ตัวบ่งชี้ 2.1 : ระบบและกลไกงานวิจัย งานสร้างสรรค์ หรือนวัตกรรม ประเภทของตัวบ่งชี้ : กระบวนการ การเก็บข้อมูล : ปีการศึกษา 2565 (1 มิถุนายน 2565 – 31 พฤษภาคม 2566) หน่วยงานที่รับผิดชอบหลัก : ฝ่ายวิชาการและงานวิจัย คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏเลย ผลการด าเนินงาน : ในรอบปีการศึกษา 2565 คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏเลย ได้ดำเนินการพัฒนาระบบและกลไก การบริหารและพัฒนางานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์ตามเกณฑ์มาตรฐาน สกอ. ดังนี้ ข้อ เกณฑ์การประเมิน ผลด าเนินงาน หลักฐาน 1 มีระบบสารสนเทศ เพื่อการบริหาร งานวิจัยที่สามารถ นำไปใช้ประโยชน์ ในการบริหาร งานวิจัยหรือ งาน สร้างสรรค์ คณะวิทยาการจัดการจัดทำระบบสารสนเทศ เพื่อเป็นการ บริหารงานวิจัยที่สามารถนำไปใช้ประโยชน์ในการบริหารงานวิจัย ของคณะวิทยาการจัดการโดยได้จัดทำฐานข้อมูล ดังนี้ 1. จัดทำฐานข้อมูลเกี่ยวกับงานวิจัย คณะวิทยาการจัดการ โดยมีเว็บไซต์ที่จัดทำขึ้นโดยคณะระบบสารสนเทศงานวิจัย คณะวิทยาการจัดการhttp://research.manage.lru.ac.th/ [เอกสาร 2.1.1(1)] และสามารถเชื่อมโยงระบบสารสนเทศของ สถาบันวิจัยและพัฒนาของมหาวิทยาลัยในการดาวน์โหลดเอกสาร ข้อมูลเกี่ยวกับแนวปฏิบัติการขอรับทุน รวมทั้งเชื่อมโยงไปที่ ฐานข้อมูลวิจัยภายในและภายนอกกับศูนย์วิทยบริการ มหาวิทยาลัยราชภัฏเลย http://library.lru.ac.th/ 2. จัดทำฐานข้อมูลประกาศการได้รับทุนจากที่ต่างๆ ของอาจารย์ในคณะวิทยาการจัดการ เช่น - งานวิจัย [เอกสาร 2.1.1(2)] - นักวิจัย [เอกสาร 2.1.1(3)] - รายชื่อนักวิจัยที่ได้รับทุน [เอกสาร 2.1.1(4)] - การตีพิมพ์เผยแพร่ [เอกสาร 2.1.1(5)] - ผลงานวิชาการที่ตีพิมพ์ [เอกสาร 2.1.1(6)] - ระบบฐานข้อมูลงานวิจัย [เอกสาร 2.1.1(7)] - วิจัยนำไปใช้ประโยชน์ [เอกสาร 2.1.1(8)] - ฐานข้อมูลวิทยานิพนธ์ มหาวิทยาลัยราชภัฏเลย [เอกสาร 2.1.1(9)] - ฐานข้อมูลวิทยานิพนธ์ มหาวิทยาลัยราชภัฏทั่วประเทศ [เอกสาร 2.1.1(10)] 3. จัดทำฐานข้อมูลแหล่งค้นคว้าต่างๆ โดยทำ Link การสืบค้น ผ่าน Web คณะวิทยาการจัดการ และยังมีข่าวสารประชาสัมพันธ์ เวทีการนำเสนอผลงานวิจัยทั้งระดับชาติและนานาชาติ แหล่ง อบรมสัมมนาด้านการวิจัยจากหน่วยงานต่างๆ คณะวิทยาการ 2.1.1(1) หน้าเว็บไซต์ ระบบสารสนเทศงานวิจัย คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏเลย http://research.manage.lr u.ac.th/ 2.1.1(2) งานวิจัย 2.1.1(3) นักวิจัย 2.1.1(4) รายชื่อนักวิจัยที่ ได้รับทุน 2.1.1(5) การตีพิมพ์ เผยแพร่ 2.1.1(6) ผลงานวิชาการที่ ตีพิมพ์ 2.1.1(7) ระบบฐานข้อมูล งานวิจัย 2.1.1(8) วิจัยนำไปใช้ ประโยชน์ 2.1.1(9) ฐานข้อมูล วิทยานิพนธ์ มหาวิทยาลัย
ข้อ เกณฑ์การประเมิน ผลด าเนินงาน หลักฐาน จัดการมีห้องคลินิกการวิจัยเพื่อประชุมและปรึกษาหารือเกี่ยวกับ การเขียนงานวิจัยของอาจารย์ในคณะวิทยาการจัดการ นอกจากนี้นักวิจัยยังสามารถใช้ระบบสารสนเทศ ผ่านเว็บไซต์ของสถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏเลย อีกทั้งยังมีระบบสารสนเทศเพื่ออำนวยความสะดวกให้กับ คณาจารย์ในด้านการประชาสัมพันธ์การให้ทุนสนับสนุนเกี่ยวกับ การวิจัยของคณะมีการเผยแพร่ผลงานวิจัย การตีพิมพ์ผลงานวิจัย การแสดงข้อมูลรายชื่อวารสารวิชาการที่อยู่ในฐานข้อมูล TCI กลุ่ม ที่ 1 กลุ่มที่ 2 ราชภัฏเลย 2.1.1(10) ฐานข้อมูล วิทยานิพนธ์ มหาวิทยาลัย ราชภัฏทั่วประเทศ 2. สนับสนุนพันธกิจด้าน ก า ร ว ิ จ ั ย ห ร ื อ งาน สร้างสรรค์ในประเด็น ต่อไปนี้ 1) ห้องปฏิบัติการหรือ ห้องปฏิบัติงาน สร้างสรรค์ หรือหน่วย วิจัยฯ หรือศูนย์ เครื่องมือ หรือศูนย์ให้ คำปรึกษาและ สนับสนุนการวิจัยหรือ งานสร้างสรรค์ คณะวิทยาการจัดการ ได้ดำเนินการสนับสนุนพันธกิจด้าน การวิจัย หรืองานสร้างสรรค์ โดยห้องปฏิบัติการวิจัยหรืองาน สร้างสรรค์ หรือหน่วยวิจัย หรืองานสร้างสรรค์ หรือศูนย์เครื่องมือ หรือศูนย์ให้คำปรึกษาและสนับสนุนการวิจัยหรืองานสร้างสรรค์ ดังนี้ 1. ห้องให้ค าปรึกษาและสนับสนุนการวิจัย โดยจัดกิจกรรมให้คำปรึกษา อำนวยความสะดวกและประสานงาน ร่วมกับนักวิจัยในการพัฒนาคุณภาพงานวิจัย ระหว่างคณะกับ สถาบันวิจัยและพัฒนา โดยมอบรองคณบดีฝ่ายวิชาการและวิจัย พร้อมทีมงานวิชาการคณะเป็นผู้ดูแลและรับผิดชอบ และคณะ วิทยาการจัดการได้อำนวยความสะดวกโดยมีวัสดุอุปกรณ์ โต๊ะ ประชุม เครื่องฉายโปรเจคเตอร์ เครื่องพิมพ์ เครื่องคอมพิวเตอร์ไว้ อำนวยความสะดวกนักวิจัย [เอกสาร 2.1.2(1.1)] และไว้เป็น สถานที่ให้พี่เลี้ยงนักวิจัยและนักวิจัยหน้าใหม่ได้ประสานงาน ปรึกษางานวิจัยในเบื้องต้น 2.1.2(1.1) ภาพห้องให้ คำปรึกษาและสนับสนุนการ วิจัยหรืองานสร้างสรรค์ 2) ห้องสมุดหรือแหล่ง ค้นคว้าข้อมูล สนับสนุนการวิจัยหรือ งานสร้างสรรค์ 2. ห้องสมุดหรือแหล่งค้นคว้าข้อมูลสนับสนุนการวิจัยหรือ งานสร้างสรรค์ 2.1) ห้องสมุดประจำคณะวิทยาการจัดการ อยู่บริเวณชั้น 2 อาคาร 19 คณะวิทยาการจัดการ เป็นแหล่งค้นคว้างานวิจัย ด้านการศึกษา [เอกสาร2.1.2(2.1)] สนับสนุนงบประมาณจัดซื้อ หนังสือเพื่อให้คณาจารย์ได้มีแหล่งสืบค้นงานวิจัยเพิ่มขึ้น 2.2) สำนักวิทยบริการ มีหนังสือ วารสาร จุลสาร งานวิทยานิพนธ์ งานวิจัย สำหรับอาจารย์เจ้าหน้าที่และนักศึกษา ในการศึกษาค้นคว้าหาความรู้เพิ่มเติมได้ด้วยตนเอง [เอกสาร 2.1.2(2.2)] 2.1.2(2.1) ภาพห้องสมุด ประจำคณะวิทยาการจัดการ 2.1.2(2.2) สำนักวิทย บริการ 2.1.2(2.3) ระบบ สารสนเทศของคณะวิทยาการ จัดการ 2.1.2(2.4) ห้องสมุดของ ศูนย์วิทยบริการ มหาวิทยาลัย ราชภัฏเลย
ข้อ เกณฑ์การประเมิน ผลด าเนินงาน หลักฐาน 2.3) แหล่งค้นคว้าข้อมูลสนับสนุนการวิจัยหรืองานสร้างสรรค์ เพื่อสืบค้นงานทางเว็บไซต์ เช่น ระบบสารสนเทศของคณะ วิทยาการจัดการ [เอกสาร2.1.2(2.3)] เชื่อมโยง http://research.manage.lru.ac.th/ กับห้องสมุดของศูนย์วิทย บริการ มหาวิทยาลัยราชภัฏเลยhttp://library.lru.ac.th/[เอกสาร 2.1.2(2.4)] และฐานข้อมูลจากวารสารสถาบันวิจัยและพัฒนา (ThaiJO) [เอกสาร2.1.2(2.5)] 2.1.2(2.5) ฐานข้อมูลจาก วารสารสถาบันวิจัยและพัฒนา (ThaiJO) 3) สิ่งอำนวยความ สะดวกหรือการรักษา ความปลอดภัยในการ วิจัยหรือ การผลิตงาน สร้างสรรค์ เช่น ระบบเทคโนโลยี สารสนเทศ ระบบ รักษาความปลอดภัย ในห้องปฏิบัติการ คณะร่วมกับสถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏเลย อำนวยความสะดวกในการเข้าระบบสารสนเทศ วารสารวิจัยและ พัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏเลย โดยให้คณาจารย์และนักวิจัยเข้า ระบบความปลอดภัยในการสมัครการใช้งานเข้าสู่ระบบความ ปลอดภัยของวารสารมากยิ่งขึ้น ระบบสารสนเทศเพื่อการบริหารจัดการงานวิจัย ที่จัดอยู่ใน ระบบสารสนเทศออนไลน์เพื่อให้นักวิจัยและผู้ที่สนใจเข้า ตรวจสอบข้อมูลและเยี่ยมชม โดยมีการรักษาความปลอดภัยใน การเยี่ยมชมจากการเข้ารหัสผ่านจาก Gmail สิ่งอำนวยความสะดวกหรือการรักษาความปลอดภัยในการวิจัย หรือการผลิตงานสร้างสรรค์ ได้แก่ 3.1 ระบบสารสนเทศงานวิจัยคณะวิทยาการจัดการ http://research.manage.lru.ac.th/ [เอกสาร 2.1.2(3.1)] 3.2 จัดเครื่องคอมพิวเตอร์ เครื่องฉายโปรเจคเตอร์ เครื่องพิมพ์ กระดาษวัสดุอุปกรณ์ ไว้อำนวยความสะดวก ทั้งศูนย์ให้คำปรึกษา และปฏิบัติการวิจัยและสำนักงานคณบดี จำนวน 2 เครื่อง และห้องสมุดคณะ จำนวน 10 เครื่อง [เอกสาร 2.1.2(3.2)] 3.3 มีเจ้าหน้าที่ประจำคณะในการอำนวยความสะดวก แก่นักวิจัยและการจัดส่งเอกสารในการขอทุนวิจัยและงาน สร้างสรรค์ การประสานงานกับสถาบันวิจัยและพัฒนา 3.4 มีระบบความปลอดภัยของระบบสารสนเทศในการเข้าถึง ฐานข้อมูลงานวิจัยของคณะ โดยผู้ดูแลระบบสารสนเทศ และติดตั้งกล้องวงจรปิด[เอกสาร 2.1.2(3.3)] 3.5 มีแม่บ้าน และเจ้าหน้าที่เวรประจำวันในการอำนวยความ สะดวกและดูแลความปลอดภัยประจำห้องปฏิบัติการภายในคณะ 2.1.2(3.1) หน้าเว็บไซต์ ระบบสารสนเทศงานวิจัยคณะ วิทยาการจัดการมหาวิทยาลัย ราชภัฏเลย http://research.manage.lr u.ac.th/ 2.1.2(3.2) ภาพถ่าย เครื่องคอมพิวเตอร์ ห้องสมุด ห้องสำนักงาน 2.1.2(3.3) หน้าเว็บไซต์ ระบบ และภาพถ่ายติดตั้ง กล้องวงจรปิด
