The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

ภาษาไทยวรรณคดีและวรรณกรรม ม.4 หน่วย1_คำนมัสการคุณานุคุณ

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

คำนมัสการคุณานุคุณ

ภาษาไทยวรรณคดีและวรรณกรรม ม.4 หน่วย1_คำนมัสการคุณานุคุณ

วรรณคดแี ละวรรณกรรม

ชั้นมัธยมศกึ ษาปที ่ี ๔

กลมุ่ สาระการเรียนร้ภู าษาไทย

คานมัสการคุณานคุ ณุ

๑หนว่ ยการเรียนร้ทู ่ี

๑หนว่ ยการเรยี นรูท้ ี่
คานมสั การคณุ านุคุณ

ตัวชว้ี ัด

• วิเคราะหแ์ ละวจิ ารณว์ รรณคดแี ละวรรณกรรมตามหลักการวจิ ารณเ์ บอื้ งตน้
• วิเคราะห์และประเมนิ คณุ ค่าด้านวรรณศลิ ป์ของวรรณคดแี ละวรรณกรรมในฐานะทเ่ี ป็นมรดกทางวฒั นธรรมของชาติ
• สงั เคราะห์ขอ้ คิดจากวรรณคดแี ละวรรณกรรมเพอื่ นาไปประยกุ ต์ใชใ้ นชวี ิตจริง
• ท่องจาและบอกคุณคา่ บทอาขยานตามทก่ี าหนดและบทร้อยกรองท่ีมคี ุณคา่ ตามความสนใจและนาไปใชอ้ ้างอิง

หน่วยการเรยี นรูท้ ี่ ๑ คานมสั การคณุ านุคุณ

ความสาคญั บทวิเคราะห์

เราควรเคารพในสงิ่ ใดบา้ ง คณุ คา่ ดา้ นเนื้อหา
คานมัสการมีความหมายอยา่ งไร คุณคา่ ด้านวรรณศิลป์
ผูแ้ ตง่
ลักษณะคาประพันธ์

เนอ้ื เรอ่ื ง สรปุ บทเรียน

คานมัสการพระพทุ ธคณุ คานมัสการคุณานุคุณ
คานมัสการพระธรรมคุณ
คานมสั การพระสงั ฆคุณ
คานมัสการมาตาปิตคุ ณุ
คานมสั การอาจรยิ คณุ

ณ ร้านขายพวงมาลยั

ยายคะ พวงมาลยั เคา้ เอาไว้ กราบไหว้พระ พอ่ แม่
ทาอะไรบ้างคะ ครูอาจารย์ ในงานเทศกาลตา่ ง ๆ จา้

ทาไมเราถงึ ไหวค้ ะ เพอื่ เป็นสริ ิมงคลกับเราจา้
ทาไมถึงเปน็ สิรมิ งคลคะ อา่ .....

นักเรียนจะตอบเนยช่างถาม
ได้วา่ อยา่ งไร

ความสาคญั ของวรรณคดี

เคารพในพระพทุ ธคุณ เคารพในหลกั คาสอน
พระพุทธเจา้
พระวิสุทธิคุณ บรสิ ทุ ธิ์ ปราศจากกิเลส
พระมหากรณุ าคุณ ทรงชว่ ยเหลือมนุษย์ เคารพใน
ใหห้ ลุดพ้นจากกเิ ลส ความเป็นผู้สืบทอด
พระปญั ญาคณุ ทรงคน้ พบอริยสจั ๔ พระพทุ ธศาสนา
และพระธรรมคาสอน

บิดา/มารดา

เปน็ ผู้ให้กาเนดิ และเลี้ยงดู

ครู อาจารย์

อบรมสงั่ สอนและถ่ายทอดวชิ าความรู้

คานมัสการ มคี วามหมายอยา่ งไร

เปน็ บทสวดทเ่ี รียบเรยี งขนึ้ เพื่อแสดงถึงความเคารพอย่างสงู
ตอ่ ผูม้ พี ระคุณ และผูค้ วรแกก่ ารเคารพบูชา

ซ่งึ การบชู าบคุ คลทีค่ วรบชู า เป็นมงคลที่ ๓ ในมงคลชวี ติ ๓๘
ประการ คือ การเลอ่ื มใส ยกย่อง เชดิ ชู ด้วยกริ ิยาอาการท่สี ภุ าพ

