริมและสร้างความสมานฉันท์ระหว่าง
ศาสนกิ ชนทุกศาสนา จึงไดม้ อบหมายใหก้ ระทรวงวฒั นธรรม โดยกรมการศาสนา ซึง่ เป็นหนว่ ยงาน
ทม่ี หี นา้ ทโ่ี ดยตรงเกยี่ วกบั งานดา้ นศาสนา จดั พมิ พห์ นงั สอื “ศาสนสถานสำ� คญั คแู่ ผน่ ดนิ ” เพอ่ื เผยแพร่
องค์ความรู้ด้านศาสนสถานของศาสนาพุทธ ศาสนาอิสลาม ศาสนาคริสต์ ศาสนาพราหมณ์-ฮินดู
และศาสนาซกิ ข์ ให้ประชาชนท่ัวไปเกดิ การเรยี นร้ซู ึ่งกนั และกัน และเกิดความสัมพนั ธอ์ ันดรี ะหว่าง
ศาสนกิ ชนทกุ ศาสนา
กระทรวงวัฒนธรรมจึงหวังว่าหนังสือเล่มน้ีจะอ�ำนวยประโยชน์ด้านวิชาการ ทั้งด้าน
ประวตั ศิ าสตร์ ศลิ ปะ รูปแบบทางสถาปัตยกรรม และความสำ� คญั ของศาสนสถาน ซ่ึงเป็นสถานท่ี
อนั ควรแกก่ ารเคารพสกั การะ และเปน็ ชอ่ งทางเบอื้ งตน้ นำ� ไปสคู่ วามสงบทางจติ ใจ พรอ้ มทงั้ ขยายผล
ให้ประเทศชาติเจริญมน่ั คงสืบไป
(นายวรี ะ โรจน์พจนรัตน์)
รฐั มนตรวี า่ การกระทรวงวัฒนธรรม
สาร
ปลดั กระทรวงวฒั นธรรม
กระทรวงวฒั นธรรม ไดร้ บั สนองนโยบายจากรฐั มนตรวี า่ การกระทรวงวฒั นธรรมใหด้ ำ� เนนิ งาน
ดา้ นการขับเคล่ือนการพัฒนาประเทศด้วยมิตทิ างวัฒนธรรม ๓ ด้าน หน่งึ ในนั้น คือ การสรา้ งคนดี
และสังคมดตี ามแผนแมบ่ ทส่งเสรมิ คุณธรรมแห่งชาติ นอกจากน้ี ยังตระหนักในนโยบายสง่ เสรมิ ให้
ชาวไทยนอ้ มนำ� หลกั ธรรมทางศาสนามาพฒั นาคณุ ภาพชวี ติ ยดึ มนั่ ในการสรา้ งคณุ งามความดี ตลอด
จนส่งเสรมิ ชุมชนคุณธรรมตามหลกั ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพยี ง
ศาสนาทุกศาสนาในประเทศไทยที่ทางราชการให้การรบั รองน้ัน ล้วนมีสว่ นในการสร้างเสริม
คนดี มีคุณธรรม พรอ้ มน�ำประเทศชาตสิ คู่ วามเจริญก้าวหนา้ ในทุกรูปแบบ ดงั นั้น เพอื่ ให้ศาสนกิ ชน
ทกุ ศาสนามคี วามสมคั รสมานสามคั คี มคี วามเขา้ ใจและเกดิ การเรยี นรซู้ ง่ึ กนั และกนั จงึ ไดม้ อบใหก้ รม
การศาสนา จัดพมิ พ์หนังสอื “ศาสนสถานสำ� คญั คู่แผ่นดิน” ดว้ ยความตัง้ ใจว่าจะเผยแพร่ความรู้สู่
ประชาชนในมิติด้านศาสนาให้กว้างขวาง เป็นความปรารถนาดีต่อศาสนิกชนทุกศาสนาในการสร้าง
ความสมานฉนั ท์ให้เกิดข้ึนในสงั คมไทยตามนโยบายของรัฐบาล
การจดั พมิ พห์ นงั สอื เลม่ นี้ ไดร้ วบรวมขอ้ มลู ของศาสนสถานสำ� คญั ของศาสนาหลกั ๕ ศาสนา
ได้แก่ ศาสนาพทุ ธ ศาสนาอสิ ลาม ศาสนาครสิ ต์ ศาสนาพราหมณ-์ ฮนิ ดู และศาสนาซกิ ข์ นอกจาก
ผอู้ า่ นจะไดเ้ หน็ ถงึ คณุ คา่ และความงดงามทางศลิ ปกรรม สถาปตั ยกรรม และคณุ คา่ ทางประวตั ศิ าสตร์
ของศาสนสถานแตล่ ะแหง่ แลว้ ยงั สง่ ผลใหเ้ กดิ ความสนุ ทรยี ะทางจติ ใจและอม่ิ เอมใจอกี ดว้ ย จงึ หวงั วา่
หนังสือเลม่ นีจ้ ะบรรลวุ ตั ถุประสงคแ์ ละอำ� นวยประโยชน์แกศ่ าสนิกชนโดยท่ัวกนั
(นายกฤษศญพงษ์ ศริ )ิ
ปลดั กระทรวงวัฒนธรรม
ค�ำน�ำ
อธิบดกี รมการศาสนา
กรมการศาสนา กระทรวงวัฒนธรรม มีภารกิจเกี่ยวกับการด�ำเนินงานของรัฐด้านศาสนา
โดยการทำ� นบุ ำ� รงุ สง่ เสรมิ และใหค้ วามอปุ ถมั ภค์ มุ้ ครองกจิ การดา้ นพระพทุ ธศาสนาและศาสนาอน่ื ๆ
ที่ทางราชการใหก้ ารรบั รอง ไดแ้ ก่ ศาสนาอสิ ลาม ศาสนาคริสต์ ศาสนาพราหมณ-์ ฮินดู และศาสนา
ซิกข์ ตลอดจนสง่ เสริมพัฒนาความรคู้ คู่ ณุ ธรรม ส่งเสรมิ ความเขา้ ใจอันดแี ละสร้างความสมานฉันท์
ระหว่างศาสนิกชนของทุกศาสนา รวมทั้งด�ำเนินการเพ่ือให้คนไทยน�ำหลักธรรมของศาสนามาใช้ใน
การพฒั นาคณุ ภาพชวี ิตให้เปน็ คนดี มคี ุณธรรม
ศาสนสถาน เปน็ หนงึ่ ในองคป์ ระกอบหลกั ของทกุ ศาสนา เปน็ สงิ่ กอ่ สรา้ งทเ่ี กดิ จากความเชอื่
และความศรทั ธาของศาสนกิ ชน โดยเปน็ สถานทท่ี ใี่ ชใ้ นกจิ การตา่ งๆ ทเี่ กย่ี วขอ้ งกบั ศาสนา ยกตวั อยา่ ง
เช่น เปน็ สถานทีใ่ นการประกอบศาสนกิจ เป็นท่อี ยูข่ องนักบวช เปน็ ตน้ ในประเทศไทยมศี าสนสถาน
ที่มีความส�ำคัญ สวยงามและมีประวัติศาสตร์อันยาวนานจ�ำนวนมาก ดังนั้น เพื่อเป็นการเผยแพร่
องคค์ วามร้เู ก่ียวกับวตั ถุท่ีส�ำคญั ของศาสนาตา่ งๆ กรมการศาสนาจึงจัดพิมพ์หนังสอื “ศาสนสถาน
ส�ำคัญคแู่ ผน่ ดิน” ข้นึ โดยมวี ัตถปุ ระสงค์เพอ่ื ให้ศาสนกิ ชนเกดิ การเรียนรแู้ ละสร้างความตระหนักใน
คณุ ค่าของประวัติศาสตร์และศิลปกรรมของศาสนสถาน
กรมการศาสนาจึงหวังเปน็ อย่างยงิ่ ว่า หนงั สอื เล่มน้จี ะเปน็ สว่ นหน่งึ ในการเสรมิ สรา้ งความรู้
คคู่ ณุ ธรรม ความเขา้ ใจอนั ดแี ละความสมานฉนั ทข์ องศาสนกิ ชน ตามภารกจิ หลกั ของกรมการศาสนา
ตอ่ ไป
(นายกิตตพิ ันธ์ พานสุวรรณ)
อธบิ ดีกรมการศาสนา
สารบัญ
ค�ำปรารภนายกรัฐมนตรี ๒ • มสั ยิดกลางปตั ตานี จงั หวัดปัตตาน ี ๙๓
สารนายวษิ ณุ เครอื งาม รองนายกรัฐมนตร ี ๓ • มสั ยดิ กลางนครศรีธรรมราช จงั หวดั นครศรธี รรมราช ๙๗
สารรฐั มนตรวี า่ การกระทรวงวัฒนธรรม ๔ • มัสยดิ วาดลี ฮูเซน็ (มัสยดิ ๓๐๐ ปี) จังหวัดนราธิวาส ๙๙
สารปลัดกระทรวงวฒั นธรรม ๕ • มัสยดิ กลางสงขลา จังหวัดสงขลา ๑๐๑
คำ� นำ� อธบิ ดกี รมการศาสนา ๖ • มัสยิดกลางยะลา จังหวัดยะลา ๑๐๕
พระพทุ ธศาสนา ๘ • มสั ยิดกลางสตูล (มสั ยิดมำ� บัง) จงั หวัดสตลู ๑๐๗
• วดั พระศรรี ัตนศาสดาราม (วัดพระแก้ว) ๑๑ ศาสนาคริสต์ ๑๑๐
• วดั พระเชตพุ นวมิ ลมงั คลาราม ราชวรมหาวหิ าร ๑๕ • วัดกาลหวา่ ร์ (วัดแม่พระลกู ประค�ำ) ๑๑๓
• วัดอรุณราชวราราม ราชวรมหาวิหาร ๑๙ • วัดคอนเซป็ ชัญ ๑๑๗
• วัดเบญจมบพติ รดุสติ วนาราม ราชวรวิหาร ๒๓ • วัดซางตาครสู้ ๑๒๑
• วัดราชบพิธสถติ มหาสีมาราม ราชวรวหิ าร ๒๗ • คริสตจักรไคร้สตเชชิ กรงุ เทพ ๑๒๕
• วัดสระเกศ ราชวรมหาวหิ าร ๓๑ • อาสนวหิ ารแม่พระบังเกดิ จงั หวัดสมทุ รสงคราม ๑๒๙
• วัดบวรนเิ วศวหิ าร ราชวรวิหาร ๓๕ • อาสนวหิ ารพระนางมารอี าปฏสิ นธนิ ริ มล จงั หวดั จนั ทบรุ ี ๑๓๑
• วดั สทุ ศั นเทพวราราม ราชวรมหาวิหาร ๓๙ • วดั อคั รเทวดามีคาแอล ซ่งแย้ จังหวดั ยโสธร ๑๓๕
• วดั ราชโอรสาราม ราชวรวิหาร ๔๓ • รองอาสนวหิ ารนกั บญุ อนั นา หนองแสง จงั หวดั นครพนม ๑๓๙
• วัดพระปฐมเจดยี ์ ราชวรมหาวิหาร จังหวดั นครปฐม ๔๗ • อาสนวหิ ารอัครเทวดามีคาแอล จงั หวัดสกลนคร ๑๔๓
• วดั นเิ วศธรรมประวตั ิ ราชวรวหิ าร จงั หวดั พระนครศรอี ยธุ ยา ๕๑ • สกั การสถาน พระมารดาแหง่ มรณสกั ขี จงั หวดั มกุ ดาหาร ๑๔๕
• วัดพระธาตุพนม วรมหาวิหาร จังหวดั นครพนม ๕๕ ศาสนาพราหมณ์ – ฮนิ ดู ๑๔๘
• วดั พระมหาธาตุ วรมหาวหิ าร จงั หวดั นครศรธี รรมราช ๕๙
• วดั พระธาตดุ อยสุเทพ ราชวรวหิ าร จังหวดั เชยี งใหม่ ๖๓ • เทวสถานส�ำหรบั พระนคร ๑๕๑
• วดั พระธาตุหรภิ ญุ ชยั วรมหาวหิ าร จงั หวดั ล�ำพนู ๖๗ • วัดวษิ ณุ ๑๕๕
• วัดพระศรีรตั นมหาธาตุ วรมหาวหิ าร จงั หวัดพิษณุโลก ๗๑ • วัดเทพมณเฑยี ร ๑๕๙
ศาสนาอิสลาม ๗๔ ศาสนาซิกข์ ๑๖๒
๗๗ • คุรดุ วาราศรีครุ ุสิงห์สภา ๑๖๕
• มัสยดิ ต้นสน
๘๑ บรรณานกุ รม ๑๖๘
• มสั ยดิ กูวติลอสิ ลาม (สเุ หรา่ ตึกแดง)
• มสั ยิดบางอ้อ ๘๕
• มัสยดิ บางหลวง ๘๙
พระพทุ ธศาสนา
8 ศาสนสถานส�ำ คญั คู่แผน่ ดนิ
วัด เป็นศาสนสถานท่ีส�ำคัญของพระพุทธศาสนา เป็นที่อยู่อาศัยหรือจ�ำพรรษาของพระภิกษุ
สามเณร ใช้ประกอบกิจวัตรประจ�ำวัน และประกอบศาสนพิธีในวนั สำ� คญั ทางศาสนา รวมทง้ั เปน็ ศูนยร์ วม
ของพทุ ธศาสนกิ ชนมารว่ มกนั ทำ� กจิ กรรมทางศาสนา ปจั จบุ นั พระอารามหรอื วดั นอ้ ยใหญ่ในพระพทุ ธศาสนา
ตามแต่ละภูมิภาคของประเทศ ย่อมมีอาคารท่ีมีลักษณะสถาปัตยกรรมและประโยชน์ใช้สอยแตกต่างกันไป
ตามลกั ษณะพื้นถน่ิ แต่โดยปกติแล้ววดั แบง่ พน้ื ทภี่ ายในวดั เป็นเขตพทุ ธาวาส และสังฆาวาส
เขตพทุ ธาวาสมอี าคารหลกั ๆ ไดแ้ ก่
พระเจดีย์ สรา้ งเปน็ ประธานของวดั และมขี นาดใหญก่ ว่าพระเจดยี อ์ งคอ์ ่นื ๆ ภายในวดั จะเปน็
ลักษณะของพระปรางค์ พระเจดียท์ รงระฆงั ทรงปราสาท พระธาตหุ รอื พระเจดยี ์แบบบัวเหลี่ยมของอีสาน
หรือปจั จุบนั มีรูปแบบอย่างอนื่ ใชเ้ ป็นทป่ี ระดษิ ฐานพระบรมสารรี ิกธาตุ พระธาตุ หรือพระพทุ ธรปู
