The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

องค์ประกอบที่ 5 การบริหารจัดการปี66

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Fms.lru2017, 2023-11-20 01:09:02

องค์ประกอบที่ 5 การบริหารจัดการปี66

องค์ประกอบที่ 5 การบริหารจัดการปี66

ตัวบ่งชี้ 5.1 : การจัดการเรียนรู้แบบบูรณาการกับการทำงาน ประเภทของตัวบ่งชี้ : กระบวนการ การเก็บข้อมูล : ปีการศึกษา 2565 (1 มิถุนายน 2565 – 31 พฤษภาคม 2566) หน่วยงานที่รับผิดชอบหลัก : ฝ่ายวิชาการและวิจัย คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏเลย เกณฑ์การประเมิน คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3 คะแนน 4 คะแนน 5 มีการดำเนินการ 1 ข้อ มีการดำเนินการ 2 ข้อ มีการดำเนินการ 3ข้อ มีการดำเนินการ 4ข้อ มีการดำเนินการ 5 ข้อ ผลการด าเนินงาน : ในรอบปีการศึกษา 2565 คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏเลย ได้ดำเนินงาน ด้านการจัดการเรียนรู้แบบบูรณาการกับการทำงานโดยมีผลการดำเนินงานตามเกณฑ์มาตรฐาน สกอ. ดังนี้ ข้อ เกณฑ์การประเมิน ผลด าเนินงาน เอกสารหลักฐาน 1 มีระบบและกลไกให้หลักสูตร จัดทำแผนจัดการเรียนรู้และ บูรณาการกับการทำงาน คณะวิทยาการจัดการ มีระบบและกลไกให้หลักสูตร จัดทำแผนการเรียนรู้แบบบูรณาการกับการทำงาน ตามนโยบาย ของมหาวิทยาลัยราชภัฏเลย ด้านการจัดการเรียนรู้แบบบูรณา การกับการทำงาน (WIL: Work-integrated Learning) โดย คณะฯ ได้แต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินงานการจัดการเรียนรู้ แบบบูรณาการกับการทำงาน ปีการศึกษา 2565 [เอกสาร 5.1.1(1)] และมอบหมายให้รองคณบดีฝ่ายวิชาการและวิจัยเป็น ผู้รับผิดชอบหลักสูตรที่มีการจัดการเรียนรู้แบบบูรณาการกับ การทำงาน (WIL : Work-integrated Learning) ซึ่งหลักสูตร ของคณะวิทยาการจัดการที่มีการจัดการเรียนรู้แบบบูรณาการ กับการทำงานเป็นไปตามการประกันคุณภาพ ของมหาวิทยาลัย ราชภัฏเลย ดังนี้ 5.1.1(1) คำสั่งแต่งตั้ง เรื่องคณะกรรมการดำเนินงานการจัดการ เรียนรู้แบบบูรณาการกับการทำงาน ปี การศึกษา 2565 คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏเลย 5.1.1(2) ระบบและกลไกการจัดทำ แผนการเรียนรู้แบบบูรณาการกับการ ทำงาน 5.1.1(3) แผนการจัดการเรียนการ สอนเชิงบูรณาการกับการทำงาน