เนอ้ื หาในบทสวดจงึ เป็นการพรรณนาคณุ งามความดีท่ีผูม้ ีพระคุณ
มตี ่อผนู้ อ้ ย และแฝงความหมายท่ีดงี าม

ผแู้ ต่ง

พระยาศรีสุนทรโวหาร
(น้อย อาจารยางกรู )

นักปราชญค์ นสาคัญในสมัยพระบาทสมเดจ็ พระจุลจอมเกลา้
เจ้าอยูห่ ัว

ได้รบั สมญาว่าเป็นศาลฎกี าภาษาไทย เปน็ ผแู้ ตง่ ตาราเรยี นชดุ แรก
ของไทย เรียกวา่ “แบบเรยี นหลวง”

มลู บทบรรพกิจ บทประพันธต์ ่าง ๆ อักษรประโยค
ไวพจนพ์ ิจารณ์
จอมราชจงเจริญ วาหนิติ์นกิ ร เขมรากษรมาลา
พศิ าลการนั ต์ (หนังสอื ขอม)
สงั โยคภิธาน อุไภยพจน์
นติ สิ ารสาธก อนนั ตวิภาค
สังโยคภิธานแปล มหาสปุ ัสสีชาดก
ปกริ ณาพจนาตถ์ ฉันทวิภาค
วรรณพฤติคาฉนั ท์
วิธสี อนหนังสือไทย คานมัสการคุณานคุ ณุ
รา่ ยนาโคลงภาพ
พระราชพงศาวดาร ฉนั ทก์ ล่อมช้าง
สยามสาธก โคลงภาพพระราช
วรรณสาทศิ พงศาวดาร
รปู ที่ ๖๕ และ ๘๕
พหุบาทสตั วาภธิ าน

ลักษณะคาประพันธ์

อินทรวิเชียรฉันท์ ๑๑ แบง่ เปน็ วรรค วรรคสดับและวรรครอง ๕ คา
กาพยฉ์ บัง ๑๖ วรรครบั และวรรคสง่ ๖ คา
ในแต่ละบทมี ๓ วรรค แบ่งเป็น ๖ คา
๔ คา และ ๖ คา

ฉนั ทลกั ษณ์
อนิ ทรวเิ ชียรฉนั ท์ ๑๑

บทท่ี ๑ สมั ผสั ระหวา่ งบท
บทท่ี ๒

ตวั อยา่ ง
อนิ ทรวเิ ชียรฉนั ท์ ๑๑

ยงั บ ทราบกไ็ ด้ทราบ ท้ังบญุ บาปทกุ สง่ิ อัน
ชี้แจงและแบง่ ปนั ขยายอตั ถ์ใหช้ ดั เจน
และกรณุ า บ เอยี งเอน
จิตมากด้วยเมตตา ใหฉ้ ลาดและแหลมคม
เหมอื นท่านมาแกล้งเกณฑ์
คำนมสั กำรอำจรยิ คณุ : น้อย อำจำรยำงกรู

บทที่ ๑ ฉันทลกั ษณ์
บทท่ี ๒ กาพยฉ์ บงั ๑๖

สัมผสั ระหวา่ งบท

ตวั อยา่ ง
กาพยฉ์ บัง ๑๖

ธรรมะคอื คุณากร สว่ นชอบสาธร
ดุจดวงประทปี ชชั วาล ส่องสัตวส์ ันดาน

แหง่ องคพ์ ระศาสดาจารย์ คำนมสั กำรพระธรรมคุณ : นอ้ ย อำจำรยำงกรู
สวา่ งกระจ่างใจมล