พระวิหาร ส่วนใหญ่มีแผนผังสี่เหล่ียมผืนผ้าและสร้างชิดหรือต่อเน่ืองจากเจดีย์ประธาน เรียก
วิหารหลวง เป็นที่ประดิษฐานพระพุทธรูปพระประธานส�ำคัญของวัด นอกจากน้ันยังมีพระวิหารท่ีสร้างข้ึน
เฉพาะประดิษฐานพระพุทธรูป เช่น วิหารคด วิหารน้อย วิหารหลวงใช้เป็นที่ประกอบกิจพิธีของสงฆ์ที่
ฆราวาสสามารถเข้าร่วมในพธิ ีได้
พระอโุ บสถ หรอื โบสถ์ มีความสำ� คัญเทา่ กับพระวิหาร เป็นที่เฉพาะทำ� สังฆกรรมของสงฆแ์ ละ
ส�ำหรบั การบวช บางภูมภิ าค มีขนาดเลก็ ในอสี านเรียกว่า “สิม” โบสถเ์ ปน็ อาคารท่ีตงั้ อยู่ในแนวแกนหลกั
ของวัดและมีใบเสมาอยู่โดยรอบ ภายในประดษิ ฐานพระพทุ ธรปู ส�ำคัญเช่นเดยี วกบั พระวิหาร
ศาลาการเปรียญ เปน็ อาคารท่สี ร้างขนึ้ เพื่อใชเ้ ปน็ อาคารอเนกประสงค์ ประกอบกิจกรรมต่าง ๆ
ทางพทุ ธศาสนาของวดั ปจั จบุ นั ยงั ใชก้ บั กจิ กรรมของชมุ ชนดว้ ย แตเ่ ดมิ นน้ั ใชเ้ ปน็ สถานทเี่ พอ่ื การเรยี นของ
สงฆ์ ในภาคอสี านเรียกหอแจก
หอไตร เรียกชอื่ เต็มวา่ หอพระไตรปิฎก หรอื บางแห่งเรยี กหอพระธรรม เป็นอาคารทรงสงู ทสี่ รา้ ง
เพ่ือเก็บพระไตรปิฎกหรือคัมภีร์ต�ำราวิชาการทางพระพุทธศาสนา จึงสร้างให้มีรูปทรงและการตกแต่งอย่าง
งดงาม นยิ มสร้างไวก้ ลางน้ำ� เพ่อื ปอ้ งกนั ปลวกและแมลง
หอกลองและหอระฆงั เปน็ อาคารเสาสงู เพอ่ื ใชแ้ ขวนกลองหรอื ระฆงั สำ� หรบั ตบี อกสญั ญาณเวลา
แก่พระสงฆ์ เพื่อลงทำ� วัตรสวดมนต์ และประกอบกจิ ของสงฆ์
เขตสังฆาวาส ประกอบด้วย
กฏุ ิ ทอี่ ยพู่ ำ� นกั ของพระสงฆ์ สามเณร มกั สรา้ งใหอ้ ยรู่ วมกนั โดยมหี อฉนั อยเู่ ปน็ สว่ นกลาง บางแหง่
สร้างใหเ้ ป็นกลุ่มหรือเปน็ คณะ
พ้ืนท่ีสาธารณะ บางแห่งอาจมีศาลาการเปรียญ หอกลองและหอระฆังอยู่ในเขตสังฆาวาสด้วย
นอกจากน้ียังเป็นพื้นท่ีเขตสาธารณะเพอ่ื ใชใ้ นชุมชน เช่น ฌาปนสถาน ลานวดั เปน็ ต้น
พระพทุ ธศาสนา 9
10 ศาสนสถานส�ำ คญั ค่แู ผน่ ดนิ
วดั พระศรรี ตั นศาสดาราม
(วดั พระแกว้ )
ตั้งอยู่ท่ี แขวงพระบรมมหาราชวัง เขต
พระนคร กรุงเทพมหานคร
ประวตั คิ วามเปน็ มา
เรียกกนั อยา่ งสามญั โดยท่ัวไปวา่ วดั พระแก้ว ด้วย ที่ส�ำคัญ ซ่ึงยังคงปฏิบัติเช่นเดียวกันน้ี สืบต่อกันมาจน
เหตุที่เป็นวัดท่ีพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก ในปัจจุบัน ภายในพระอารามมีปูชนียสถาน ปูชนียวัตถุที่
มหาราช รัชกาลท่ี ๑ โปรดเกล้าฯ ให้สถาปนาขึ้นพร้อม ส�ำคัญเป็นอันมากด้วยเหตุที่เป็นพระอารามคู่บ้านคู่เมือง
พระบรมมหาราชวังตั้งแต่พุทธศักราช ๒๓๒๕ เพ่ือให้เป็น และไดร้ บั การกอ่ สรา้ งศาสนสถานเพม่ิ เตมิ เปน็ ระยะๆ รวมทงั้
วัดในเขตพระบรมมหาราชวังที่ไม่มีเขตสังฆาวาสและไม่มี มกี ารบรู ณปฏสิ งั ขรณม์ าอยา่ งตอ่ เนอ่ื ง โดยมปี ระวตั กิ ารบรู ณะ
พระภกิ ษสุ ามเณรจำ� พรรษา เชน่ เดยี วกบั วดั พระศรสี รรเพชญ ครั้งใหญ่ ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระน่ังเกล้าเจ้าอยู่หัว
ในเขตพระราชวังกรุงศรีอยุธยา โดยตั้งพระราชหฤทัย เม่ือพทุ ธศักราช ๒๓๗๕ คราวสมโภชกรงุ รัตนโกสินทร์ ครบ
จะให้เป็นพระอารามที่ประดิษฐานพระพุทธมหามณีรัตน ๑๐๐ ปี ในรชั สมยั พระบาทสมเดจ็ พระจลุ จอมเกลา้ เจา้ อยหู่ วั
ปฏิมากรหรือพระแก้วมรกต ท่ีอัญเชิญกลับมาจากเมือง เมอื่ พทุ ธศกั ราช๒๔๒๕ครบ๑๕๐ปีในรชั สมยั พระบาทสมเดจ็
เวียงจันทน์ และประดิษฐานอยู่ที่วัดแจ้งหรือวัดอรุณ พระปกเกลา้ เจา้ อยหู่ วั เมอ่ื พทุ ธศกั ราช ๒๔๗๕ และ ๒๐๐ ปี
ราชวรารามในสมัยกรุงธนบุรี และจะให้เป็นพระอาราม ในรชั สมยั พระบาทสมเดจ็ พระปรมนิ ทรมหาภมู พิ ลอดลุ ยเดช
ทใ่ี ชใ้ นการบำ� เพญ็ พระราชกศุ ล รวมทงั้ พธิ กี รรมทางศาสนา บรมนาถบพิตร เม่ือพุทธศกั ราช ๒๕๒๕
พระพทุ ธศาสนา 11
พระอโุ บสถ (ภาพบน) ปราสาทพระเทพบดิ ร
(ภาพลา่ ง) จิตรกรรมเร่อื งรามเกยี รต์ทิ ี่พระระเบยี ง
สงิ่ ส�ำคญั ภายในวดั
พระอโุ บสถ สรา้ งขน้ึ ในสมยั รชั กาลท่ี ๑ หลงั คาประดบั ชอ่ ฟา้ ใบระกา หางหงส์ แสดงออกถงึ ฐานานศุ กั ด์ิ
ชั้นสูงในสถาปัตยกรรมไทย ภายในเป็นที่ตั้งบุษบกยกฐานสูง ประดิษฐานพระพุทธมหามณีรัตนปฏิมากรหรือ
พระแก้วมรกต ภายในพระอุโบสถยังได้ประดิษฐานพระพุทธรูปท่ีสร้างในสมัยรัชกาลท่ี ๓ เป็นพระพุทธรูป
ฉลองพระองค์ ปางหา้ มสมทุ ร โดยมนี ามในภายหลงั วา่ พระพทุ ธยอดฟ้าจฬุ าโลกและพระพทุ ธเลศิ หล้านภาลยั
สว่ นจติ รกรรมฝาผนงั ภายในเปน็ แบบไทยประเพณี เขยี นภาพพทุ ธประวตั ริ ะหวา่ งชอ่ งหนา้ ตา่ งเปน็ ภาพทศชาติ
พระพทุ ธมหามณรี ตั นปฏมิ ากร หรอื พระแกว้ มรกต เปน็ พระพทุ ธรปู ปางสมาธิ แกะสลกั จากหนิ หยก
แม้ว่าจะมีพุทธศิลป์แบบศิลปะล้านนา แต่ปรากฏต�ำนานและพงศาวดารที่กล่าวถึงท่ีมาและอายุในการสร้าง
อย่างหลากหลาย ส่วนใหญ่เป็นเร่ืองทางปาฏิหาริย์ ในต�ำนานกล่าวว่า เคยประดิษฐานท่ีเมืองละโว้ อยุธยา
ก�ำแพงเพชร เชยี งราย ภายหลังจะอญั เชญิ ไปเชยี งใหม่ แต่เกิดปาฏิหาริย์ต้องประดิษฐานท่ีวัดพระแกว้ ดอนเตา้
เมืองล�ำปาง และไปประดิษฐานที่วัดเจดีย์หลวง เมืองเชียงใหม่ ภายหลังถูกอัญเชิญไปยังอาณาจักรล้านช้าง
ครนั้ ถงึ สมยั กรงุ ธนบรุ ี สมเดจ็ เจา้ พระยามหากษตั รยิ ศ์ กึ (รชั กาลที่ ๑ ) ไดอ้ ญั เชญิ กลบั มา สมเดจ็ พระเจา้ ตากสนิ
มหาราช โปรดเกล้าฯ ให้อัญเชิญไปประดิษฐาน ณ วัดอรุณราชวราราม เมื่อรัชกาลท่ี ๑ ทรงสถาปนากรุง
รัตนโกสินทร์แลว้ โปรดเกลา้ ฯ ให้ประดิษฐาน ณ พระอโุ บสถวัดพระศรรี ัตนศาสดาราม
12 ศาสนสถานสำ�คญั คู่แผน่ ดนิ
พระอษั ฎามหาเจดยี ์
พระระเบยี งรอบพระอโุ บสถ มีความโดดเด่นตรงทีม่ ภี าพจิตรกรรมฝาผนงั เรอื่ ง รามเกียรติ์ เขยี นข้ึน
ตงั้ แตค่ รง้ั สมยั รชั กาลท่ี ๑ มกี ารซอ่ มบรู ณะเรอ่ื ยมา ตอ่ มาในคราวบรู ณปฏสิ งั ขรณค์ รงั้ ใหญว่ าระสมโภชพระนคร
ครบ ๑๐๐ ปี ในสมัยรชั กาลท่ี ๕ ในการน้ไี ด้ทรงพระนิพนธโ์ คลงประกอบภาพไวจ้ �ำนวนแปดหอ้ ง
ปราสาทพระเทพบดิ ร เดิมเรยี กว่า พระพทุ ธปรางคป์ ราสาท สรา้ งในสมัยรัชกาลท่ี ๔ ภายหลงั มีการ
บรู ณะใหมใ่ นสมัยรชั กาลที่ ๖ แลว้ พระราชทานนามใหมว่ า่ ปราสาทพระเทพบิดร นับเป็นอาคารทรงจตั ุรมุข
ยอดปรางค์หลังเดียวในวัดพระศรีรัตนศาสดาราม ผนัง ฐานและเสา ประดับด้วยกระเบื้องเคลือบสี หน้าบัน
ของจตั ุรมุขแต่ละทศิ จ�ำหลักไม้ลงรักปดิ ทองรปู พระราชลญั จกรประจ�ำรชั กาลท่ี ๑ ถงึ รชั กาลที่ ๔ ปัจจบุ ันเป็น
ทป่ี ระดษิ ฐานพระบรมรปู สมเดจ็ พระบรู พมหากษตั รยิ าธริ าชในพระบรมราชจกั รวี งศ์ รชั กาลที่ ๑ ถงึ รชั กาลที่ ๘
พระมณฑป ต้ังอยู่ด้านหลังปราสาทพระเทพบิดร สร้างแต่คร้ังสมัยรัชกาลที่ ๑ ส�ำหรับประดิษฐาน
พระไตรปฎิ กฉบบั ทองใหญ่ หลงั คายอ่ มมุ และสอบขนึ้ แบบทรงปราสาท ผนงั ภายนอกทงั้ หมดทำ� เปน็ ลายเทพนม
ปิดทองประดับกระจกในกรอบลายพุ่มข้าวบณิ ฑ์
พระศรีรัตนเจดีย์ หรือ เจดีย์ทอง ต้ังอยู่ด้านตะวันตกของพระมณฑป สร้างข้ึนในสมัยรัชกาลท่ี ๔
ตามแบบเจดีย์ทรงระฆังวัดพระศรีสรรเพชญ ในกรุงศรีอยุธยา ภายในประดิษฐานพระเจดีย์ขนาดเล็กที่บรรจุ
พระบรมสารีรกิ ธาตุ ในสมัยรัชกาลที่ ๕ โปรดเกล้าฯ ให้ประดับด้วยกระเบอื้ งสที องท้ังองค์
พระอัษฎามหาเจดีย์ หรือ พระปรางค์ ๘ องค์ ลักษณะเป็นพระปรางค์ย่อมุมไม้สิบสองเหมือนกัน
ทกุ องค์ แตกตา่ งกนั ทสี่ ขี องกระเบอ้ื งเคลอื บ สรา้ งครง้ั สมยั รชั กาลที่ ๑ ถวายเพอ่ื เปน็ พทุ ธบชู า ตงั้ เรยี งกนั อยดู่ า้ น
หนา้ พระอารามจากทิศเหนือมาทศิ ใต้ จึงมชี ื่อเรยี กและลกั ษณะสีกระเบอื้ งตา่ งกัน อาทิ พระปรางคส์ เี หลอื งท่ี
ตั้งอยทู่ างทศิ ใต้สดุ ชอื่ พระศรีอริยเมตตะมหาเจดีย์ สรา้ งอทุ ศิ ถวายแด่พระพทุ ธเจา้ ในอนาคต
พระพุทธศาสนา 13
14 ศาสนสถานส�ำ คญั ค่แู ผน่ ดนิ
วดั พระเชตพุ นวมิ ลมงั คลาราม พระมหาเจดยี ์ ๔ รชั กาล
ราชวรมหาวหิ าร
ต้ังอยู่ที่ ถนนสนามไชย แขวงพระบรม
มหาราชวัง เขตพระนคร กรงุ เทพมหานคร