ข้อ เกณฑ์การประเมิน ผลด าเนินงาน เอกสารหลักฐาน นอกจากนั้นคณะ ได้ตระหนักถึงความสำคัญในการผลิต บัณฑิตให้มีคุณภาพคุณธรรม มีทัศนคติที่ดี เป็นพลเมืองดีใน สังคมและมีสมรรถนะตามความต้องการของผู้ใช้บัณฑิต โดยมี จุดเน้นสำคัญมุ่งไปที่การพัฒนาหลักสูตรที่ได้ปรับกระบวนการ จัดการเรียนรู้ที่เน้นการพัฒนาผู้เรียนแบบบูรณาการกับการ ทำงานหรือเสริมสร้างทักษะและจิตสำนึกในการพัฒนาท้องถิ่น การพัฒนาหลักสูตรการจัดการเรียนการสอนเชิงบูรณาการกับ การทำงาน (Work Integrated Learning : WIL เป็นการนำไปสู่ การเปลี่ยนแปลงการผลิตบัณฑิต ให้บัณฑิตมีความสามารถใน การคิดวิเคราะห์ มีความรู้ความสามารถ ทางด้านเทคโนโลยี สามารถนำไปปฏิบัติงานได้จริงอย่างมีประสิทธิผล ซึ่งตอบรับ ต่อการขับเคลื่อนนโยบายของประเทศไทย ดังนั้น เพื่อเป็นการพัฒนาหลักสูตรที่มีการจัดการเรียน การสอนแบบบูรณาการกับการทำงาน ให้เป็นไปตามเป้าหมาย และมีประโยชน์โดยตรงต่อบัณฑิตก่อให้เกิดการส่งเสริมพัฒนา งานด้านวิชาการให้มีศักยภาพสอดคล้องกับพันธกิจ ด้านการ ผลิตบัณฑิตคณะ จึงมีความจำเป็นต้องจัดทำแผนการจัดการ เรียนรู้แบบบูรณาการกับการทำงาน คณะวิทยาการจัดการขึ้น โดยมีระบบและกลไกให้หลักสูตรจัดทำแผนจัดการเรียนรู้แบบ บูรณาการกับการทำงาน [เอกสาร 5.1.1(2)] ดังนี้ ขั้น ตอน กิจกรรม เวลา ด าเนินการ ผู้รับผิด ชอบ ก่อนการด าเนินงาน 1. สาขาวิชาขออนุมัติ มหาวิทยาลัยในการจัดการ เรียนการสอนแบบบูรณาการ การเรียนกับการทำงาน (WIL) ระดับหลักสูตร ก่อนเปิดภาค การศึกษา สาขาวิชา 2. สาขาวิชาจัดหาสถาน ประกอบการ สำหรับให้ นักศึกษาปฏิบัติงาน - ตำแหน่งงาน - ลักษณะงาน - ทักษะความสามารถของ นักศึกษาในการปฏิบัติงาน ก่อนนักศึกษา ออก ปฏิบัติงาน 3 เดือน สาขาวิชา และศูนย์ สหกิจ ศึกษา บูรณาการ ทำงาน 3. จัดส่งหนังสือขอความ อนุเคราะห์ให้นักศึกษาเข้ารับ การฝึกปฏิบัติงาน หลังจากได้ สถานประกอบ การและ ตำแหน่งงาน ภายใน 15 วัน สาขาวิชา


ข้อ เกณฑ์การประเมิน ผลด าเนินงาน เอกสารหลักฐาน 4. จัดส่งหนังสือส่งตัวนักศึกษา เข้ารับการฝึกปฏิบัติงาน ก่อนนักศึกษา ออกออก ปฏิบัติงาน 1 เดือน สาขาวิชา 5. สาขาวิชาจัดอบรมทักษะที่ จำเป็นแก่นักศึกษา - อบรมเสริมทักษะก่อนออก ปฏิบัติงาน ตลอดภาค การศึกษาที่ 2 (ระยะเวลา ตามปฏิทิน การศึกษา) สาขาวิชา และศูนย์ สหกิจ ศึกษา บูรณาการ ทำงาน 6. ดำเนินการด้านเอกสารต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง - หนังสือส่งตัวนักศึกษา - หนังสือขออนุญาตผู้ปกครอง (เฉพาะกรณีนักศึกษาไป ปฏิบัติงานต่างจังหวัด) ก่อนวัน เดินทาง 1 เดือน สาขาวิชา และศูนย์ สหกิจ ศึกษา บูรณาการ ทำงาน 7. ปฐมนิเทศก่อนออกปฏิบัติงาน ก่อนนักศึกษา ออกปฏิบัติงาน 15 วัน สาขาวิชา ระหว่างการด าเนินงาน 8. นักศึกษาฝึกทักษะภาคปฏิบัติ ในสถานประกอบการ ภาคการศึกษา ฤดูร้อน (ระยะเวลา ตามปฏิทิน การศึกษา) สาขาวิชา 9. อาจารย์ที่ปรึกษา ออกนิเทศ การปฏิบัติงาน ภาคการศึกษา ฤดูร้อน (ระยะเวลา ตามปฏิทิน การศึกษา) สาขาวิชา หลังการด าเนินงาน 10. นักศึกษาส่งเล่มรายงานการ ปฏิบัติงาน ภายใน 15 วัน หลังจาก ปฏิทินงาน สาขาวิชา 11. สัมมนาหลังปฏิบัติงาน ภายใน 30 วัน หลังจาก ปฏิทินงาน สาขาวิชา และศูนย์ สหกิจ ศึกษา บูรณาการ ทำงาน 12. ติดตามผลการดำเนินงานของ สาขาวิชา ภายใน 15 วัน หลังจาก ปฏิทินงาน สาขาวิชา และศูนย์ สหกิจ


