241
ประเทศ จึงตอ้ งมีพ้ืนฐานมาจากระบบการศึกษาท่ีมีคุณภาพ ท่ีสามารถผลิตบุคลากรท่ีมีคุณภาพออกมา
พฒั นาประเทศได้ และการเร่ิมตน้ พฒั นาการศึกษาตอ้ งเริ่มตน้ จากการวิเคราะห์และคน้ หาศกั ยภาพภายใน
ออกมาก่อน และควบคูไ่ ปกบั ทาความเขา้ ใจการเป็นไปของโลก กระบวนทศั นใ์ นการพฒั นาการศึกษาจึงตอ้ ง
“ดูเรา ดูโลก” คือ เขา้ ใจตวั เอง และเขา้ ใจวา่ โลกหมุนไปทางใด เพื่อวิง่ ไปโดยไม่ทิ้งใครไวข้ า้ งหลงั มีความ
รู้เท่าทนั ทุนนิยม และรู้ขอ้ จากดั ของเรา เพราะปลายทางของการพฒั นาการศึกษา หวั ใจคือประชาชน คือการ
ผลิตบุคลากรที่มีคุณภาพในการพฒั นาประเทศ สู่ความมน่ั คงยง่ั ยนื นน่ั เอง
การจดั การศึกษาดา้ นอาชีพในปัจจุบนั มีความสาคญั มาก เพราะจะเป็ นการพฒั นาประชากรของ
ประเทศให้มีความรู้ ความสามารถและทกั ษะในการประกอบอาชีพ เป็ นการแกป้ ัญหาการวา่ งงานและ
ส่งเสริมความเขม้ แข็งใหแ้ ก่เศรษฐกิจชุมชน ซ่ึงกระทรวงศึกษาธิการไดก้ าหนดยุทธศาสตร์ 2555 ภายใต้
กรอบเวลา 2 ปี ท่ีจะพฒั นา 5 ศกั ยภาพของพ้นื ที่ใน 5 กลุ่มอาชีพใหม่ ใหส้ ามารถแข่งขนั ไดใ้ น 5 ภูมิภาคหลกั
ของโลก “รู้เขา รู้เรา เท่าทนั เพ่ือแข่งขนั ไดใ้ นเวทีโลก” และกระทรวงศึกษาธิการไดก้ าหนดภารกิจที่จะ
พฒั นายกระดบั การจดั การศึกษาเพื่อเพ่ิมศกั ยภาพและขีดความสามารถให้ประชาชนไดม้ ีอาชีพท่ีสามารถ
สร้างรายได้ท่ีมน่ั คง โดยการดาเนินการพฒั นายกระดับ และจดั การศึกษาเพ่ือเพิ่มศกั ยภาพ และขีด
ความสามารถให้ประชาชนได้มีอาชีพที่สามารถสร้างรายได้ที่มง่ั คง่ั และมนั่ คง เพื่อเป็ นบุคลากรที่มีวินยั
เปี่ ยมไปดว้ ยคุณธรรมจริยธรรมมีสานึกความรับผดิ ชอบต่อตนเอง ผอู้ ่ืน และสังคม ภายใตห้ ลกั การพ้ืนฐานที่
คานึงถึงศกั ยภาพและบริบทรอบ ๆ ตวั ผเู้ รียน เพ่ือมุ่งสู่เป้ าหมายของการเพ่ิมขีดความสามารถในการแข่งขนั
และยกระดบั ศกั ยภาพในการทางานใหก้ บั บุคลากรคนไทยใหแ้ ข่งขนั ไดใ้ นระดบั สากล โดยคานึงถึงหลกั การ
พ้ืนฐานที่คานึงถึงศกั ยภาพและบริบทรอบๆ ตวั ผเู้ รียน ดงั น้นั สาระทกั ษะการเรียนรู้ เป็ นสาระเก่ียวกบั การ
พฒั นาทกั ษะการเรียนรู้ของผเู้ รียนในดา้ นการเรียนรู้ดว้ ยตนเอง การใชแ้ หล่งเรียนรู้ การจดั การความรู้ การคิด
เป็น และการวจิ ยั อยา่ งง่าย โดยมีวตั ถุประสงคเ์ พื่อใหผ้ เู้ รียนสามารถกาหนดเป้ าหมาย วางแผนการเรียนรู้ดว้ ย
ตนเอง เขา้ ถึงและเลือกใชแ้ หล่งเรียนรู้ จดั การความรู้ กระบวนการแกป้ ัญหา และตดั สินใจอยา่ งมีเหตุผล ที่
สามารถใชเ้ ป็ นเคร่ืองมือในการช้ีนาตนเองในการเรียนรู้ และการประกอบอาชีพให้สอดคลอ้ งกบั หลกั การ
พ้ืนฐาน และการพฒั นา 5 ศกั ยภาพหลกั ของพ้ืนท่ีใน 5 กลุ่มอาชีพใหม่ คือ กลุ่มอาชีพด้านเกษตรกรรม
อุตสาหกรรม พาณิชยกรรม ความคิดสร้างสรรค์ การบริหารจดั การและการบริการ ตามยุทธศาสตร์ 2555
กระทรวงศึกษาธิการ ไดอ้ ยา่ งต่อเนื่องตลอดชีวติ
เรื่องท่ี 2 พนื้ ทหี่ ลกั ในการพฒั นาอาชีพ และการวเิ คราะห์ศักยภาพหลกั ของพนื้ ที่
ในการพฒั นาอาชีพ
1. กลุ่มอาชีพใหม่ 5 กล่มุ อาชีพ
1.1 กลุ่มอาชีพดา้ นเกษตรกรรม
1.2 กลุ่มกลุ่มอาชีพดา้ นอุตสาหกรรม
1.3 กลุ่มอาชีพดา้ นพาณิชยกรรม
242
1.4 กลุ่มอาชีพดา้ นความคิดสร้างสรรค์
1.5 กลุ่มอาชีพดา้ นบริหารจดั การและการบริการ
2. พนื้ ที่หลกั ในการพัฒนาอาชีพ 5 พนื้ ท่ี
พนื้ ทห่ี ลกั ในการพฒั นา ประกอบดว้ ย
1. พื้นท่ีภาคกลาง ประกอบด้วย กลุ่มจงั หวดั ภาคกลางตอนบน 8 จงั หวดั ได้แก่ นนทบุรี
พระนครศรีอยุธยา ปทุมธานี อ่างทอง สระบุรี ลพบุรี สิงห์บุรี ชยั นาท กลุ่มจงั หวดั ภาคกลางตอนล่าง 13
จงั หวดั ได้แก่ ราชบุรี สุพรรณบุรี นครปฐม กาญจนบุรี เพชรบุรี ประจวบคิรีขันธ์ สมุทรสาคร
สมุทรสงคราม ฉะเชิงเทรา สมุทรปราการ นครนายก สระแก้ว ปราจีนบุรี กลุ่มจงั หวดั ภาคตะวนั ออก 4
จงั หวดั ไดแ้ ก่ ชลบุรี ระยอง ตราด จนั ทบุรี
243
2. พนื้ ทภี่ าคเหนือ ประกอบดว้ ย กลุ่มจงั หวดั ภาคเหนือตอนบน 8 จงั หวดั ไดแ้ ก่ เชียงใหม่ ลาพนู
ลาปาง แม่ฮอ่ งสอน เชียงราย พะเยา แพร่ น่าน กลุ่มจงั หวดั ภาคเหนือตอนล่าง 9 จงั หวดั ไดแ้ ก่ สุโขทยั ตาก
อุตรดิตถ์ พษิ ณุโลก เพชรบูรณ์ กาแพงเพชร นครสวรรค์ พิจิตร อุทยั ธานี
3. พนื้ ทภี่ าคตะวนั ออกเฉียงเหนือ ประกอบดว้ ย กลุ่มจงั หวดั ภาคตะวนั ออกเฉียงเหนือตอนบน 8
จงั หวดั ไดแ้ ก่ อุดรธานี หนองคาย หนองบวั ลาพู เลย บึงกาฬ สกลนคร นครพนม มุกดาหาร กลุ่มจงั หวดั
ภาคตะวนั ออกเฉียงเหนือตอนกลาง 4 จงั หวดั ไดแ้ ก่ ข่อนแก่น กาฬสินธุ์ มหาสารคาม ร้อยเอ็ด กลุ่มจงั หวดั
ภาคตะวนั ออกเฉียงเหนือตอนล่าง 8 จงั หวดั ได้แก่ นครราชสีมา ชยั ภูมิ บุรีรัมย์ สุรินทร์ อุบลราชธานี
ศรีษะเกษ ยโสธร อานาจเจริญ
244
4. พนื้ ทภ่ี าคใต้ ประกอบดว้ ย กลุ่มจงั หวดั ภาคใตฝ้ ่ังอา่ วไทย 4 จงั หวดั ไดแ้ ก่ ชุมพร สุราษฏร์ธานี
นครศรีธรรมราช พทั ลุง กลุ่มจงั หวดั ภาคใตฝ้ ่ัง 5 จงั หวดั ไดแ้ ก่ ระนอง พงั งา ภเู กต็ กระบี่ ตรัง กลุ่มจงั หวดั
ภาคใตช้ ายแดน 4 จงั หวดั ไดแ้ ก่ สตูล สงขลา ปัตตานี นราธิวาส ยะลา