ประวตั คิ วามเปน็ มา
เปน็ พระอารามหลวงชน้ั เอก ชนดิ ราชวรมหาวหิ าร พระจอมเกลา้ เจา้ อยหู่ วั จงึ ทรงเปลย่ี นสรอ้ ยนามพระอาราม
มีประวัติว่า เมื่อพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก เปน็ “วดั พระเชตพุ นวมิ ลมงั คลาราม” ประชาชนทวั่ ไปรวมทงั้
มหาราชรชั กาลท่ี๑โปรดเกลา้ ฯใหบ้ รู ณปฏสิ งั ขรณว์ ดั โพธาราม นกั ท่องเทีย่ วนิยมเรยี กช่อื วัดส้ันๆ ว่า “วัดโพธ์ิ”
หรอื วดั โพธิ์ ทม่ี มี าแตค่ รงั้ กรงุ ศรอี ยธุ ยาในครงั้ นน้ั ทำ� การบรู ณะ สงิ่ ส�ำคญั ภายในวดั
ขึน้ ใหม่ทงั้ พระอาราม และได้อญั เชญิ พระพทุ ธรปู จากวดั รา้ ง
ตามหวั เมอื งมาปฏสิ งั ขรณแ์ ละประดษิ ฐานเปน็ พระประธาน พระอุโบสถ รูปแบบเดิมนั้นสร้างในสมัย
ในพระอโุ บสถ พระวหิ ารและพระระเบยี ง จนแลว้ เสรจ็ เมอื่ พระบาทสมเดจ็ พระพทุ ธยอดฟา้ จฬุ าโลกมหาราช ตามแบบ
พุทธศักราช ๒๓๔๔ พระราชทานนามว่า “วัดพระเชตุพน ศิลปะอยุธยาตอนปลาย ส่วนท่ีเห็นในปัจจุบันนี้เป็นแบบ
วิมลมังคลาวาส” ครั้นรัชกาลพระบาทสมเด็จพระน่ังเกล้า พระราชนยิ มทปี่ ฏสิ งั ขรณใ์ นสมยั พระบาทสมเดจ็ พระนง่ั เกลา้
เจ้าอยู่หัว โปรดเกล้าฯ ให้ขยายอาณาเขตพระอารามขึ้น เจ้าอยู่หัว มีเสาสี่เหล่ียมเรียงรายรอบพระระเบียงรวมท้ัง
ท้ังด้านทิศใต้และทิศตะวันตก และให้รวบรวมต�ำราต่างๆ ด้านหน้าและด้านหลัง ระหว่างเสาเฉลียงด้านนอกรอบ
ทง้ั ประวตั ศิ าสตร์ วรรณกรรม ตำ� ราการนวดและการแพทย์ พระอโุ บสถประดบั ดว้ ยศลิ าจำ� หลกั ภาพนนู ตำ่� เรอื่ งรามเกยี รติ์
มาจารึกไว้บนแผ่นหินชนวน ติดไว้ตามเสาศาลารายโดย รวม ๑๕๒ ภาพ แตล่ ะภาพจำ� หลกั คำ� โคลงกำ� กบั ไว้ ผนงั ภายใน
รอบ กระทั่งถึงคราวบูรณะในรัชสมัยพระบาทสมเด็จ เหนือขอบหน้าต่างเขียนภาพจิตรกรรมเร่ืองมโหสถชาดก
พระพุทธศาสนา 15
มพี ระพทุ ธรปู ปางสมาธิ สมยั อยธุ ยา หลอ่ ดว้ ยสำ� รดิ ลงรกั
ปดิ ทองนามวา่ “พระพทุ ธเทวปฏมิ ากร”เปน็ พระประธาน
ประจ�ำพระอุโบสถ ใต้ฐานเป็นที่บรรจุพระบรมอัฐิ
และพระบรมราชสรรี างคาร รชั กาลท่ี ๑ จงึ ถอื กนั วา่ เปน็
วัดประจำ� รัชกาลที่ ๑
พระอุโบสถล้อมรอบด้วยพระระเบียง คั่น
ด้วยพระวิหารท้ัง ๔ ทิศ ภายในพระวิหารประดิษฐาน
พระประธานอนั เปน็ พระพทุ ธรปู โบราณทอี่ ญั เชญิ มาจาก
วดั ในเมอื งสโุ ขทยั และพระนครศรอี ยธุ ยา จะมแี ตพ่ ระวหิ าร
เหนอื เทา่ นน้ั ทป่ี ระดษิ ฐาน “พระพทุ ธปาลไิ ลยก”์ ฝมี อื ชา่ ง
สมยั รชั กาลท่ี ๑ อยา่ งแทจ้ รงิ
ตามแนวพระระเบียงท้ังชั้นนอกและช้ันใน
ประดษิ ฐานพระพทุ ธรปู หลายสมยั ทเ่ี สาพระระเบยี งตดิ
ศิลาจารกึ หนิ ชนวนประเภทวรรณคดี เชน่ เพลงยาวกล
อกั ษร ตำ� ราฉนั ทต์ า่ งๆ
พระวหิ ารพระพทุ ธไสยาส หรอื วหิ ารพระนอน
(พระพทุ ธไสยาส สะกดอกั ษรตามนามของพระนอน) เปน็
พระวหิ ารขนาดใหญ่ สร้างข้ึนเม่ือคร้ังท่ีพระบาทสมเด็จ
พระนงั่ เกลา้ เจา้ อยหู่ วั โปรดเกลา้ ฯ ใหบ้ รู ณปฏสิ งั ขรณแ์ ละ พระพุทธไสยาส
ขยายขอบเขตวดั และสรา้ งพระพทุ ธไสยาสยาวถงึ ๔๖เมตร
พระบาทประดบั มกุ ลายมงคล ๑๐๘ ประดษิ ฐานไวภ้ ายใน มแี นวพระราชดำ� รแิ ละคตกิ ารสรา้ งพระนอนขนาดใหญไ่ วใ้ นพระนคร
เพอ่ื ใหเ้ ปน็ ทส่ี กั การบชู าของประชาชนและเพอ่ื เปน็ พระมหากศุ ลเจรญิ พระเกยี รตยิ ศของพระองคใ์ หป้ รากฏสบื ไป
พระมหาเจดีย์ ๔ รัชกาล เป็นหมู่พระเจดีย์ลักษณะย่อมุม ๔ องค์ ต้ังอยู่ใกล้กับพระวิหารพระพุทธไสยาส
ลว้ นประดบั ตกแตง่ องคพ์ ระเจดยี ด์ ว้ ยกระเบอ้ื งเคลอื บสแี ตกตา่ งกนั ไดแ้ ก่ “พระมหาเจดยี ศ์ รสี รรเพชญดาญาณ” เปน็ เจดยี ์
ประดบั ดว้ ยกระเบ้ืองเคลอื บสีเขยี ว สร้างในสมัยรัชกาลท่ี ๑ ภายในบรรจชุ นิ้ สว่ น “พระศรีสรรเพชดาญาณ” พระพุทธรูปที่
อัญเชิญมาจากวัดพระศรีสรรเพชญ จังหวดั พระนครศรอี ยุธยา แตช่ ำ� รุดเกินกว่าจะท�ำการบรู ณะ เป็นพระมหาเจดีย์ประจำ�
รชั กาลท่ี ๑ อกี องคห์ นงึ่ ชอ่ื เรยี กวา่ “พระมหาเจดยี ด์ ลิ กธรรมกรกนทิ าน” สรา้ งครง้ั รชั กาลที่ ๓ เพอื่ เปน็ พระราชอทุ ศิ ถวายแด่
พระบาทสมเดจ็ พระพทุ ธเลศิ หลา้ นภาลยั ประดบั ดว้ ยกระเบอ้ื งเคลอื บสเี หลอื ง ในสมยั รชั กาลท่ี ๓ โปรดเกลา้ ฯ ใหส้ รา้ ง “พระ
มหาเจดีย์มุนีบตั บริขาร” ข้นึ อีกองค์หนึ่ง เพอ่ื ถวายเป็นพทุ ธบูชาส่วนพระองค์ จึงนบั เป็นพระมหาเจดยี ป์ ระจ�ำรชั กาลที่ ๓
สว่ นองคส์ ดุ ทา้ ยเปน็ พระมหาเจดยี ป์ ระจำ� รชั กาลที่ ๔ โดยใหถ้ า่ ยแบบมาจากพระเจดยี ศ์ รสี รุ โิ ยทยั จงั หวดั พระนครศรอี ยธุ ยา
จงึ มีนามว่า “พระมหาเจดยี ์ศรสี รุ โิ ยทยั ” ประดับด้วยกระเบอื้ งเคลอื บสีขาบหรือสีน�ำ้ เงินเขม้
ประติมากรรมรูปฤๅษีดัดตน หล่อด้วยโลหะผสมสังกะสีและดีบุก ตั้งวางอยู่บริเวณเขามอมุมด้านทิศใต้นอก
พระระเบยี งพระอโุ บสถ ซง่ึ เปน็ เขามอทพ่ี ระบาทสมเดจ็ พระนง่ั เกลา้ เจา้ อยหู่ วั โปรดเกลา้ ฯ ใหร้ อื้ มาจากสวนขวาในพระบรม
มหาราชวังมาถวายเปน็ พทุ ธบูชา รูปฤๅษที �ำทา่ ทางดัดตนแตกตา่ งกันไป เพอื่ รกั ษาโรคภัยแตล่ ะชนดิ เดมิ มี ๘๐ รปู ช�ำรดุ
เสียหายไปหลายตนตามกาลเวลา จงึ ได้มกี ารสรา้ งใหม่จนครบสมบูรณ์เมอ่ื พุทธศกั ราช ๒๕๕๑
วัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม เป็นพระอารามหลวงที่รวมปูชนียสถาน ปูชนียวัตถุท่ีมีรูปแบบทางศิลปกรรม
งดงามสะดุดตา เป็นแหล่งเรียนรู้รวมจารึกสรรพวิชาและภูมิปัญญาหลากหลาย ซงึ่ เปรียบด่ังมหาวิทยาลัยแห่งแรกของ
ประเทศไทย และเมื่อพุทธศักราช ๒๕๕๔ องค์การยูเนสโกได้ประกาศข้ึนทะเบียนจารึกวัดโพธ์ิ จ�ำนวน ๑,๔๔๐ ช้ิน
เป็นมรดกความทรงจ�ำแห่งโลก
16 ศาสนสถานส�ำ คัญคแู่ ผ่นดนิ
(ภาพบน) พระอโุ บสถ
(ภาพล่าง) ฤๅษีดดั ตน
พระพทุ ธศาสนา 17
18 ศาสนสถานส�ำ คญั ค่แู ผน่ ดนิ
วดั อรณุ ราชวราราม พระปรางค์วดั อรณุ ราชวราราม
ราชวรมหาวหิ าร
ต้งั อยู่ท่ี ถนนอรุณอมรนิ ทร์ แขวงวดั อรณุ
เขตบางกอกใหญ่ กรุงเทพมหานคร รมิ ฝงั่ ตะวันตก
ของแมน่ �้ำเจ้าพระยาหรอื ฝั่งธนบรุ ี
ประวตั คิ วามเปน็ มา
เป็นพระอารามหลวงชนั้ เอก ชนดิ ราชวรมหาวิหาร องค์ใหม่ แต่มาแล้วเสร็จสมัยพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้า
เล่าสืบต่อกันมาว่าเดิมในสมัยอยุธยาเป็นวัดเล็กๆ เจ้าอยหู่ วั รชั กาลที่ ๓ ในสมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกลา้
ช่ือวัดมะกอก ภายหลังเปลี่ยนช่ือเป็นวัดแจ้ง เมื่อสมเด็จ เจ้าอยู่หัว รัชกาลท่ี ๔ โปรดเกล้าฯ เปล่ียนสร้อยท้ายช่ือ
พระเจ้าตากสินมหาราชทรงสถาปนาพระราชวังกรุงธนบุรี วัดว่า “วัดอรุณราชวราราม” ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จ
บริเวณป้อมวิชัยประสิทธิ์แล้ว โปรดให้รวมเอาวัดแจ้งเข้า พระจลุ จอมเกลา้ เจา้ อยหู่ วั รชั กาลที่ ๕ โปรดเกลา้ ฯ ใหส้ รา้ ง
เป็นวัดในพระราชวังด้วย เคยประดิษฐานพระแก้วมรกต พระอุโบสถใหม่ รวมทั้งบูรณปฏิสังขรณ์พระปรางค์อีกคร้ัง
ท่ีอัญเชิญมาจากนครเวียงจันทน์ตั้งแต่พุทธศักราช ๒๓๒๒ ในรชั สมยั พระบาทสมเดจ็ พระปรมนิ ทรมหาภมู พิ ลอดลุ ยเดช
ตอ่ มาพระบาทสมเด็จพระพทุ ธเลศิ หล้านภาลัย รัชกาลท่ี ๒ บรมนาถบพติ ร รชั กาลที่ ๙ มกี ารบรู ณปฏสิ งั ขรณพ์ ระปรางค์
โปรดเกลา้ ฯ ใหบ้ รู ณปฏสิ งั ขรณท์ ง้ั พระอาราม เปลยี่ นชอื่ เปน็ ครง้ั ใหญ่ เมอื่ พทุ ธศกั ราช ๒๕๑๐ และในระหวา่ งพทุ ธศกั ราช
“วัดอรุณราชธาราม” ตามตน้ เคา้ ของชอ่ื วัดเดมิ ทั้งยังทรงมี ๒๕๕๖ - ๒๕๖๐ กรมศิลปากร กระทรวงวัฒนธรรมได้ท�ำ
แนวพระราชด�ำริท่ีจะก่อสร้างพระปรางค์ท่ีต้ังอยู่หน้าวัดให้ การบูรณะพระปรางค์และพระอุโบสถอีกคร้ังหนึ่งตามหลัก
สูงข้ึน จึงได้รื้อองค์เดิมและเริ่มลงรากฐานของพระปรางค์ การอนรุ ักษ์ กระทั่งงดงามดังที่เหน็ ในปจั จบุ ัน
พระพทุ ธศาสนา 19
พระอโุ บสถ มารแบกและกระบี่แบก ลวดลายปูนปน้ั และกระเบ้ืองเคลอื บสปี ระดับพระปรางค์
สงิ่ ส�ำคญั ภายในวดั