ข้อ เกณฑ์การประเมิน ผลด าเนินงาน หลักฐาน 4) กิจกรรมวิชาการที่ ส่งเสริมงานวิจัยหรือ งานสร้างสรรค์ เช่น การจัดประชุมวิชาการ การจัดแสดงงาน สร้างสรรค์การจัดให้มี ศาสตราจารย์ อาคันตุกะหรือ ศาสตราจารย์รับเชิญ (visiting professor) กิจกรรมวิชาการที่ส่งเสริมงานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์ ได้แก่ คณะวิทยาการจัดการมีการพัฒนาสมรรถนะอาจารย์และ นักวิจัยภายในคณะ โดยการทำบันทึกข้อตกลงความร่วมมือ เครือข่ายวิจัยร่วมกับคณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏ เทพสตรี จังหวัดลพบุรี ในการประชุมวิชาการ “วิทยาการจัดการ เทพสตรีวิชาการ” ระดับชาติ ครั้งที่ 8 และระดับนานาชาติ ครั้งที่ 5 ระหว่างวันที่ 26 – 27 พฤษภาคม 2565 [เอกสาร2.1.2(4.1)] และคณะวิทยาการจัดการร่วมกับมหาวิทยาลัยราชภัฏเลย จัดการประชุมวิชาการระดับชาติ ราชภัฏเลยวิชาการ ครั้งที่ 9 ประจำปี 2566 ภายใต้ชื่อ “งานวิจัยเชิงพื้นที่เพื่อยกระดับ เศรษฐกิจมูลค่าสูงของชุมชน” หรือ Area-based Research to Strengthen the Community’ s High Value Economy Conference 2023 วันที่ 22 มีนาคม 2566 ณ มหาวิทยาลัยราช ภัฏเลย เป็นเวทีนำเสนอผลงานวิชาการ แบ่งกลุ่มนำเสนอผลงาน ออกเป็น 5 กลุ่ม คือ 1) กลุ่มมนุษยศาสตร์/สังคมศาสตร์ 2) กลุ่ม ครุศาสตร์ 3) กลุ่มวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 4) กลุ่ม บริหารธุรกิจ บริการ และการท่องเที่ยว และ 5) กลุ่มวิศวกรรม และอุตสาหกรรม มีรูปแบบการนำเสนอผลงาน แบ่งเป็น ภาค บรรยาย (Oral Presentation) และภาคโปสเตอร์ (Poster Presentation) ผู้นำเสนอผลงานและผู้เข้าร่วมประชุม ร่วมแลกเปลี่ยนความรู้และต่อยอดงานวิจัยเพื่อประโยชน์ต่อสังคม โดยรวมซึ่งคณะส่งเสริมงานวิจัยโดยได้ส่งอาจารย์เข้าร่วมนำเสนอ ผลงานวิจัย จำนวน 17 เรื่อง [เอกสาร 2.1.2(4.2)] 2.1.2(4.1) คำสั่ง มหาวิทยาลัยราชภัฏเทพสตรี ที่ 1928/2565 เรื่องแต่งตั้ง คณะกรรมการดำเนินงาน จัดการประชุมวิชาการ “วิทยาการจัดการเทพสตรี วิชาการ” ระดับชาติ ครั้งที่ 8 และระดับนานาชาติ ครั้งที่ 5 2.1.2(4.2) การประชุม วิชาการระดับชาติราชภัฏเลย วิชาการครั้งที่ 9 ประจำปี 2565 วันที่ 22 มีนาคม 2566 ณ มหาวิทยาลัยราชภัฏเลย 3. จัดสรรงบประมาณ เพื่อเป็นทุนวิจัยหรือ งานสร้างสรรค์และ สนับสนุนการเผยแพร่ ผลงานวิจัยหรืองาน สร้างสรรค์ในการ ประชุมวิชาการ หรือ การตีพิมพ์ในวารสาร ระดับชาติหรือ นานาชาติ คณะส่งเสริมและสนับสนุนงบประมาณในการส่งเสริม สนับสนุนทุนวิจัยและการนำเสนอเผยแพร่งานวิจัย จำนวน 30,000 บาท โดยมีแนวปฏิบัติการเรื่องการเสนอทุนวิจัยที่ สอดคล้องกับสถาบันวิจัยและพัฒนา มีประกาศทุนวิจัยคณะ มหาวิทยาลัยราชภัฏเลย [เอกสาร 2.1.3(1)] ซึ่งคณะกรรมการ พิจารณาคุณภาพงานวิจัยระดับคณะและทุนวิจัย เพื่ออนุมัติ งบประมาณทุนวิจัยของคณะวิทยาการจัดการ นอกจากนี้คณะวิทยาการจัดการยังได้ประชาสัมพันธ์แหล่ง ทุนวิจัยภายนอกมหาวิทยาลัยเพื่อจัดทำข้อเสนอโครงการวิจัยเพื่อ เสนอขอจากแหล่งทุนภายนอกต่างๆ ในปีการศึกษา 2565 คณะวิทยาการจัดการ จัดสรร งบประมาณเพื่อเป็นทุนวิจัย และสนับสนุนการเผยแพร่ในการ ประชุมวิชาการ หรือ ในวารสารระดับชาติและนานาชาติได้ ดำเนินการ ดังนี้ 2.1.3(1) ประกาศ มหาวิทยาลัยเรื่อง การจัดสรร งบประมาณอุดหนุนการวิจัย คณะวิทยาการจัดการ 2.1.3(2)บันทึกข้อความ เรียนเชิญเป็นผู้ทรงคุณวุฒิ พิจารณาเค้าโครงการวิจัย ระดับคณะและทุนวิจัยในชั้น เรียน 2.1.3 (3) ข้อมูลนักวิจัย
ข้อ เกณฑ์การประเมิน ผลด าเนินงาน หลักฐาน 1. จัดสรรงบประมาณเป็นทุนโครงการวิจัย ทุนอุดหนุน การวิจัยมหาวิทยาลัยราชภัฏเลย ครั้งที่ 1 จำนวน 40,000 บาท 2. จัดสรรงบประมาณเป็นทุนโครงการวิจัย การให้ ทุนอุดหนุนการวิจัยภายใต้โครงการพลิกโฉมมหาวิทยาลัย (Reinventing University) จำนวน 852,030 บาท 3. จัดสรรงบประมาณเป็นทุนทุนโครงการวิจัย การให้ อุดหนุนการวิจัยจากงบประมาณกองทุนส่งเสริม วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม จำนวน 520,499.99 บาท 4. จัดสรรงบประมาณเป็นทุนวิจัยประเภททั่วไป บริหาร โดยคณะวิทยาการจัดการ จำนวน 40,000 บาท 5. จัดสรรงบประมาณเป็นทุนวิจัยประเภททั่วไป บริหาร โดยคณะวิทยาการจัดการ จำนวน 40,000 บาท 6. จัดสรรงบประมาณเป็นทุนวิจัยประเภททั่วไป บริหาร โดยสถาบันวิจัยและพัฒนา จำนวน 100,000 บาท 7. จัดสรรงบประมาณเป็นทุนวิจัยประเภทวิจัยในชั้น เรียน “บริหารโดยคณะและ สำนักวิชา” จำนวน 10,000 บาท 8. จัดสรรงบประมาณเป็นทุนวิจัยทุนวิจัยประเภท โครงงานวิจัย (Project) นักศึกษาปริญญาตรีจำนวน 15,000 บาท 9. จัดสรรงบประมาณเป็นทุนวิจัย (ภายนอก) จำนวน 697,500 บาท ทุนวิจัยของคณาจารย์คณะ วิทยาการจัดการปีการศึกษา 2565 2.1.3(4) ระบบและกลไก การทำวิจัย 2.1.3(5) การจัดสรร งบประมาณ และแนว ปฏิบัติการขอรับทุนจาก กองทุนสนับสนุนการวิจัย ประจำปีงบประมาณ 2566 บริหารโดยคณะวิทยาการ จัดการ 2.1.3(6) ประกาศ มหาวิทยาลัยเรื่องการให้เงิน รางวัลสนับสนุนนักวิจัยดีเด่น 2.1.3(7) ประกาศ มหาวิทยาลัยเรื่อง หลักเกณฑ์ และวิธีการให้เงินรางวัล สนับสนุนและส่งเสริมการ เผยแพร่ผลงานวิจัยและ บทความวิชาการ 4. มีการพัฒนาสมรรถนะ อาจารย์และนักวิจัย มี การสร้างขวัญและ กำลังใจตลอดจน ยก ย่องอาจารย์/นักวิจัยที่ มีผลงานวิจัยและงาน สร้างสรรค์ดีเด่น คณะวิทยาการจัดการมีการพัฒนาสมรรถนะอาจารย์และ นักวิจัยมีการสร้างขวัญและกำลังใจตลอดจนยกย่องอาจารย์และ นักวิจัยที่มีผลงานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์ดีเด่น ดังนี้ 1. คณะวิทยาการจัดการได้จัดทำแผนการใช้จ่าย (งบ บกศ.) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 [เอกสาร 2.1.4(1)] โครงการ พัฒนาศักยภาพอาจารย์ จำนวน 270,420 บาท เพื่อส่งเสริมให้ อาจารย์ไปพัฒนาตนเอง เสริมสมรรถนะด้านวิชาการและงานวิจัย 2. คณะวิทยาการจัดการ การส่งเสริมและสนับสนุนการ เผยแพร่ผลงานวิจัย หรืองานสร้างสรรค์ให้คณาจารย์ในคณะ และ ให้อาจารย์ดำเนินการตามประกาศมหาวิทยาลัยราชภัฏเลย เรื่อง การให้ทุนสนับสนุนเพื่อนำเสนอผลงานวิจัยในการประชุมวิชาการ ระดับชาติหรือ นานาชาติ [เอกสาร 2.1.4(2)] และประกาศ 2.1.4(1) แผนการใช้ จ่ายเงิน งบบำรุงการศึกษา (งบ บ.กศ.) ปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 2.1.4(2) อาจารย์ที่มีการ นำเสนอผลงานวิจัยที่รับ เกียรติบัตร โดยเชิดชูประกาศ ประชาสัมพันธ์ผ่านหน้า เว็บไซต์
ข้อ เกณฑ์การประเมิน ผลด าเนินงาน หลักฐาน มหาวิทยาลัยราชภัฏเลย เรื่อง การให้เงินรางวัลสนับสนุนนักวิจัย ดีเด่น [เอกสาร 2.1.4(3)] 3. คณะวิทยาการจัดการมีการจัดพี่เลี้ยง / อาจารย์ที่ปรึกษา ให้กับอาจารย์ที่ได้รับทุนวิจัย [เอกสาร 2.1.4(4)] 4. คณะฯ ได้สร้างขวัญและกำลังใจตลอดจนการยกย่อง อาจารย์ที่ได้ไปนำเสนองานวิจัย โดยมอบเกียรติบัตรเพื่อสร้าง แรงจูงใจแก่นักวิจัย และเชิดชูประกาศประชาสัมพันธ์ผ่านหน้า เว็บไซต์วันประชุมคณาจารย์ประจำคณะวิทยาการจัดการ ในการประชุมครั้งที่ 1/2565 วันที่ 9 กุมภาพันธ์ 2565 ณ ห้องประชุมชั้น 9 อาคาร 19 คณบดีได้มอบเกียรติบัตรเป็นขวัญ และกำลังใจให้คณาจารย์ที่ได้สร้างผลงานวิจัยอย่าง ต่อเนื่อง ปีการศึกษา 2564 ในการตีพิมพ์ผลงานทางวิชาการ นำเสนอผลงานวิจัยทั้งระดับชาติและนานาชาติ ดังนี้ [เอกสาร 2.1.4(5)] ล าดับ กิจกรรมน าเสนอ/ตีพิมพ์ จ านวนผลงาน 1 นำเสนอวิชาการ-ระดับชาติ 32 2 มีการจดลิขสิทธิ์ 2 3 ตีพิมพ์วารสาร TCI2 8 4 ตีพิมพ์วารสาร TCI1 7 รวมทั้งสิ้น 49 2.1.4 (3) ประกาศการให้ เงินรางวัลสนับสนุนนักวิจัย ดีเด่น 2.1.4(4) คำสั่งแต่งตั้ง อาจารย์ที่ปรึกษานักวิจัย 5. มีการดำเนินงานกับ เครือข่ายความร่วมมือ ด้านวิจัยหรืองาน สร้างสรรค์หรือ นวัตกรรมระหว่าง สถาบันอุดมศึกษา องค์กรภาครัฐหรือ เอกชนทั้งในหรือ ต่างประเทศ คณะวิทยาการจัดการมีการดำเนินงานกับเครือข่ายความ ร่วมมือด้านงานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์หรือนวัตกรรม ระหว่างสถาบันอุดมศึกษา ดังนี้ คณะวิทยาการจัดการมีการจัดทำข้อตกลงความร่วมมือ ระหว่างมหาวิทยาลัยโดยมีการร่วมมือด้านงานวิจัย หรืองาน สร้างสรรค์ หรือนวัตกรรม ปีการศึกษา 2565 คณะวิทยาการ จัดการได้ทำบันทึกความร่วมมือในการจัดประชุมวิชาการ ระดับชาติครั้งที่ 8 และระดับนานาชาติ ครั้งที่ 5 ร่วมกับ มหาวิทยาลัยราชภัฏเทพสตรีระหว่างวันที่ 26 – 27 พฤษภาคม 2565 [เอกสาร 2.1.5(1)] และยังมีความร่วมมือกับมหาวิทยาลัย ต่างๆ ดังนี้ 1. คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี 2. คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม 3. คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่ 4. คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์ 5. คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์ 2.1.5(1) บันทึกข้อตกลง ความร่วมมือทางวิชาการ ด้านงานวิจัย หรืองาน สร้างสรรค์ หรือนวัตกรรม ปีการศึกษา 2565