5. พนื้ ทก่ี รุงเทพมหานคร
245
เรื่องท่ี 3 ศักยภาพหลกั ของพนื้ ทใ่ี นการพฒั นาอาชีพ
1. ศักยภาพของทรัพยากรธรรมชาติในแต่ละพนื้ ที่ หมายถึง ทรัพยากรธรรมชาติหรือส่ิงต่าง ๆ ท่ี
เกิดข้ึนเองตามธรรมชาติ และมนุษย์ สามารถนามาใชป้ ระโยชน์ได้ เช่น บรรยากาศ ดิน น้า ป่ าไม้ ทุ่งหญา้
สัตวป์ ่ า แร่ธาตุ พลงั งาน และกาลงั แรงงานมนุษย์ เป็นตน้ การนาเอาศกั ยภาพของทรัพยากรธรรมชาติในแต่ละ
พ้ืนท่ีเพื่อนามาใชป้ ระโยชน์ในดา้ นการประกอบอาชีพตอ้ งพิจารณาว่าทรัพยากรทางธรรมชาติท่ีจะตอ้ ง
นามาใช้ในการประกอบอาชีพในพ้ืนท่ีมีหรือไม่มีเพียงพอหรือไม่ ถา้ ไม่มี ผูป้ ระกอบการตอ้ งพิจารณา
ใหม่วา่ จะกอบอาชีพที่ตดั สินใจเลือกไวห้ รือไม่
2. ศักยภาพของพนื้ ทตี่ ามหลกั ภูมิอากาศ หมายถึง ลกั ษณะของลมฟ้ าอากาศท่ีมีอยปู่ ระจาทอ้ งถ่ิน
ใดทอ้ งถ่ินหน่ึง โดยพิจารณาจากค่าเฉล่ียของอุณหภูมิประจาเดือน และปริมาณน้าฝนในช่วงระยะเวลา
ต่างๆ ของปี เช่นภาคเหนือของประเทศไทยมีอากาศหนาวเยน็ หรือเป็ นแบบสะวนั นา (Aw) คือ อากาศ
ร้อนช้ืนสลบั กบั ฤดูแลง้ เกษตรกรรม กิจกรรมที่ทารายไดต้ ่อประชากรในภาคเหนือ ไดแ้ ก่ การทาสวน
ทาไร่ ทานา และเล้ียงสัตวภ์ าคใตเ้ ป็ นภาคที่มีฝนตกตลอดท้งั ปี ทาให้เหมาะแก่การปลูกพืชเมืองร้อน
ที่ตอ้ งการความชุ่มช้ืนสูง เช่น ยางพารา ปาลม์ น้ามนั เป็ นตน้ การประกอบอาชีพอะไรก็ตาม ผูป้ ระกอบ
อาชีพจาเป็ นตอ้ งพิจารณาเลือกอาชีพให้เหมาะสมกบั สภาพสภาพภูมิอากาศเพราะสภาพภูมิอากาศจะมี
ความสมั พนั ธ์กบั การประกอบอาชีพ
3. ศักยภาพของภูมิประเทศและทาเลท่ีต้ังของแต่ละพนื้ ที่ หมายถึง ลกั ษณะของพ้ืนที่และทาเล
ที่ต้งั ในแต่ละพ้ืนท่ี ซ่ึงพ้ืนที่แต่ละทาเลจะมีลกั ษณะแตกต่างกนั เช่น เป็ นภูเขา ท่ีราบสูง ที่ราบลุ่ม ท่ีราบ
ชายฝั่ง ส่ิงท่ีเราตอ้ งศึกษาเกี่ยวกบั ลกั ษณะภูมิประเทศ เช่น ความกวา้ ง ความยาว ความลาดชนั และความ
สูงของพ้ืนท่ี เป็นตน้ การประกอบอาชีพใดๆ ก็ตามไม่วา่ จะเป็ นการผลิต การจาหน่าย หรือการใหบ้ ริการ
ก็ตามจาเป็นตอ้ งพจิ ารณาถึงทาเลท่ีต้งั ท่ีเหมาะสมและการคมนาคมขนส่งตา่ งๆ
4. ศักยภาพของศิลปะ วฒั นธรรม ประเพณี และวถิ ีชีวติ ของแต่ละพนื้ ท่ี หมายถึง ลกั ษณะ
วฒั นธรรม ประเพณี และความแตกต่างกันในการดารงชีวิตของประชากรในพ้ืนที่ ซ่ึงมีผลต่อการ
ประกอบอาชีพ ผูท้ ี่จะประกอบอาชีพอาจตอ้ งพิจารณาและเลือกประกอบอาชีพให้เมะสมกบั วฒั นธรรม
ประเพณีและวถิ ีชีวติ ของแตล่ ะพ้ืนท่ี
5. ศักยภาพของทรัพยากรมนุษย์ในแต่ละพืน้ ท่ี หมายถึง บุคคลที่อยู่ในพ้ืนท่ีท่ีตอ้ งไดร้ ับการ
พฒั นาความรู้ ความคิดและสามารถการนาศักยภาพของแต่ละบุคคลในแต่ละพ้ืนที่มาใช้ ในการ
ปฏิบตั ิงานให้เกิดประโยชน์สูงสุด และสร้างให้แต่ละบุคคลเกิดทศั นคติที่ดีต่อการประกอบอาชีพ เกิด
ความตระหนกั ในคุณค่าของตนเอง และเม่ือพิจารณาถึงทรัพยากรมนุษยใ์ นแต่ละพ้ืนท่ี โดยเฉพาะ
ภูมิปัญญาไทย แม้ว่ากาลเวลาจะผ่านไป ความรู้สมัยใหม่จะหลงั่ ไหลเข้ามามาก แต่ภูมิปัญญาไทย
ก็สามารถปรับเปล่ียนให้เหมาะสมกบั ยุคสมยั ได้ การเลือกหรือการเขา้ สู่อาชีพต่างๆจาเป็ นตอ้ งมีการ
พิจารณาในเรื่องน้ีดว้ ยเพราะการบริหารทรัพยากรมนุษย์ น้นั จาเป็ นตอ้ งมีการดาเนินการอยา่ งเป็ นระบบ
246
เพราะหากไม่ดาเนินการตามกระบวนการอย่างเป็ นระบบแลว้ จะก่อใหเ้ กิดผลเสียต่อการประกอบอาชีพ
ในอนาคตได้ เพราะผลท่ีไดร้ ับจากการบริหารน้นั ไมส่ อดคลอ้ งกบั ความสาเร็จของการประกอบอาชีพ
จะเห็นไดว้ า่ การเรียนรู้และวเิ คราะห์หาจุดอ่อนจุดแขง็ ของศกั ยภาพหลกั ของพ้ืนที่มีความสาคญั
และมีผลต่อการพฒั นาอาชีพให้เข้มแข็งมากข้ึน เพราะศกั ยภาพหลกั ของพ้ืนที่เป็ นปัจจยั หน่ึงท่ีทาให้
ผปู้ ระกอบการมีโอกาสเขา้ สู่การประกอบอาชีพไดม้ ายงิ่ ข้ึน
เร่ืองท่ี 4 ตัวอย่างอาชีพทส่ี อดคล้องกบั ศักยภาพหลกั ของพนื้ ที่
1. กล่มุ อาชีพใหม่ด้านเกษตรกรรม
กลุ่มการผลิต เช่น การผลิตไมด้ อกเพอ่ื การคา้ การผลิตป๋ ุยอินทรีย์ การผลิตไก่อินทรีย์
กลุ่มแปรรูป เช่น การแปรรูปปลานิลแดดเดียว การแปรรูปทาไส้กรอกจากปลาดุก
กลุ่มเศรษฐกิจพอเพียง เช่น การเกษตรแบบยงั่ ยนื การเกษตรผสมผสานตามแนวทาง
เกษตรทฤษฎีใหม่ และแนวทางเศรษฐกิจพอเพยี ง การฝึกอบรมเกษตรทางเลือกภายใตเ้ ศรษฐกิจพอเพยี ง
ตวั อย่างอาชีพ การปลูกพชื ผกั โดยวธิ ีเกษตรธรรมชาติ
ปัจจุบนั การเพาะปลูกของประเทศไทยประสบปัญหาหลายประการที่สาคญั ประการแรกคือ
พ้ืนท่ีทาการเกษตรส่วนใหญ่เป็ นดินท่ีขาดความอุดมสมบูรณ์ ประการที่สองเกษตรกรประสบปัญหา
แมลงศตั รูรบกวนและหนทางที่เกษตรกรเลือกใช้แก้ปัญหาส่วนใหญ่ก็คือ สารเคมีฆ่าแมลง ซ่ึงเป็ น
อนั ตรายตอ่ เกษตรกรผผู้ ลิตและผบู้ ริโภค และเกิดมลพิษในสภาพแวดลอ้ ม การแกป้ ัญหาดงั กล่าวตามแนว
พระราชดาริของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช (รัชกาลที่ 9) ก็คือ “แนวทาง
การเกษตรธรรมชาติแบบยงั่ ยืน ตามแนวพระราชดาริ” ซ่ึงจะเป็ นแนวทางที่จะทาใหด้ ินเป็ นดินท่ีมีความ
อุดมสมบูรณ์ เป็ นดินที่มีชีวติ มีศกั ยภาพในการผลิตและใหผ้ ลผลิตทางการเกษตรท่ีปลอดภยั จากสารพิษ