ข้อ เกณฑ์การประเมิน ผลด าเนินงาน เอกสารหลักฐาน ศึกษา บูรณาการ ทำงาน 2 มีการกำกับติดตามให้หลักสูตร ดำเนินการตามแผนการจัดการ เรียนรู้แบบบูรณาการกับการ ทำงานตามที่กำหนด ค ณ ะ ฯ ม อ บ ห ม า ย ใ ห ้ ร อ ง ค ณ บ ด ี ฝ ่ า ย ว ิ ช า ก า ร แ ล ะ ว ิ จ ั ย เป็นผู้การกำกับ ติดตามให้แต่ละสาขามีการปรับปรุงหลักสูตร และมุ่งเน้นแผนการจัดการ เรียนรู้แบบบูรณาการกับการทำงาน โดยได้จัดทำแผนร่วมกันในแต่ละสาขาวิชา ดังนี้ 1. มีจัดการเรียนสลับกับการทำงาน เป็นหลักสูตรร่วมมหาวิทยาลัยและอุตสาหกรรม และพนักงาน จำนวน 2 หลักสูตร คือ หลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการ ธุรกิจการค้าสมัยใหม่ และหลักสูตรนิเทศศาสตรบัณฑิต สาขาวิชานิเทศศาสตร์ดิจิทัล สาขา ผลการด าเนินงาน สาขาวิชาการจัดการ ธุรกิจการค้าสมัยใหม่ มีจัดการเรียนสลับกับการทำงาน เป็นหลักสูตรร่วมผลิต กับบริษัท ซีพีออลล์ จำกัด(มหาชน) โดยการจัดการ เรียนการสอนแบ่งนักศึกษาออกเป็น จำนวน 2 กลุ่ม คือ กลุ่ม A และกลุ่ม B โดยมีการส่งนักศึกษากลุ่ม A ฝึก ปฏิบัติในสถานประกอบการที่ทำความร่วมมือกับบริษัท และมีการสลับกลุ่มในการจัดการเรียนการสอน ระหว่าง เวลา 3 เดือน (ฝึกปฏิบัติ 3 เดือน เรียน 3 เดือน) จนกระทั่งสำเร็จการศึกษา ซึ่งจะมีปฏิทิน การศึกษาที่ชัดเจน ปีการศึกษา 2565 กลุ่ม A เริ่มฝึกปฏิบัติ 1 มิ.ย. 2565 - 29 ส.ค. 2565 และ กลุ่ม B เริ่มฝึก 5 ก.ย. 2565 – 25 พ.ย. 2565 สาขาวิชา นิเทศศาสตร์ดิจิทัล มีจัดการเรียนสลับกับการทำงาน เป็นหลักสูตรร่วมผลิต กับบริษัท สถานประกอบการ โดยการจัดการเรียนการ สอนจะส่งนักศึกษาไปปฏิบัติงานในสถานประกอบการ จำนวน 1 ภาคเรียน โดยมีตำแหน่งงานที่ชัดเจน และ ดำเนินการตามปฏิทินการศึกษาต่อภาคเรียน ปีการศึกษา 2565 เริ่มส่งนักศึกษาออกปฏิบัติงาน วันที่ 7 พ.ย. 2565 ถึง 3 มี.ค. 2566 2. มีการจัดการเรียนการสอนแบบสหกิจศึกษา และ ฝึกประสบการณ์ วิชาชีพ จำนวน 7 หลักสูตร คือ หลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการ หลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการโลจิสติกส์และซัพพลายเชน หลักสูตร บริหารธุรกิจบัณฑิต สาขาวิชาการตลาดดิจิทัล หลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต สาขาวิชา คอมพิวเตอร์ธุรกิจดิจิทัล หลักสูตรบัญชีบัณฑิต สาขาวิชาการบัญชี หลักสูตร เศรษฐศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาเศรษฐศาสตร์ และหลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชา การท่องเที่ยวและการโรงแรม ปีการศึกษา 2565 เริ่มส่งนักศึกษาออกฝึกสหกิจศึกษา/ฝึกประสบการณ์วิชาชีพ วันที่ 7 พ.ย. 2565 ถึง 3 มี.ค. 2566 การกำกับติดตามให้หลักสูตรดำเนินการตามแผนการ จัดการเรียนรู้แบบบูรณาการกับการทำงาน ดังนี้ สาขา ผลการด าเนินงาน สาขาวิชาการจัดการ นักศึกษาฝึกสหกิจศึกษา จำนวน 6 คนและฝึก ประสบการณ์วิชาชีพ จำนวน 51 คน สาขาวิชาการจัดการโล จิสติกส์และซัพพลาย เชน นักศึกษาฝึกสหกิจศึกษา จำนวน 36 คน และฝึก ประสบการณ์วิชาชีพ จำนวน 20 คน 5.1.2(1) คำสั่งแต่งตั้ง คณะกรรมการดำเนินงาน ฝึกประสบการณ์วิชาชีพ นักศึกษาคณะ วิทยาการจัดการ 5.1.2(2) คำสั่งแต่งตั้ง คณะกรรมการศูนย์สหกิจศึกษา