ข้อ เกณฑ์การประเมิน ผลด าเนินงาน หลักฐาน 6. คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยราชภัฏชัยภูมิ 7. คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม 8. คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา 9. คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏกำแพงแสน 10. คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย 11. คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา 12. คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จ เจ้าพระยา 13. คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์ 14. คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 15. คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏราชนครินทร์ 16. คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ 17. คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภั ฏ พระนครศรีอยุธยา 18. คณะบริหารธุรกิจและการบัญชี มหาวิทยาลัยราชภัฏ ร้อยเอ็ด 19. คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏรำไพพรรณี 20. คณะบริหารธุรกิจและการบัญชี มหาวิทยาลัยราชภัฏ ศรีสะเกษ 21. คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี 22. คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏราชนครินทร์ 23. คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร 24. คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี 25. คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ์ 26. คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏหมู่บ้าน จอมบึง 27. คณะบริหารธุรกิจและการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏ อุบลราชธานี 28. คณะบริหารศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี ผลที่ได้จากการจัดประชุมทางวิชาการร่วมกับมหาวิทยาลัย ต่างๆ ตามสาระดังต่อไปนี้ 1. การจัดประชุมเครือข่ายแลกเปลี่ยนเรียนรู้ด้านการประกัน คุณภาพการศึกษา 2. การสร้างเครือข่ายอาจารย์นิเทศสหกิจศึกษา 3. การจัดกิจกรรมหรือโครงการทางวิชาการร่วมกันทั้ง ระดับชาติ และระดับนานาชาติ
ข้อ เกณฑ์การประเมิน ผลด าเนินงาน หลักฐาน 4. จัดทำวารสาร/ผลงานทางวิชาการ เพื่อเผยแพร่วารสารทาง วิชาการ บทความวิชาการ และบทความวิจัย ฯลฯ เพื่อให้ได้ค่า Impact Factor ที่สามารถขอตำแหน่งทางวิชาการได้ 5. การสร้างเครือข่ายงานวิจัยร่วมกัน เพื่อให้เกิดประโยชน์ สูงสุด 6. การจัดประชุมวิชาการเพื่อเผยแพร่ผลงานทางวิชาการ งานวิจัย และองค์ความรู้อื่นๆ 7. การทำงานรูปแบบเครือข่ายที่เป็นศูนย์กลางการให้บริการ วิชาการด้านต่างๆ แก่ท้องถิ่น 8. ความร่วมมือการสร้างสัมพันธ์กับหน่วยงานภายนอก เครือข่าย 9. การจัดกิจกรรมอื่นๆ ที่สมาชิกเครือข่ายเห็นว่าจะเป็น ประโยชน์ต่อวงการวิชาการและสังคม 6 มีระบบและกลไกการ นำผลงานวิจัยหรืองาน สร้างสรรค์หรือ นวัตกรรมไปใช้ ประโยชน์ในการ พัฒนาผู้เรียนหรือ ชุมชนและดําเนินการ ตามระบบที่กําหนด คณะวิทยาการจัดการมีการกำหนดนโยบายให้อาจารย์ในคณะ นำผลงานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์หรือนวัตกรรมไปใช้ประโยชน์ใน การพัฒนาผู้เรียนหรือชุมชน ในปีการศึกษา 2565 ได้มีอาจารย์นำ ผลงานวิจัยไปใช้ประโยชน์ในการจัดการเรียนการสอนและในการ พัฒนาชุมชน ดังนี้ 1. คณะวิทยาการจัดการ ได้ปฏิบัติตามระบบและกลการนำ ผลงานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์หรือนวัตกรรมไปใช้ประโยชน์ต่อ ชุมชนของมหาวิทยาลัยราชภัฏเลย [เอกสาร2.1.6(1)] 2. คณะวิทยาการจัดการ มีผลงานวิจัย งานสร้างสรรค์ หรือ นวัตกรรมที่นำไปใช้ประโยชน์ต่อชุมชน จำนวน 12 หน่วยงาน [เอกสาร2.1.6(2)] ดังนี้ ที่ ผลงานวิจัย/งานสร้างสรรค์/นวัตกรรม ที่น าไปใช้ประโยชนต่อชุมชน ผู้ใช้ประโยชน์ 1 การพัฒนาต่อยอดอาหารท้องถิ่นบนฐาน เอกลักษณ์ทางวัฒนธรรมในเขตภาค ตะวันออกเฉียงเหนือตอนบน 1 คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏ อุดรธานี 2 ความคาดหวังและการรับรู้ของนักท่องเที่ยวที่มี ต่อการจัดการแหล่งท่องเที่ยวสกายวอล์ค อำเภอเชียงคาน จังหวัดเลย องค์การบริหารส่วนตำบล ปากตม 3 ความพึงพอใจของนักศึกษาที่มีต่อการจัดการ เรียนการสอน หลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการ คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏเลย วิทยาลัยเทคโนโลยีสงวน บริหารธุรกิจ จังหวัด หนองบัวลำภู 4 การวิเคราะห์ต้นทุนการผลิตและต้นทุน โลจิ สติกส์การผลิตชา กรณีศึกษา วิสาหกิจชมชน กลุ่มสมุนไพรบ้านหนองบัว ตำบลภูหอ อำเภอภู หลวง จังหวัดเลย วิสาหกิจชุมชนกลุ่ม สมุนไพรบ้านหนองบัว 2.1.6(1) แนวปฏิบัติขอรับ ทุนเพื่อนำเสนอผลงานวิจัย มหาวิทยาลัยราชภัฏเลย 2.1.6(2) รายงานงานวิจัย งานสร้างสรรค์ หรือนวัตกรรม ที่นำไปใช้ประโยชน์ต่อชุมชน คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏเลย
ข้อ เกณฑ์การประเมิน ผลด าเนินงาน หลักฐาน 5 ระบบจัดการฐานข้อมูลงานวิจัยนักศึกษาใน ระดับปริญญาตรี คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏเลย คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏเลย 6 การพัฒนาระบบพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ ห้าง หุ้นส่วนจำกัด ส.ทวีภัณฑ์สโตร์ ซุปเปอร์เซฟ จังหวัดเลย หจก.ส.ทวีภัณฑ์ สโตร์ 7 การสร้างเว็บไซต์ขายสินค้าออนไลน์ ร้านเอ็นแอนด์ทีช็อป อำเภอเมืองเลย จังหวัดเลย น.ส.นฤมล น้อยภา เจ้าของกิจการ ร้านเอ็น แอนด์ ทีช็อป อำเภอเมือง เลย จังหวัดเลย 8 การพัฒนาเว็บไซต์เพื่อประชาสัมพันธ์และ บริหารจัดการร้านค้าออนไลน์ วิสาหกิจชุมชน สวนทิพย์ อำเภอท่าลี่ จังหวัดเลย วิสาหกิจชุมชนสวนทิพย์ อำเภอท่าลี่ จังหวัดเลย 9 การพัฒนาเว็บไซต์พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ ร้านกิ๊ฟการ์ด อำเภอเมืองเลย จังหวัดเลย นางจีระนันท์ สาพรหม เจ้าของร้านกิ๊ฟการ์ด 10 ความพึงพอใจของนักศึกษาที่มีต่อการบริหาร หลักสูตรบริหารธุริจบัณฑิต สาขาวิชาการ จัดการ คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราช ภัฏเลย ดร.ณัฎฐ์ รัตนศิริณิชกุล อาจารย์ประจำหลักสูตรครุ ศาสตร มหาบัณฑิต สาขาวิชา การบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏ ลำปาง 11 ความพึงพอใจของนักศึกษาที่มีต่อการจัดการ เรียนการสอน หลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการ คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏเลย ดร.ณัฎฐ์ รัตนศิริณิชกุล อาจารย์ประจำหลักสูตรครุ ศาสตร มหาบัณฑิต สาขาวิชา การบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏ ลำปาง 12 ปัจจัยที่มีผลต่อการตัดสินใจเลือกเรียนสาขาวิชา การเงิน ของนักศึกษาสาขาวิชาการเงิน คณะ วิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏเลย ดร.ณัฎฐ์ รัตนศิริณิชกุล อาจารย์ประจำหลักสูตรครุศาสตร มหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏ ลำปาง 13 การพัฒนาผลิตภัณฑ์แปรรูป จากแก้วมังกรตาม แนวคิดเศรษฐกิจสร้างสรรค์ในพื้นที่ตำบลร่องจิก อำเภอ ภูเรือ จังหวัดเลย นางกิตติภา ศรีบุรินทร์ ประธานกลุ่มวิสาหกิจฯ 14 การผลิตสื่อคู่มือการใช้ Adobe Photoshop CS6 ในการนำเสนอของ เทศบาลตำบลท่าลี่ อำเภอท่าลี่ จังหวัดเลย นายถวิล คนฉลาด รองนายกเทศมนตรีเทศบาลตำบล ท่าลี่ 15 นวัตกรรมโปรแกรมบัญชีสำหรับชุมชน “Easy account - lru” นายแปลง ศรีสุนทร นายกองค์การบริหารส่วน ตำบลเมือง 16 ชุดควบคุมระบบน้ำอัตโนมัติ ชุมชนบ้านกลาง หมู่ที่ 3 ตำบล ปลา บ่า อำเภอภูเรือ จังหวัด เลย
ข้อ เกณฑ์การประเมิน ผลด าเนินงาน หลักฐาน 7. มีระบบและกลไกการ คุ้มครองสิทธิ์ของ งา น ว ิ จ ั ย ห ร ื อ งาน สร้างสรรค์ที่นำไปใช้ ป ร ะ โ ย ช น ์ แ ล ะ ดำเนินการตามระบบ ที่กำหนด คณะวิทยาการจัดการ มีการดำเนินการตามขั้นตอนระบบ และกลไกเพื่อช่วยในการคุ้มครองสิทธิ์ของานวิจัยหรือสร้างสรรค์ ของนักวิจัยหรือเจ้าของผลงานในคณะฯ โดยใช้ระบบการคุ้มครอง สิทธิ์ของงานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์ที่นำไปใช้ประโยชน์ของ มหาวิทยาลัยราชภัฏเลย ดังนี้ 1. คณะฯมอบหมายให้รองคณบดีฝ่ายวิชาการและวิจัย เป็นผู้รับผิดชอบเพื่อช่วยใน การคุ้มครองสิทธิ์ของงานวิจัยหรืองาน สร้างสรรค์ที่นำไปใช้ประโยชน์ 2. เมื่อนักวิจัยมีความประสงค์จะได้รับการคุ้มครองสิทธิ์ ฝ่าย วิจัยคณะ สามารถให้ข้อมูลเบื้องต้นกับนักวิจัยในการดำเนินการ กรอกแบบฟอร์มแบบคำขอแจ้งลิขสิทธิ์ (ลข.01) จำนวน 3 ชุด สามารถดาวน์โหลดได้จากเว็บไซด์ของสถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏเลย หรือรับได้ที่สถาบันวิจัย โดยแนบสำเนา บัตรประชาชนเจ้าของผลงาน จำนวน 6 ชุด และสำเนาบัตร ประชาชนผู้ร่วมสร้างสรรค์ผลงาน จำนวน 6 ชุด 3. ดำเนินการนำส่งแบบคำขอแจ้งลิขสิทธิ์ (ลข.01) พร้อม เอกสารที่เกี่ยวข้องในข้อ 1 ที่สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัย ราชภัฏเลย เพื่อทำการตรวจสอบเอกสาร โดยถ้าหากเอกสารไม่ ถูกต้องนักวิจัยจะต้องนำเอกสารกลับไปแก้ไข 4. สถาบันวิจัยจะนำส่งเอกสารไปยังสำนักงานพาณิชย์จังหวัด เลย เพื่อทำการตรวจสอบเอกสารและให้ความเห็น หากเอกสารไม่ ผ่านสำนักงานพาณิชย์จังหวัดเลย ส่งเอกสารกลับมายังสถาบันวิจัย และพัฒนา เพื่อให้สถาบันวิจัยและพัฒนานำส่งเอกสารกลับไปยัง นักวิจัยต่อไป 5.เมื่อเอกสารผ่านการตรวจสอบและเห็นชอบจากสำนักงาน พาณิชย์จังหวัดเลย จะนำส่งเอกสารไปยังกรมทรัพย์สินทางปัญหา เพื่อทำการตรวจสอบและให้ความเห็น ถ้าหากเอกสารไม่ผ่านการ อนุมัติกรมทรัพย์สินทางปัญญาจะส่งเอกสารกลับมาสำนักงาน พาณิชย์จังหวัดเพื่อให้นักวิจัยดำเนินการแก้ไข 6. เมื่อเอกสารได้รับการตรวจสอบและให้ความเห็นชอบใน การอนุมัติ นักวิจัยจะได้รับการจดทะเบียนลิขสิทธิ์ โดยกรม ทรัพย์สินทางปัญญาจะส่งเอกสารการจดทะเบียนลิขสิทธิ์ไปยัง นักวิจัยโดยตรง 2.1.7(1) ระบบและกลไก การคุ้มครองสิทธิ์ของงานวิจัย หรืองานสร้างสรรค์ที่นำไปใช้ ประโยชน์ 2.1.7(2) แนวปฏิบัติในการ ยื่นขอจดสิทธิบัตร อนุ สิทธิบัตร 2.1.7(3) แบบฟอร์มการ ยื่นขอรับอนุสิทธิบัตร 2.1.7(4) หนังสือแสดงการ แจ้งข้อมูลลิขสิทธิ์ แจ้งโดยนางเมชยา ท่าพิมาย 2.1.7(5) หนังสือแสดงการ แจ้งข้อมูลลิขสิทธิ์ แจ้งโดย ผศ.ดร.ลภัสรดา พิชญาธีรนาถ ดร.สาธิยา กลิ่น สุคนธ์ และนางสาวขนิษฐา หา ระคุณ