ต่าง ๆ ทางการเกษตร ดงั น้นั ผเู้ รียนควรมีความรู้ ความเขา้ ใจ ทกั ษะและเจตคติเกี่ยวกบั แนวพระราชดาริ
ของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช (รัชกาลที่ 9) หลกั เกษตรธรรมชาติ การปรับปรุง
ดินโดยใชป้ ๋ ุยอินทรียแ์ ละป๋ ุยชีวภาพ ดินและอินทรียวตั ถุในดิน ชมแปลงสาธิต - ทดลองเกษตรธรรมชาติ
การป้ องกนั และกาจดั ศตั รูพืชโดยวิธีเกษตรธรรมชาติ การทาสมุนไพรเพ่ือป้ องกนั และกาจดั ศตั รูพืช
มาตรฐานเกษตรธรรมชาติ ศฝก. ฝึกปฏิบตั ิการทาป๋ ุยหมกั ป๋ ุยน้าชีวภาพและน้าสกดั ชีวภาพ ฝึ กปฏิบตั ิการ
เพาะกลา้ และฝึกปฏิบตั ิงานในแปลงเกษตร มาตรฐานเกษตรธรรมชาติ MOA มาตรฐานเกษตรธรรมชาติ
ศฝก. การจดั ดอกไม้ การแปรรูปผลผลิตการเกษตร การวางแผนการปลูกพชื ผกั โดยวธิ ีเกษตรธรรมชาติใน
อนาคต การติดตามผลและใหค้ าแนะนา
247
การวเิ คราะห์ 5 ศักยภาพของพนื้ ท่ี ในกล่มุ อาชีพใหม่ด้านเกษตรกรรม
ที่ ศักยภาพ รายละเอยี ดทค่ี วรพจิ ารณาในประเด็น
1 การวเิ คราะห์ทรัพยากรธรรมชาติ - ดินมีความสมบรู ณ์
ใน แต่ละพ้ืนที่ - ไม่มีแมลงศตั รูรบกวน
- มีแหล่งน้า และลกั ษณะภูมิประเทศท่ีเป็นท่ีราบลุ่มแม่น้าท่ี
อุดมสมบรู ณ์เหมาะสมในการทาการเกษตร
2 การวเิ คราะห์พ้นื ท่ีตามลกั ษณะภมู ิอากาศ ฤดูกาล ภมู ิอากาศเหมาะสมต่อการปลูกพืชผกั เช่น ไม่อยใู่ นพ้ืนท่ี
น้าทว่ ม มีอากาศเยน็ ไม่ร้อนจดั
3 การวเิ คราะห์ภมู ิประเทศ และทาเลท่ีต้งั - เป็นฐานการผลิตทางการเกษตร
ของแตล่ ะพ้ืนท่ี - มีแหล่งชลประทาน
- ไม่มีความเสี่ยงจากภยั ธรรมชาติท่ีมีผลความเสียหายรุนแรง
4 การวเิ คราะห์ศิลปวฒั นธรรม ประเพณี - มีพ้ืนที่พอเพยี งและเหมาะสม
และวถิ ีชีวติ ของแต่ละพ้ืนที่ - มีการคมนาคมท่ีสะดวก
- มีวถิ ีชีวติ เกษตรกรรม
5 การวเิ คราะห์ทรัพยากรมนุษยใ์ นแตล่ ะ - ประชาชนสนใจในวถิ ีธรรมชาติ
พ้นื ที่ - มีภมู ิปัญญา/ผรู้ ู้ เกี่ยวกบั เกษตรธรรมชาติ
- มีกระแสการสนบั สนุนเกษตรธรรมชาติจากสงั คมสูง
2. กลุ่มอาชีพใหม่ด้านอุตสาหกรรม
ภาคการผลติ ได้แก่
กลุ่มไฟฟ้ าและอิเล็กทรอนิกส์ เช่น ช่างไฟฟ้ าอุตสาหกรรม ช่างเชื่อมโลหะดว้ ย
ไฟฟ้ าและแกส๊ ช่างเชื่อมเหล็กดดั ประตู หนา้ ต่าง ช่างเดินสายไฟฟ้ าภายในอาคาร ช่างเดินสายและติดต้งั
อุปกรณ์ไฟฟ้ า
กลุ่มเสื้อผ้า สิ่งทอ เช่น การทาซิลคส์ กรีน การทาผา้ มดั ยอ้ มและมดั เพนท์ การทาผา้
ดว้ ยก่ีกระตุก การทาผา้ บาติก
กล่มุ เคร่ืองยนต์ เช่น การซ่อมรถจกั รยานยนตแ์ ละเคร่ืองยนต์ ช่างเคร่ืองยนต์
ช่างเคาะตวั ถงั รถยนต์
248
กลุ่มศิลปะประดิษฐ์และอัญมณี เช่น การแกะสลกั วสั ดุอ่อนเบ้ืองตน้ การข้ึนรูป
กระถางตน้ ไมด้ ว้ ยแป้ นหมุน การทาของชาร่วยดว้ ยเซรามิค การออกแบบเครื่องโลหะและรูปภณั ฑ์
อญั มณี
ตวั อย่างอาชีพ การเป็ นตัวแทนจาหน่ายทพี่ กั และบริการท่องเทย่ี วในแหล่งท่องเทย่ี วเชิงวฒั นธรรม ใน
กลุ่มประเทศภูมิภาคอาเซียนโดยใช้คอมพวิ เตอร์อนิ เตอร์เน็ต
สืบเน่ืองจากความเปล่ียนแปลงของประชาคมโลกที่มีการติดต่อสื่อสารกนั มากข้ึนอยา่ งรวดเร็ว
และกลุ่มประเทศอาเซียนไดม้ ีนโยบายให้เกิดประชาคมอาเซียนข้ึน ซ่ึงหมายถึงคนในภูมิภาคดงั กล่าว
จะติดต่อไปมาหาสู่กนั มากข้ึน และในการน้ีการเดินทางท่องเที่ยวของประชาชนก็จะมีมากข้ึนจากความ
สนใจใคร่รู้ใคร่เห็นเก่ียวกบั ประเพณีวฒั นธรรมของชาติเพอ่ื นบา้ น การท่องเท่ียวเป็ นอุตสาหกรรมบริการ
ที่มีการเจริญเติบโตอยา่ งรวดเร็วทว่ั โลก โดยมีเอกลกั ษณ์เฉพาะตวั ซ่ึงแตกต่างจากอุตสาหกรรม ประเภท
อื่น ๆ คือการสร้างรายไดเ้ ป็นเงินตราต่างประเทศเขา้ ประเทศเป็ นจานวนมหาศาล เมื่อเทียบกบั รายไดจ้ าก
สินคา้ อื่น ๆ
การขยายตวั ของอุตสาหกรรมการท่องเท่ียวดงั กล่าว ทาให้ธุรกิจท่ีเกี่ยวขอ้ งกบั การท่องเท่ียว
ไดแ้ ก่ ธุรกิจโรงแรม ร้านอาหาร คมนาคม และขนส่ง มีการขยายตวั ตามไปดว้ ยและการท่องเท่ียวยงั ถูกใช้
เป็นเคร่ืองมือในการกระจายรายไดแ้ ละความเจริญไปสู่ภูมิภาคต่าง ๆ ก่อใหเ้ กิดการสร้างงานสร้างอาชีพ
ใหแ้ ก่ชุมชนในทอ้ งถ่ิน และยงั มีบทบาทในการกระตุน้ ใหเ้ กิดการผลิตและการนาเอาทรัพยากรธรรมชาติ
ต่าง ๆ มาใชใ้ ห้เกิดประโยชน์อยา่ งเหมาะสม โดยอยใู่ นรูปของสินคา้ และบริการเกี่ยวกบั การท่องเท่ียว
ดงั น้นั การรวบรวมนาเสนอขอ้ มูลการใหบ้ ริการเก่ียวกบั การท่องเท่ียวโดยการเป็ นตวั กลางระหวา่ งสถาน
ประกอบการ/ผูป้ ระกอบการกบั ผใู้ ช้บริการ จึงเป็ นอาชีพท่ีน่าสนใจและมีโอกาสกา้ วหน้าสูง ดงั น้นั
ผเู้ รียนจึงควรมีความรู้ ความเขา้ ใจ ทกั ษะ และเจตคติเก่ียวกบั ธุรกิจท่ีพกั และการให้บริการการท่องเที่ยว
เชิงวฒั นธรรมในกลุ่มประเทศอาเซียน การใชค้ อมพิวเตอร์อินเตอร์เน็ตสาหรับการเป็ นตวั แทนจาหน่าย
ระหวา่ งเจา้ ของ/ผปู้ ระกอบการการท่องเที่ยวเชิงวฒั นธรรมกบั ผใู้ ชบ้ ริการผา่ นทางอินเตอร์เน็ต การเจรจา
ตอ่ รองในฐานะตวั แทนจาหน่าย การประเมินผลและพฒั นาธุรกิจของตน
249
การวเิ คราะห์ 5 ศักยภาพของพนื้ ท่ี ในกลุ่มอาชีพใหม่ด้านอุตสาหกรรม