คานมัสการคณุ านุคุณ

คานมัสการพระพุทธคณุ

พระพุทธเจา้ เป็นผูม้ จี ิตบริสทุ ธ์ิ ตดั เหตุกเิ ลสต่าง ๆ มารไมส่ ามารถทาให้หมองมัว
เปน็ ผเู้ บิกบาน ไมเ่ ก่ียวขอ้ งกบั สิ่งทท่ี าใหเ้ กดิ ราคะความลมุ่ หลง
จะหาผู้ใดท่มี พี ระกรุณาด่งั มหาสมทุ ร โปรดผู้คนใหป้ ราศจากกิเลส
ทที่ ว่ มทบั จติ ใจ
ชท้ี างบรรเทาทุกข์ ประสบแตส่ ุข สู่พระนิพพาน
ทีห่ ลดุ พ้นจากกองกิเลสเศร้าหมอง
พรอ้ มด้วยปญั ญาทงั้ ๕ ทาให้ทรงมพี ระเนตรที่หยั่งร้เู หตกุ ารณ์ตา่ ง ๆ
กาจดั จิตใจหยาบ อุปนิสัยผดิ บาปของมนษุ ย์ เปน็ ทีพ่ ึง่ พงิ ของสัตวโ์ ลก
ใหล้ ะชว่ั ทาดี
ข้าพเจา้ ขอกราบบูชาเหนือเศยี รเกล้า แตพ่ ระผูต้ รสั ร้โู ดยชอบไดด้ ว้ ยพระองค์เอง
ในพระพทุ ธคณุ อนั เป็นนิรันดร

คานมัสการพระธรรมคุณ

ธรรมะคอื คุณงามความดที ม่ี ัน่ คง ดงั แสงไฟทีส่ ว่างไสว
ของพระศาสดาช่วยสอ่ งทางแกช่ วี ติ สรรพสัตว์ทงั้ หลายใหเ้ กิดความสว่าง
ในจิตใจ
ธรรมท่ีเปน็ หนทาง คอื โลกธรรมแปด และโลกตุ รธรรมเกา้ สู่ทางดบั ทุกข์
โลกอุดรเปรียบดังโลกในทศิ เหนอื ท่ีห่างไกล กวา้ งใหญ่ ลึกเกินหยัง่ ถึง
บรสิ ทุ ธสิ์ ดใส
ธรรมท่เี ปน็ ตน้ ทางไปสโู่ ลกดังทก่ี ล่าวเริ่มจากการปฏบิ ัตแิ ละปรยิ ัติ
เปรยี บเหมอื นช่องทางทจ่ี ะพาให้ลุล่วงสู่โลกอุดรน้ันโดยตรง

ข้าพเจ้าขอนอบนอ้ มยอมจานงต่อธรรม ทง้ั กาย วาจา ใจ

คานมัสการพระสงั ฆคุณ

พระสงฆส์ าวกได้รับการปฏิบัตสิ บื ต่อมาจากพระพุทธเจา้ โดยเฉพาะ
ผูเ้ หน็ ความจริง บรรลุทางทสี่ ามารถระงบั ดบั ทุกขไ์ ด้
ดังทพี่ ระองค์ตรสั ก่อใหเ้ กดิ ปัญญา มคี วามบรสิ ทุ ธิ์ ปราศจากความเศรา้ หมอง
หา่ งจากข้าศกึ ที่ปองรา้ ย ไมน่ กึ ลาพอง ท้ังทางกาย วาจา ใจ
เป็นเน้อื นาบุญทก่ี ว้างใหญ่ไพศาล เป็นทีพ่ ่งึ ของโลก ใหเ้ กิดผลบุญมากมาย
เปรียบดงั โอรสของพระพุทธองค์ มพี ระคณุ มากมายเหนือคณานับ
ข้าขอน้อมนบ และสานึกในพระคุณของพระสงฆผ์ ้เู ป็นสาวกของพระพทุ ธเจ้า
ดว้ ยบญุ แห่งการเคารพนอบน้อมต่อพระสงฆห์ น่ึงในพระรตั นตรยั ผ้ปู ระเสรฐิ ยิ่ง
ขอจงใหช้ ่วยขจดั ภัยอนั ตรายใด ๆ ใหห้ ายไป

คานมสั การมาตาปติ คุ ุณ

ข้าพเจา้ ขอกราบไหวต้ อ่ พระคณุ บิดามารดาผใู้ ห้กาเนิดและเล้ยี งดจู นเตบิ ใหญ่
ผคู้ อยดแู ลฟูมฟักอยา่ งทะนถุ นอม ไม่จากไกล แมจ้ ะเหน่ือยยากก็ไม่เคยคานงึ
ทนตรากตราด้วยความทกุ ข์ เลย้ี งดูทะนถุ นอมไมข่ าดหาย คอยปกป้องจาก
อนั ตรายจนอย่รู อดมาไดเ้ ปน็ ตัวตน
เปรียบพระคุณบดิ ามารดาดง่ั ภเู ขาอันหนักยิ่ง แผน่ ดนิ อันกว้างใหญ่หาใดเปรียบ