ข้อ เกณฑ์การประเมิน ผลด าเนินงาน หลักฐาน ระบบเพื่อช่วยในการคุ้มครองสิทธิ์งานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์ที่ได้ น าไปใช้ประโยชน์ ปีการศึกษา 2565คณะวิทยาการจัดการ และได้มีผู้ยื่นขอจด สิทธิบัตรคุ้มครองสิทธิ์งานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์ได้แก่ นางเมชยา ท่าพิมาย ได้แจ้งข้อมูลลิขสิทธิ์ไว้ต่อกรมทรัพย์สินทาง ปัญญา เมื่อวันที่ 14 มิถุนายน พ.ศ. 2565 ประเภทงานศิลปกรรม ลักษณะงาน จิตกรรม ชื่อผลงาน ผ้าไหมทอมือลวดลายกู่แก้ว [เอกสาร2.1.7(4)] และ ผศ.ดร.ลภัสรดา พิชญาธีรนาถ ดร.สาธิยา กลิ่นสุคนธ์ และนางสาวขนิษฐา หาระคุณ ได้แจ้งข้อมูลลิขสิทธิ์ไว้ ต่อกรมทรัพย์สินทางปัญญา เมื่อวันที่ 5 ตุลาคม 2565 ประเภท วรรณกรรม ลักษณะงานโปรแกรมคอมพิวเตอร์ชื่อผลงาน เว็บ แอพพลิเคชั่น ภายใต้ชื่อ EasyCost-LRU [เอกสาร2.1.7(5)]
ตัวบ่งชี้ 2.2 : เงินสนับสนุนงานวิจัยและงานสร้างสรรค์ ประเภทของตัวบ่งชี้ : ปัจจัยนำเข้า การเก็บข้อมูล : ปีการศึกษา 2565 (1 มิถุนายน 2565 – 31 พฤษภาคม 2566) หน่วยงานที่รับผิดชอบหลัก : ฝ่ายวิชาการและงานวิจัย คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏเลย เกณฑ์การประเมิน การแปลงจำนวนเงินต่อจำนวนอาจารย์ประจำและนักวิจัยประจำเป็นคะแนนระหว่าง 0 –5 1.เกณฑ์เฉพาะคณะกลุ่มมหาวิทยาลัยราชภัฏจำแนกเป็น 3 กลุ่มสาขาวิชา กลุ่มสาขาวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี จำนวนเงินสนับสนุนงานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์จากภายในและภายนอกสถาบันที่กำหนดให้เป็นคะแนนเต็ม 5 = 60,000 บาทขึ้นไปต่อคน กลุ่มสาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพ จำนวนเงินสนับสนุนงานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์จากภายในและภายนอกสถาบันที่กำหนดให้เป็นคะแนนเต็ม 5 = 50,000 บาทขึ้นไปต่อคน กลุ่มสาขาวิชามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ จำนวนเงินสนับสนุนงานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์จากภายในและภายนอกสถาบันที่กำหนดให้เป็นคะแนนเต็ม 5 = 25,000 บาทขึ้นไปต่อคน สูตรการค านวณ 1. คำนวณจำนวนเงินสนับสนุนงานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์จากภายในและภายนอกสถาบันต่อจำนวนอาจารย์ประจำ และนักวิจัย จำนวนเงินสนับสนุนงานวิจัยฯ = 2. แปลงจำนวนเงินที่คำนวณได้ในข้อ 1 เทียบกับคะแนนเต็ม 5 คะแนนที่ได้ = จำนวนเงินสนับสนุนงานวิจัยฯจากภายในและภายนอก จำนวนอาจารย์ประจำและนักวิจัย จำนวนเงินสนับสนุนงานวิจัยฯจากภายในและภายนอก จำนวนเงินสนับสนุนงานวิจัยฯที่กำหนดให้เป็นคะแนนเต็ม 5 x 5
สรุปคะแนนที่ได้ในระดับคณะวิชา คะแนนที่ได้ในระดับคณะวิชา = ค่าเฉลี่ยของคะแนนที่ได้ของทุกกลุ่มสาขาวิชาในคณะ ผลการด าเนินงาน คณะวิทยาการจัดการ มีอาจารย์ผู้ปฏิบัติงานจริงในปีการศึกษา 2565 จำนวน 63 คน โดยได้รับเงินสนับสนุน งานวิจัย ในรอบระยะเวลา 1 กรกฎาคม 2565 – 30 มิถุนายน 2566 ใช้ค่าเฉลี่ยของคะแนนที่ได้ของทุกกลุ่มกลุ่มสาขาวิชา มนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ซึ่งมีจำนวนเงินสนับสนุนงานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์ดังนี้ จ านวนเงินทุนสนับสนุนงานวิจัยคณะวิทยาการจัดการ 1. เงินทุนสนับสนุนภายใน จำนวน 1,577,529.99 บาท 2. เงินทุนสนับสนุนภายนอก จำนวน 697,500.00 บาท รวม 2,275,029.99 บาท สูตรการค านวณ 1. คำนวณจำนวนเงินสนับสนุนงานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์จากภายในและภายนอกสถาบันต่อจำนวนอาจารย์ ประจำและนักวิจัย จำนวนเงินสนับสนุนงานวิจัยฯ = = 2,275,029.99 = 36,111.59 บาท 63 2. แปลงจำนวนเงินที่คำนวณได้ในข้อ 1 เทียบกับคะแนนเต็ม 5 คะแนนที่ได้ = = 36,111.59 x 5 = 5.00 (7.22) 25,000 เงินสนับสนุนได้ที่คณะวิทยาการจัดการได้รับจำนวน 36,111.59 ต่อคน เมื่อเทียบระดับคะแนน คะแนนเต็ม 5 คะแนน = 5 คะแนน จำนวนเงินสนับสนุนงานวิจัยฯจากภายในและภายนอก x 100 จำนวนอาจารย์ประจำและนักวิจัย จำนวนเงินสนับสนุนงานวิจัยฯจากภายในและภายนอก จำนวนเงินสนับสนุนงานวิจัยฯที่กำหนดให้เป็นคะแนนเต็ม 5 x 5
ผลการประเมินตนเอง : จากผลการดำเนินงานข้างต้นเมื่อประเมินโดยใช้เกณฑ์มาตรฐาน และอิงเกณฑ์การประเมินตัวบ่งชี้ ของ สกอ. ในรอบปีการศึกษา 2565 คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏเลย มีผลการประเมินสรุปได้ ดังนี้ คณะ อาจารย์ที่ปฏิบัติ งานจริง (คน) เงินภายใน (บาท) เงินภายนอก (บาท) รวม (บาท) สัดส่วนต่อคน เทียบคะแนน วิทยาการ จัดการ 63 1,577,529.99 697,500 2,275,029.99 36,111.59 5.00
สรุปโครงการสนับสนุนทุนวิจัย คณะวิทยาการจัดการ ประจ าปีงบประมาณ 2566 รอบประกันคุณภาพการศึกษา ปีการศึกษา 2565 วันที่ 1 มิถุนายน 2565 – 31 พฤษภาคม 2566 งานวิจัยที่ได้รับทุนในปีงบประมาณ 2566 จ านวน (เรื่อง) ทุนวิจัย (บาท) ทุนวิจัยภายใน 1. ทุนโครงการวิจัย ทุนอุดหนุนการวิจัยมหาวิทยาลัยราชภัฏเลย ครั้งที่ 1 1 40,000 บาท 2. ทุนโครงการวิจัย การให้ทุนอุดหนุนการวิจัยภายใต้โครงการพลิกโฉม มหาวิทยาลัย (Reinventing University) 4 852,030 บาท 3. ทุนโครงการวิจัย การให้อุดหนุนการวิจัยจากงบประมาณกองทุนส่งเสริม วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม 2 520,499.99 บาท 4. ทุนวิจัยประเภททั่วไป บริหารโดยคณะวิทยาการจัดการ 1 40,000 บาท 5. ทุนวิจัยประเภททั่วไป บริหารโดยสถาบันวิจัยและพัฒนา 2 100,000 บาท 6. ทุนวิจัยประเภทวิจัยในชั้นเรียน “บริหารโดยคณะและ สำนักวิชา” 2 10,000 บาท 7. ทุนวิจัยประเภทโครงงานวิจัย (Project) นักศึกษาปริญญาตรี 3 15,000 บาท รวมทุนวิจัยภายใน 15 1,577,529.99 บาท ทุนวิจัยภายนอก 8. ทุนวิจัย (ภายนอก) 5 697,500 บาท รวมทุนวิจัยภายนอก 697,500 บาท รวมทุนวิจัยที่ได้รับการสนับสนุนทั้งสิ้น 15 2,275,029.99 บาท เงินสนับสนุนเงินภายใน 1. ทุนโครงการวิจัย ทุนอุดหนุนการวิจัยมหาวิทยาลัยราชภัฏเลย ครั้งที่ 1 ประจ าปีงบประมาณ 2566 ที่ ชื่อโครงการวิจัย ชื่อนักวิจัย งบประมาณ (บาท) หมายเหตุ 1 การสร้างแบบจำลอง 3 มิติ ตัวอักษรภาษาไทดำใน รูปแบบความจริงเสริม (AR) กรณีศึกษาชุมชนไทดำ บ้านนาป่าหนาด อำเภอเชียงคาน จังหวัดเลย นางสาวภัทร์ณัฐสุดา จารุธีรพันธุ์ 40,000 ประกาศที่ 0375/2565 ลงวันที่ 1 ธันวาคม 2565 2. ทุนโครงการวิจัย การให้ทุนอุดหนุนการวิจัยภายใต้โครงการพลิกโฉมมหาวิทยาลัย (Reinventing University) ที่ ชื่อโครงการวิจัย ชื่อนักวิจัย งบประมาณ (บาท) หมายเหตุ 1 การยกระดับการท่องเที่ยวโดยชุมชนเพื่อสร้าง ประสบการณ์ของนักท่องเที่ยวตามบุคลักษณ์ของ นักท่องเที่ยวเชิงอาหาร ในอำเภอเชียงคาน จังหวัด เลย นางสาวปรียาพร พิชิตรานนท์ ดร.วิศิษฐ์ศิริ ชูสกุล นางสาวกิติยา คีรีวงก์ นางสาวอรจิต ชัชวาล ดร.วรรณวิสา ไพศรี นางสาวพิชญา ขุนศรี 176,400 ประกาศที่ 0325/2565 ลงวันที่ 25 ตุลาคม 2565 ที่ ชื่อโครงการวิจัย ชื่อนักวิจัย งบประมาณ (บาท) หมายเหตุ 2 สังเคราะห์นวัตกรรมจากผลงานวิจัยและบริการ วิชาการมหาวิทยาลัยราชภัฏเลยสู่การพัฒนาท้องถิ่น อย่างยั่งยืน ดร.สัญชัย เกียรติทรงชัย 74,750 ประกาศที่ 0325/2565 ลงวันที่ 25 ตุลาคม 2565 3 พัฒนาศักยภาพผู้ประกอบการธุรกิจท่องเที่ยวเชิง สุขภาพตามแนวคิดเศรษฐกิจสร้างสรรค์ในจังหวัดเลย ดร.วรากรณ์ ใจน้อย ผศ.เหมวดี กายใหญ่ นางรภัสสา ชาติกุล นางสาวญาณินท์ ทองมาก 464,400 ประกาศที่ 0325/2565 ลงวันที่ 25 ตุลาคม 2565