ท่ี ศักยภาพ รายละเอยี ดทค่ี วรพจิ ารณาในประเด็น
1 การวเิ คราะห์ทรัพยากรธรรมชาติ ขอ้ มูลของแหล่งทอ่ งเที่ยว
ในแตล่ ะพ้นื ท่ี แหล่งท่องเท่ียวมีบรรยากาศที่เหมาะสม
2 การวเิ คราะห์พ้นื ท่ีตามลกั ษณะภมู ิอากาศ มีทาเลท่ีต้งั ในชุมชน สงั คม ท่ีมีการคมนาคมสะดวก
3 การวเิ คราะห์ภูมิประเทศ และทาเลที่ต้งั
- ทุนทางสังคมและวฒั นธรรม การบริโภคของตลาดโลก
ของแต่ละพ้ืนท่ี มีแนวโนม้ กระแสความนิยมสินคา้ ตะวนั ออกมากข้ึน
4 การวเิ คราะห์ศิลปวฒั นธรรม ประเพณี - มีศิลปะ วฒั นธรรม ประเพณี และวิถีชีวิตแบบด้งั เดิม และเป็ น
เอกลกั ษณ์
และวถิ ีชีวติ ของแตล่ ะพ้ืนที่ แรงงานมีทกั ษะฝีมือและระบบประกนั สังคม และมีความสามารถ
ในการใชเ้ ทคโนโลยี
5 การวเิ คราะห์ทรัพยากรมนุษยใ์ นแต่ละ
พ้นื ที่
3. กล่มุ อาชีพใหม่ด้านพาณชิ ยกรรม
การค้าและเศรษฐกจิ พอเพยี ง ได้แก่
กลุ่มพัฒนาผลิตภัณฑ์ การออกแบบและพฒั นาบรรจุภณั ฑ์เพื่อชุมชนการ
พฒั นาผลิตภณั ฑเ์ พ่ือชุมชน การพฒั นาและออกแบบผลิตภณั ฑ์
การขายสินค้าทางอนิ เทอร์เน็ต (e-Commerce) การสร้างร้านคา้ ทางอินเทอร์เน็ต
กลุ่มผ้ปู ระกอบการ เช่น การประกอบการธุรกิจชุมชน ร้านคา้ ปลีกกลุ่มแมบ่ า้ น
และวสิ าหกิจชุมชน
ตวั อย่างอาชีพ โฮมสเตย์
อาชีพโฮมสเตย์ เป็ นการประกอบอาชีพโดยนาตน้ ทุนทางสังคม คือ ทรัพยากรธรรมชาติและ
ส่ิงแวดลอ้ มมาบริหารจดั การเพื่อเพ่ิมมูลค่าจูงใจใหน้ กั ท่องเท่ียวเขา้ มาสัมผสั กบั การท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์
ในรูปแบบโฮมสเตย์ ในการจดั การศึกษาวชิ าอาชีพโฮมสเตย์ ยดึ หลกั การของการศึกษาตลอดชีวติ โดยให้
สงั คมเขา้ มามีส่วนร่วมในการจดั การศึกษา เนน้ การพฒั นาสาระและกระบวนการเรียนรู้โดยใชช้ ุมชนเป็ น
ฐาน ควบคู่กบั สร้างองค์ความรู้ในการประกอบอาชีพโฮมสเตย์ ภายใต้ยุทธศาสตร์การใช้ตน้ ทุนทาง
ธรรมชาติ ทุนทรัพยากรบุคคล ทุนภูมิปัญญาและแหล่งเรียนรู้ ทุนทางวฒั นธรรม ทุนงบประมาณของรัฐ
และทุนทางความรู้มาใชจ้ ดั กิจกรรมการเรียนรู้ การจดั การศึกษาอาชีพโฮมสเตย์ เป็ นการจดั การกิจกรรม
250
การเรียนรู้ที่เสริมสร้างศกั ยภาพใหผ้ เู้ รียนไดม้ ีความรู้ และสามารถพฒั นาตนเองและกลุ่มไปสู่การบริหาร
จดั การที่มีมาตรฐาน เป็นไปตามหลกั การของโฮมสเตย์ นาไปสู่การเช่ือมโยงองคค์ วามรู้ที่หลากหลาย ซ่ึง
เกิดจากฝึ กประสบการณ์โดยการจดั ทาโครงการประกอบอาชีพโฮมสเตย์ ดงั น้นั ผเู้ รียน จึงควรมีความรู้
ความเขา้ ใจ ทกั ษะและเจตคติเกี่ยวกบั สถานการณ์การท่องเท่ียว นโยบายการท่องเท่ียวของประเทศไทย
ความรู้พ้นื ฐาน และมาตรฐานการจดั การโฮมสเตย์ การจดั กิจกรรมนาเที่ยว การตอ้ นรับนกั ท่องเท่ียว การ
บริการ มคั คุเทศก์ การสร้างเครือข่ายการท่องเที่ยวโฮมสเตย์ การประกอบอาหาร การปฐมพยาบาล
เบ้ืองตน้ ภาษาองั กฤษเพ่ือการทอ่ งเท่ียวและ การบริหารจดั การ
การวเิ คราะห์ 5 ศักยภาพของพนื้ ท่ี ในกลุ่มอาชีพใหม่ด้านพาณชิ ยกรรม
ท่ี ศักยภาพ รายละเอยี ดทคี่ วรพจิ ารณาในประเด็น
1 การวเิ คราะห์ทรัพยากรธรรมชาติ - มีแหล่งท่องเท่ียวท่ีเป็นจุดสนใจแปลกชวนใหผ้ คู้ นมาเท่ียว และ
ในแต่ละพ้นื ที่ พกั คา้ งคืน
- มีโปรแกรมท่ีน่าสนใจในการศึกษาธรรมชาติ และพกั ผอ่ นที่ดี
- ไมถ่ ูกรบกวนจากแมลงและสตั วอ์ ่ืน ๆ
2 การวเิ คราะห์พ้นื ท่ีตามลกั ษณะภมู ิอากาศ - ใกลแ้ หล่งน้า ทะเล มีทิวทศั นท์ ี่สวยงาม
- ภมู ิอากาศไม่แปรปรวนบอ่ ย ๆ
3 การวเิ คราะห์ภมู ิประเทศ และทาเลท่ีต้งั - มีทาเลที่ต้งั พอดีไม่ใกลไ้ กลเกินไป
ของแต่ละพ้นื ท่ี - มีการคมนาคมสะดวกในการเดินทาง
- ขอ้ มลู แต่ละพ้ืนท่ีท่ีเราเลือกอยใู่ กลจ้ ุดท่องเท่ียวหรือไม่ สะดวก
ในการเดินทางดว้ ยความปลอดภยั เพียงใด มีคู่แขง่ ท่ีสาคญั หรือไม่
4 การวเิ คราะห์ศิลปวฒั นธรรม ประเพณี เป็นแหล่งท่องเที่ยวทางวฒั นธรรมท่ีเป็ นธรรมชาติ อยใู่ นพ้นื ท่ีมีการ
และวถิ ีชีวติ ของแตล่ ะพ้นื ท่ี ประชาสัมพนั ธ์ที่ดีจากองคก์ รทอ่ งเที่ยว
5 การวเิ คราะห์ทรัพยากรมนุษยใ์ นแต่ละ - มีผปู้ ระกอบการ และแรงงานท่ีมีความรู้ความสามารถ
พ้นื ท่ี - มีความร่วมมือจากชุมชนในดา้ นการเป็นมิตรกบั แขกท่ีมาใช้
บริการ
4. กล่มุ อาชีพใหม่ด้านความคิดสร้างสรรค์
คอมพวิ เตอร์และธุรการ ได้แก่
Software
กล่มุ ออกแบบ เช่น โปรแกรม AUTO CAD เพ่อื งานออกแบบก่อสร้าง ออกแบบชิ้นส่วน
อุตสาหกรรม เขียนแบบเครื่องกลดว้ ยโปรแกรมคอมพิวเตอร์ Solid Work
251
กลุ่มงานในสานักงาน เช่น Office and Multimedia การจดั ทาระบบขอ้ มูลทางการเงิน
และบญั ชีดว้ ยโปรแกรม Excel และโปรแกรมบญั ชีสาเร็จรูปเพอื่ ใชใ้ นการทางานทางธุรกิจ
การใช้คอมพวิ เตอร์ในสานกั งานดว้ ยโปรแกรม Microsoft Office
การพฒั นาโปรแกรมด้วย MS Access โดยใชร้ ะบบงานบุคคล
การใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศและการส่ือสาร สาหรับการประกอบธุรกิจบนอินเทอร์เน็ต
Hardware
ช่างคอมพวิ เตอร์ เช่น ซ่อม ประกอบ ติดต้งั ระบบบารุงรักษาคอมพิวเตอร์และเครือข่าย
ตัวอย่างอาชีพ ภาพเคลอ่ื นไหว (Animation) เพอ่ื ธุรกจิ