ข้อ เกณฑ์การประเมิน ผลด าเนินงาน เอกสารหลักฐาน สาขาวิชาการตลาด ดิจิทัล นักศึกษาฝึกสหกิจศึกษา จำนวน 6 คนและฝึก ประสบการณ์วิชาชีพ จำนวน 8 คน สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ ธุรกิจดิจิทัล นักศึกษาฝึกสหกิจศึกษา จำนวน 5คนและฝึก ประสบการณ์วิชาชีพ จำนวน 15 คน สาขาวิชาการจัดการ ธุรกิจการค้าสมัยใหม่ นักศึกษาฝึกสหกิจศึกษา จำนวน 61 คน สาขาวิชาการบัญชี นักศึกษาฝึกสหกิจศึกษา จำนวน 11 คนและฝึก ประสบการณ์วิชาชีพ จำนวน 85 คน สาขาวิชาเศรษฐศาสตร์ ฝึกประสบการณ์วิชาชีพ จำนวน 12 คน สาขาวิชาการท่องเที่ยว และการโรงแรม นักศึกษาฝึกสหกิจศึกษา จำนวน 24 คนและฝึก ประสบการณ์วิชาชีพ จำนวน 3 คน สาขาวิชานิเทศศาตร์ ดิจิทัล นักศึกษาฝึกสหกิจศึกษา จำนวน 12 คนและฝึก ประสบการณ์วิชาชีพ จำนวน 10 คน คณะได้มอบหมายให้สาขาดำเนินการกำหนดวันออกนิเทศนักศึกษาอย่างน้อย 1 ครั้ง พร้อมรายงานการนิเทศนักศึกษาเสนอที่ประชุมคณะกรรมการวิชาการคณะวิทยาการ จัดการ 3 มีการกำกับติดตามให้ หลักสูตรประเมินความสำเร็จ ตามวัตถุประสงค์ของแผนที่ กำหนด คณะได้มีการกำกับติดตามให้หลักสูตรประเมิน ความสำเร็จตามวัตถุประสงค์ของแผนที่กำหนด ดังนี้ วัตถุประสงค์ของการจัดท าแผน การด าเนินการ 1.เพื่อให้นักศึกษาเกิดการพัฒนาทักษะทาง วิชาชีพและทางสังคม อย่างมีระบบตรง ตามความต้องการของสถานประกอบการ นักศึกษาได้รับการพัฒนาทักษะทาง วิชาชีพและทางสังคม มีรูปแบบการ บูรณาการ 3 รูปแบบ คือ การเรียนสลับกับการ ทำงาน จำนวน 15 คน สหกิจ ศึกษา จำนวน 50 คน และ การฝึกปฏิบัติงานวิชาชีพ จำนวน 120 คน 2.เพื่อให้เกิดการประสานความร่วมมือทาง วิชาการระหว่างมหาวิทยาลัยกับสถาน ประกอบการในการพัฒนาคุณภาพบัณฑิต พัฒนาปรับปรุงหลักสูตร การวิจัยและ นวัตกรรมในอนาคต อย่างมีมาตรฐานและ ตรงตามความต้องการของสถาน ประกอบการ ได้มีการประสานความร่วมมือทาง วิชาการระหว่างมหาวิทยาลัยกับ สถานประกอบการ จำนวน 76 แห่ง 3.เพื่อให้นักศึกษาได้รับประสบการณ์จริงใน ภาคปฏิบัติ การปรับตัวเข้ากับสังคมการ ทำงานในสถานประกอบการ ทั้งด้าน บุคลิกภาพและหน้าที่ความรับผิดชอบ รวมถึงสามารถคิดค้นวิธีแก้ไขปัญหาได้ อย่างเป็นระบบ นักศึกษาได้เข้าฝึกประสบการณ์จริง ในภาคปฏิบัติตรงตามความต้องการ ของนักศึกษาและสถาน ประกอบการ 4.สร้างความสัมพันธ์ระหว่างมหาวิทยาลัย กับสถานประกอบการ ผ่านนักศึกษาและ อาจารย์เพื่อนำไปสู่ความร่วมมือที่ขยาย กว้างขวางยิ่งขึ้น อาจารย์และนักศึกษาได้สร้าง ความสัมพันธ์ระหว่างมหาวิทยาลัย กับสถานประกอบการ โดยผ่านการ นิเทศนักศึกษา 5.1.3(1) รายงานผลการจัดการ เรียนรู้แบบบูรณาการกับการทำงาน (Work Integrated Learning : WIL)