นางสาวเกศนี จึงวัฒนตระกูล ว่าที่ร้อยเอกนรชัย สอนใส นายธงชัย สุภา นายกิตติภพ ดอนอินทร์ นางสาววิมลสิริ สาวิลัย นางสาวกฤษติญา หลักบ้าน นางสาววีนัส แสนเข็มทอง 4 การสร้างนวัตกรรมผลิตภัณฑ์ชุมชนผ่านภูมิปัญญา ท้องถิ่นประเภทจักสานและการเกษตรเป็นผลิตภัณฑ์ ต้นแบบอำเภอท่าลี่ และอำเภอเมือง จังหวัดเลย ผศ.เหมวดี กายใหญ่ ผศ.อำภาภัทร์ วสันต์สกุล ดร.ศศิธร กกฝ้าย นางสาวเกศนี จึงวัฒนตระกูล นายชวลิต ยศสุนทร นางเมชยา ท่าพิมาย นายวีระยุทธ รัชตเวชกุล 136,480 ประกาศที่ 0325/2565 ลงวันที่ 25 ตุลาคม 2565 3. ทุนโครงการวิจัย การให้อุดหนุนการวิจัยจากงบประมาณกองทุนส่งเสริม วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม ที่ ชื่อโครงการวิจัย ชื่อนักวิจัย งบประมาณ (บาท) หมายเหตุ 1 พัฒนาโมเดลการจัดากรธุรกิจและผลิตภัณฑ์แก้วมังกร ผ่านการสื่อสารการตลาดดิจิทัล ของกลุ่มวิสาหกิจ ชุมชน อำเภอภูเรือ จังหวัดเลย รศ.ดร.ปฤฐฎาง จันทร์บุญเรือง ผศ.พรรณธวรรณ บุตรดีสุวรรณ นางสาวกิติยา คีรีวงก์ นายวรกร พิมพาคุณ 485,000 ประกาศที่ 0355/2565 ลงวันที่ 21 พฤศจิกายน 2565 2 แผนงานเสริมสร้างความเข้มแข็ง การบริหารจัดการแผนและโครงการด้านวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (ววน.) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 ดร.สัญชัย เกียรติทรงชัย ดร.วิศิษฐ์ศิริ ชูสกุล นางวิลัยพร ยาขามป้อม 35,499.99 ประกาศที่ 0355/2565 ลงวันที่ 21 พฤศจิกายน 2565 4. ทุนวิจัยประเภททั่วไป บริหารโดยคณะวิทยาการจัดการ ที่ ชื่อโครงการวิจัย ชื่อนักวิจัย งบประมาณ (บาท) หมายเหตุ 1 กลยุทธ์การบริหารจัดการธุรกิจในยุคปกติวิถีใหม่ของ ธุรกิจโรงแรมในจังหวัดเลยที่ส่งผลความอยู่รอดของ ธุรกิจ ผศ.ดร.กานต์ธีรา นามวงศ์ 40,000 ครั้งที่ 5 ประจำปีงบประมาณ 2565 ประกาศที่ 0284/2565 ลงวันที่ 20 กันยายน 2565 5. ทุนวิจัยประเภททั่วไป บริหารโดยสถาบันวิจัยและพัฒนา ที่ ชื่อโครงการวิจัย ชื่อนักวิจัย งบประมาณ (บาท) หมายเหตุ 1 ความสัมพันธ์เชิงสาเหตุของการพัฒนาทรัพยากร มนุษย์ ความได้เปรียบทางการแข่งขันและความสำเร็จ ของธุรกิจขนาดกลางและขนาดย่อม (SMEs) ผศ.อภิรดี คำไล้ 50,000 ครั้งที่ 5 ประจำปีงบประมาณ 2565 ประกาศที่ 0284/2565 ลงวันที่ 20 กันยายน 2565 2 รูปแบบการจัดการโซ่คุณค่าเพื่อลดความสูญเปล่าสู่ การพัฒนาที่ยั่งยืนภายใต้แนวคิดเศรษฐกิจหมุนเวียน ของเกษตรกรผู้ปลูกสับปะรดในเขตพื้นที่จังหวัดเลย นางรดาศา เนตรแสงสี 50,000 ครั้งที่ 2 ประจำปีงบประมาณ 2566 ประกาศที่ 0393/2565 28 ธันวาคม 2565 6. ทุนวิจัยประเภทวิจัยในชั้นเรียน “บริหารโดยคณะและ ส านักวิชา” ที่ ชื่อโครงการวิจัย ชื่อนักวิจัย งบประมาณ (บาท) หมายเหตุ 1 การจัดการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐาน (Problem based learning : PBL) เพื่อยกระดับ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนในรายวิชาการบัญชีภาษีอากร นางสาวเพลินพิศ โพธิ์วัน 5,000 ครั้งที่ 2 ประจำปีงบประมาณ 2566 ประกาศที่ 0393/2565 28 ธันวาคม 2565
(3523501) เรื่อง การบัญชีภาษีเงินได้หัก ณ ที่จ่าย ภาค เรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2565 นักศึกษา สาขาวิชาการ บัญชี หมู่เรียน LN01 2 การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรายวิชาโครงสร้าง ข้อมูลและอัลกอริทึมเพื่องานธุรกิจ บ.6505T เรื่อง โครงสร้างข้อมูลแบบลิงก์ลิสต์ โดยใช้กระบวนการเรียนรู้ แบบร่วมมือเทคนิค STAD ผศ.ดร.ชรินทร์ญา หวังวัชรกุล 5,000 ครั้งที่ 3 ประจำปีงบประมาณ 2566 ประกาศที่ 0070/2566 27 กุมภาพันธ์ 2566 7. ทุนวิจัยประเภทโครงงานวิจัย (Project) นักศึกษาปริญญาตรี ที่ ชื่อโครงการวิจัย ชื่อนักวิจัย งบประมาณ (บาท) หมายเหตุ 1 การวิเคราะห์ความคุ้มค่าทางเศรษฐศาสตร์จากการขาย เหมาให้พ่อค้าคนกลางของเกษตรกรชาวไร่อ้อยบ้านวัง เลาหัวฝาย ตำบลเอราวัณ จังหวัดเลย นางสาวเนตรชนก หาแก้ว สาขาวิชา เศรษฐศาสตร์ ที่ปรึกษา ผศ.ดร.วรินทร์ธร โตพันธ์ 5,000 ครั้งที่ 2 ประจำปีงบประมาณ 2566 ประกาศที่ 0393/2565 28 ธันวาคม 2565 2 การศึกษาความเป็นไปได้ทางเศรษฐศาสตร์ของน้ำแก้ว มังกรสกัดเย็นกรณีศึกษาบ้านตาดข่า ตำบลตาดข่า อำเภอหนองหิน จังหวัดเลย นางสาวญาสุมินทร์ สุชัยยะ สาขาวิชา เศรษฐศาสตร์ ที่ปรึกษา ผศ.ดร.วรินทร์ธร โตพันธ์ 5,000 ครั้งที่ 2 ประจำปีงบประมาณ 2566 ประกาศที่ 0393/2565 28 ธันวาคม 2565 3 การวิเคราะห์ความคุ้มค่าทางเศรษฐศาสตร์ในการ เพาะเห็ดของเกษตรกรผู้เพาะเห็ด บ้านห้วยโตก ตำบลนาโป่ง อำเภอเมืองเลย จังหวัดเลย นางสาวอลิสา สถิตย์ สาขาวิชา เศรษฐศาสตร์ ที่ปรึกษา ผศ.ดร.วรินทร์ธร โตพันธ์ 5,000 ครั้งที่ 3 ประจำปีงบประมาณ 2566 ประกาศที่ 0070/2566 27 กุมภาพันธ์ 2566 9. ทุนวิจัย (ภายนอก) ที่ ชื่อโครงการวิจัย ชื่อนักวิจัย งบประมาณ (บาท) หมายเหตุ 1 178672 การพัฒนาวิธีการจำแนกระดับรสชาติของ ผลิตภัณฑ์มะขามแกะเมล็ด ผศ.อนุชา วิลัยแก้ว 510,000 2 178389 (แผนงาน) การยกระดับห่วงโซ่คุณค่ามะขามน รูปแบบสะดวกเพื่อเสริมสร้างเศรษฐกิจฐานรากใน จังหวัดอุตรดิตถ์ และพื้นที่เชื่อมโยง ผศ.ดร.วรินทร์ธร โตพันธ์ อาจารย์ญาณินท์ ทองมาก 30,000 30,000 3 178673 การสร้างมูลค่าเพิ่มของมะขามเหลือทิ้งโดย กระบวนการผลิตภัณฑ์มะขาดถอดรูป อาจารย์กิติยา คีรีวงก์ 40,000 4 178671 การยกระดับและสร้างนักแปรรูปเบื้องต้นใน ท้องถิ่นเพื่อเพิ่มขีดความสามารถให้ธุรกิจมะขามไร้เมล็ด อาจารย์อรจิต ชัชวาลย์ 50,000 5 178674 การขับเคลื่อนอัตลักษณ์ของแบรนด์แบบ บูรณาการมะขามชุมชน ดร.วรรณวิสา ไพศรี 37,500
ตัวบ่งชี้2.3 : ผลงานทางวิชาการของอาจารย์ประจำและนักวิจัย ประเภทของตัวบ่งชี้ : ผลลัพธ์ การเก็บข้อมูล : ปีการศึกษา 2565 (1 มิถุนายน 2565 – 31 พฤษภาคม 2566) หน่วยงานที่รับผิดชอบหลัก : ฝ่ายวิชาการและงานวิจัย คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏเลย เกณฑ์การประเมิน โดยการแปลงค่าร้อยละของผลรวมถ่วงน้ำหนักของผลงานทางวิชาการของอาจารย์ประจำและนักวิจัยเป็นคะแนน ระหว่าง 0 – 5 เกณฑ์แบ่งกลุ่มตามสาขาวิชา ดังนี้ เกณฑ์เฉพาะคณะกลุ่มมหาวิทยาลัยราชภัฏจำแนกเป็น 3 กลุ่มสาขาวิชา กลุ่มสาขาวิชามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ ร้อยละของผลรวมถ่วงน้ำหนักของผลงานทางวิชาการของอาจารย์ประจำและนักวิจัยที่กำหนดให้เป็นคะแนนเต็ม 5 = ร้อยละ 20 ขึ้นไป สูตรค านวณ 1. คำนวณร้อยละของผลรวมถ่วงน้ำหนักของผลงานวิชาการของอาจารย์ประจำและนักวิจัยตามสูตร 2. แปลงค่าร้อยละที่คำนวณได้ในข้อ 1 เทียบกับคะแนนเต็ม 5 คะแนนที่ได้ = ร้อยละของผลรวมถ่วงน้ำหนักของผลงานวิชาการของอาจารย์ประจำและนักวิจัย ร้อยละของผลรวมถ่วงน้ำหนักของผลงานวิชาการของอาจารย์ประจำและนักวิจัยที่ X 5 กำหนดให้เป็นคะแนนเต็ม5 ผลรวมถ่วงน้ำหนักของผลงานทางวิชาการของอาจารย์ประจำและนักวิจัยประจำ จำนวนอาจารย์ประจำและนักวิจัยทั้งหมด X 100
ผลการด าเนินงาน : ในรอบปีการศึกษา 2565 (1 กรกฎาคม 2565 – 30 มิถุนายน 2566) คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราช ภัฏเลย มีผลงานวิชาการของอาจารย์ประจำและนักวิจัยบทความวิจัยหรือบทความวิชาการฉบับสมบูรณ์ที่มีการตีพิมพ์ใน รายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการระดับชาติและนานาชาติ ดังนี้ 1. นำเสนอบทความวิจัยและบทความวิชาการที่ตีพิมพ์ ในรายงานสืบเนื่องฯ ระดับชาติ จำนวน 32 เรื่อง 2. นำเสนอบทความวิจัยและบทความวิชาการ ในรายงานสืบเนื่องฯ ระดับนานาชาติ จำนวน - เรื่อง 3. มีการยื่นจดสิทธิบัตร จำนวน 2 เรื่อง 4. บทความวิจัยหรือบทความวิชาการตีพิมพ์ ในวารสารต่างประเทศ ระดับนานาชาติ จำนวน - เรื่อง 5. บทความวิจัยตีพิมพ์ในวารสารในประเทศ TCI กลุ่มที่ 1 จำนวน 7 เรื่อง 6. บทความวิจัยตีพิมพ์ในวารสารในประเทศ TCI กลุ่มที่ 2 จำนวน 8 เรื่อง 7. ตำรา จำนวน - เรื่อง รวมทั้งสิ้น 49 เรื่อง ข้อมูลพื้นฐาน น้ าหนัก กลุ่มสาขาวิชา มนุษยศาสตร์และ สังคมศาสตร์ จำนวนอาจารย์ประจำทั้งหมด รวมทั้งที่ปฏิบัติงานจริงและลาศึกษาต่อ 63 คน จำนวนนักวิจัยประจำทั้งหมด ที่ปฏิบัติงานจริง 0 คน - บทความวิจัยหรือบทความวิชาการฉบับสมบูรณ์ที่ตีพิมพ์ในรายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการระดับชาติ 0.20 32 เรื่อง - มีการยื่นจดอนุสิทธิบัตร - บทความวิจัยหรือบทความวิชาการฉบับสมบูรณ์ที่ตีพิมพ์ในรายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการระดับนานาชาติ 0.40 - - มีการยื่นจดสิทธิบัตร 2 เรื่อง - บทความวิจัยหรือบทความวิชาการฉบับสมบูรณ์ที่ตีพิมพ์ในรายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการระดับนานาชาติ ที่ได้ตีพิมพ์เผยแพร่ในฐานข้อมูลระดับนานาชาติตามประกาศ ก.พ.อ. 0.60 - - บทความวิจัยหรือบทความวิชาการฉบับสมบูรณ์ที่ตีพิมพ์ในวารสารทางวิชาการที่ปรากฏในฐานข้อมูล TCI กลุ่มที่ 2 0.60 8 เรื่อง - มีการจดแจ้งลิขสิทธิ์ 0.60 2 ชิ้น - ผลงานที่ได้รับการจดอนุสิทธิบัตร 0.60 - - บทความวิจัยหรือบทความวิชาการที่ตีพิมพ์ในวารสารทางวิชาการระดับนานาชาติที่ไม่อยู่ในฐานข้อมูลตามประกาศ ก.พ.อ. หรือตีพิมพ์ในวารสารวิชาการที่ปรากฏในฐานข้อมูล TCI กลุ่มที่ 1 0.80 7 เรื่อง - บทความวิจัยหรือบทความวิชาการฉบับสมบูรณ์ที่ตีพิมพ์ในวารสารทางวิชาการระดับนานาชาติที่ปรากฏใน ฐานข้อมูลระดับนานาชาติตามประกาศ ก.พ.อ. หรือระเบียบคณะกรรมการการอุดมศึกษา ว่าด้วยหลักเกณฑ์การ พิจารณาวารสารทางวิชาการสำหรับการเผยแพร่ผลงานทางวิชาการ พ.ศ. 2562 1.00 - -ผลงานวิจัยที่หน่วยงานหรือองค์กรระดับชาติว่าจ้างให้ดำเนินการ 1.00 -