ในปัจจุบนั เทคโนโลยกี า้ วเขา้ มามีบทบาทในชีวติ ประจาวนั ของมนุษย์มากข้ึน สิ่งหน่ึงที่เห็นได้
ว่ามีการเติบโตอย่างรวดเร็วน่นั คือธุรกิจอุตสาหกรรมดา้ น Animation การสร้างความบนั เทิง และงาน
สร้างสรรคก์ ารออกแบบโดยการใชค้ อมพิวเตอร์ หลกั สูตรทางด้าน Animation จึงน่าจะตอบสนองความ
ตอ้ งการของกลุ่มธุรกิจ Animation หลกั สูตร Animation เพ่ือธุรกิจ เป็ นหลกั สูตรอาชีพท่ีสร้างสรรค์
สามารถนาไปประกอบอาชีพท่ีสร้างรายได้เป็ นอยา่ งดี ท้งั ในปัจจุบนั และอนาคต ดงั น้นั ผเู้ รียนควรมี
ความรู้ ความเขา้ ใจ ทกั ษะและเจตคติเก่ียวกับความหมาย ความสาคญั และประโยชน์ของความคิด
สร้างสรรค์ เทคนิคการคิดเชิงสร้างสรรค์ การกาจดั ส่ิงกีดก้นั ความคิดเชิงสร้างสรรค์ ความรู้เบ้ืองตน้
เก่ียวกบั Animation เพ่ือธุรกิจ การออกแบบ Animation เพ่ือธุรกิจ Animation Workshop ประโยชน์และ
โทษของการใช้คอมพิวเตอร์ จรรยาบรรณในการประกอบอาชีพ กฎหมายท่ีเกี่ยวขอ้ งเกี่ยวกบั การ
ประกอบอาชีพ การทาธุรกิจ Animation
การวเิ คราะห์ 5 ศักยภาพของพนื้ ท่ี ในกล่มุ อาชีพใหม่ด้านความคิดสร้างสรรค์
ท่ี ศักยภาพ รายละเอยี ดทค่ี วรพจิ ารณาในประเด็น
1 การวเิ คราะห์ทรัพยากรธรรมชาติในแต่ ขอ้ มลู ของทรัพยากรธรรมชาติ ที่พอเพยี ง และสะดวกในการเขา้ ถึง
ละพ้นื ท่ี
2 การวเิ คราะห์พ้ืนท่ีตามลกั ษณะภมู ิอากาศ - อุณหภูมิ ความช้ืน ความกดอากาศ ลม และปริมาณน้าฝน รวมไป
ถึงปัจจยั ที่เก่ียวขอ้ งอ่ืนในทางอุตุนิยมวทิ ยา ท่ีต้งั ตามแนว
ละติจดู ความใกลไ้ กลจากทะเล
- มีขอ้ มลู ของภูมิอากาศ
3 การวเิ คราะห์ภูมิประเทศ และทาเลท่ีต้งั มีขอ้ มูลภมู ิประเทศ และทาเลท่ีต้งั ต่าง ๆ
ของแตล่ ะพ้นื ที่
252
ท่ี ศักยภาพ รายละเอยี ดทคี่ วรพจิ ารณาในประเด็น
4 การวเิ คราะห์ศิลปวฒั นธรรม ประเพณี มีขอ้ มลู เกี่ยวกบั วฒั นธรรม ประเพณี ท่ีผสมผสานของหลายพ้ืนท่ี
และวถิ ีชีวติ ของแต่ละพ้นื ท่ี มีแรงงานที่มีทกั ษะฝีมือ ความรู้ ความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยี
5 การวเิ คราะห์ทรัพยากรมนุษยใ์ นแต่ละ การส่งเสริมโอกาสทางการศึกษาอยา่ งตอ่ เน่ือง
พ้นื ที่
5. กลุ่มอาชีพใหม่ด้านบริหารจัดการและการบริการ
กล่มุ ท่องเทย่ี ว ไดแ้ ก่ การอบรมมคั คุเทศก์ พนกั งานบริการอาหารและเคร่ืองดื่ม
พนกั งานผสมเคร่ืองดื่ม การทาอาหารวา่ งนานาชาติ การฝึกอบรมภาษา และธุรกิจโฮมสเตย์
กล่มุ สุขภาพ ไดแ้ ก่ การนวดแผนไทย นวดลูกประคบ สปา การดูแลเด็กและผสู้ ูงอายุ
กลุ่มการซ่อมแซม และบารุงรักษา การซ่อมเคร่ืองปรับอากาศรถยนต์ การซ่อม
เคร่ืองยนตด์ ีเซล การซ่อมเครื่องยนตเ์ บนซิน การซ่อมเครื่องยนตเ์ ลก็ เพื่อการเกษตร การซ่อมจกั ร
อุตสาหกรรม
คมนาคมและการขนส่ง จานวน 1 หลกั สูตร
วชิ าชีพด้าน Logistics หรือการขนส่งสินคา้ ทางอากาศและทางเรือ
การก่อสร้าง
กล่มุ ช่างต่าง ๆ เช่น การปูกระเบ้ือง ช่างไมก้ ่อสร้าง ช่างสีอาคาร
กล่มุ การผลติ วสั ดุก่อสร้าง เช่น การทาบล็อคคอนกรีต การผลิตซีเมนต์
ตัวอย่างอาชีพ การพฒั นากล่มุ อาชีพทอผ้าพนื้ เมือง
ในปัจจุบนั น้ีผา้ พ้ืนเมืองของไทยในภาคต่าง ๆ กาลงั ไดร้ ับการอนุรักษฟ์ ้ื นฟู และพฒั นา รวมท้งั
ไดร้ ับการส่งเสริมให้นามาใชส้ อยในชีวิตประจาวนั กนั อยา่ งกวา้ งขวางมาก ดงั น้นั จึงเกิดมีการผลิตผา้
พ้ืนเมืองในลกั ษณะอุตสาหกรรมโรงงาน โดยมีบริษทั จา้ งช่างทอ ทาหนา้ ท่ีทอผา้ ดว้ ยมือตามลวดลายที่
กาหนดให้ โรงงานหรือบริษทั จดั เส้นไหมหรือเส้นดา้ ยที่ยอ้ มสีเสร็จแลว้ มาให้ทอ เพื่อเป็ นการควบคุม
คุณภาพ บางแห่งจะมีคนกลางรับซ้ือผา้ จากช่างทออิสระซ่ึงเป็ นผปู้ ั่นดา้ ย ยอ้ มสี และทอตามลวดลายที่
ตอ้ งการเองที่บา้ น แต่คนกลางเป็ นผกู้ าหนดราคาตามคุณภาพและลวดลายของผา้ ท่ีตลาดตอ้ งการในบาง
จงั หวดั มีกลุ่มแมบ่ า้ นช่างทอผา้ ที่รวมตวั กนั ทอผา้ เป็นอาชีพเสริม และนาออกขายในลกั ษณะสหกรณ์ เช่น
กลุ่มทอผา้ ของศิลปาชีพอยา่ งไรก็ตามในสภาพท่ีไดก้ ล่าวมาแลว้ ขา้ งตน้ น้นั เป็ นการทอเพ่ือขาย เป็ น
หลกั การทอผา้ พ้นื บา้ นพ้นื เมืองหลายแห่งยงั ทอลวดลายสญั ลกั ษณ์ด้งั เดิม โดยเฉพาะในชุมชนที่มีเช้ือสาย
ชาติพนั ธุ์บางกลุ่มท่ีกระจายตวั กนั อยใู่ นภาคต่าง ๆ ของประเทศไทย ศิลปะการทอผา้ ของกลุ่มชนเหล่าน้ี
จึงนับว่าเป็ นเอกลักษณ์เฉพาะกลุ่มอยู่จนถึงทุกวนั น้ี หากจะแบ่งผา้ พ้ืนเมืองของกลุ่มชนเหล่าน้ี
253
ตามภาคตา่ ง ๆ เพื่อใหเ้ ห็นภาพชดั เจนข้ึนในภูมิภาคต่าง ๆ และมีการปรับปรุงพฒั นาสีสัน คุณภาพ และ
ลวดลาย ให้เขา้ กบั รสนิยมของตลาด ดงั น้ัน ผูเ้ รียนจึงควรมีความรู้ ความสามารถ ทกั ษะและเจตคติ
เก่ียวกบั การวเิ คราะห์สภาพกลุ่มอาชีพ/ธุรกิจของกลุ่มอาชีพทอผา้ พ้ืนเมือง และวิเคราะห์สถานภาพของ
กลุ่มอาชีพ/ธุรกิจ
การวเิ คราะห์ 5 ศักยภาพของพนื้ ท่ี ในกล่มุ อาชีพใหม่ด้านบริหารจัดการและการบริการ
ท่ี ศักยภาพ รายละเอยี ดทค่ี วรพจิ ารณาในประเด็น
1 การวเิ คราะห์ทรัพยากรธรรมชาติ มีทรัพยากรธรรมชาติที่สามารถนามาเป็นวตั ถุดิบ
ในแตล่ ะพ้ืนท่ี