ข้อ เกณฑ์การประเมิน ผลด าเนินงาน เอกสารหลักฐาน 5.เพื่อให้มีการพัฒนาหลักสูตรและการ จัดการเรียนการสอนในสถาบันการศึกษาที่ ทันสมัยได้มาตรฐาน และตอบสนองกับ ความต้องการของสถานประกอบการและ ตลาดแรงงาน เมื่อนักศึกษาผ่านการฝึก ประสบการณ์วิชาชีพ/ภาคปฏิบัติ คณะจะมีการจัดทำแบบสอบถาม เพื่อเป็นการพัฒนานักศึกษา หลักสูตร และการจัดการเรียนการ สอนให้ตรงกับความต้องการของ สถานประกอบการ ซึ่งคณะได้รับ แบบสอบถามกลับคืนมา 100% นอกจากนี้คณะกรรมการฯ ได้มีการประชุมกำกับติดตาม การดำเนินงาน เพื่อประเมินความสำเร็จตามแผน [เอกสาร 5.1.3(2)] ดังนี้ ตัวชี้วัดตามแผนงาน ค่า เป้าหมาย 1.จำนวนครั้งในการอบรมเพื่อเตรียมความพร้อมให้ สอดคล้องกับสถานประกอบการ อย่างน้อย 30 ชั่วโมง 3 ครั้ง 2.จำนวนของสถานประกอบการการจัดการเรียนรู้แบบ บูรณาการ 9 สถาน ประกอบ 3.จำนวนหลักสูตรที่มีการปรับปรุงและพัฒนาการจัดการ เรียนรู้แบบบูรณาการกับการทำงาน 8 หลักสูตร 4.จำนวนของนักศึกษาลงทะเบียนฯ การจัดการเรียนรู้แบบ บูรณาการ 5 คน 5.จำนวนอาจารย์จัดทำหลักสูตรการจัดการเรียนรู้แบบ บูรณาการ 3 คน 6.ร้อยละของนักศึกษาที่ได้งานทำหลังจากเสร็จสิ้นการ จัดการเรียนรู้แบบบูรณาการ ร้อยละ 10 7.จำนวนผลงานหรือนวัตกรรมที่เกิดจากการจัดการเรียนรู้ แบบบูรณาการในสถานประกอบการ 1 ผลงาน/ หลักสูตร ความสำเร็จของแผนตามตัวชี้วัด มีรายละเอียด ดังนี้ 1. จำนวนครั้งในการอบรมเพื่อเตรียมความพร้อมให้ สอดคล้องกับสถานประกอบการ อย่างน้อย 30 ชั่วโมง โดยคณะได้จัดโครงการเตรียมความพร้อมนักศึกษาก่อนฝึก ปฏิบัติงานสหกิจศึกษา ภายใต้โครงการพัฒนาศักยภาพ นักศึกษาสหกิจศึกษาและพัฒนาหลักสูตรด้วยการศึกษาเชิง บ ู ร ณ า ก า รก ั บ ก า ร ท ำ ง า น ( Cooperative and Work Integrated Education : CWIE) คณะวิทยาการจัดการระหว่าง วันที่ 14-15 และ 21-22 สิงหาคม 2565 ในหัวข้อ - ระเบียบงานสารบรรณ - การพิมพ์หนังสือราชการด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์ - เทคนิคการเขียนหนังสือติดต่อราชการ - การรับโทรศัพท์ในสำนักงาน