ข้อมูลพื้นฐาน น้ าหนัก กลุ่มสาขาวิชา มนุษยศาสตร์และ สังคมศาสตร์ -ผลงานค้นพบพันธุ์พืช พันธุ์สัตว์ ที่ค้นพบใหม่และได้รับการจดทะเบียน 1.00 - -ตำราหรือหนังสือหรืองานแปลที่ผ่านการพิจารณาตามหลักเกณฑ์การประเมินตำแหน่งทางวิชาการแต่ไม่ได้นำมา ขอรับการประเมินตำแหน่งทางวิชาการ 1.00 - - ผลงานที่ได้รับการจดสิทธิบัตร 1.00 - - ผลงานทางวิชาการในลักษณะอื่นที่ได้รับการประเมินผ่านเกณฑ์การขอตำแหน่งทางวิชาการแล้ว ได้แก่ ผลงานวิชาการเพื่อพัฒนาอุตสาหกรรม ผลงานวิชาการเพื่อพัฒนาการเรียนการสอนและการเรียนรู้ ผลงานวิชาการเพื่อพัฒนานโยบายสาธารณะ ผลงานวิชาการรับใช้สังคม กรณีศึกษา ตำราหรือหนังสือหรืองานแปล ซอฟต์แวร์ พจนานุกรม สารานุกรม นามานุกรม และงานวิชาการในลักษณะเดียวกัน 1.00 - งานสร้างสรรค์ที่มีการเผยแพร่สู่สาธารณะในลักษณะใดลักษณะหนึ่ง หรือผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์ online 0.20 - งานสร้างสรรค์ที่ได้รับการเผยแพร่ในระดับสถาบัน 0.40 - งานสร้างสรรค์ที่ได้รับการเผยแพร่ในระดับชาติ 0.60 - งานสร้างสรรค์ที่ได้รับการเผยแพร่ในระดับความร่วมมือระหว่างประเทศ 0.80 - งานสร้างสรรค์ที่ได้รับการเผยแพร่ในระดับภูมิภาคอาเซียน/นานาชาติ 1.00 - ผลรวมถ่วงน้ าหนักของผลงานวิชาการที่ได้รับรองคุณภาพ 19.20 จ านวนอาจารย์ประจ าทั้งหมด 63 ผลการด าเนินงาน (ร้อยละ) 30.48 คะแนน 7.62 รายการหลักฐาน 2.3.1(1) บทความวิจัยการประชุมวิชาการระดับชาติฉบับสมบูรณ์ (Full Paper) 2.3.1(2) บทความวิจัยในวารสารวิชาการที่อยู่ในฐานข้อมูล TCI 2.3.1(3) บทความวิจัยในวารสารวิชาการที่อยู่ในฐานข้อมูล SCOPUS การประเมินตนเอง
บทความวิจัยหรือบทความวิชาการฉบับสมบูรณ์ที่ตีพิมพ์ในรายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการระดับชาติ จ านวน 26 เรื่อง (ค่าน้ าหนัก 0.20) ที่ ชื่องานประชุม วัน/เดือน/ปี ชื่องานวิจัยที่น าเสนอ ชื่อนักวิจัย เป้าหมาย ผลการด าเนินงาน คะแนนการประเมินตนเอง บรรลุเป้าหมาย บรรลุ ไม่บรรลุ ร้อยละ 20 ร้อยละ 27.62 5 คะแนน
1 งานประชุมวิชาการระดับชาติ ในระดับ ปริญญาตรี คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม ประจำปี 2565 (MSCC2022) 13-ส.ค.-65 กลยุทธ์การตลาดที่ส่งผลต่อ พฤติกรรมของผู้ใช้บริการร้าน คาร์แคร์ในจังหวัดเลย ผศ.รวัฒน์ มันทรา นางเยาว์ธิดา รัตนพลแสน 2 งานประชุมวิชาการระดับชาติ ในระดับ ปริญญาตรี คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม ประจำปี 2565 (MSCC2022) 13-ส.ค.-65 ปัจจัยที่ส่งผลต่อคุณภาพการ ให้บริการร้านนวดแผนไทยใน จังหวัดเลย ผศ.พรรณธวรรณ บุตรดีสุวรรณ 3 งานประชุมวิชาการระดับชาติ ในระดับ ปริญญาตรี คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม ประจำปี 2565 (MSCC2022) 13-ส.ค.-65 คุณภาพการให้บริการของ ธุรกิจโรงแรมในจังหวัดเลย ดร.เมทยา อิ่มเอิบ 4 งานประชุมวิชาการระดับชาติ ในระดับ ปริญญาตรี คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม ประจำปี 2565 (MSCC2022) 13-ส.ค.-65 ระบบรายงานการปฏิบัติ หน้าที่ของอาจารย์ที่ปรึกษา คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏเลย ผศ.ดร.ชรินทร์ญา หวังวัชรกุล นางสาวไหมคำ ตันติปทุม 5 งานประชุมวิชาการระดับชาติ ในระดับ ปริญญาตรี คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม ประจำปี 2565 (MSCC2022) 13-ส.ค.-65 การพัฒนาระบบพาณิชย์ อิเล็กทรอนิกส์ OTOP กลุ่มทอ ผ้าบ้านกกบก ตำบลหนองงิ้ว อำเภอวังสะพุง จังหวัดเลย ผศ.ณิชนันท์ กะวิวังสกุล 6 งานประชุมวิชาการระดับชาติ ในระดับ ปริญญาตรี คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม ประจำปี 2565 (MSCC2022) 13-ส.ค.-65 การพัฒนาระบบพาณิชย์ อิเล็กทรอนิกส์สำหรับการ จัดการผลิตภัณฑ์ชุมชน เพื่อ ส่งเสริมการจำหน่ายตะกร้า เส้นสาน พลาสติก ตำบลแดง ใหญ่ จังหวัดขอนแก่น ผศ.ดร.ชรินทร์ญา หวังวัชรกุล นายวรกร พิมพาคุณ 7 งานประชุมวิชาการระดับชาติ ในระดับ ปริญญาตรี คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม ประจำปี 2565 (MSCC2022) 13-ส.ค.-65 การพัฒนาสื่อการ์ตูน แอนิเมชัน 2 มิติ เรื่อง ประเพณีการ ทำบุญไล่ผีหลวง (ซำฮะบ้าน) นางสาวภัทร์ณัฐสุดา จารุธีรพันธุ์ นายชวลิต ยศสุนทร ที่ ชื่องานประชุม วัน/เดือน/ปี ชื่องานวิจัยที่น าเสนอ ชื่อนักวิจัย
8 งานประชุมวิชาการระดับชาติ ในระดับ ปริญญาตรี คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม ประจำปี 2565 (MSCC2022) 13-ส.ค.-65 การพัฒนาสื่อประชาสัมพันธ์ การ์ตูนแอนิเมชัน 2 มิติ เรื่อง อุทยานแห่งชาติภูเรือ นางสาวปฐมาวดี คำทอง 9 งานประชุมวิชาการระดับชาติ ในระดับ ปริญญาตรี คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม ประจำปี 2565 (MSCC2022) 13-ส.ค.-65 ปัจจัยการตลาดดิจิทัลที่มีต่อ การตัดสินใจซื้อสินค้าในระบบ ออนไลน์ของผู้บริโภคใน อำเภอเมือง จังหวัดเลย ดร.วรรณวิสา ไพศรี 10 งานประชุมวิชาการทางธุรกิจและ นวัตกรรมทางการจัดการระดับชาติ ประจำปี 2565 (ครั้งที่ 9) 1-ต.ค.-65 การเพิ่มศักยภาพผลิตภัณฑ์ ชุมชน ของกลุ่มวิสาหกิจชุมชน บ้านร่องจิก ตำบลร่องจิก อำเภอภูเรือ จังหวัดเลย รศ.ดร.ปฤฐฎาง จันทร์บุญเรือง ผศ.พรรณวรรณ บุตรดีสุวรรณ นางสาวจิราวดี กำยาน นางวรรณวิศา ชัชวาลย์ นายไพโรจน์ ชัชวาลย์ นายวรกร พิมพาคุณ 11 งานประชุมวิชาการระดับชาติ ราชภัฏเลย วิชาการ ครั้งที่ 9 ประจำปี2566 22-มี.ค.-66 งานวิจัยเชิงพื้นที่เพื่อยกระดับ เศรษฐกิจมูลค่าสูงของชุมชน (Area-based Research to Strengthen the Community's High Value Economy 2023) ณ มหาวิทยาลัยราชภัฏเลย ผศ.ดร.ชรินทร์ญา หวังวัชรกุล นายชวลิต ยศสุนทร ดร.ศศิธร กกฝ้าย 12 งานประชุมวิชาการระดับชาติ ราชภัฏเลย วิชาการ ครั้งที่ 9 ประจำปี2566 22-มี.ค.-66 งานวิจัยเชิงพื้นที่เพื่อยกระดับ เศรษฐกิจมูลค่าสูงของชุมชน (Area-based Research to Strengthen the Community's High Value Economy 2023) ณ มหาวิทยาลัยราชภัฏเลย ดร.ณัฐฐิญา ทรัพย์ปุญญากุล 13 งานประชุมวิชาการระดับชาติ ราชภัฏเลย วิชาการ ครั้งที่ 9 ประจำปี2566 22-มี.ค.-66 งานวิจัยเชิงพื้นที่เพื่อยกระดับ เศรษฐกิจมูลค่าสูงของชุมชน (Area-based Research to Strengthen the Community's High Value Economy 2023) ณ มหาวิทยาลัยราชภัฏเลย นางอุไรวรรณ บุษทิพย์ นางวิลัยพร ยาขามป้อม
ที่ ชื่องานประชุม วัน/เดือน/ปี ชื่องานวิจัยที่น าเสนอ ชื่อนักวิจัย 14 งานประชุมวิชาการระดับชาติ มหาวิทยาลัย เทคโนโลยีราชมงคล สุวรรณภูมิ ศูนย์พระนครศรีอยุธยา หันตรา 27-28 เม.ย. 66 การจัดการเรียนรู้โดยใช้ปัญหา เป็นฐานเพื่อยกระดับ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ใน รายวิชา การบัญชีภาษีอากร (3523501) เรื่อง การบัญชี ภาษีเงินได้หัก ณ ที่จ่าย ภาค เรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565 นักศึกษาสาขาวิชาการบัญชี หมู่เรียน LN01 นางสาวเพลินพิศ โพธิ์วัน ผศ.ชินเชิง แก้วก่า 15 งานประชุมวิชาการระดับชาติ วิทยาการจัดการสัมพันธ์ ครั้งที่ 6 ปี2565 22-23 ธ.ค.65 ปัจจัยที่มีผลต่อการเรียน ออนไลน์ของนักศึกษา คณะ วิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัย ราชภัฏเลย นางสาวกศิณา พรมดี นางสาวพรชนก เวหาด ดร.ศศิธร กกฝ้าย 16 งานประชุมวิชาการระดับชาติ ราชภัฏเลย วิชาการ ครั้งที่ 9 ประจำปี2566 22-มี.ค.-66 กลยุทธ์การตลาดผ่าน โทรศัพท์เคลื่อนที่ (Mobile Marketing)ที่ส่งผลต่อการ ตัดสินใจซื้อสินค้าผ่านตลาด กลางพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ ของกลุ่มเจนเนอเรชันเซด ใน เขตอำเภอเมืองเลย จังหวัด เลย ผศ.พรรณธวรรณ บุตรดีสุวรรณ นางวิลัยพร ยาขามป้อม นายวีระยุทธ รัชตะเวชกุล 17 งานประชุมวิชาการระดับชาติ ราชภัฏเลย วิชาการ ครั้งที่ 9 ประจำปี2566 22-มี.ค.-66 การพัฒนาบรรจุภัณฑ์ ผลิตภัณฑ์กลุ่มกะหรี่ปั๊บของ ตำบลผาอินทร์แปลง อำเภอ เอราวัณ จังหวัดเลย ดร.เมทยา อิ่มเอิบ นางเยาว์ธิดา รัตนพลแสน ดร.ตะวันรอน สังยวน 18 งานประชุมวิชาการระดับชาติ ราชภัฏเลย วิชาการ ครั้งที่ 9 ประจำปี2566 22-มี.ค.-66 กลยุทธ์ 9P's ของธุรกิจกาแฟ แบรนด์ท้องถิ่นที่ส่งผลต่อการ ตัดสินใจซื้อของผู้บริโภคใน เขตพื้นที่บ้านหนองแคน ตำบล นาด้วง อำเภอนาด้วง จังหวัดเลย ผศ.รวัฒน์ มันทรา นางเยาว์ธิดา รัตนพลแสน ดร.ตะวันรอน สังยวน 19 งานประชุมวิชาการระดับชาติ ราชภัฏเลย วิชาการ ครั้งที่ 9 ประจำปี2566 22-มี.ค.-66 ความพึงพอใจของผู้ใช้บัณฑิต ที่มีต่อการทำงานของบัณฑิต หลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการ คณะ นางวิลัยพร ยาขามป้อม