เกินกวา่ จะทดแทนคณุ อันใหญ่หลวงนี้ได้ เป็นผู้ควรบชู าอย่างแท้จรงิ
ดว้ ยพระคุณอันประเสรฐิ

คานมัสการอาจรยิ คุณ

ขา้ พเจา้ ขอกราบไหว้ต่อพระคุณครผู มู้ ีความกรณุ าโอบออ้ มอารี ช่วยเหลอื
จนุ เจือคาสอนในทุกสง่ิ
สิง่ ทไ่ี ม่เคยร้กู ็ไดร้ ู้ ทั้งในทางบญุ และทางบาป คอยชแี้ นะ แบ่งปนั ความรู้
อธิบายขยายความอยา่ งชดั เจน
มีความเมตตากรุณาอย่างเทีย่ งตรง เค่ียวเขญ็ ให้มีความฉลาดหลกั แหลม
ช่วยกาจดั ความโงเ่ ขลาและบรรเทาความหลงมวั เมา สว่ นทค่ี ลุมเครือสงสยั ก็ชว่ ย
ใหเ้ กดิ ความกระจ่างชดั

ซงึ่ พระคณุ นี้นบั วา่ เปน็ เลิศในสามโลก ควรแกก่ ารระลึกยกยอ่ งชน่ื ชม

ปริศนาทายคา

ใหน้ กั เรียนชว่ ยกนั เลอื กความหมายท่ตี รงกับคาทีก่ าหนด โดยดูคาประพนั ธท์ ย่ี กมาเปน็ บริบทช่วยทาย
และสามารถกดคลกิ ที่ตัวอักษรดา้ นขวามอื เพอื่ เฉลยคาตอบ

๑ “ช้ีแจงและแบ่งปนั ขยาย อัตถ์ ให้ชัดเจน” อธิบายย ปญั หา เนื้อความ

๒ “ข้าขอโอนออ่ น อุตมงค์ นบธรรมจานง เคารพ ศีรษะ ไหว้
ด้วยจติ และกายวาจา”

๓ “โอบเออ้ื และเจือจุน อนุสาสน์ ทกุ ส่งิ สรรพ์” ตารา ความรู้ สอน

๔ “ฟมู ฟกั ทะนุถนอม บ บาราศ นิราไกล” จากไปป เลีย้ งดู ทอ้ ถอย

๕ “ด้วยเดชบุญข้าอภวิ นั ท์ พระไตรรตั นอ์ ัน เคารพ รุ่งเรือง พระคณุ
อุดมดิเรก นริ ัติศยั ”

คณุ ค่าดา้ นเนื้อหา

กลา่ วถึงใคร อา่ นแล้วให้ จติ มากด้วยเมตตา และกรุณา บ เอยี งเอน
คณุ คา่ อยา่ งไร
เหมอื นทา่ นมาแกล้งเกณฑ์ ให้ฉลาดและแหลมคม

ขจดั เขลาบรรเทาโม- หะจติ มืดทีง่ นุ งม

กงั ขา ณ อารมณ์ กส็ ว่างกระจา่ งใจ

คำนมัสกำรคณุ ำนุคุณ : พระยำศรีสนุ ทรโวหำร (นอ้ ย อำจำรยำงกรู )