2 การวเิ คราะห์พ้นื ท่ีตามลกั ษณะภูมิอากาศ มีภมู ิอากาศท่ีเหมาะสม
3 การวเิ คราะห์ภูมิประเทศ และทาเลที่ต้งั - เป็ นศูนยก์ ลางหตั ถอุตสาหกรรม
ของแตล่ ะพ้ืนที่ - มีถนนที่เอ้ือตอ่ การบริการดา้ นการคา้ การลงทุน และการ
ท่องเท่ียวเชื่อมโยงกบั ประเทศเพอ่ื นบา้ น สามารถติดต่อคา้ ขายกบั
ประเทศเพื่อนบา้ น มีพ้ืนที่ชายแดนติดกบั ประเทศเพ่ือนบา้ น
มีอาณาเขตติดตอ่ กบั ประเทศเพ่อื นบา้ น การคา้ ชายแดน
4 การวเิ คราะห์ศิลปวฒั นธรรม ประเพณี มีแหล่งอุตสาหกรรมที่เก่ียวขอ้ ง ทุนทางสังคมและวฒั นธรรม
และวถิ ีชีวติ ของแต่ละพ้ืนที่
5 การวเิ คราะห์ทรัพยากรมนุษยใ์ นแต่ละ มีภูมิปัญญา และฝีมือแรงงาน
พ้ืนที่
กจิ กรรม
1. ให้ผเู้ รียนรวมกลุ่มและสารวจพ้ืนที่ในชุมชน พร้อมบอกวธิ ีการหาความรู้ท่ีเกี่ยวกบั ศกั ยภาพ
หลกั ของพ้ืนท่ี วา่ พ้ืนที่น้นั เหมาะสมกบั การประกอบอาชีพใด
2. ใหผ้ เู้ รียนยกตวั อยา่ งอาชีพท่ีตดั สินใจเลือกประกอบอาชีพ และวธิ ีหาความรู้เก่ียวกบั อาชีพน้นั
พร้อมท้งั วเิ คราะห์ศกั ยภาพหลกั ของพ้ืนท่ีท่ีเก่ียวขอ้ งกบั อาชีพ เพ่อื ใหอ้ าชีพท่ีเลือกมีความเป็นไปได้
254
บรรณานุกรม
คณาพร คมสนั . 2540. การพฒั นารูปแบบการเรียนรู้ด้วยการนาตนเองในการอ่านภาษาองั กฤษเพอื่ ความ
เข้าใจ สาหรับนักเรียนช้ันมธั ยมศึกษาตอนปลาย. วทิ ยานิพนธ์ครุศาสตรดุษฎีบณั ฑิต สาขา
หลกั สูตรและการสอน, จุฬาลงกรณ์มหาวทิ ยาลยั .
ชยั ฤทธ์ิ โพธิสุวรรณ. 2541. รายงานการวจิ ัยเรื่อง ความพร้อมในการเรียนรู้โดยการชี้นาตนเองของ
ผู้เรียนผู้ใหญ่ของกจิ กรรมการศึกษาผ้ใู หญ่บางประเภท. กรุงเทพมหานคร : สาขาวชิ าการศึกษา
ผใู้ หญ่, มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์.
. 2544. การศึกษาผ้ใู หญ่ : ปรัชญาตะวนั ตกและการปฏบิ ตั ิ. กรุงเทพมหานคร : สานกั พมิ พ์
มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์.
นดั ดา องั สุโวทยั . 2550. การพฒั นารูปแบบการเรียนการสอนวชิ าเคมที เี่ น้นกระบวนการเรียนรู้
แบบนาตนเองของนักศึกษาระดับปริญญาตรี. วทิ ยานิพนธ์การศึกษาดุษฎีบณั ฑิต สาขาวชิ าวทิ ยา
ศาสตรศึกษา, มหาวทิ ยาลยั ศรีนครินทรวโิ รฒ.
บุญศิริ อนนั ตเศรษฐ. 2544. การพฒั นากระบวนการการเรียนการสอนเพอื่ เสริมสร้างความสามารถใน
การเรียนรู้ด้วยตนเอง ของผ้เู รียนในระดบั มหาวิทยาลยั . วทิ ยานิพนธ์ครุศาสตรดุษฎีบณั ฑิต
สาขาอุดมศึกษา, จุฬาลงกรณ์มหาวทิ ยาลยั .
ฝ่ ายวชิ าการบิสคิต. 2550. ฟัง คดิ อ่าน เขยี น. กรุงเทพมหานคร : สานกั พิมพบ์ ิสคิต.
ยดุ า รักไทย และปานจิตต์ โกญจนาวรรณ. 2550. พดู อย่างฉลาด. กรุงเทพมหานคร : ซีเอด็ ยเู คชน่ั จากดั .
ราชบณั ฑิตยสถาน. 2546. พจนานุกรมฉบบั ราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2542. กรุงเทพมหานคร : นานมีบุค๊ ส์
พบั ลิเคชนั่ ส์.
รุ่งอรุณ ไสยโสภณ. 2550. การจัดกจิ กรรมทีเ่ สริมสร้างความพร้อมในการเรียนรู้โดยการชี้นาตนเองและ
ความสามารถในการพฒั นาหลกั สูตรสถานศึกษา. วทิ ยานิพนธ์ศิลปศาสตรดุษฎีบณั ฑิต สาขา
อาชีวศึกษา, มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์.
วกิ ร ตณั ฑวฑุ โฒ. 2536. หลกั การเรียนรู้ของผ้ใู หญ่. กรุงเทพมหานคร : สานกั ส่งเสริมและฝึกอบรม
มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์.
วชิ ยั วงษใ์ หญ.่ 2542. “ยกเครื่องเร่ืองเรียนรู้ : การเรียนรู้คือส่วนหน่ึงของชีวติ ทุกลมหายในคือการ
เรียนรู้”. สานปฏริ ูป. 20 (พฤศจิกายน 2542) : 55 - 61.
วภิ าดา วฒั นนามกุล. 2544. การพฒั นาระบบการเรียนด้วยตนเองสากรับนักศึกษาสาขาวชิ าชีพ
สาธารณสุข.
วทิ ยานิพนธ์ศึกษาศาสตรดุษฎีบณั ฑิต สาขาวชิ าหลกั สูตรและการสอน, มหาวทิ ยาลยั ขอนแก่น.
255
ศรัณย์ ขจรไชยกุล. 2542. การใช้โปรแกรมการแนะแนวกล่มุ ต่อการเพมิ่ ความพร้อมของการเรียนรู้โดย
การชี้นาตนเองของนักศึกษารอพนิ ิจช้ันปี ท่ี 2 มหาวิทยาลัยกรุงเทพ. วทิ ยานิพนธ์ศิลปศาสตรม
หาบณั ฑิต สาขาจิตวทิ ยาการศึกษาและการแนะแนว, มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์.
ศนั ศนีย์ ฉตั รคุปต.์ 2545. รายงานการวจิ ัยเร่ือง การเรียนรู้รูปแบบใหม่ : ยุทธศาสตร์ด้านนโยบายและการ
ใช้ทรัพยากร. กรุงเทพมหานคร : หา้ งหุน้ ส่วนจากดั ภาพพมิ พ.์
สมคิด อิสระวฒั น์. 2538. รายงานการวจิ ัยเรื่อง ลกั ษณะการเรียนรู้ด้วยตวั เองของคนไทย.
กรุงเทพมหานคร : คณะสงั คมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั มหิดล.
. 2541. รายงานการวจิ ัยเร่ือง ลกั ษณะการอบรมเลยี้ งดูของคนไทยในชนบทซึ่งมีผลต่อการ
เรียนรู้ด้วยตนเอง. กรุงเทพมหานคร: คณะสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั มหิดล.
สมบตั ิ สุวรรณพทิ กั ษ.์ 2541. เทคนิคการสอนแนวใหม่สาหรับการศึกษานอกโรงเรียน. กรุงเทพมหานคร :
กองพฒั นาการศึกษานอกโรงเรียน.
สานกั งานคณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ. 2545. แผนการศึกษาแห่งชาติ (พ.ศ. 2545 - 2559). (พิมพ์
คร้ังท่ี 2). กรุงเทพมหานคร : พริกหวานกราฟฟิ ค จากดั .