วิทยากรจัดการ มหาวิทยาลัย ราชภัฏเลย ที่ ชื่องานประชุม วัน/เดือน/ปี ชื่องานวิจัยที่น าเสนอ ชื่อนักวิจัย 20 งานประชุมวิชาการระดับชาติ ราชภัฏเลย วิชาการ ครั้งที่ 9 ประจำปี2566 22-มี.ค.-66 การวิเคราะห์ความคุ้มค่าทาง เศรษฐศาสตร์ในการเพาะเห็ด ขอนขาวของเกษตรกรผู้เพาะ เห็ดบ้านห้วยโตก ตำนาโป่ง อำเภอเมืองเลย จังหวัดเลย นางสาวอลิสา สถิตย์ ผศ.ดร.วรินทร์ธร โตพันธ์ นางสาวญาณินท์ ทองมาก 21 งานประชุมวิชาการระดับชาติ ราชภัฏเลย วิชาการ ครั้งที่ 9 ประจำปี2566 22-มี.ค.-66 การศึกษาความเป็นไปได้ทาง เศรษฐศาสตร์ของน้ำแก้วมังกร สกัดเย็นกรณีศึกษา บ้านตาด ข่า ตำบลตาดข่า อำเภอหนอง หินจังหวัดเลย นางสาวญาสุมินทร์ สุชัยยะ ผศ.ดร.วรินทร์ธร โตพันธ์ 22 งานประชุมวิชาการระดับชาติ ราชภัฏเลย วิชาการ ครั้งที่ 9 ประจำปี2566 22-มี.ค.-66 การวิเคราะห์ความคุ้มค่าทาง เศรษฐศาสตร์จากการขาย เหมาให้พ่อค้าคนกลางของ เกษตรกรชาวไร่อ้อยบ้านวัง เลาหัวฝาย ตำบลเอราวัณ อำเภอเอราวัณ จังหวัดเลย นางสาวเนตรชนก หาแก้ว ผศ.ดร.วรินทร์ธร โตพันธ์ 23 งานประชุมวิชาการระดับชาติ ราชภัฏเลย วิชาการ ครั้งที่ 9 ประจำปี 2566 22-มี.ค.-66 การประยุกต์ใช้ข้อมูลทางการ บัญชีเพื่อบริหารจัดการต้นทุน วิสาหกิจชุมชนกลุ่มจักสาน บ้านน้ำพร ตำบลปากตม อำเภอเชียงคาน จังหวัดเลย นางสาววนันพรณ์ ชื่นพิบูลย์ 24 งานประชุมวิชาการระดับชาติ ราชภัฏเลย วิชาการ ครั้งที่ 9 ประจำปี2566 22-มี.ค.-66 ความคิดเห็นที่มีต่อการเล่น พนันออนไลน์ของนักศึกษา คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏเลย นายวรเมธ สวัสดิ์ภักดี ผศ.อนุชา วิลัยแก้ว 25 งานประชุมวิชาการระดับชาติ ราชภัฏเลย วิชาการ ครั้งที่ 9 ประจำปี2566 22-มี.ค.-66 แนวทางการพัฒนารูปแบบการ เรียนการสอนเชิงบูรณาการกับ การทำงาน (WIL) หลักสูตร ศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชา การท่องเที่ยวและการโรงแรม คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏเลย นางสาวปรียาพร พิชิตรานนท์ ดร.สัญชัย เกียรติทรงชัย นางรภัสสา ชาติกุล ดร.วรากรณ์ ใจน้อย ดร.วิศิษฐ์ศิริ ชูสกุล นางสาวอลิสา โวหารกล้า
26 งานประชุมวิชาการระดับชาติ ราชภัฏเลย วิชาการ ครั้งที่ 9 ประจำปี2566 22-มี.ค.-66 การส่งเสริมการมีส่วนร่วมใน การฟื้นฟูชุมชนหลังการทำ เหมืองแร่ทองคำ กรณีศึกษา ชุมชนในพื้นที่ตำบลเขาหลวง อำเภอวังสะพุง จังหวัดเลย ดร.พรหมพงษ์ มหพรพงษ์ ที่ ชื่องานประชุม วัน/เดือน/ปี ชื่องานวิจัยที่น าเสนอ ชื่อนักวิจัย 27 งานประชุมวิชาการระดับชาติ ราชภัฏเลย วิชาการ ครั้งที่ 9 ประจำปี2566 22-มี.ค.-66 แนวทางการสนับสนุนของ สังคมต่อนักเรียนโรงเรียน มัธยมสมบูรณ์ สันติภาพแขวง หลวงพระบาง สาธารณรัฐ ประชาธิปไตยประชาชนลาว ดร.พรหมพงษ์ มหพรพงษ์ 28 งานประชุมวิชาการระดับชาติ ราชภัฏเลย วิชาการ ครั้งที่ 9 ประจำปี2566 22-มี.ค.-66 แนวทางการพัฒนาคุณภาพ ชีวิตแบบบูรณาการภายใต้ฐาน คิดเศรษฐกิจชุมชนเป็นตัวตั้ง ของสภาองค์กรชุมชนตำบลผา น้อย อำเภอวังสะพุง จังหวัด เลย ดร.พรหมพงษ์ มหพรพงษ์ 29 งานประชุมวิชาการระดับชาติ ราชภัฏเลย วิชาการ ครั้งที่ 9 ประจำปี2566 22-มี.ค.-66 ความสัมพันธ์ของอาสาสมัคร พัฒนาสังคมและความมั่นคง ของมนุษย์ต่อการพัฒนา บทบาทอาสาสมัครพัฒนา สังคมและความมั่นคงของ มนุษย์ในพื้นที่จังหวัดเลย ดร.พรหมพงษ์ มหพรพงษ์ 30 งานประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง คุณภาพของการบริหารจัดการและ นวัตกรรม ครั้งที่ 11 27-พ.ค.-66 ต้นทุน ผลตอบแทนและการ พัฒนาผลิตภัณฑ์เครื่องจักสาน ไม้ไผ่ชุมชนบ้านใหม่ชัยเจริญ ตำบลทรัพย์ไพวัลย์ อำเภอ เอราวัณ จังหวัดเลย นางสาวเพลินพิศ โพธิ์วัน ผศ.ชินเชิง แก้วก่า ผศ.อำภาภัทร์ วสันต์สกุล 31 งานประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง คุณภาพของการบริหารจัดการและ นวัตกรรม ครั้งที่ 11 27-พ.ค.-66 การจัดทำบัญชีและการใช้ สารสนเทศทางบัญชีของผู้ ประกอบธุรกิจที่พักแรมกลุ่ม จังหวัดภาค ตะวันออกเฉียงเหนือตอนบน ผศ.อำภาภัทร์ วสันต์สกุล 32 งานประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง คุณภาพของการบริหารจัดการและ นวัตกรรม ครั้งที่ 11 27-พ.ค.-66 การศึกษากระบวนการผลิต และต้นทุนการผลิตของกลุ่ม ผู้ผลิตกล้วยฉาบนมสด นางอุไรวรรณ บุษทิพย์ นางสาวเกศนี จึงวัฒนตระกูล
บทความวิจัยหรือบทความวิชาการฉบับสมบูรณ์ที่ตีพิมพ์ในวารสารทางวิชาการที่ปรากฎในฐานข้อมูล TCI กลุ่มที่ 2 จ านวน 8 เรื่อง (ค่าน้ าหนัก 0.60) ที่ ชื่อวารสาร วัน/เดือน/ปี ชื่องานวิจัย ชื่อนักวิจัย 1 วารสารบริหารธุรกิจและ ศิลปศาสตร์ราชมงคล ล้านนา ฉบับที่10 ครั้งที่ 1 (พ.ศ.2565) มกราคม - มิถุนายน 2565 การพัฒนาเว็บแอพพลิเคชั่น บัญชี-รับ จ่าย เพื่อความ มั่นคงทางเศรษฐกิจ ครัวเรือน ผศ.ดร.ลภัสรดา พิชญาธีรนาถ 2 วารสารวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏเลย ปีที่17 ฉบับที่ 61 กรกฎาคม - กันยายน 2565 มูลค่าความเต็มใจยอมรับ ส่วนต่างราคารับซื้ออ้อยสด และอ้อยเผาของเกษตรกร ตำบลปากปวน อำเภอวังสะ พุง จังหวัดเลย ผศ.อนุชา วิลัยแก้ว 3 วารสารคณะวิทยาการ จัดการ มหาวิทยาลัยราช ภัฏอุดรธานี ปีที่4 ฉบับที่ 4 (กรกฎาคม - สิงหาคม 2565) แนวทางการพัฒนาการ จัดการเพื่อเพิ่มประสิทธิผล ของวิสาหกิจชุมชนใน รูปแบบการจัดการธุรกิจ การค้าสมัยใหม่กรณีศึกษา จังหวัดเลย นางสกุลไทย ป้อมมะรัง 4 วารสารวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏ อุดรธานี ปีที่4 ฉบับที่ 6 (พฤศจิกายน - ธันวาคม 2565) การประยุกต์ใช้ระบบบัญชี ด้วยกระบวนการมีส่วนร่วม ในโครงการผักบ้านโนนเขวา ตำบลดอนหัน อำเภอเมือง จังหวัดขอนแก่น นางเมชยา ท่าพิมาย 5 วารสารศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยทักษิณ ปีที่23 ฉบับที่ 1 (มกราคม - มิถุนายน 2566) ความต้องการรูปแบบและ แนวทางการจัดการศึกษา เชิงบูรณาการกับการทำงาน (WIL) หลักสูตรนิเทศศาสตร บัณฑิต มหาวิทยาลัยราชภัฏ เลย รศ.ดร.ปฤฐฏาง จันทร์บุญเรือง
6 วารสารวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏเลย ปีที่18 ฉบับที่ 64 (เมษายน - มิถุนายน 2566) ปัจจัยด้านการจัดการที่ ส่งผลต่อการอยู่รอดของ ธุรกิจโฮมสเตย์ ในพื้นที่ อำเภอเชียงคาน จังหวัดเลย ผศ.ดร.อัญชลี โกกะนุช ที่ ชื่อวารสาร วัน/เดือน/ปี ชื่องานวิจัย ชื่อนักวิจัย 7 วารสารอัล-ฮิกมะฮฺ มหาวิทยาลัยฟาฏอนี ปีที่ 13 ฉบับที่ 25 (ฉ.ที่ 1 ประจำเดือนมกราคม - มิถุนายน 2566) กลยุทธ์ทางการตลาดที่มี อิทธิพลต่อกระบวนการ ตัดสินใจซื้อเสื้อผ้าแฟชั่น ออนไลน์ ในอำเภอเมืองเลย จังหวัดเลย ผศ.รวัฒน์ มันทรา ผศ.เหมวดี กายใหญ่ นางเยาว์ธิดา รัตนพลแสน ดร.เมทยา อิ่มเอิบ 8 วารสารอัล-ฮิมะฮฺ มหาวิทยาลัยฟาฏอนี ปีที่ 13 ฉบับที่ 25 (ฉ.ที่1 ประจำเดือน มกราคม – มิถุนายน 2566) ปัจจัยที่ส่งผลต่อการ ตัดสินใจซื้ออาหารแช่แข็ง ของผู้บริโภคชีวิตวิถีใหม่ใน เขตอำเภอเมืองเลย จังหวัด เลย ผศ.พรรณธวรรณ บุตรดีสุวรรณ นางวิลัยพร ยาขามป้อม ดร.ตะวันรอน สังยวน มีการจดแจ้งลิขสิทธิ์ จ านวน 1 ชิ้น (ค่าน้ าหนัก 0.60) ที่ ชื่อผลงาน ประเภทงาน จดสิทธิบัตร ผู้รับผิดชอบ 1 ผ้าไหมทอมือลวดลายกู่แก้ว ศิลปกรรม ลักษณะงานจิตกรรม 14-มิ.ย.-65 นางเมชยา ท่าพิมาย 2 เว็บแอพพลิเคชั่น ภายใต้ชื่อ EasyCost-LRU วรรณกรรม ลักษณะงานโปรแกรม คอมพิวเตอร์ 5-ต.ค.-65 ผศ.ดร.ลภัสรดา พิชญาธีรนาถ ดร.สาธิยา กลิ่นสุคนธ์ นางสาวขนิษฐา หารระคุณ บทความวิจัยหรือบทความวิชาการที่ตีพิมพ์ในวารสารวิชาการที่ปรากฎในฐานข้อมูล TCI กลุ่ม 1 จ านวน 7 เรื่อง (ค่าน้ าหนัก 0.80) ที่ ชื่อวารสาร วัน/เดือน/ปี ชื่องานวิจัย ชื่อนักวิจัย
1 วารสารวิทยาลัยโลจิสติกส์ และซัพพลายเชน ปีที่ 8 ฉบับที่ 2 เดือน กรกฎาคม-ธันวาคม2565 ISSN 2408-2740 E-ISSN 2651-1622 รูปแบบการพัฒนา ความสามารถและความ ร่วมมือด้านซัพลายเชน เพื่อ สร้างขีดความสามารถ ทางการแข่งขันของเกษตรกร ผู้ปลูกสับปะรดในเขตพื้นที่ จังหวัดเลย นางรดาศา เนตรแสงสี 2 วารสารสันติศึกษาปริทรรศน์ มจร ปีที่ 10 ฉบับที่ 4 (มิถุนายน 2565) การสร้างความได้เปรียบ ทางการแข่งขันของธุรกิจ ร้านกาแฟในยุควิถีใหม่ อำเภอเมืองเลย จังหวัดเลย ผศ.รวัฒน์ มันทรา นายวีระยุทธ รัชตเวชกุล ที่ ชื่อวารสาร วัน/เดือน/ปี ชื่องานวิจัย ชื่อนักวิจัย 3 Asian Administration and Management Review ฉบับที่ 5 ครั้งที่ 2/2565 Mask Manufacturing Approach Using CaseBased Learning with an Activity-Based Costing Method ผศ.ดร.ลภัสรดา พิชญาธีรนาถ 4 วารสารวิชาการธรรมทรรศน์ ปีที่ 22 ฉบับที่ 3 ประจำเดือน กรกฎาคม - กันยายน 2565 การพัฒนายุทธศาสตร์ ส่งเสริมการท่องเที่ยวเมือง รอง อำเภอเชียงคาน จังหวัด เลย ดร.พรหมพงษ์ มหพรพงษ์ ดร.วิศิษฐ์ศิริ ชูสกุล 5 วารสารนักบริหาร ปีที่ 42 ฉบับที่ 2 ประจำเดือน กรกฎาคม - ธันวาคม 2565 ตัวแบบของภาวะผู้นำยุค ดิจิทัลของผู้บริหารวิสาหกิจ ชุมชนในจังหวัดขอนแก่น นายวีระยุทธ รัชตเวชกุล 6 วารสารสังคมศาสตร์และ วัฒนธรรม ปีที่ 7 ฉบับที่ 1 (มกราคม 2566) พาหนะการสื่อสารในการ ปลูกจิตสำนึกต่อการอนุรักษ์ อาหารท้องถิ่นในเขตภาค ตะวันออกเฉียงเหนือ ตอนบน 1 รศ.ดร.ปฤฐฎาง จันทร์บุญเรือง 7 วารสารสารสนเทศศาสตร์ ปีที่ 41 ฉบับที่ 1 (มกราคม - มีนาคม 2566) การพัฒนาแอปพลิเคชัน ความจริงเสริม (AR) สำหรับ การนำเสนอผลิตภัณฑ์ชุมชน ไทดำ บ้านนาป่าหนาด อำเภอเชียงคาน จังหวัดเลย นางสาวภัทร์ณัฐสุดา จารุธีรพันธุ์