ใหค้ ุณค่าในด้านจรยิ ธรรม จิตมากดว้ ยเมตตา และกรณุ า บ เอยี งเอน
เหมือนทา่ นมาแกลง้ เกณฑ์
มีเนื้อหาทีป่ ลูกฝงั ใหร้ ะลกึ ถึงความดีของ ๑
ผู้อ่ืนท่มี ตี อ่ ตัวเรา โดยใช้คาเปรียบชว่ ยให้
ใหฉ้ ลาดและแหลมคม
พิจารณาได้อย่างละเอยี ดและลึกซ้ึง
ซึ่งในบทนี้กล่าวถงึ ครู ขจดั เขลาบรรเทาโม- หะจติ มดื ท่ีงุนงม
กส็ ว่างกระจา่ งใจ ๒
๑. การเคี่ยวเขญ็ เหมอื นการสรา้ งกฎเกณฑ์ กงั ขา ณ อารมณ์
ให้ปฏบิ ัติ แตก่ ห็ วังเพ่ือใหศ้ ษิ ยฉ์ ลาด
๒. ส่ิงที่สงสัย ครกู จ็ ะมีวธิ ีทีท่ าใหเ้ กิดความ คำนมสั กำรคณุ ำนคุ ณุ : พระยำศรีสุนทรโวหำร (น้อย อำจำรยำงกูร)
เข้าใจท่ีกระจ่างชัด

คุณคา่ ดา้ นวรรณศลิ ป์

กล่าวถงึ ใคร บทสวดทานอง ฟมู ฟกั ทะนถุ นอม บ บาราศนิราไกล
เสนาะนีใ้ หค้ วามรู้สกึ อย่างไร
แสนยากเท่าไร ๆ บ คดิ ยากลาบากกาย
ตรากทนระคนทกุ ข์ ถนอมเลี้ยง ฤ รวู้ าย
จนไดร้ อดเปน็ กายา
ปกป้องซ่งึ อันตราย

คำนมสั กำรคุณำนคุ ุณ : พระยำศรีสุนทรโวหำร (นอ้ ย อำจำรยำงกรู )

ทานองสวดสรภญั ญะ ฟูมฟกั ทะนถุ นอม บ บาราศนิราไกล

ใช้สาหรบั สวดคาประพนั ธท์ ่เี ป็นฉันท์ แสนยากเท่าไร ๆ บ คดิ ยากลาบากกาย
ช่วยเสรมิ ใหบ้ ทประพันธม์ ีความไพเราะ ตรากทนระคนทุกข์ ถนอมเลี้ยง ฤ รวู้ าย
และจดจาได้ขึ้นใจ นาพาให้เกดิ ความ จนได้รอดเป็นกายา
ซาบซ้งึ กบั ทว่ งทานอง และการใช้คา ปกป้องซง่ึ อนั ตราย

ท่ีสร้างจินตภาพ คำนมัสกำรคุณำนุคณุ : พระยำศรสี นุ ทรโวหำร (นอ้ ย อำจำรยำงกรู )

เล่าถึงการดูแลบตุ รด้วยความเอาใจใส่
อยา่ งสงู และความรกั ท่ีมน่ั คงของ
บดิ ามารดา เชน่ การทะนถุ นอม
ยอมทนลาบาก ไมห่ า่ งหาย
และปกปอ้ งจากภยนั ตราย

พระคณุ พระวิสทุ ธคิ ุณ คานมสั การคุณานุคุณ ลกั ษณะคาประพนั ธ์
บริสทุ ธ์ิ ปราศจากกเิ ลส
พระพุทธเจ้า อินทรวิเชียรฉนั ท์ ๑๑ กาพย์ฉบงั ๑๖
พระมหากรุณาคณุ
พระพุทธคุณ ทรงชว่ ยเหลอื มนุษย์ วรรคหนา้ ๕ วรรคหน้า ๖
ให้หลุดพ้นจากกิเลส วรรคหลงั ๖ วรรคหลงั ๔

พระปัญญาคุณ สิ่งที่ได้
มพี ระปรชี าญาณลึกซ้งึ

พระธรรมคุณ คาสงั่ สอนของพระพุทธเจ้า ความกตญั ญู บทสวดทานองสรภัญญะ
ท่นี าทางสกู่ ารพ้นทกุ ข์ คือ เครอ่ื งหมาย ชว่ ยใหซ้ าบซึ้ง
และจาไดง้ า่ ย
พระสงั ฆคณุ สบื ทอดหลักธรรมคาสอน ของคนดี
ของพระพทุ ธเจา้

บิดามารดา ให้กาเนิด ครูอาจารย์ อบรมสงั่ สอน
ถา่ ยทอดวชิ า
เลี้ยงดไู ม่ห่าง ขัดเกลาจติ ใจ

ทนลาบากกาย

ปกปอ้ งจากอันตราย


Click to View FlipBook Version