. ม.ป.ป. พระราชบัญญตั ิการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 และทแี่ ก้ไขเพม่ิ เติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ.
2545. กรุงเทพมหานคร : บริษทั พริกหวานกราฟฟิ ค จากดั .
สานกั บริหารงานการศึกษานอกโรงเรียน. 2549. แนวคิดสู่การปฏิบัติ : การเรียนรู้โดยการชี้นาตนเอง
สาหรับผู้ใหญ่. กรุงเทพมหานคร : โรงพมิ พอ์ กั ษรไทย.
สุนทรา โตบวั . 2546. การพฒั นารูปแบบการเรียนการสอนเพอ่ื เสริมสร้างลกั ษณะการเรียนรู้ด้วยตนเอง
ของนักศึกษาพยาบาล. วทิ ยานิพนธ์การศึกษาดุษฎีบณั ฑิต สาขาการวจิ ยั และพฒั นาหลกั สูตร,
มหาวทิ ยาลยั ศรีนครินทรวโิ รฒ.
สุรางค์ โคว้ ตระกลู . 2544. จติ วทิ ยาการศึกษา. (พมิ พค์ ร้ังท่ี 5). กรุงเทพมหานคร : สานกั พมิ พจ์ ุฬาลงกรณ์
มหาวทิ ยาลยั .
สุวฒั น์ วฒั นวงศ.์ 2544. จิตวทิ ยาเพอ่ื การฝึ กอบรมผ้ใู หญ่. กรุงเทพมหานคร : ธีระป้ อมวรรณกรรม.
อญั ชลี ชาติกิติสาร. 2542. การพฒั นาคุณลกั ษณะการเรียนรู้ด้วยตนเองของคนไทย. วทิ ยานิพนธ์ศึกษา
ศาสตรมหาบณั ฑิต สาขาการศึกษาผใู้ หญแ่ ละการศึกษาต่อเนื่อง, มหาวทิ ยาลยั มหิดล.
Brockett, R. G. and R. Hiemstra. 1991. Self-direction in Adult Learning : Perspectives in theory,
research and practice. London: Routledge.
. 1993. Self-Direction in Adult Learning. (2 nd ed). San Francisco : Chapman and Hall,
Inc.
256
Brookfield, S.D. 1984. “Self-Directed Adult Learning : A Critical Paradigm”. Adult Education
Quarterly. 35(2) : 59 - 71.
Caffarella, R.S. 1983. “Fostering Self-Directed Learning in Post-secondary Education”. An Omnibus
of Practice and Research. (November 1983) : 7 - 26.
Candy, P.C. 1991. Self- Direction for Lifelong Learning. San Francisco : Jossey-Bass Publishers.
Good, C. V. 1973. Dictionary of Education. (3 rd ed.). New York : McGraw-Hill Book.
Griffin, C. 1983. Curriculum Theory in Adult Lifelong Education. London : Crom Helm.
Guglielmino, L. M. 1977. Development of the Self-directed Learning Readiness Scale. Georgia:
Unpublished Doctoral Dissertation, University of Georgia.
Knowles, M.S. 1975. Self- Directed Learning : A Guide for Learner and Teacher.
New York : Association Press.
Oddi, L.F. 1987. “Perspectives on Self-Directed Learning”. Adult Education Quarterly. 38 (1987) :
97 - 107.
Skager, R. 1977. Curriculum Evaluation for Lifelong Education. Toronto: Pergamon Press.
. 1978. Lifelong Education and Evaluation Practice. Hamburg: Pergamon Press and the
UNESCO Institution for Education.
Tough, A. 1979. The Adult’s Learning Projects. Toronto, Ontario Institute for Studies in Education.
Tyler, R. W. 1949. Basic Principles of Curriculum and Instruction. Chicago : The University of
Chicago Press.
กญั จน์โชติ สหพฒั นสมบตั ิ,2551.เทคนิคการคิดเป็ น. บทความการศึกษาตามอธั ยาศยั ศูนยก์ ารศึกษา
นอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั อาเภอบางน้าเปร้ียว จงั หวดั ฉะเชิงเทรา.
ชยั ยศ อ่ิมสุวรรณ. “คิดเป็ นคือคดิ พอเพยี ง”. วารสาร กศน., มีนาคม 2550,หนา้ 9 - 11.
ชุมพล หนูสง และคณะ 2544. ปรัชญาคิดเป็ น (หนงั สือรวบรวมคาบรรยายและบทสัมภาษณ์ ดร.โกวทิ
วรพิพฒั น์ ในโอกาสตา่ ง ๆ) กรุงเทพฯ : โรงพิมพอ์ กั ษรไทย.
ดวงเดือน พนั ธุมนาวนิ , 2543.ทฤษฎตี ้นไม้จริยธรรม : การวจิ ัยและการพฒั นาบุคคล (พมิ พค์ ร้ังที่ 3)
กรุงเทพ : จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลยั .
ทองอยู่ แกว้ ไทรฮะ. “คิดเป็ น : เพอ่ื นเรียนรู้สู่อนาคต”. วารสาร กศน. มีนาคม 2550, หนา้ 12 - 16.
“ ” , 2546.ใตร้ ่มไทร (หนงั สือเกษียณอายรุ าชการ ทองอยู่ แกว้ ไทรฮะ). กรุงเทพฯ:
โรงพมิ พอ์ งคก์ ารรับส่งสินคา้ และพสั ดุภณั ฑ์ (ร.ส.พ.)
257
ธวชั ชยั ชยั จิรฉายากุล และวราพรรณ นอ้ ยสุวรรณ, 2546. การพฒั นาหลกั สูตรและวธิ ีทางการสอน
หน่วยท่ี 8 - 15 (พมิ พค์ ร้ังที่ 5) กรุงเทพ : มหาวทิ ยาลยั สุโขทยั ธรรมธิราช.
พรจนั ทร์ เจียรเอสศกั ด์ิ,2527. เทคนิคการรวบรวมข้อมูลเพอื่ การแนะแนว. กรุงเทพฯ : คณะศึกษาศาสตร์
มหาวทิ ยาลยั ศรีนครินทรวโิ รฒ ประสานมิตร.
พระธรรมปิ ฎก, 2546. พฒั นาการแบบองค์รวมของเดก็ ไทย. กรุงเทพ: ธรรมสภาและสถาบนั บนั ลือธรรม.
สถาบนั พฒั นาการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั ภาคตะวนั ออก,2551. คู่มือการจัดการข้อมูล
และสารสนเทศชุมชนสาหรับครูการศึกษานอกโรงเรียน ระยอง.
สนอง โลหิตวเิ ศษ, 2544. ปรัชญาการศึกษาผู้ใหญ่และการศึกษานอกระบบ.กรุงเทพฯ : มหาวทิ ยาลยั
ศรีนครินทรวโิ รฒ ประสานมิตร.
สมพร เทพสิทธา ,2542 . คุณธรรมและจริยธรรม กรุงเทพ : สมชายการพมิ พ.์
หน่วยศึกษานิเทศก,์ 2552. คัมภรี ์ กศน. เอกสารหลกั การและแนวคิดประกอบการดาเนินงาน กศน.
กรุงเทพฯ : หน่วยศึกษานิเทศก,์ สานกั งานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั .
อุน่ ตา นพคุณ , 2528. แนวคิดทางการศึกษานอกโรงเรียนและการพฒั นาชุมชน เร่ือง คิดเป็ น. กรุงเทพฯ:
กรุงสยามการพมิ พ.์
กลุ ขณิษฐ์ ราเชนบุณขวทั น์. เอกสารประกอบการบรรยายเร่ืองกระบวนการวจิ ัย. ในการประชุม
สัมมนางานวจิ ยั โครงการวิจยั พฒั นาคุณภาพ กศน. ปี งบประมาณ 2552 (วนั ที่ 29 - 30 มิถุนายน
2552)
บุญใจ ศรีสถิตนรากรู . ระเบยี บวธิ ีการวจิ ัยทางพยาบาลศาสตร์. พิมพค์ ร้ังท่ี 3 กรุงเทพฯ :
บริษทั ยแู อนดไ์ อ อินเตอร์มีเดีย จากดั , 2547
พนิต เขม็ ทอง. เอกสารประกอบการบรรยายเร่ืองมโนทศั น์การวจิ ัยในช้ันเรียน. ในการประชุม
สัมมนางานวจิ ยั โครงการวิจยั พฒั นาคุณภาพ กศน. ปี งบประมาณ 2552 (วนั ท่ี 29 - 30 มิถุนายน
2552)
พิสณุ ฟองศรี. วจิ ัยช้ันเรียน หลกั การและเทคนิคปฏิบตั .ิ พิมพค์ ร้ังที่ 7.
กรุงเทพฯ : ด่านสุทธาการพิมพ,์ 2551.
ไมตรี บุญทศ. คู่มือการทาวจิ ัยในโรงเรียน. กรุงเทพฯ : สุรีวยิ าศาสน์, 2549.