ตัวบ่งชี้ 2.4 : งานวิจัย งานสร้างสรรค์ หรือนวัตกรรมที่นำไปใช้ประโยชน์ต่อชุมชน ประเภทของตัวบ่งชี้ : ผลลัพธ์ การเก็บข้อมูล : ปีการศึกษา 2565 (1 มิถุนายน 2565 – 31 พฤษภาคม 2566) หน่วยงานที่รับผิดชอบหลัก : ฝ่ายวิชาการและงานวิจัย คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏเลย เกณฑ์การประเมิน การแปลงค่าคะแนนร้อยละของจำนวนงานวิจัย สร้างสรรค์ หรือนวัตกรรมต่อจำนวนงานวิจัย งานสร้างสรรค์ หรือนวัตกรรมทั้งหมดของคณะคิดคะแนนเต็ม 5 = ร้อยละ 30 สูตรการค านวณ 1. คำนวณค่าร้อยละของจำนวนชิ้นงานวิจัย งานสร้างสรรค์ หรือนวัตกรรมที่นำไปใช้ประโยชน์ต่อชุมชน 2. แปลงค่าร้อยละที่คำนวณได้ เทียบกับคะแนนเต็ม 5 (ร้อยละ 30 คิดเป็น 5 คะแนน) ผลการด าเนินงาน : ในรอบการศึกษา 2565 คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏเลย มีผลงานวิจัยทั้งหมด จำนวน 45 เรื่อง และได้นำไปใช้ประโยชน์ในชุมชน จำนวน 16 หน่วยงาน ในพื้นที่ความรับผิดชอบของคณะตามที่ได้รับมอบหมาย จากมหาวิทยาลัยราชภัฏเลย สามารถคำนวณได้ดังนี้ รายการ จ านวน (ชิ้น) 1. จำนวนงานวิจัย งานสร้างสรรค์ หรือนวัตกรรมทั้งหมด 45 (1) จำนวนงานวิจัย 16 (2) จำนวนงานสร้างสรรค์ - (3) จำนวนนวัตกรรม - 2. จำนวนงานวิจัย งานสร้างสรรค์ หรือนวัตกรรมที่นำไปใช้ประโยชน์ 16 3. ร้อยละของงานวิจัย งานสร้างสรรค์ หรือนวัตกรรมที่นำไปใช้ประโยชน์ 35.56 1. คำนวณค่าร้อยละของจำนวนชิ้นงานวิจัย งานสร้างสรรค์ หรือนวัตกรรมที่นำไปใช้ประโยชน์ต่อชุมชน ผลรวมของงานวิจัย งานสร้างสรรค์ หรือนวัตกรรมที่นำไปใช้ประโยชน์ จำนวนงานวิจัย งานสร้างสรรค์ หรือนวัตกรรมทั้งหมดในปีที่ประเมินฯ ร้อยละของจำนวนชิ้นงานวิจัย งานสร้างสรรค์ หรือนวัตกรรม ที่นำไปใช้ประโยชน์ต่อชุมชุน งานวิจัย งานสร้างสรรค์ หรือนวัตกรรมที่นำไปใช้ประโยชน์ของคณะ ที่กำหนดให้เป็นคะแนนเต็ม 5 x 5 x 100
= 16 = 35.56 2. แปลงค่าร้อยละที่คำนวณได้ เทียบกับคะแนนเต็ม 5 (ร้อยละ 30 คิดเป็น 5 คะแนน) = 35.56 = 5.93 งานวิจัย งานสร้างสรรค์ หรือนวัตกรรมที่นำไปใช้ประโยชน์ของคณะได้ที่คณะวิทยาการจัดการ จำนวน 16 เรื่อง เทียบระดับคะแนน คะแนนเต็ม 5 ได้ 5.93 คะแนน = 5.00 คะแนน รายการหลักฐาน 2.4.1 (1) หนังสือรับรอง/รูปภาพ /วิดีโอ การนำไปใช้ประโยชน์ การประเมินตนเอง เป้าหมาย ผลการด าเนินงาน คะแนนการประเมินตนเอง บรรลุเป้าหมาย บรรลุ ไม่บรรลุ ร้อยละ 20 ร้อยละ 35.56 5 คะแนน x 100 x 5 45 30
ที่ งานวิจัย/นวัตกรรม ชื่อนักวิจัย ชุมชน/หน่วยงานที่1 การพัฒนาต่อยอดอาหารท้องถิ่นบนฐานเอกลักษณ์ทาง วัฒนธรรมในเขตภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบน 1 ผศ.ดร.จารุพร มีทรัพย์ทอง คณะวิทยาการจัดกาภัฏอุดรธานี 2 ความคาดหวังและการรับรู้ของนักท่องเที่ยวที่มีต่อการจัดการ แหล่งท่องเที่ยวสกายวอล์ค อำเภอเชียงคาน จังหวัดเลย น.ส.ภัทราพร แก้วเพ็ชร น.ส.วรดา แก้วเพ็ชร นางวิลัยพร ยาขามป้อม องค์การบริหารส่วนต3 ความพึงพอใจของนักศึกษาที่มีต่อการจัดการเรียนการสอน หลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการ คณะ วิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏเลย นางวิลัยพร ยาขามป้อม วิทยาลัยเทคโนโลยีสจังหวัดหนองบัวลำภู4 การวิเคราะห์ต้นทุนการผลิตและต้นทุน โลจิสติกส์การผลิต ชา กรณีศึกษา วิสาหกิจชมชนกลุ่มสมุนไพรบ้านหนองบัว ตำบล ภูหอ อำเภอภูหลวง จังหวัดเลย น.ส.กัญญาพรรณ โลขันสา วิสาหกิจชุมชนกลุ่มสบัว 5 ระบบจัดการฐานข้อมูลงานวิจัยนักศึกษาในระดับปริญญาตรี คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏเลย น.ส.อรอนงค์ ไตยนำ นายอัครเดช จิรพรศิรพัชร น.ส.ไหมคำ ตันติปทุม (อาจารย์ที่ปรึกษา) คณะวิทยาการจัดกาภัฏเลย 6 การพัฒนาระบบพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ ห้างหุ้นส่วนจำกัด ส.ทวีภัณฑ์สโตร์ ซุปเปอร์เซฟ จังหวัดเลย น.ส.ดานุกา นามวงค์ษา น.ส.พิมพ์พิชชา ประภาวิรัลพัชร์ ผศ.ดร.ชรินทร์ญา หวังวัชรกุล (อาจารย์ที่ปรึกษา) หจก.ส.ทวีภัณฑ์สโตร์7 การสร้างเว็บไซต์ขายสินค้าออนไลน์ ร้านเอ็นแอนด์ทีช็อป อำเภอเมืองเลย จังหวัดเลย นายกฤษณะ เนียมงาม นายธีระพัฒน์ เพ็งธรรม น.ส.ภัทรณัฐสุดา จารุธีรพันธุ์ (อาจารย์ที่ปรึกษา) น.ส.นฤมล น้อยภา เจ้าของกิจการ ร้านเออำเภอเมืองเลย จังหวัดเลย8 การพัฒนาเว็บไซต์เพื่อประชาสัมพันธ์และบริหารจัดการ ร้านค้าออนไลน์ วิสาหกิจชุมชนสวนทิพย์ อำเภอท่าลี่ จังหวัด เลย น.ส.สุนันทา รัตนสุนทร น.ส.เสาวภา เนธิบุตร นายชวลิต ยศสุนทร (อาจารย์ที่ปรึกษา) วิสาหกิจชุมชนสวนทิจังหวัดเลย 9 การพัฒนาเว็บไซต์พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ ร้านกิ๊ฟการ์ด อำเภอเมืองเลย จังหวัดเลย น.ส.ปาณิสา ขวัญเต็ม น.ส.จิราภรณ์ มูลศรี ผศ.ณิชนันทน์ กะวิวังสกุล สำนักงานเทศบาลตำตำบลยางคำ อำเภอหขอนแก่น
ที่น าไปใช้ประโยชน์ ประเภทการน าไปใช้ ประโยชน์ วัน/เดือน/ปี ที่น าไปใช้ประโยชน์ รูปแบบการน าไปใช้ประโยชน์ของชุมชน/หน่วยงาน ร มหาวิทยาลัยราช เชิงวิชาการ ปีการศึกษา 2564- 2565 ใช้เป็นกรณีศึกษาในรายวิชาการสำรวจและวิจัยสำหรับธุรกิจบริการ ตำบลปากตม เชิงสาธารณะ 1 ม.ค 2565 เป็น ต้นไป การจัดพื้นที่ร้านขายของ เพื่อให้ประชาชนในพื้นที่สามารถนำผลผลิต ทางการเกษตรไปวางขาย งวนบริหารธุรกิจ เชิงสาธารณะ 1 ก.ย 2565 เป็น ต้นไป นำงานวิจัยไว้ที่ห้องวิทยบริหาร (ห้องสมุด) เพื่อให้ทุกคนที่สนใจ ศึกษาเพิ่มเติม สมุนไพรบ้านหนอง เชิงสาธารณะ เมษายน 2565 ได้วิธีการคำนวณต้นทุนการผลิตชา 7 สูตร ร มหาวิทยาลัยราช เชิงนโยบาย กุมภาพันธ์ 2566 ใช้ในระบบจัดการฐานข้อมูลงานวิจัยนักศึกษาในระดับปริญญาตรี ร์ เชิงพาณิชย์ กุมภาพันธ์ 2566 ช่วยประชาสัมพันธ์และเพิ่มช่องทางการขายสินค้าให้กับทางร้าน อ็นแอนด์ ทีช็อป ย เชิงพาณิชย์ กุมภาพันธ์ 2566 ช่วยประชาสัมพันธ์และเพิ่มช่องทางการขายสินค้าให้กับทางร้าน ทิพย์ อำเภอท่าลี่ เชิงพาณิชย์ กุมภาพันธ์ 2566 นำเสนอสินค้าของวิสาหกิจชุมชนสวนทิพย์ไปขายผ่านทางเว็บไซต์ ำบลยางคำ หมู่ 1 หนองเรือ จังหวัด เชิงพาณิชย์ กุมภาพันธ์ 2566 เพิ่มช่องทางการจำหน่ายสินค้า
ที่ งานวิจัย/นวัตกรรม ชื่อนักวิจัย ชุมชน/หน่วยงานที่(อาจารย์ที่ปรึกษา) 10 ความพึงพอใจของนักศึกษาที่มีต่อการบริหารหลักสูตรบริหาร ธุริจบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการ คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏเลย นางวิลัยพร ยาขามป้อม ดร.ณัฎฐ์ รัตนศิริณิชอาจารย์ประจำหลักสูตมหาบัณฑิต สาขาวิชากามหาวิทยาลัยราชภัฏล11 ความพึงพอใจของนักศึกษาที่มีต่อการจัดการเรียนการสอน หลักสูตร บริหารธุรกิจบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการ คณะวิทยาการ จัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏเลย นางวิลัยพร ยาขามป้อม ดร.ณัฎฐ์ รัตนศิริณิชอาจารย์ประจำหลักสูตมหาบัณฑิต สาขาวิชากามหาวิทยาลัยราชภัฏล12 ปัจจัยที่มีผลต่อการตัดสินใจเลือกเรียนสาขาวิชาการเงิน ของ นักศึกษาสาขาวิชาการเงิน คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัย ราชภัฏเลย นางวรรณวิศา ชัชวาลย์ ดร.ณัฎฐ์ รัตนศิริณิชอาจารย์ประจำหลักสูตมหาบัณฑิต สาขาวิชากามหาวิทยาลัยราชภัฏล13 การพัฒนาผลิตภัณฑ์แปรรูป จากแก้วมังกรตามแนวคิด เศรษฐกิจสร้างสรรค์ในพื้นที่ตำบลร่องจิก อำเภอ ภูเรือ จังหวัดเลย ผศ.ดร.สุภาวดี สำราญ ผศ.ดร.วรินทร์ธร โตพันธ์ ดร.ณัฐฐิญา ทรัพย์ปุญญากุลและ ดร.ขวัญคณิศร์ อินทรตระกูล นางกิตติภา ศรีบุรินประธานกลุ่มวิสาหกิจ14 การผลิตสื่อคู่มือการใช้ Adobe Photoshop CS6 ในการนำเสนอของเทศบาลตำบลท่าลี่ อำเภอท่าลี่ จังหวัดเลย นางสาวอัจฉราภา บุญเพ็ง นักศึกษาสาขา นิเทศศาสตร์ นายถวิล คนฉลาด รองนายกเทศมนตรีเทศบาลต15 นวัตกรรมโปรแกรมบัญชีสำหรับชุมชน “Easyaccount - lru” ผศ.ดร.ลภัสรดา พิชญาธีรนาถ ดร.สาธิยา กลิ่นสุคนธ์ นางสาวขนิษฐา หาระคุณ นายแปลง ศรีสุนทร นายกองค์การบริหาร16 ชุดควบคุมระบบน้ำอัตโนมัติ ผศ.ดร.วรินทร์ธร โตพันธ์ นายปราม นามวงษ์ น.ส.สกุลตรา นามวงษ์ น.ส.ภครินทร์ คำผิว น.ส.สุวภัรทร ศรีบุรินทร์ ชุมชนบ้านกลาง หมู่ทอำเภอภูเรือ จังหวัดเ
ที่น าไปใช้ประโยชน์ ประเภทการน าไปใช้ ประโยชน์ วัน/เดือน/ปี ที่น าไปใช้ประโยชน์ รูปแบบการน าไปใช้ประโยชน์ของชุมชน/หน่วยงาน ชกุล ตรครุศาสตร ารบริหารการศึกษา ลำปาง ด้านอื่น ๆ ปีการศึกษา 2565 - 2566 เพื่อใช้เป็นแนวทางในการปรับปรุงหลักสูตร ชกุล ตรครุศาสตร ารบริหารการศึกษา ลำปาง ด้านอื่น ๆ ปีการศึกษา 2565 - 2566 เพื่อใช้เป็นแนวทางในการปรับปรุงหลักสูตร ชกุล ตรครุศาสตร ารบริหารการศึกษา ลำปาง ด้านอื่น ๆ ปีการศึกษา 2565 - 2566 เพื่อใช้เป็นแนวทางในการปรับปรุงหลักสูตร ทร์ จฯ เชิงพาณิชย์ 2565 ถึงปัจจุบัน 1.มีช่องทางในการจัดจำหน่ายเพิ่มขึ้นจากการจับคู่ธุรกิจ 2.มีรายได้เพิ่มขึ้นจากการแปรรูปเพื่อจำหน่ายผลสดได้ราคาต่ำ ตำบลท่าลี่ เชิงพาณิชย์ ปีการศึกษา 2565 มีประชาชนทั่วไปสามารถเข้าดูข้อมูล ต่าง ๆ ได้หลากหลายช่องทาง รส่วนตำบลเมือง ด้านอื่น ๆ มีนาคม - กรกฎาคม 2565 ชุมชนได้มีการนำเทคโนโลยีใหม่ ๆ มาใช้ในการดำเนินชีวิตประจำวันในการลงบัญชี รับ-จ่ายของครัวเรือน ที่ 3 ตำบลปลาบ่า เลย เชิงพาณิชย์ ธันวาคม 65 1. ชุดต้นแบบนวัตกรรมควบคุมระบบน้ำอัตโนมัติ 2. เอกสารเผยแพร่ชุดต้นแบบนวัตกรรมควบคุมระบบน้ำอัตโนมัติ