ข้อ เกณฑ์การประเมิน ผลด าเนินงาน เอกสารหลักฐาน - เรื่องที่ควรรู้ทั่ว ๆ ไปเกี่ยวกับการฝึกประสบการณ์ วิชาชีพในสถานประกอบการ - นักศึกษาสหกิจศึกษาที่พึงประสงค์ของสถาน ประกอบการ ได้ดำเนินการบรรลุผลตามตัวชี้วัด คือ ได้อบรม 3 ครั้ง รวมอย่างน้อย 30 ชั่วโมง 2. จำนวนของสถานประกอบการการจัดการเรียนรู้แบบ บูรณาการ โดยปีการศึกษา 2565 มีจำนวนสถานประกอบการ เพิ่มขึ้น 5 แห่ง ดังนั้น ปีการศึกษา 2565 มีสถานประกอบการ รวมทั้งสิ้น 76 แห่ง ซึ่งบรรลุตามตัวชี้วัด 2. จำนวนหลักสูตรที่มีการปรับปรุงและพัฒนาการจัดการ เรียนรู้แบบบูรณาการกับการทำงาน ทั้งหมด 8 สาขาวิชา ได้แก่ สาขาวิชาการบัญชี สาขาวิชาการตลาดดิจิทัล สาขาวิชาการ จัดการ สาขาวิชาการจัดการโลจิสติกส์และซัพพลายเชน สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจดิจิทัล สาขาวิชาเศรษฐศาสตร์และ สาขาวิชาการท่องเที่ยวและการโรงแรม เป็นการจัดการเรียนรู้ แบบบูรณาการกับการทำงาน รูปแบบสหกิจศึกษา ส่วน สาขาวิชาการจัดการธุรกิจการค้าสมัยใหม่ และสาขาวิชานิเทศ ศาสตร์ เป็นการจัดการเรียนรู้แบบบูรณาการกับการทำงาน รูปแบบการเรียนสลับการทำงาน ซึ่งบรรลุตามตัวชี้วัด 4. จำนวนของนักศึกษาลงทะเบียนฯ การจัดการเรียนรู้ แบบบูรณาการ ปีการศึกษา 2565 ดังนี้ ที่ สาขาวิชา จ านวน (คน) 1 สาขาวิชาการจัดการ 6 2 สาขาวิชาการบัญชี 11 3 สาขาวิชาการตลาดดิจิทัล 5 4 สาขาวิชาการจัดการโลจิสติกส์และซัพพลาย 6 5 สาขาวิชาการจัดการธุรกิจการค้าสมัยใหม่ 36 6 สาขาวิชาการท่องเที่ยวและการโรงแรม 61 7 สาขาวิชาเศรษฐศาสตร์ - 8 สาขาวิชานิเทศศาสตร์ดิจิทัล 12 รวม 161 5. จำนวนอาจารย์จัดทำหลักสูตรการจัดการเรียนรู้แบบ บูรณาการ ในปีการศึกษา 2565 ได้ทำการปรับปรุงหลักสูตร และรับนักศึกษาปีการศึกษา 2565 คือ สาขาวิชาคอมพิวเตอร์