พระปรางค์ เป็นพระปรางค์ท่ีสูงใหญ่ท่ีสุดและงดงามที่สุดตามแบบฝีมือช่างสมัยรัชกาลท่ี ๓
แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ แต่เดิมเมื่อมีการเดินเรือสมุทรจากปากน�้ำเข้ามาถึงพระนครโดยล�ำน้�ำเจ้าพระยา
ที่หมายท่ีเห็นได้แต่ไกลคือพระปรางค์วัดอรุณ ด้วยเหตุน้ีพระปรางค์วัดอรุณจึงกลายเป็นสัญลักษณ์ที่เป็นที่
คุ้นตาของชาวตา่ งชาตมิ าช้านาน องค์พระปรางค์สงู ๘๑ เมตร วัดรอบฐานได้ ๒๔๓ เมตร สูงใหญ่ประดจุ ดั่ง
เขาพระสุเมรุ และคงสร้างตามคติความเชื่อในพระพุทธศาสนา เร่ืองพระมหาธาตุเจดีย์เป็นศูนย์กลางจักรวาล
โดยเปรียบเทียบกับพระจุฬามณีบนสวรรค์ชั้นดาวดึงส์ แบ่งออกเป็น ๓ ส่วน คือส่วนยอดพระปรางค์
มีลกั ษณะเปน็ ๕ ยอด ยอดใหญ่เปน็ ยอดประธาน รายล้อมด้วยยอดบริวารขนาดเล็ก ๔ ยอด พระบาทสมเดจ็
พระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว โปรดเกล้าฯ ให้น�ำพระมหามงกุฎที่แต่เดิมจะสร้างถวายพระประธานท่ีวัดนางนอง
มาประดิษฐานต่อจากยอดนภศูลของพระปรางค์ประธาน ส่วนกลางเป็นเรือนธาตุ ท่ีฐานประดับด้วยรูป
เทวดา ครุฑ ตกแต่งราวกับสวรรค์ช้ันดาวดึงส์อันเป็นที่ประดิษฐานพระบรมธาตุ จึงมีรูปพระอินทร์ท่ีหมาย
ถึงเทพผู้เป็นใหญ่อยู่ท่ีชั้นน้ี ส่วนฐานทักษิณซ่ึงลดหลั่นเป็นชั้นๆ ต่อไปจากเรือนธาตุ ลงไปถึงช้ันล่าง ประดับ
ลดหลั่นด้วยกินนร กินรี มารแบกและกระบี่แบก เปรียบดังบริเวณป่าหิมพานต์ ซึ่งทั้งพระปรางค์ประธาน
พระปรางค์ประจ�ำทิศ พระมณฑปทิศ รวมถึงก�ำแพงแก้วท้ังหลาย ล้วนแล้วแต่ประดับด้วยกระเบ้ืองเคลือบสี
ช้ินสว่ นเคร่ืองถ้วยเบญจรงค์และเปลอื กหอย
พระวิหาร เป็นอาคารยกพื้นสูง มีบันไดทางข้ึนลงด้านข้างของมุขท้ังด้านหน้าและด้านหลัง หลังคา
ลด ๓ ช้ัน ผนังด้านนอกประดับด้วยกระเบื้องเคลือบสีลายก้านแย่งท่ีส่ังเข้ามาจากเมืองจีน พระบาทสมเด็จ
พระน่ังเกล้าเจ้าอยู่หัวโปรดให้หล่อพระประธาน พระราชทานนามว่า “พระพุทธชัมภูนุทมหาบุรุษลักขณา
อสีตยานุบพิตร” เป็นพระพุทธรูปปางมารวิชัย หล่อด้วยทองแดงปิดทองมีพุทธศิลปะตามแบบพระพุทธรูปที่
สร้างในสมัยรัชกาลที่ ๓ คือมีเค้าพระพักตร์สงบนิ่งท่ีเรียกว่า “อย่างหุ่น” ที่ฐานชุกชีด้านหน้ามีพระพุทธรูป
ส�ำคัญอีกองค์หน่งึ เป็นพระพุทธรปู ปางมารวิชัย ขัดสมาธเิ พชร นามวา่ “พระอรุณ” หรอื “พระแจ้ง” มีประวัติ
ว่าอัญเชิญมาจากเวียงจันทน์
20 ศาสนสถานส�ำ คัญคู่แผน่ ดิน
พระพุทธธรรมิศราชโลกธาตุดลิ ก
พระอุโบสถ หลังเดิมสร้างตามแบบสถาปัตยกรรมสมัยอยุธยาตอนปลาย แต่ภายหลังถูก
เพลงิ ไหมค้ รงั้ สมยั รชั กาลท่ี ๕ จงึ โปรดเกลา้ ฯ ใหป้ ฏสิ งั ขรณจ์ นดดี งั เดมิ รวมทงั้ บรู ณะจติ รกรรมภายใน
ใหมท่ ้งั ๔ ดา้ น แตค่ งเค้าของเดมิ ใหม้ ากทสี่ ุด อาทิ ภาพพุทธประวตั ิ และภาพพระเวสสันดรชาดก
สว่ นผนงั ดา้ นนอกประดบั ดว้ ยลายดอกไมท้ ท่ี ำ� จากกระเบอื้ งเคลอื บสี ภายในพระอโุ บสถประดษิ ฐาน
พระประธานนามวา่ “พระพุทธธรรมศิ ราชโลกธาตุดลิ ก” เป็นพระพทุ ธรูปส�ำริดขนาดใหญร่ นุ่ แรกๆ
ของกรุงรัตนโกสินทร์ กล่าวกันว่ารัชกาลท่ี ๒ ทรงปั้นหุ่นพระพักตร์ด้วยพระองค์เอง ด้านหน้า
พระอุโบสถมีซุ้มประตูทางเขา้ ทม่ี รี ปู ปน้ั ยักษ์ ๒ ตน เรียกกันทว่ั ไปว่า ยักษ์วัดแจ้ง
ภายในวัดอรุณราชวราราม ยังมีสถานท่ีควรแก่การสักการบูชา และมีความงดงามของ
ศิลปกรรมยุคต้นกรุงรัตนโกสินทร์อีกมากมาย เช่น พระระเบียงประดิษฐานพระพุทธรูปปางมาร
วชิ ยั ๑๒๐ องค์ วหิ ารนอ้ ยหลงั ทศิ เหนอื มพี ระแทน่ บรรทมทเ่ี ชอื่ กนั วา่ เปน็ ของสมเดจ็ พระเจา้ ตากสนิ
มหาราช พระพทุ ธบาทจำ� ลองในพระมณฑปพระพทุ ธบาทสมยั รชั กาลที่ ๓ ประตมิ ากรรมหนิ อบั เฉา
ศิลปะจนี ทม่ี ีอยูจ่ ำ� นวนมาก สวนหนิ และศาลาท่าน�้ำ
พระพุทธศาสนา 21
22 ศาสนสถานส�ำ คญั ค่แู ผน่ ดนิ
วดั เบญจมบพิตรดสุ ิตวนาราม พระระเบยี งเชอ่ื มต่อกับพระอโุ บสถ
ราชวรวหิ าร
ประวตั คิ วามเปน็ มา ตง้ั อยทู่ ี่ ถนนนครปฐม แขวงดุสติ เขตดสุ ิต
กรงุ เทพมหานคร
เป็นพระอารามหลวงช้ันเอก ชนดิ ราชวรวิหาร เดิม อริ ยิ าบถจงึ โปรดเกลา้ ฯ ใหจ้ ดั ซอื้ ทดี่ นิ ทเ่ี ปน็ สวนและทงุ่ นาท่ี
ช่อื วดั แหลม แต่ไม่ทราบวา่ สรา้ งขึน้ เม่ือใด เม่ือพุทธศักราช อยไู่ กลจากพระบรมมหาราชวงั ไปทางทศิ เหนอื พระราชทาน
๒๓๖๙ ในสมัยรัชกาลที่ ๓ เกิดกบฏเจ้าอนุวงศ์แห่ง นามว่า “สวนดุสิต” ในระหว่างการก่อสร้าง โปรดเกล้าฯ
เวยี งจนั ทน์ จึงโปรดเกล้าฯ ให้พระเจา้ บรมวงศ์เธอ พระองค์ ให้ผาติกรรมวัดดุสิตและวัดปากคลองซ่ึงเป็นวัดร้างมาแต่
เจ้าพนมวัน กรมพระพิพิธโภคภูเบนทร์ พระราชโอรสใน เดิม เขา้ กับวดั เบญจบพติ ร เพอ่ื สถาปนาให้เปน็ วดั ท่มี พี ้ืนท่ี
รัชกาลที่ ๒ ทรงเป็นแม่ทัพรักษาพระนคร จึงทรงให้ต้ัง ใหญ่ขึ้น มีความสมบูรณ์สง่างาม สมกับเป็นวัดท่ีต้ังอยู่ใกล้
กองบญั ชาการทว่ี ดั แหลมแหง่ นี้ หลงั การปราบกบฏแลว้ เสรจ็ เขตพระราชฐาน โปรดเกลา้ ฯ ใหส้ มเดจ็ พระเจา้ บรมวงศเ์ ธอ
กรมพระพิพิธโภคภูเบนทร์ พร้อมด้วยพระอนุชาและ เจ้าฟ้ากรมพระยานริศรานุวัดติวงศ์ เป็นผู้ออกแบบและ
พระขนิษฐาท่ีร่วมเจ้าจอมมารดาเดียวกันอีก ๔ พระองค์ ควบคุมการก่อสร้าง เมื่อแล้วเสร็จจึงเปลี่ยนช่ือวัดเป็น
รว่ มกันปฏสิ งั ขรณ์วัดแหลม และสร้างเจดยี ไ์ ว้หนา้ วดั รวม ๕ “วัดเบญจมบพิตร” อันหมายถึงวัดที่พระเจ้าแผ่นดิน
องค์ ตอ่ มาพระบาทสมเดจ็ พระจอมเกลา้ เจา้ อยหู่ วั รชั กาลที่ ๔ พระองคท์ ่ี ๕ ทรงสรา้ ง และเมอ่ื พทุ ธศกั ราช ๒๔๔๒ ประกาศ
โปรดเกล้าฯ พระราชทานนามใหม่ว่า “วัดเบญจบพิตร” สถาปนาวัดเบญจมบพิตรพร้อมท้ังเพิ่มสร้อยนามเป็น
ซึ่งหมายถงึ วัดท่สี ร้างดว้ ยเจา้ นาย ๕ พระองค์ “วดั เบญจมบพติ รดสุ ติ วนาราม” ในคราวทไี่ ดม้ พี ระสงฆแ์ ละ
ต่อมาพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว สามเณรมาจ�ำพรรษาและพระราชทานท่ีดินเพิ่มให้วัดใน
โปรดท่ีจะสร้างพระราชอุทยานเพื่อเป็นท่ีพักผ่อนพระราช ปถี ดั มา ปจั จบุ ันถอื ว่าเปน็ วัดประจ�ำรชั กาลที่ ๕
พระพุทธศาสนา 23
สงิ่ ส�ำคญั ภายในวดั
พระอโุ บสถ สรา้ งพรอ้ มกบั พระระเบยี ง
ตามแบบของสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ
เจ้าฟ้ากรมพระยานริศรานุวัดติวงศ์ พระยาราช
สงคราม (กร หงสกลุ บตุ รพระยาราชสงคราม ทดั )
ชา่ งกอ่ สรา้ งฝมี อื ดที ส่ี ดุ ในขณะนน้ั เปน็ ผคู้ วบคมุ
การกอ่ สรา้ ง การก่อสร้างล่วงเลยมาแลว้ เสร็จใน
สมัยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว
เป็นอาคารทรงจัตุรมุข มีมุขเด็จยื่นออกมาทาง
ทศิ ตะวันออกและตะวันตก พระอโุ บสถเชือ่ มต่อ
กบั พระระเบยี งทมี่ ผี งั รปู สเี่ หลยี่ ม หลงั คาประดบั
ด้วยช่อฟ้า ใบระกา หางหงส์ ซึ่งล้วนแล้วแต่
ปดิ ทองทบึ ดว้ ยเหตทุ ผ่ี นงั เสาพน้ื พระอโุ บสถและ
ผนังภายนอกพระระเบียง ประดับด้วยหินอ่อน
ท่ีโปรดเกล้าฯ ให้สั่งเข้ามาจากประเทศอิตาลี
พระอารามแห่งนี้จึงเป็นที่งดงามและแปลกตา
แก่ผูพ้ บเห็น ประดจุ ดงั สร้างจากหนิ ออ่ นทง้ั หลัง
โดยเฉพาะนกั ทอ่ งเทย่ี วตา่ งชาตทิ ร่ี จู้ กั พระอาราม
แหง่ นี้ในช่อื ของ “Marble Temple”
ภายในพระอโุ บสถ ประดษิ ฐานพระพทุ ธ
ชนิ ราชจำ� ลอง เปน็ พระประธานดว้ ยพระบาทสมเดจ็
พระจลุ จอมเกลา้ เจา้ อยหู่ วั มพี ระราชหฤทยั โปรด
พระพทุ ธชนิ ราชทเ่ี มอื งพษิ ณโุ ลก เปน็ พระพทุ ธรปู
ทงี่ ดงาม จงึ โปรดเกลา้ ฯ ใหเ้ อาปนื ทองเหลอื งทไี่ ม่
พระพทุ ธรูปปางต่างๆ ภายในพระระเบียง
ไดใ้ ชแ้ ล้ว ไปยอ่ ยที่กรมทหารเรอื แลว้ ขนยา้ ยไป
หลอ่ ทเ่ี มอื งพษิ ณโุ ลก ภายใตก้ ารกำ� กบั ของพระเจา้ นอ้ งยาเธอ กรมหลวงดำ� รงราชานภุ าพ เสนาบดกี ระทรวงมหาดไทยขณะนนั้
และมหี ลวงประสทิ ธปิ ฏมิ า จางวางชา่ งหลอ่ เปน็ ผคู้ วบคมุ การหลอ่ พระพทุ ธชนิ ราชจำ� ลองแมจ้ ะมขี นาดยอ่ มกวา่ แตม่ พี ทุ ธศลิ ป์
เช่นเดียวกบั พระพทุ ธชินราช วดั พระศรีรัตนมหาธาตุ วรมหาวหิ าร จังหวดั พิษณุโลก ซึง่ เปน็ พระพทุ ธรูปศิลปะสุโขทยั