ศิริรัตน์ วีรชาตินานุกลู ความรู้เบอื้ งต้นเกีย่ วกบั สถิติและการวจิ ัย. กรุงเทพฯ : มหาวทิ ยาลยั กรุงเทพ, 2545
สานกั งานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา. วจิ ัยแผ่นเดียว : เส้นทางสู่คุณภาพการอาชีวศึกษา. กรุงเทพฯ :
สานกั งานวจิ ยั และพฒั นาการอาชีวศึกษา, 2547.
สมเจตน์ ไวทยาการณ์. หลกั และการวจิ ัย. นครปฐม : โรงพิมพม์ หาวทิ ยาลยั ศิลปากร, 2544
258
ทปี่ รึกษา บุญเรือง คณะผ้จู ดั ทา
อ่ิมสุวรรณ์
1. นายประเสริฐ จาปี เลขาธิการ กศน.
2. ดร.ชยั ยศ แกว้ ไทรฮะ รองเลขาธิการ กศน.
3. นายวชั รินทร์ ตณั ฑวฑุ โฒ รองเลขาธิการ กศน.
4. ดร.ทองอยู่ ท่ีปรึกษาดา้ นการพฒั นาหลกั สูตร กศน.
5. นางรักขณา ผอู้ านวยการกลุ่มพฒั นาการศึกษานอกโรงเรียน
ผู้เขยี นและเรียบเรียง
1. บทท่ี 1 การเรียนรู้ดว้ ยตนเอง
ดร.รุ่งอรุณ ไสยโสภณ กลุ่มพฒั นาการศึกษานอกโรงเรียน
กลุ่มพฒั นาการศึกษานอกโรงเรียน
2. บทท่ี 2 การใชแ้ หล่งเรียนรู้ กลุ่มพฒั นาการศึกษานอกโรงเรียน
ท่ีปรึกษาดา้ นการพฒั นาหลกั สูตร กศน.
ดร.รุ่งอรุณ ไสยโสภณ ขา้ ราชการบานาญ
3. บทที่ 3 การจดั การความรู้
ดร.รุ่งอรุณ ไสยโสภณ
4. บทท่ี 4 คิดเป็น
ดร.ทองอยู่ แกว้ ไทรฮะ
5. บทที่ 5 การวจิ ยั อยา่ งง่าย
นางศิริพรรณ สายหงษ์
ผู้บรรณาธิการ และพฒั นาปรับปรุง กลุ่มพฒั นาการศึกษานอกโรงเรียน
1. บทท่ี 1 การเรียนรู้ดว้ ยตนเอง รักษาการในตาแหน่งผอู้ านวยการ
ดร.รุ่งอรุณ ไสยโสภณ สานกั งาน กศน. จงั หวดั เพชรบุรี
สถาบนั ส่งเสริมและพฒั นานวตั กรรมการเรียนรู้
2. บทที่ 2 การใชแ้ หล่งเรียนรู้
นายธวชั ชยั ใจชาญสุขกิจ สานกั งาน กศน.จงั หวดั สมุทรสงคราม
สถาบนั การศึกษาและพฒั นาตอ่ เน่ืองสิรินธร
นางสาวสุพตั รา โทวราภา
3. บทที่ 3 การจดั การความรู้
นางอจั ฉรา ใจชาญสุขกิจ
นางณฐั พร เช้ือมหาวนั
259
4. บทท่ี 4 คิดเป็น
ดร.ทองอยู่ แกว้ ไทรฮะ ที่ปรึกษาสานกั งาน กศน.
5. บทท่ี 5 การวจิ ยั อยา่ งง่าย ขา้ ราชบานาญ
ขา้ ราชบานาญ
นางศิริพรรณ สายหงษ์
กลุ่มพฒั นาการศึกษานอกโรงเรียน
นางพชิ ญาภา ปิ ติวรา กลุ่มพฒั นาการศึกษานอกโรงเรียน
กลุ่มพฒั นาการศึกษานอกโรงเรียน
คณะทางาน กลุ่มพฒั นาการศึกษานอกโรงเรียน
กลุ่มพฒั นาการศึกษานอกโรงเรียน
1. นายสุรพงษ์ มนั่ มะโน
2. นายศุภโชค ศรีรัตนศิลป์ กลุ่มพฒั นาการศึกษานอกโรงเรียน
3. นางสาววรรณพร ปัทมานนท์ กลุ่มพฒั นาการศึกษานอกโรงเรียน
4. นางสาวศริญญา กลุ ประดิษฐ์ กลุ่มพฒั นาการศึกษานอกโรงเรียน
5. นางสาวเพชรินทร์ เหลืองจิตวฒั นา กลุ่มพฒั นาการศึกษานอกโรงเรียน
กลุ่มพฒั นาการศึกษานอกโรงเรียน
ผู้พมิ พ์ต้นฉบบั
กลุ่มพฒั นาการศึกษานอกโรงเรียน
1. นางปิ ยวดี คะเนสม
2. นางสาวเพชรินทร์ เหลืองจิตวฒั นา
3. นางสาวกรวรรณ กววี งษพ์ ิพฒั น์
4. นางสาวชาลีนี ธรรมธิษา
5. นางสาวอริศรา บา้ นชี
ผู้ออกแบบปก ศรีรัตนศิลป์
นายศุภโชค
260
คณะผู้พฒั นาและปรับปรุง คร้ังที่ 2
ทป่ี รึกษา บุญเรือง เลขาธิการ กศน.
อ่ิมสุวรรณ์ รองเลขาธิการ กศน.
1. นายประเสริฐ จาปี รองเลขาธิการ กศน.
2. ดร.ชยั ยศ จนั ทร์โอกุล ผเู้ ชี่ยวชาญเฉพาะดา้ นการพฒั นาส่ือการเรียนการสอน
3. นายวชั รินทร์ ผาตินินนาท ผเู้ ช่ียวชาญเฉพาะดา้ นเผยแพร่ทางการศึกษา
4. นางวทั นี ธรรมวธิ ีกลุ หวั หนา้ หน่วยศึกษานิเทศก์
5. นางชุลีพร งามเขตต์ ผอู้ านวยการกลุ่มพฒั นาการศึกษานอกโรงเรียน
6. นางอญั ชลี
7. นางศุทธินี ท่ีปรึกษา กลุ่มพฒั นาการศึกษานอกโรงเรียน
หวั หนา้ กลุ่มพฒั นาการเรียนการสอน
ผู้พฒั นาและปรับปรุง คร้ังที่ 2 กลุ่มพฒั นาการศึกษานอกโรงเรียน
กลุ่มพฒั นาการศึกษานอกโรงเรียน
1. ดร.ทองอยู่ แกว้ ไทรฮะ กลุ่มพฒั นาการศึกษานอกโรงเรียน
2. ดร.รุ่งอรุณ ไสยโสภณ
3. นายสมชาย ฐิติรัตนอศั ว์
4. นางสาววรรณพร ปัทมานนท์
5. นางสาวชาลินี ธรรมธิษา
261
คณะผู้ปรับปรุงข้อมูลเกยี่ วกบั สถาบนั พระมหากษตั ริย์ ปี พ.ศ. 2560
ทปี่ รึกษา จาจด เลขาธิการ กศน.
หอมดี ผตู้ รวจราชการกระทรวงศึกษาธิการ
1. นายสุรพงษ์ ปฏิบตั ิหนา้ ที่รองเลขาธิการ กศน.
2. นายประเสริฐ สุชสุเดช ผอู้ านวยการกลุ่มพฒั นาการศึกษานอกระบบ
และการศึกษาตามอธั ยาศยั
3. นางตรีนุช
ผู้ปรับปรุงข้อมูล อินทราย กศน.เขตราชเทวี กรุงเทพมหานคร
นางสาวกรรณิการ์ มน่ั มะโน กลุ่มพฒั นาการศึกษานอกระบบและการศึกษา
ศรีรัตนศิลป์ ตามอธั ยาศยั
คณะทางาน อาไพศรี กลุ่มพฒั นาการศึกษานอกระบบและการศึกษา
ป่ิ นมณีวงศ์ ตามอธั ยาศยั
1. นายสุรพงษ์ เพช็ รสวา่ ง กลุ่มพฒั นาการศึกษานอกระบบและการศึกษา
วงคเ์ รือน ตามอธั ยาศยั
2. นายศุภโชค อมรเดชาวฒั น์ กลุ่มพฒั นาการศึกษานอกระบบและการศึกษา
สังขพ์ ชิ ยั ตามอธั ยาศยั
3. นางสาวเบ็ญจวรรณ กลุ่มพฒั นาการศึกษานอกระบบและการศึกษา
ตามอธั ยาศยั
4. นางเยาวรัตน์ กลุ่มพฒั นาการศึกษานอกระบบและการศึกษา
ตามอธั ยาศยั
5. นางสาวสุลาง กลุ่มพฒั นาการศึกษานอกระบบและการศึกษา
ตามอธั ยาศยั
6. นางสาวทิพวรรณ กลุ่มพฒั นาการศึกษานอกระบบและการศึกษา
ตามอธั ยาศยั
7. นางสาวนภาพร
8. นางสาวชมพนู ท
262