ข้อ เกณฑ์การประเมิน ผลด าเนินงาน เอกสารหลักฐาน ธุรกิจดิจิทัล โดยมีอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรใน มคอ.2 จำนวน 5 คน และอาจารย์ประจำหลักสูตร จำนวน 2 คน ซึ่งบรรลุตามตัวชี้วัด 6. ร้อยละของนักศึกษาที่ได้งานทำ หลังสำเร็จการศึกษา แบบการจัดการเรียนรู้แบบบูรณาการ ที่ สาขาวิชา ปี 2565 (คน) ท างาน ใน หน่วย งาน (คน) ประกอบ อาชีพ อิสระ (คน) 1 สาขาวิชาการบัญชี 11 11 - 2 สาขาวิชาการจัดการ 6 5 1 3 สาขาวิชาการตลาด 6 4 2 4 สาขาวิชาการจัดการโลจิส ติกส์และซัพ พลายเชน 36 32 4 5 สาขาวิชาการจัดการธุรกิจการค้าสมัยใหม่ 61 59 2 6 สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจดิจิทัล 5 5 - 7 สาขาวืชานิเทศศาสตร์ดิจิทัล 12 10 2 8 สาขาวิชาการท่องเที่ยวและการโรงแรม 24 24 - รวม 161 150 11 คิดเป็นร้อยละ 50.00 46.58 3.42 7. จำนวนผลงานหรือนวัตกรรมที่เกิดจากการจัดการ เรียนรู้แบบบูรณาการในสถานประกอบการ ในปีการศึกษา 2565 มีนักศึกษาจัดการเรียนรู้แบบบูรณาการในสถาน ประกอบการ 20 แห่ง และร่วมสร้างผลงานให้กับสถาน ประกอบการ 20 ผลงาน ซึ่งบรรลุตามตัวชี้วัด คณะจะทำการติดตามผลและสรุปผลการดำเนินงานทุกปี การศึกษา นำเข้าที่ประชุมคณะกรรมการวิชาการคณะวิทยาการ จัดการ เพื่อนำไปเป็นแผนในปีการศึกษาต่อไป 4 มีการนำผลไปปรับปรุง แผนการจัดการหลักสูตรและ การจัดการเรียนรู้อย่าง ต่อเนื่อง ในปีการศึกษา 2565 ได้มีการจัดการเรียนรู้แบบบูรณา การในรูปแบบสหกิจศึกษา 9 สาขาวิชา โดยคณะกรรมการ วิชาการของคณะเห็นว่าควรมีรูปแบบบูรณาการการจัดการ เรียนรู้เพิ่มมากขึ้นจากเดิม เป็น 7 รูปแบบ จึงมีมติปรับปรุง หลักสูตรในปีการศึกษา 2565 โดยการจัดการเรียนรู้แบบบูรณา การ มีทั้งหมด 7 รูปแบบ [เอกสาร 5.1.4(1)] ดังนี้ 1. สหกิจศึกษา 2. หลักสูตรร่วมมหาวิทยาลัยและอุตสาหกรรม 3. พนักงานฝึกหัดใหม่ หรือพนักงานฝึกงาน 4. การเรียนสลับกับการทำงาน 5. การปฏิบัติงานภาคสนาม 5.1.4(1) รายงานผลการจัดการ เรียนรู้แบบบูรณาการกับการทำงาน (Work Integrated Learning : WIL)


ข้อ เกณฑ์การประเมิน ผลด าเนินงาน เอกสารหลักฐาน 6. การกำหนดประสบการณ์ก่อนการศึกษา 7. ฝึกเฉพาะตำแหน่ง ตัวชี้วัดตามแผนงาน การปรับปรุงแผน 1.จำนวนครั้งในการอบรมเพื่อ เตรียมความพร้อมให้สอดคล้อง กับสถานประกอบการ อย่าง น้อย 30 ชั่วโมง กำหนดกิจกรรมให้ความรู้ในด้าน ทักษะการใช้เครื่องมือด้านดิจิทัล 2.จำนวนของสถาน ประกอบการการจัดการเรียนรู้ แบบบูรณาการ สาขาวิชามีส่วนร่วมในการสร้าง ความร่วมมือกับสถานประกอบการ เพิ่มมากขึ้น 3.จำนวนหลักสูตรที่มีการ ปรับปรุงและพัฒนาการจัดการ เรียนรู้แบบบูรณาการกับการ ทำงาน ส่งเสริมทุกหลักสูตรจะต้องจัดการ เรียนรู้แบบบูรณาการเต็มรูปแบบ 4.จำนวนของนักศึกษา ลงทะเบียนฯ การจัดการเรียนรู้ แบบบูรณาการ ผลักดันให้นักศึกษาลงทะเบียนฯ การจัดการเรียนรู้แบบบูรณาการ อย่างน้อยร้อยละ 20 ของนักศึกษา แต่ละสาขา 5.จำนวนอาจารย์จัดทำ หลักสูตรการจัดการเรียนรู้แบบ บูรณาการ ส่งเสริมให้อาจารย์สร้างความ ร่วมมือกับสถานประกอบการใน การจัดทำหลักสูตร และเป็นพี่เลี้ยง ให้กับนักศึกษา 6.ร้อยละของนักศึกษาที่ได้งาน ทำหลังจากเสร็จสิ้นการจัดการ เรียนรู้แบบบูรณาการ ร้อยละการมีงานทำเป็นไปตามตัว บ่งชี้ที่ 2.2 ร้อยละของบัณฑิต ปริญญาตรีที่ได้งานทำหรือประกอบ อาชีพอิสระ ตามเกณฑ์การประกัน คุณภาพการศึกษา 7.จำนวนผลงานหรือนวัตกรรม ที่เกิดจากการจัดการเรียนรู้ แบบบูรณาการในสถาน ประกอบการ ผลักดันให้เกิดนวัตกรรมและการต่อ ยอดองค์ความรู้ ในปีการศึกษา 2565 คณะได้กำหนดเป้าหมายสถาน ประกอบการที่สร้างความร่วมมือเพิ่มขึ้นอย่างน้อย 5 สถาน ประกอบการ และมุ่งเน้นเพิ่มสถานประกอบการที่เป็นองค์กร ระดับประเทศ 5 มีแนวปฏิบัติที่ดีเกี่ยวกับการ จัดการเรียนรู้แบบบูรณาการ กับการทำงาน คณะได้จัดทำแนวปฏิบัติการการจัดการเรียนรู้แบบบูรณา การกับการทำงาน คณะวิทยาการจัดการ โดยทำแนวปฏิบัติ 2 แนวทาง ดังนี้ แนวปฏิบัติ (WIL) รูปแบบแนวปฏิบัติ (WIL) 5.1.5(1) แนวปฏิบัติที่ดีการจัดการ ความรู้