พระระเบยี ง หรือ วหิ ารคด เสาและพื้นเปน็ หนิ อ่อน หลังคาประดับตกแต่งดว้ ยช่อฟ้า ใบระกา หางหงส์ หน้าบัน
จ�ำหลกั ลวดลายเปน็ ตราประจ�ำกระทรวงต่างๆ ภายในพระระเบียง โปรดเกล้าฯ ใหเ้ ปน็ ท่ปี ระดิษฐานพระพทุ ธรปู ปางต่างๆ
เปน็ ท้ังของโบราณด้งั เดิมท่ีอัญเชิญมาจากวดั ตามหวั เมอื ง และมาปฏสิ ังขรณใ์ หม่ รวมทง้ั ท่สี ร้างจำ� ลองจากของโบราณ รวม
๕๒ องค์ ทโี่ ดดเด่นไดแ้ ก่ พระพุทธรปู ลีลาที่มีพทุ ธลกั ษณะท่อี ่อนช้อยงดงาม หลอ่ ดว้ ยส�ำริด ศลิ ปะสโุ ขทยั หมวดใหญ่ และ
ยงั มพี ระพุทธรูปศิลาท้ังท่ีเปน็ ของต่างประเทศและของไทยในซุ้มคูหาดา้ นนอกพระระเบยี งอกี ด้วย
พระวิหารสมเด็จ สมเด็จพระศรีพัชรินทรา บรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง ทรงให้สร้างถวายเป็น
พระราชกุศลในคราวสถาปนาพระอาราม เม่อื พทุ ธศักราช ๒๔๔๕ เพอ่ื เปน็ หอธรรมประจ�ำวดั และประดษิ ฐานพระพุทธรปู
สำ� คัญ คือ พระพุทธนรสหี ์และพระฝาง ปัจจบุ ันจดั เป็นสว่ นหน่งึ ของพิพธิ ภัณฑสถานแห่งชาติ วัดเบญจมบพิตร จดั แสดง
พระพุทธรปู ปางตา่ งๆ เครือ่ งโตะ๊ ถว้ ยปนั้ เคร่ืองแกว้ เจยี ระไน เครอื่ งประกอบสมณศกั ด์ิ เปน็ ตน้
24 ศาสนสถานส�ำ คญั คแู่ ผ่นดิน
(ภาพบน) พระวิหารสมเด็จ
(ภาพลา่ ง) พระทน่ี ั่งทรงผนวช
พระพุทธศาสนา 25
26 ศาสนสถานส�ำ คญั ค่แู ผน่ ดนิ
วดั ราชบพธิ สถติ มหาสมี าราม พระเจดีย์ ล้อมรอบด้วยพระอุโบสถ พระวิหาร และพระระเบยี ง
ราชวรวหิ าร
ตง้ั อยู่ที่ ถนนเฟ่อื งนคร แขวงวดั ราชบพิธ
เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร
ประวตั คิ วามเปน็ มา
เปน็ พระอารามหลวงชน้ั เอก ชนดิ ราชวรวหิ าร ฝา่ ย ล้อมรอบด้วยพระอุโบสถ พระวิหาร พระวิหารทิศ โดยมี
ธรรมยตุ ิกนกิ าย พระบาทสมเดจ็ พระจุลจอมเกล้าเจ้าอยหู่ วั พระวิหารคดหรือพระระเบียง เป็นส่วนที่เชื่อมระหว่าง
รชั กาลท่ี ๕ โปรดเกล้าฯ ใหส้ ถาปนาขึน้ และพระราชทาน อาคารต่างๆ มีก�ำแพงก้ันระหว่างเขตพุทธาวาสและ
นามว่า “วัดราชบพิธสถิตมหาสีมาราม” เมื่อพุทธศักราช สังฆาวาส ซึ่งคล้ายกับท่ีวัดราชประดิษฐสถิตมหาสีมาราม
๒๔๑๒ จึงถือว่าเป็นวัดประจ�ำรัชกาล นามของวัดมีความ กรุงเทพมหานครและวัดพระปฐมเจดีย์ จังหวัดนครปฐม
หมายว่า พระอารามทพี่ ระมหากษัตรยิ ์ทรงสร้าง มีขอบเขต ลกั ษณะองค์พระเจดยี ์เป็นทรงระฆัง สงู ประมาณ ๔๓ เมตร
สีมากว้างใหญ่ เป็นมหาสีมาล้อมรอบอาณาเขตของวัด รอบฐานยาวประมาณ ๕๖ เมตร ตกแต่งด้วยกระเบื้อง
วัดราชบพิธสถิตมหาสีมาราม นับเป็นพระอารามหลวง เคลือบเบญจรงค์ทั้งองค์อย่างงดงาม ยอดพระเจดีย์เป็นท่ี
สุดท้าย ที่พระมหากษัตริย์ทรงสร้างวัดประจ�ำรัชกาลตาม ประดิษฐานพระบรมสารีริกธาตุ รอบนอกองค์พระเจดีย์มี
โบราณราชประเพณี ซ้มุ พระพทุ ธรปู รวม ๑๔ ซมุ้
สง่ิ ส�ำคญั ภายในวดั
พระเจดยี ์ จดุ เดน่ ของวดั ราชบพธิ สถติ มหาสมี าราม
คือ การมีพระเจดียป์ ระธานต้ังเป็นศนู ย์กลางของแผนผงั วดั
พระพทุ ธศาสนา 27
ลานประทักษิณ ระหว่างพระอโุ บสถและพระเจดีย์
พระอุโบสถ
พระอโุ บสถ พระอโุ บสถและพระวหิ ารมลี กั ษณะใกลเ้ คยี งกนั คอื เปน็ สถาปตั ยกรรมแบบไทยผสมตะวนั ตก
ภายนอกมีลักษณะแบบสถาปัตยกรรมไทย หลังคาพระอุโบสถมุงกระเบ้ืองเคลือบสี มีช่อฟ้า ใบระกา หางหงส์
หนา้ บันเป็นรูปช้างเจ็ดเศียรทูนพานพระเก้ียว พระราชลัญจกรประจำ� รัชกาลท่ี ๕ ขนาบขา้ งด้วยรปู ราชสีห์ คชสีห์
หน้าบันมุขหน้า เป็นรูปพระนารายณ์ทรงครุฑ ซุ้มประตูและหน้าต่างเป็นปูนปั้น มียอดทรงมณฑปลงรักปิดทอง
ท่ีส�ำคัญ บานประตูเป็นลายรดน�้ำประดับมุก ลวดลายเคร่ืองราชอิสริยาภรณ์ไทย ๕ ตระกูล ที่ขอบบานประตูมี
พระปรมาภไิ ธย จ.ป.ร. ทงั้ บานประตแู ละหนา้ ตา่ ง ยา้ ยมาจากปราสาทพระเทพบดิ ร วดั พระศรรี ตั นศาสดาราม หลงั
เกดิ เพลิงไหมเ้ ม่ือพุทธศกั ราช ๒๔๔๖
ภายในตกแต่งงดงามตามแบบอย่างตะวันตก ผนงั สว่ นบนเขียนลวดลายในรัชกาลที่ ๗ เปน็ ลายดอกไมร้ ว่ ง
แทนของเดมิ ทเ่ี ขยี นภาพพทุ ธประวตั ิ มพี ระประธานเปน็ พระพทุ ธรปู ปางสมาธิ ขดั สมาธริ าบ ชนดิ กะไหลท่ อง ครอง
จีวรเป็นร้ิวแบบเหมือนจริง ไม่มีพระเมาลี ตามพระราชนิยมและคงเร่ิมหล่อในสมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้า
เจ้าอยู่หวั เดิมนั้นโปรดเกลา้ ฯ ให้หลอ่ ขน้ึ เพอ่ื ไปประดษิ ฐาน ณ วัดพระปฐมเจดยี ์ แตม่ าเสรจ็ สมบรู ณใ์ นช่วงต้นสมยั
รชั กาลท่ี ๕ จงึ โปรดเกลา้ ฯ ใหอ้ ญั เชญิ มาประดษิ ฐานในพระอโุ บสถวดั ราชบพธิ ฯ แทน พระราชทานนามวา่ “พระพทุ ธ
อังคีรส” ซึ่งมีความหมายว่า มีรัศมีซ่านออกจากพระวรกาย ปัจจุบันใต้ฐานพุทธบัลลังก์ประดิษฐานพระบรมราช
สรรี างคาร พระบรมอฐั พิ ระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ วั รชั กาลท่ี ๒ ถงึ รชั กาลท่ี ๕ พระอฐั สิ มเดจ็ พระศรสี ลุ าลยั สมเดจ็ ฯ
กรมพระยาสดุ ารตั นราชประยรู พระบรมราชสรรี างคาร รัชกาลที่ ๗ และสมเดจ็ พระนางเจ้าร�ำไพพรรณี พระบรม
ราชนิ ี ในรชั กาลท่ี ๗ และพระบรมราชสรรี างคารพระบาทสมเดจ็ พระปรมนิ ทรมหาภมู พิ ลอดลุ ยเดช บรมนาถบพติ ร
สุสานหลวง ตั้งอยนู่ อกก�ำแพงนอกเขตพุทธาวาส ตดิ กับถนนอษั ฎางค์ รมิ คลองคูเมอื งเดมิ สร้างมาแต่ครง้ั
รชั กาลท่ี ๕ เพอ่ื เปน็ ทบ่ี รรจพุ ระสรรี างคารและเปน็ อนสุ รณแ์ กพ่ ระบรมวงศานวุ งศ์ อาทิ สนุ นั ทานสุ าวรยี ์ รงั ษวี ฒั นา
เสาวภาประดิษฐาน สุขุมาลย์นฤมิตร อนุสาวรีย์พระราชชายาเจ้าดารารัศมี โดยก่อสร้างเป็นท้ังแบบพระเจดีย์
พระปรางค์ และอาคารแบบยุโรป
ปจั จบุ นั วดั ราชบพธิ สถติ มหาสมี าราม เปน็ ทปี่ ระทบั ของสมเดจ็ พระอรยิ วงศาคตญาณ สมเดจ็ พระสงั ฆราช
สกลมหาสังฆปรณิ ายก พระสงั ฆราชพระองคท์ ี่ ๒๐ พระองค์ปัจจุบนั
28 ศาสนสถานสำ�คัญค่แู ผน่ ดนิ
พระพุทธศาสนา 29
30 ศาสนสถานส�ำ คญั ค่แู ผน่ ดนิ
วดั สระเกศ ราชวรมหาวหิ าร พระเจดยี ์ภเู ขาทอง
ตง้ั อยทู่ ่ี ปากคลองมหานาค แขวงบา้ นบาตร
เขตปอ้ มปราบศตั รูพ่าย กรงุ เทพมหานคร
ประวตั คิ วามเปน็ มา
เป็นพระอารามหลวงชั้นโท ชนิดราชวรมหาวิหาร มาท�ำการแก้ไขให้เป็นเหมือนภูเขาและสร้างพระเจดีย์ทรง
เดมิ เปน็ วดั เกา่ แกท่ ม่ี มี าแตค่ รงั้ กรงุ ศรอี ยธุ ยา ชอ่ื วดั สระแก ลังกาประดับโมเสกสีทองไว้ขา้ งบน เรยี กว่า “บรมบรรพต”
พระบาทสมเดจ็ พระพทุ ธยอดฟา้ จฬุ าโลกมหาราช โปรดเกลา้ ฯ แตม่ าสำ� เรจ็ สมบรู ณใ์ นสมยั พระบาทสมเดจ็ พระจลุ จอมเกลา้
ให้บูรณปฏิสังขรณ์และสถาปนาข้ึนใหม่ พระราชทานนาม เจ้าอยหู่ ัว รชั กาลท่ี ๕ พระเจดีย์ทองแห่งนี้ ได้รบั การบรรจุ
ว่า “วดั สระเกศ” แต่ดว้ ยเหตทุ มี่ พี ระเจดีย์สีทองท่สี รา้ งบน พระบรมสารีริกธาตหุ ลายครั้ง ในสมัยรัชกาลที่ ๕ ไดม้ กี าร
ภูเขาจ�ำลอง จึงเป็นที่รู้จักของคนไทยและเรียกกันทั่วไปว่า บรรจพุ ระบรมสารีรกิ ธาตไุ วภ้ ายในเจดยี ถ์ ึง ๒ ครั้ง ครง้ั แรก
“วดั ภเู ขาทอง” และนกั ทอ่ งเทยี่ วตา่ งชาตติ า่ งรจู้ กั ในชอ่ื ของ อัญเชิญมาจากพระบรมมหาราชวัง เมอื่ พทุ ธศักราช ๒๔๒๐
“Golden Mountain” ครง้ั ที่ ๒ รฐั บาลอนิ เดยี ทลู เกลา้ ฯ ถวายพระบรมสารรี กิ ธาตทุ ่ี
มลี กั ษณะเป็นกระดกู ซง่ึ ขดุ พบจากเมอื งกบิลพสั ด์ุ จึงโปรด
สง่ิ ส�ำคญั ภายในวดั เกลา้ ฯ ใหน้ ำ� มาประดษิ ฐานไวใ้ นเจดยี แ์ หง่ นเ้ี มอ่ื พทุ ธศกั ราช
พระเจดียภ์ ูเขาทอง มีลักษณะเปน็ เจดียท์ รงลังกา ๒๔๔๒ ในสมัยพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพล
หรือทรงระฆัง มีเสาหานเหนือบัลลังก์รองรับปล้องไฉน อดุลยเดช บรมนาถบพิตร ได้อัญเชิญพระบรมสารีริกธาตุ
เป็นรูปแบบเฉพาะของเจดีย์ทรงลังกากรุงรัตนโกสินทร์ ที่ มาประดิษฐานถงึ ๒ คร้ังเช่นกัน และลา่ สดุ เม่ือพทุ ธศักราช
สืบทอดรูปแบบมาจากกรุงศรีอยุธยา ส่วนท่ีมีลักษณะ ๒๕๕๔ วัดสระเกศยังได้ประดิษฐานพระบรมสารีริกธาตุที่
เหมือนภูเขานั้นแปลงมาจากการก่อสร้างพระปรางค์องค์ ไดม้ าใหม่ดว้ ย พระเจดยี ภ์ เู ขาทองถอื เปน็ หน่ึงในสญั ลักษณ์
ใหญ่ท่ีสร้างไม่เสร็จมาแต่ครั้งสมัยรัชกาลท่ี ๓ กระท่ังใน ของกรงุ เทพมหานคร
สมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลท่ี ๔
พระพุทธศาสนา 31
พระอโุ บสถ ล้อมรอบด้วยใบเสมาคภู่ ายในซ้มุ ทรงกบู ชา้ ง
ระหวา่ งทางขน้ึ ภูเขาทองมีพระวิหารประดษิ ฐานพระพุทธรปู หล่อโลหะขนาดใหญ่ ปางมารวชิ ยั สรา้ ง
หรือบูรณะครง้ั รัชกาลที่ ๓ เรยี กว่า “หลวงพอ่ โต”
พระอุโบสถ เดิมสรา้ งมาแตค่ รัง้ รชั กาลท่ี ๑ แตไ่ ด้รบั การบูรณปฏสิ งั ขรณ์ในสมัยรัชกาลที่ ๓ ดงั จะเห็น
ได้จากลักษณะสถาปัตยกรรมที่มีเสาสี่เหลี่ยมไม่มีหัวเสารองรับชายคาระเบียงโดยรอบ หน้าบันด้านทิศตะวัน
ออกหรอื ดา้ นหนา้ เปน็ ไมแ้ กะสลกั ลงรักปดิ ทองประดับกระจก รูปพระนารายณท์ รงสุบรรณ ภายในเขยี นภาพ
จิตรกรรมฝาผนังภาพเทพชุมนุม ซ่ึงเป็นรูปแบบตามพระราชนิยมในสมัยน้ัน คล้ายกับพระที่น่ังพุทไธสวรรย์
ในพระราชวังบวรสถานมงคลหรือวังหน้า ปัจจุบันคือ พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระนคร และอีกหลายวัด
อย่างไรก็ตาม ภาพจิตรกรรมได้รับการบูรณะในสมัยพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลท่ี ๗
และมีการบูรณะมาเป็นล�ำดับ พุทธศิลป์ของพระประธานปูนปั้นขนาดใหญ่ภายในพระอุโบสถ กล่าวกันว่า
พระบาทสมเดจ็ พระพทุ ธยอดฟา้ จฬุ าโลกมหาราช รชั กาลที่ ๑ โปรดใหส้ รา้ งหมุ้ พระประธานองคเ์ ดมิ ทมี่ ขี นาดเลก็
คงบรู ณปฏสิ งั ขรณอ์ ีกครงั้ คราวเดยี วกบั พระอุโบสถ ตามพระราชนิยมในการสร้างพระประธานในหลายวัดคร้ัง
รัชกาลที่ ๓ โดยรอบพระอุโบสถ มีใบเสมาคู่ตงั้ อยภู่ ายในซุ้มทรงกูบชา้ ง ประดับกระเบ้อื งสแี บบจีนงดงามมาก
พระวหิ าร สรา้ งครงั้ รชั กาลที่ ๓ เปน็ ทป่ี ระดษิ ฐาน “พระอฏั ฐารส ศรสี คุ ตทศพลญาณบพติ ร” เปน็ พระพทุ ธ
รปู ยนื ปางประทานอภยั สมยั สโุ ขทยั หลอ่ ดว้ ยสำ� รดิ รชั กาลที่ ๓ โปรดเกลา้ ฯ ใหอ้ ญั เชญิ มาจากวดั วหิ ารทอง
เมอื งพษิ ณโุ ลก สว่ นหอ้ งดา้ นหลงั พระอฏั ฐารส ประดษิ ฐานพระพทุ ธรปู ปางมารวชิ ยั นามวา่ “หลวงพอ่ ดสุ ติ ”
ซงึ่ ไดอ้ ญั เชญิ มาจากวดั ดสุ ติ ตง้ั แตเ่ มอื่ ครงั้ พระบาทสมเดจ็ พระจลุ จอมเกลา้ เจา้ อยหู่ วั รชั กาลท่ี ๕ โปรดเกลา้ ฯ
ใหร้ วมพน้ื ทว่ี ดั ดสุ ติ กบั วดั แหลมหรอื วดั เบญจบพติ รเขา้ ดว้ ยกนั และสถาปนาขน้ึ เปน็ วดั เบญจมบพติ ร นน่ั เอง
32 ศาสนสถานสำ�คญั คูแ่ ผน่ ดนิ
ภาพมมุ สูงของพระอโุ บสถ พระวหิ าร และพระเจดียภ์ ูเขาทอง
หอไตร เปน็ ศาสนสถานทต่ี งั้ อยใู่ นเขตสงั ฆาวาส สนั นษิ ฐานวา่ จะเปน็ ของเดมิ สรา้ งในสมยั อยธุ ยา
โดยสรา้ งไว้กลางสระนำ�้ ปจั จบุ นั ถกู ถมไปหมดแลว้ สนั นษิ ฐานวา่ มาดดั แปลงตอ่ เตมิ ผนงั ขึ้นอกี ชนั้ หนง่ึ
ในสมัยรตั นโกสินทร์ โดยหุม้ ส่วนทีเ่ ป็นของเดิมครง้ั สมยั อยธุ ยา เพราะยังพอที่จะสังเกตเห็นศิลปกรรม
ฝมี ือช่างอยธุ ยา เช่น ผนงั ช้ันในเขยี นลายก�ำมะลอ ลักษณะไมแ้ กะสลกั ทบ่ี านประตู หนา้ ตา่ ง ส่วนด้าน
หลงั เขยี นภาพแบบจนี โดยรวมแลว้ เปน็ หอไตรทมี่ ลี กั ษณะงดงามเปน็ พเิ ศษ แตไ่ มเ่ ปน็ ทกี่ ลา่ วถงึ มากนกั
ปจั จบุ นั มกี ารจดั งานวดั ภเู ขาทอง ในเดอื นพฤศจกิ ายนของทกุ ปี ซงึ่ เปน็ ชว่ งเทศกาลลอยกระทง
และพทุ ธศาสนกิ ชนจะหลงั่ ไหลขนึ้ ไปนมสั การพระบรมสารรี กิ ธาตุ รวมทงั้ มพี ธิ อี ญั เชญิ ผา้ แดงขนึ้ ไปหมุ้
องคพ์ ระเจดยี ์ งานวัดภเู ขาทองนเี้ ปน็ งานวดั ท่อี ยู่คูช่ าวพระนครมาเปน็ เวลาช้านานจวบจนปัจจบุ นั
พระพทุ ธศาสนา 33
34 ศาสนสถานส�ำ คญั ค่แู ผน่ ดนิ
วดั บวรนเิ วศวหิ าร ราชวรวหิ าร พระมหาเจดียป์ ระดิษฐานพระบรมสารีริกธาตุ และพระเจดียท์ ิศยอดปรางค์
องค์กลางดา้ นทศิ ตะวันออก ประดษิ ฐานพระบรมรปู รชั กาลท่ี ๔
ตง้ั อยทู่ ่ี ถนนพระสเุ มรุ แขวงบวรนเิ วศ เขต
พระนคร กรงุ เทพมหานคร
ประวตั คิ วามเปน็ มา
เป็นพระอารามหลวงช้ันเอก ชนิดราชวรวิหาร อาราธนาสมเด็จพระอนุชาธิราช เจ้าฟ้ามงกุฎซึ่งทรงผนวช
แต่เดิมวัดน้ีชื่อวัดใหม่หรือวัดวังหน้าอยู่ใกล้กับวัดรังษี เปน็ พระภกิ ษอุ ย่วู ัดสมอราย (วดั ราชาธวิ าส) เสด็จมาครอง
สุทธาวาส ตอ่ มาไดร้ วมเขา้ เปน็ วัดเดียวกนั สถาปนาขนึ้ ใหม่ วัดนี้ และพระราชทานนามวัดเป็น “วัดบวรนิเวศวิหาร”
โดยสมเดจ็ พระบวรราชเจา้ มหาศักดพิ ลเสพ ในรชั กาลที่ ๓ ซงึ่ ตอ่ มาไดเ้ ปน็ ทปี่ ระทบั ขณะทรงผนวชของพระมหากษตั รยิ ์
วัดน้ีได้รับการทะนุบ�ำรุง และสร้างส่ิงก่อสร้างต่างๆ ข้ึน และพระบรมวงศานุวงศ์หลายพระองค์ โดยในระหว่างท่ี
เป็นอันมาก โดยเฉพาะในปลายรัชกาลท่ี ๓ พุทธศักราช เจา้ ฟา้ มงกฎุ ประทบั อยนู่ น้ั ไดจ้ ดั ตง้ั คณะสงฆธ์ รรมยตุ กิ นกิ าย
๒๓๗๕ เมื่อพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัวได้ทรง ขน้ึ เป็นคร้งั แรก
พระพทุ ธศาสนา 35
เขตพุทธาวาส วดั บวรนิเวศวหิ าร
พระอโุ บสถ เปน็ สถาปตั ยกรรมตามแบบพระราชนยิ มในสมยั รชั กาลท่ี ๓ ไมม่ ชี อ่ ฟา้ ใบระกา หางหงส์
แต่ประดับด้วยกระเบ้ืองเคลือบสีแทน หันหน้าออกไปสู่ทิศเหนือ หน้าบันประดับกระเบื้องเป็นตรา
มหามงกุฎ พระราชลัญจกรประจ�ำพระองค์ รัชกาลที่ ๔ และพระขรรค์ ประดิษฐานเหนือพานแว่นฟ้า
ภายในประดิษฐานพระพุทธรูปส�ำริด ศิลปะสุโขทัย หมวดพระพุทธชินราช ที่อัญเชิญมาจากเมือง
พิษณุโลก นามว่า “พระพุทธชินสีห์” เป็นพระประธาน ซึ่งใต้บัลลังก์เป็นท่ีประดิษฐานพระบรมราช
สรรี างคารของพระบาทสมเดจ็ พระมงกฎุ เกลา้ เจา้ อยหู่ วั และพระบาทสมเดจ็ พระปรมนิ ทรมหาภมู พิ ลอดลุ ยเดช
บรมนาถบพติ ร ดา้ นหลังเปน็ พระประธานองค์ใหญน่ ามวา่ “พระสวุ รรณเขต” หรือหลวงพ่อโต อัญเชญิ มา
จากวดั สระตะพาน จงั หวดั เพชรบรุ ี จึงเรียกอกี ชือ่ หนง่ึ วา่ “หลวงพอ่ เพชร” แลว้ คงมกี ารบูรณะอกี คร้งั ราว
สมยั รัชกาลท่ี ๓ จิตรกรรมภายในเปน็ ภาพปริศนาธรรมเขียนโดยขรวั อินโข่ง ถือเป็นจติ รกรรมฝีมอื บรมครู
เพราะเป็นรูปแบบของจิตรกรรมหัวเล้ียวหัวต่อของการรับอิทธิพลยุโรป หรือตะวันตก มาผสมผสานกับ
แนวคดิ ตามขนบนิยมของไทย
36 ศาสนสถานส�ำ คญั ค่แู ผ่นดิน
พระวิหารเก๋ง พระวิหารและพระมหาเจดีย์
พระวหิ ารอยดู่ า้ นทศิ ใตข้ องพระมหาเจดยี ์ภายในประดษิ ฐานพระพทุ ธรปู นามวา่ “พระศาสดา”พระพทุ ธ
รูปส�ำคัญจากเมืองพิษณุโลก ท่ีหล่อพร้อมกับพระพุทธชินราช และพระชินสีห์ ประทับบนฐานชุกชีท่ีตกแต่ง
ด้วยลวดลายพันธุ์พฤกษาแบบตะวันตก ผนังพระวิหารเขียนภาพจิตรกรรมเกี่ยวกับต�ำนานพระพุทธชินราช
หลงั พระศาสดา มีหอ้ งเล็กๆ อีกห้องหนึ่ง ประดษิ ฐาน “พระพทุ ธไสยา” พระพทุ ธรปู ปางปรนิ พิ พานจากเมือง
สโุ ขทยั บรรทมไสยาสนห์ ลบั พระเนตรสนทิ รอบๆ มภี าพจติ รกรรมฝาผนงั รปู พระสาวก เทวดา และพทุ ธบรษิ ทั
เดินทางมาเข้าเฝ้าคร้ังสุดท้าย ใกล้กันนั้นยังมีพระวิหารขนาดเล็ก เรียก “พระวิหารเก๋ง” เป็นท่ีประดิษฐาน
พระพุทธรูปฉลองพระองคส์ ำ� คญั อีกกลุ่มหนง่ึ ฝาผนังเขยี นภาพจติ รกรรมเรื่องสามกก๊
พระมหาเจดยี ์ เปน็ เจดยี ห์ ลกั ประจำ� พระอาราม ตง้ั อยรู่ ะหวา่ งพระอโุ บสถและพระวหิ าร มลี กั ษณะ
เปน็ เจดยี ท์ รงลงั กาหรอื ทรงระฆงั ขนาดใหญ่ เหนอื บลั ลงั กม์ เี สาหาน ประดบั ดว้ ยกระเบอื้ งโมเสกสที อง ตามแบบ
เจดยี ท์ น่ี ยิ มสรา้ งในสมยั ตน้ กรงุ รตั นโกสนิ ทร์ ภายในประดษิ ฐานพระเจดยี ก์ ะไหลท่ อง บรรจพุ ระบรมสารรี กิ ธาตุ
บนฐานทักษณิ โดยรอบ มพี ระเจดียท์ ิศยอดทรงปรางค์ เฉพาะองคก์ ลางด้านทิศตะวนั ออก เปน็ ที่ประดษิ ฐาน
พระบรมรปู พระบาทสมเดจ็ พระจอมเกลา้ เจา้ อยหู่ วั
ในสว่ นของเขตสงั ฆาวาส มพี ระตำ� หนกั หลายหลงั ทส่ี รา้ งพระราชทานหรอื พระราชอทุ ศิ ในโอกาสตา่ งๆ
กนั และไดใ้ ชเ้ ปน็ ทปี่ ระทบั ของพระมหากษตั รยิ ห์ รอื เจา้ นายขณะทรงผนวช อาทิ พระตำ� หนกั เพชร พระตำ� หนกั
จันทร์ พระต�ำหนกั ปัน้ หยา โดยเฉพาะพระตำ� หนักปั้นหยา เปน็ อาคารทีพ่ ระบาทสมเด็จพระน่งั เกลา้ เจ้าอยูห่ ัว
โปรดเกลา้ ฯ ใหร้ อ้ื จากสวนขวาในพระบรมมหาราชวงั มาสรา้ งพระราชทานพระภกิ ษเุ จา้ ฟา้ มงกฎุ พระตำ� หนกั นี้
เคยเปน็ ทปี่ ระทบั ในขณะทรงผนวชของพระบาทสมเดจ็ พระปรมนิ ทรมหาภมู พิ ลอดลุ ยเดช บรมนาถบพติ ร และ
สมเด็จพระเจา้ อยหู่ วั มหาวชริ าลงกรณ บดินทรเทพยวรางกรู
พระพทุ ธศาสนา 37
38 ศาสนสถานส�ำ คญั ค่แู ผน่ ดนิ
วัดสทุ ศั นเทพวราราม พ้นื ท่ีดา้ นหน้าวดั สุทศั นเทพวราราม เปน็ ทีต่ ั้งของเสาชิงชา้
ราชวรมหาวหิ าร ท่ีเคยใชใ้ นพิธโี ลช้ ิงช้าของศาสนาพราหมณ์
ต้ังอยู่ที่ ถนนบ�ำรุงเมืองและถนนตีทอง
แขวงเสาชงิ ชา้ เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร
ประวตั คิ วามเปน็ มา
เปน็ พระอารามหลวงชน้ั เอก ชนิดราชวรมหาวหิ าร เพื่อประดิษฐานพระพุทธรูปขนาดใหญ่ ซ่ึงอัญเชิญมาจาก
ถือว่าเป็นวัดประจ�ำรัชกาลพระบาทสมเด็จพระปรเมนทร พระวิหารหลวงวัดมหาธาตุ จังหวัดสุโขทัย เมื่อสถาปนา
มหาอานันทมหดิ ล พระอฐั มรามาธิบดนิ ทร รัชกาลท่ี ๘ วดั ในพุทธศักราช ๒๓๕๐ จึงพระราชทานนามวา่ “วดั มหา
สุทธาวาส” แต่ชาวบา้ นเรียกกนั วา่ วดั พระใหญ่ วดั พระโต
เมือ่ พทุ ธศกั ราช ๒๓๒๗ พระบาทสมเดจ็ พระพทุ ธ หรือวัดเสาชิงช้า ภายหลังเม่ือการก่อสร้างพระอารามแล้ว
ยอดฟา้ จุฬาโลกมหาราช รชั กาลที่ ๑ โปรดเกล้าฯ ให้สรา้ ง
เทวสถานโบสถพ์ ราหมณแ์ ละเสาชงิ ชา้ บรเิ วณกลางพระนคร เสร็จสมบูรณ์ในสมัยพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว
ประดุจดังศูนย์กลางแห่งจักรวาล ต่อมาเม่ือพุทธศักราช ได้พระราชทานนามวัดว่า “วัดสุทัศนเทพธาราม” ต่อมา
๒๓๕๐ เพ่ือให้เป็นไปตามคติการสร้างพระนครใหม่ จึงให้ พระบาทสมเดจ็ พระจอมเกลา้ เจา้ อยหู่ วั ไดพ้ ระราชทานนาม
สรา้ งวดั ขนาดใหญ่ เหมอื นวดั พนญั เชงิ ในกรงุ ศรอี ยธุ ยา และ วดั ใหม่อกี ครง้ั ว่า “วดั สทุ ัศนเทพวราราม”
พระพทุ ธศาสนา 39
พระวิหารหลวง
สง่ิ ส�ำคญั ภายในวดั
พระวิหารหลวง สร้างขึน้ ในสมยั รัชกาลที่ ๑ โดยสร้างครอบพระพทุ ธรูปขนาดใหญ่ “พระใหญ”่ ท่ี
อัญเชิญมาประดิษฐานเป็นพระประธาน แต่มาแล้วเสร็จในสมัยรัชกาลท่ี ๓ มีรูปแบบทางสถาปัตยกรรมเช่น
เดยี วกับพระวิหารมงคลบพิตรหลงั เดมิ ท่พี ระนครศรอี ยธุ ยา หน้าบันมขุ เดจ็ เปน็ ไมแ้ กะสลักลงรักปิดทองภาพ
นารายณท์ รงสบุ รรณ งานไมแ้ กะสลกั ทง่ี ดงามอกี ชนิ้ หนงึ่ คอื บานประตดู า้ นหนา้ พระวหิ าร ทม่ี ปี ระวตั วิ า่ ลวดลาย
บางส่วนเปน็ ฝพี ระหตั ถพ์ ระบาทสมเดจ็ พระพุทธเลิศหลา้ นภาลยั แตภ่ ายหลงั ถกู เพลิงไหม้ จงึ ถอดเกบ็ รักษาไว้
ในพิพธิ ภัณฑสถานแห่งชาติ พระนคร ทเี่ ห็นในปจั จบุ ันเป็นบานท่ีถอดจากด้านหลงั มาใส่แทน สว่ นผนงั ภายใน
เขียนจิตรกรรมเรอื่ งไตรภมู กิ ถา ฝมี ือชา่ งรัชกาลท่ี ๒ - รัชกาลท่ี ๓
พระศรศี ากยมุนี เปน็ พระประธานในพระวิหารหลวง อญั เชญิ มาจากวัดมหาธาตุ สุโขทยั ขณะน้นั เปน็
วดั รา้ ง เมอื่ แรกเรยี กกนั วา่ พระใหญ่ หรอื พระโต ตอ่ มาพระบาทสมเดจ็ พระจอมเกลา้ เจา้ อยหู่ วั พระราชทานนาม
วา่ “พระศรีศากยมนุ ”ี เปน็ พระพุทธรปู ส�ำริด ปางมารวิชยั ประทบั ขัดสมาธริ าบ ถอื เป็นพระพุทธรปู ส�ำรดิ สมัย
สโุ ขทยั อายรุ าวตน้ พุทธศตวรรษที่ ๒๐ ท่ีใหญ่และสมบรู ณ์ท่ีสุด มีหลักฐานวา่ รัชกาลที่ ๒ โปรดเกล้าฯ ให้ปรับ
แก้ไขพระเศียรให้ใหญ่ขึน้ แก้ไขนิว้ พระหตั ถใ์ ห้ยาวเสมอกนั ตามความนยิ มในสมยั น้นั ทด่ี า้ นหลังพุทธบัลลังก์
มแี ผน่ หนิ แกะสลกั เปน็ ภาพยมกปาฏหิ ารยิ ์ สมยั ทวารวดี อายรุ าวพทุ ธศตวรรษท่ี ๑๓-๑๕ ทงี่ ดงามและสมบรู ณ์
ที่สดุ
40 ศาสนสถานส�ำ คญั คู่แผน่ ดนิ
พระบรมราชานุสาวรีย์ รัชกาลที่ ๘
พระอุโบสถ มีขนาดใหญ่และยาวที่สุดในประเทศไทย กว้าง ๒๒.๖๐ เมตร ยาว ๗๒.๒๕ เมตร
ภายในพระอุโบสถประดิษฐานพระประธาน คือ “พระพุทธตรีโลกเชษฐ์” ปางมารวิชัยที่หล่อขึ้นตามแบบ
พระราชนยิ มในสมยั รัชกาลที่ ๓ แลว้ เสรจ็ เม่อื พุทธศกั ราช ๒๓๘๔ และพระราชทานนามโดยรชั กาลท่ี ๔ เปน็
พระพุทธรูปหล่อด้วยโลหะทั้งองค์ ประดิษฐานบนฐานชุกชีสูง เบื้องหน้าประดิษฐานพระอสีติมหาสาวกน่ัง
พนมมอื ๘๐ องค์ สรา้ งดว้ ยปนู ปน้ั ลงสี ภาพจติ รกรรมฝาผนงั เขยี นภาพเกย่ี วกบั วรรณคดไี ทย บานประตู เขยี น
เรอ่ื งรามเกยี รต์ิ เป็นผลงานของจิตรกรสมยั รชั กาลท่ี ๓ และส่วนใหญอ่ ย่ใู นสภาพค่อนข้างสมบูรณ์
สัตตมหาสถาน ศาสนสถานทีเ่ ป็นเอกลกั ษณ์เฉพาะของพระอารามแห่งน้ี สรา้ งข้ึนในสมัยรชั กาลที่ ๓
อันมีความหมายว่า เป็นสถานท่ี ๗ แห่ง สื่อถึงเหตุการณ์ส�ำคัญในช่วงเวลาท่ีพระพุทธเจ้าทรงตั้งปณิธานที่
จะบ�ำเพ็ญสมาธิ กระทั่งตรัสรู้พระโพธิญาณ ได้แก่ โพธิบัลลังก์ อนิมิสเจดีย์ รัตนจงกรมเจดีย์ รัตนฆรเจดีย์
อชปาลนโิ ครธ มุจลนิ ทร์และราชายตนะ ซ่งึ ล้วนแสดงดว้ ยศลิ ปกรรมแบบจีน
พระบรมราชานุสาวรีย์ พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล พระอฐั มรามาธบิ ดินทร
ประดิษฐานอยู่ท่ีลานทักษิณชั้นล่าง มุมทิศตะวันตกเฉียงเหนือของพระวิหาร ด้วยเป็นพระอารามแห่งแรกที่
เสด็จพระราชด�ำเนินมาในคราวนิวัตพระนคร และเป็นวัดที่บรรจุพระบรมราชสรีรางคารที่ผ้าทิพย์ด้านหน้า
พุทธบัลลังก์พระศรีศากยมุนี เม่ือพุทธศักราช ๒๔๙๓ และมีพระราชพิธีทรงบ�ำเพ็ญพระราชกุศลในวันที่ ๙
มิถุนายน ซง่ึ เปน็ วนั คล้ายวันสวรรคตของทกุ ปี
พระพุทธศาสนา 41
42 ศาสนสถานส�ำ คญั ค่แู ผน่ ดนิ
วดั ราชโอรสาราม ราชวรวหิ าร พระอุโบสถ
ตงั้ อยทู่ ่ี ถนนเอกชยั แขวงบางคอ้ เขตจอมทอง
กรงุ เทพมหานคร
ประวตั คิ วามเปน็ มา
วัดราชโอรสาราม หรือเรียกส้นั ๆ วา่ วดั ราชโอรส ครงั้ ยงั เปน็ สมเดจ็ พระเจา้ ลกู ยาเธอ กรมหมนื่ เจษฎาบดนิ ทร์
เป็นพระอารามหลวงช้นั เอก ชนิดราชวรวหิ าร และถือเป็น วัดราชโอรสเป็นวัดแรกท่ีสร้างข้ึนตามแบบสถาปัตยกรรม
วัดประจ�ำรัชกาลท่ี ๓ มีประวัติว่าเป็นวัดโบราณที่สร้างใน และศิลปกรรมในพระราชนิยมของพระบาทสมเด็จ
สมยั กรงุ ศรอี ยุธยาเปน็ ราชธานี เดมิ เรียกวา่ “วดั จอมทอง” พระนงั่ เกลา้ เจา้ อยหู่ วั คอื ตกแตง่ ดว้ ยศลิ ปกรรมจนี ผสมผสาน
“วดั เจา้ ทอง” หรอื “วดั กองทอง” สว่ นนามวดั ราชโอรสาราม ศลิ ปกรรมแบบไทยอยา่ งกลมกลนื ทงั้ ทพี่ ระอโุ บสถ พระวหิ าร
ได้รับพระราชทานโดยพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้า รวมถึงกุฏิพระสงฆ์เป็นอาคารตึกแทนเรือนไม้แบบของเดิม
นภาลัย รัชกาลที่ ๒ เน่ืองจากเป็นวัดท่ีพระบาทสมเด็จ เปน็ ทีน่ า่ สงั เกตวา่ ไม่มีเจดียข์ นาดใหญ่ เป็นประธานของวดั
พระนัง่ เกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลท่ี ๓ ทรงบรู ณปฏสิ งั ขรณ์เมื่อ
พระพทุ ธศาสนา 43
พระพทุ ธไสยาสนน์ ารถชนินทร์ ชนิ ศากยบรมสมเดจ็ สรรเพชญพทุ ธบพิตร
สง่ิ ส�ำคญั ภายในวดั
พระอุโบสถ มีลักษณะทางสถาปัตยกรรมไทยแบบใหม่ โดยมีศิลปกรรมผสมระหว่างไทยกับจีน หลังคา
เป็นแบบจีนแต่มุงกระเบื้องสีแบบไทย ไม่มีช่อฟ้าใบระกา หน้าบันประดับกระเบื้องเคลือบสีต่างๆ งดงาม แต่ง
เปน็ รปู แจกนั ดอกเบญจมาศ มีรูปสตั ว์มงคลตามคตขิ องจนี คือ มังกร หงส์ และนกยงู ตอนล่างเป็นภาพทิวทัศน์มี
บา้ นเรอื น สตั วเ์ ลย้ี ง ภเู ขา ตน้ ไม้ ตามขอบหลงั คาประดบั กระเบอื้ งสี และถว้ ยชามโดยรอบ ซมุ้ ประตหู นา้ ตา่ งประดบั
กระเบอื้ งสเี ปน็ ลวดลายดอกเบญจมาศบานประตดู า้ นนอกประดบั มกุ ลายมงั กรดนั้ เมฆดา้ นในประตเู ขยี นรปู ทวารบาล
แบบจีน ส่วนจติ รกรรมฝาผนงั เขียนเปน็ ลายเครื่องบชู าแบบจนี บางชว่ งมีความหมายในการใหพ้ ร ฮก ลก ซวิ่ ตาม
คติของจีน บนเพดานเขียนลายดอกเบญจมาศสีทองบนพื้นสีแดง มีพระประธานหล่อด้วยส�ำริด สร้างตามแบบ
พระราชนิยมสมัยรัชกาลท่ี ๓ นามว่า “พระพุทธอนันตคุณอดุลญาณบพิตร” แต่เป็นปางสมาธิ พระบาทสมเด็จ
พระจอมเกล้าเจ้าอยู่หวั โปรดเกลา้ ฯ ให้อัญเชญิ พระบรมราชสรรี างคารของพระบาทสมเด็จพระนัง่ เกลา้ เจ้าอย่หู ัว
ประดษิ ฐานไวท้ ่ฐี านพระพทุ ธรูป
พระวหิ ารพระพทุ ธไสยาสน์ ตงั้ อยดู่ า้ นหลงั พระอโุ บสถในเขตกำ� แพงแกว้ เปน็ พระวหิ ารขนาดใหญ่ รปู แบบ
สถาปตั ยกรรมแบบเดยี วกบั พระอโุ บสถ ภายในประดษิ ฐานพระพทุ ธไสยาสนป์ นู ปน้ั ลงรกั ปดิ ทองสรา้ งครง้ั รชั กาลที่
๓ นามว่า “พระพทุ ธไสยาสนน์ ารถชนินทร์ ชนิ ศากยบรมสมเดจ็ สรรเพชญพุทธบพติ ร” ท่ีฝ่าพระบาทมลี ายมงคล
๑๐๘ บานประตแู ละบานหน้าตา่ งดา้ นนอกประดับด้วยลายปนู ปนั้ ทเ่ี รยี กวา่ กระแหนะ เปน็ รปู เสีย้ วกางแบบไทย
เพดานพระวหิ ารเขยี นลายดอกเบญจมาศ นก และผเี สอ้ื สสี วยงาม และหนา้ บนั ประดบั ดว้ ยกระเบอ้ื งสเี ปน็ ลายดอก
เบญจมาศและรูปสตั วม์ งคลของจนี เช่นเดยี วกับหนา้ บนั พระอุโบสถ โดยรอบลานพระวิหารมเี จดียย์ อ่ มุมไมส้ ิบสอง
ประดิษฐานอยู่ ๓๒ องค์ ที่ผนังพระระเบียงพระวิหารพระพุทธไสยาสน์ มีแผ่นหินอ่อนจารึกต�ำรายาและต�ำรา
หมอนวด ติดเปน็ ระยะๆ จำ� นวนทงั้ ส้ิน ๙๒ แผ่น โดยพระราชประสงค์ของพระบาทสมเด็จพระนงั่ เกลา้ เจ้าอยหู่ วั
คล้ายกบั ทีว่ ัดพระเชตพุ นวมิ ลมงั คลาราม
44 ศาสนสถานสำ�คัญคู่แผ่นดิน
(ภาพบน) ซุ้มประตทู างเข้าพระอุโบสถ
(ภาพล่าง) ซ้มุ เสมาและศาลาราย
ศาลาการเปรียญ มีลักษณะของสถาปัตยกรรมและศิลปกรรมผสมระหว่างไทยและจีน
เช่นเดียวกันกบั พระอโุ บสถและพระวิหาร บนหลงั คาประดับรปู ถะ ระหวา่ งมงั กรกระเบื้องเคลือบสี
อยา่ งศาลเจ้าจนี ผนงั ดา้ นนอกตอนบนเขยี นรปู ผลไม้เปน็ สัญลกั ษณข์ องความเป็นสิริมงคล ภายใน
เป็นท่ีประดิษฐานพระประธาน เป็นพระพุทธรูปปูนปั้น ลงรักปิดทอง แสดงพระหัตถ์ขวาคว่�ำลง
บนพระชานุ พระหัตถ์ซ้ายถือตาลปัตรคล้ายแว่นแก้ว ทรงพุ่มข้าวบิณฑ์ มีพระนามว่า “พระพุทธ
ชัยสิทธิธรรมนาท” ประทับขัดสมาธิราบ นอกจากนั้นภายในศาลาการเปรียญยังมีพระพุทธบาท
จ�ำลอง ประดิษฐานอยดู่ ้วย
พระพทุ ธศาสนา 45
46 ศาสนสถานส�ำ คญั ค่แู ผน่ ดนิ
จติ รกรรมแสดงภายในองค์พระปฐมเจดยี ์ จิตรกรรมแสดงการยกยอดนภศูล จติ รกรรมพระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ วั รชั กาลที่ ๙
วดั พระปฐมเจดยี ์ ราชวรมหาวหิ าร องค์พระปฐมเจดยี ์ เสดจ็ พระราชดำ� เนนิ ไปทรงสกั การะพระปฐมเจดยี ์
ตงั้ อยทู่ ่ี ตำ� บลพระปฐมเจดีย์ อำ� เภอเมือง
นครปฐม จังหวดั นครปฐม
ประวตั คิ วามเปน็ มา
เปน็ พระอารามหลวงชนั้ เอก ชนิดราชวรมหาวหิ าร ควบคมุ การสรา้ ง แตถ่ งึ แกพ่ ริ าลยั เสยี กอ่ น จงึ โปรดเกลา้ ฯ ให้
แตอ่ งค์พระปฐมเจดยี ์น้ันไม่ไดม้ ีการบนั ทึกไวเ้ ปน็ เอกสารวา่ เจา้ พระยาทพิ ากรวงศม์ หาโกษาธบิ ดี เปน็ แมก่ องจดั ทำ� ตอ่ ใน
สรา้ งขน้ึ ตง้ั แตเ่ มอื่ ใด พระบาทสมเดจ็ พระจอมเกลา้ เจา้ อยหู่ วั พทุ ธศกั ราช ๒๔๐๐ พระบาทสมเดจ็ พระจอมเกลา้ เจา้ อยหู่ วั
มีพระบรมราชวินิจฉัยเก่ียวกับองค์พระปฐมเจดีย์ไว้ว่า ได้เสด็จพระราชด�ำเนินมาทรงก่อพระเจดีย์เป็นปฐมฤกษ์
เจดีย์องค์นี้อาจเป็นเจดีย์ท่ีสร้างข้ึนเมื่อคราวที่พระสมณทูต เจดีย์เป็นทรงระฆังคว�่ำ มีบัลลังก์รองรับเสาหานและ
ในพระเจ้าอโศกมหาราชเดินทางมาเผยแผ่ศาสนายัง ปล้องไฉน ที่ยอดนภศูลประดับพระมหามงกุฎ องค์
สวุ รรณภมู กิ เ็ ปน็ ได้ ดงั มขี อ้ ความตอนหนงึ่ ในหนงั สอื มหาวงศ์ พระเจดีย์ประดับกระเบ้ืองเคลือบสีเหลืองทอง บนฐาน
คือ พงศาวดารของเกาะลงั กากล่าวไว้ว่า “สุวรรณภูมิ เถเร ทักษิณท�ำเป็นพระระเบียงรอบองค์พระเจดีย์มีวิหารทิศ
เทวโสณ อุตตรเมวจ” แปลความว่า ให้พระโสณเถระกับ ๔ ทิศ ปัจจุบันองค์พระเจดีย์มีขนาดสูง ๑๒๐.๕๐ เมตร
พระอุตตระไปยังสุวรรณภูมิ ครั้นเมื่อเจดีย์องค์เดิมหักพัง ฐานโดยรอบยาว ๒๓๓ เมตร เช่ือว่าเป็นที่ประดิษฐาน
ลงมา จึงมีการก่อพระเจดีย์ทรงลังกาครอบทับ และมีการ พระบรมสารีริกธาตุ ดังท่ีมีการบันทึกในสมัยรัชกาลที่ ๔
บูรณะอกี หลายครัง้ แตเ่ ดมิ ชาวบา้ นเรยี กวา่ วัดพระประธม วา่ พระบรมสารรี กิ ธาตแุ สดงปาฏิหาริย์เป็นรศั มีสขี าว และ
หรอื พระปทม ในสมยั รชั กาลที่ ๖ พระบรมสารรี ิกธาตุ ไดแ้ สดงปาฏิหาริย์
หลายคร้ัง ในคร้ังท่ีเสด็จฯ แปรพระราชฐานไปประทับ
สงิ่ ส�ำคญั ภายในวดั ณ พระราชวังสนามจันทร์ เม่ือพุทธศักราช ๒๔๕๗ ทอด
องคพ์ ระปฐมเจดยี ์ สภาพองคพ์ ระเจดยี ท์ ป่ี รากฏอยู่ พระเนตรเหน็ ปาฏหิ ารยิ พ์ รอ้ มกบั บรรดาพระบรมวงศานวุ งศ์
ในปจั จบุ นั คอื องคพ์ ระเจดยี ท์ ไี่ ดร้ บั การบรู ณปฏสิ งั ขรณแ์ ลว้ ใน และขา้ ราชบรพิ าร โดยองคพ์ ระปฐมเจดยี ม์ แี สงสวา่ งเรอื งๆ
รชั สมยั พระบาทสมเดจ็ พระจอมเกล้าเจ้าอยู่หวั พทุ ธศกั ราช ตงั้ แตอ่ งคร์ ะฆงั ไปถงึ ยอดนภศลู
๒๓๙๕ โปรดเกลา้ ฯ ใหส้ มเดจ็ เจา้ พระยาบรมมหาประยรู วงศ์
พระพทุ ธศาสนา 47
พระร่วงโรจนฤทธิ์ เป็น
พระพุทธรูปยืนปางประทานอภัย มี
ขนาดความสงู ๗.๔๒ เมตร พระพกั ตร์
ยาว พระหนเุ สย้ี ม หม่ จวี รบางคลมุ แนบ
ตดิ พระวรกายตามแบบพทุ ธศลิ ปส์ โุ ขทยั
เป็นพระพุทธรูปท่ีพระบาทสมเด็จ
พระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว เมื่อคร้ัง
ทรงด�ำรงพระราชอิสริยยศเป็นสมเด็จ
พระบรมโอรสธิราชฯ สยามมกุฎราช
กมุ าร โปรดเกลา้ ฯ ใหอ้ ญั เชญิ ลงมาจาก
เมืองศรีสัชนาลัย ในคร้ังน้ันพระร่วง
โรจนฤทธชิ์ ำ� รดุ มาก จากนน้ั จงึ ใหช้ า่ งปน้ั
สว่ นทช่ี ำ� รดุ ขนึ้ ใหมจ่ นบรบิ รู ณเ์ ตม็ องค์
และโปรดเกลา้ ฯ ใหจ้ ดั การพระราชพธิ ี
เททองหลอ่ ขึน้ ณ วัดพระเชตุพนวิมล
มังคลาราม กรุงเทพมหานคร แล้ว
อัญเชิญไปประดิษฐานท่ีพระวิหาร
ด้านทิศเหนือขององค์พระปฐมเจดีย์
แล้วเสร็จสมบูรณ์เมื่อพุทธศักราช
๒๔๕๘ ภายหลังพระบาทสมเด็จ
พระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวพระราชทาน
นามเต็มวา่ “พระร่วงโรจนฤทธ์ิ ศรอี ิน
ทราทิตย์ธรรโมภาส มหาวชิราวุธราช
ปชู นยี บพิตร”
ที่ใต้ฐานพระร่วงโรจนฤทธิ์
เป็นที่บรรจุพระบรมราชสรีรางคาร
ของพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้า
เจ้าอยู่หัว และท่ีผนังพระวิหารด้าน
หลังพระร่วงโรจนฤทธิ์ เป็นที่บรรจุ
พระสรรี างคารของพระนางเจา้ สวุ ทั นา
พระวรราชเทวี ในรัชกาลที่ ๖ และ
พระสรรี างคารสมเดจ็ พระเจา้ ภคนิ เี ธอ
เจ้าฟ้าเพชรรัตนราชสุดา สิริโสภา
พัณณวดี
พระร่วงโรจนฤทธิ์
48 ศาสนสถานส�ำ คัญค่แู ผน่ ดนิ
พระวิหาร ประดษิ ฐานพระรว่ งโรจนฤทธ์ิ ตง้ั อยดู่ ้านทิศเหนอื ขององค์พระปฐมเจดีย์ พระพทุ ธรูปศลิ าขาว (บน) บริเวณลานทักษณิ ดา้ นทิศใต้
ขององค์พระปฐมเจดีย์
พระพทุ ธรปู ศลิ าขาว เปน็ พระพทุ ธรปู สลกั จากหนิ ประทบั หอ้ ยพระบาท
ทั้งสองลงบนฐานกลมประดับกลีบบัวคว่�ำบัวหงาย ยกพระหัตถ์ขวาข้ึนแสดง
ปางวิตรรกะหรือแสดงธรรม พระพักตร์และการแสดงปางเป็นลักษณะเฉพาะ
ศิลปะทวารวดี อายรุ าวพุทธศตวรรษท่ี ๑๓-๑๕ ประดิษฐานบรเิ วณลานทักษณิ
ด้านทิศใต้องค์พระปฐมเจดีย์องค์หน่ึง และอีกองค์หนึ่งประดิษฐานเป็น
พระประธานอยู่ภายในพระอุโบสถวัดพระปฐมเจดีย์ จากประวัติการค้นพบระบุ
ว่าพระพุทธรูปทั้ง ๒ องค์ ถูกเคลื่อนย้ายมาจากวัดพระเมรุ จังหวัดนครปฐม
ซ่ึงเช่ือว่าทั้งหมดมี ๕ องค์ด้วยกัน อีก ๓ องค์ประดิษฐานอยู่ท่ีวัดหน้าพระเมรุ
และทีพ่ ิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ เจ้าสามพระยา จังหวดั พระนครศรอี ยุธยา และ
ทีพ่ ิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระนคร
ปจั จบุ นั จงั หวดั นครปฐม จดั งานนมสั การองคพ์ ระปฐมเจดยี ์ เพอื่ สบื ทอด
การสกั การะพระบรมสารรี กิ ธาตุ เปน็ ประจำ� ในชว่ งเดอื นพฤศจกิ ายนของทกุ ปี โดย
สว่ นใหญจ่ ะมกี ารจดั งานเปน็ ระยะเวลาทง้ั หมด ๙ วนั ๙ คนื เพอ่ื ใหพ้ ทุ ธศาสนกิ ชน
รว่ มท�ำบุญบ�ำเพญ็ กุศล รว่ มงานกาชาดนครปฐม ชมมหรสพ และเลอื กซ้ือสนิ คา้
พ้นื เมอื ง
พระพทุ ธศาสนา 49