ข้อ เกณฑ์การประเมิน ผลด าเนินงาน เอกสารหลักฐาน 1.จัดทำหลักสูตรหรือพัฒนาหลักสูตรใหม่โดย การวิพากษ์หลักสูตรร่วมกันกับผู้ที่มีส่วนได้ เสีย ตามความต้องการ ความ จำเป็นของหลักสูตรและสถานประกอบการ ร่วมจัดทำหลักสูตร จัดทำหลักสูตรร่วมกับสถาน ประกอบการหรือองค์กรร่วมผลิต ที่ตกลงสร้างความร่วมมือ (MOU) 2.กำหนดรูปแบบด้านการจัดการเรียนการ สอน กำหนดวันปฏิบัติการตามเงื่อนไข ในแต่ภาคเรียน 3.กำหนดคุณสมบัติผู้เรียนที่เข้าร่วม ปฏิบัติการจัดการเรียนรู้แบบบูรณาการกับ การทำงาน คัดเลือก สัมภาษณ์ ร่วมกับสถาน ประกอบการ คัดเลือก/สัมภาษณ์ ร่วมกับสถาน ประกอบการ 4.สาขาวิชาและสถานประกอบการจัดทำ ระบบการประเมินผลการปฏิบัติงานอย่าง ชัดเจน คู่มือประเมินผล 5.ปฐมนิเทศนักศึกษาก่อนเข้าร่วมปฏิบัติงาน การจัดการเรียนรู้แบบบูรณาการกับการ ทำงาน โครงการปฐมนิเทศ 6.ส่งตัวนักศึกษาเข้าร่วมปฏิบัติงานการ จัดการเรียนรู้แบบบูรณาการกับการทำงาน และอาจารย์ติดตาม นิเทศผลการปฏิบัติงาน เป็นระยะตามแผนงาน ส่งตัวออกฝึกตามวัน เวลาที่ กำหนดและแผนการนิเทศ ประเมินผล 7.อาจารย์และสถานประกอบการเข้าร่วม ประเมินผลการให้คะแนนในรายวิชา ส่งรายงาน/นำเสนอปัญหา ประเมินผลร่วมกัน 8.อาจารย์และสถานประกอบการร่วม ประเมินแนวปฏิบัติปฏิบัติการจัดการเรียนรู้ แบบบูรณาการกับการทำงานเพื่อหาแนวทาง พัฒนาในครั้งต่อไป ประชุม ติดตาม แลกเปลี่ยน ปัญหาร่วมกัน ซึ่งคณะได้มีหลักสูตรนำร่อง ในการจัดการเรียนรู้แบบบูรณาการกับการทำงาน อย่างต่อเนื่อง คือ สาขาวิชาการจัดการธุรกิจการค้าสมัยใหม่ เป็นหลักสูตรที่ร่วมผลิต บัณฑิตกับบริษัท ซีพี ออลล์ จำกัด (มหาชน) [เอกสาร 5.1.5(1)] การประเมินตนเอง เป้าหมาย ผลการด าเนินงาน คะแนนการประเมินตนเอง บรรลุเป้าหมาย บรรลุ ไม่บรรลุ 5 ข้อ 5 ข้อ 5 คะแนน


ตัวบ่งชี้ 5.2 : การบริหารของคณะเพื่อการกำกับติดตามผลลัพธ์ตามพันธกิจกลุ่มสถาบัน และเอกลักษณ์ของคณะ ประเภทของตัวบ่งชี้ : กระบวนการ การเก็บข้อมูล : ปีการศึกษา 2565 (1 มิถุนายน 2565 – 31 พฤษภาคม 2566) หน่วยงานที่รับผิดชอบหลัก : ฝ่ายพัฒนานักศึกษาและประกันคุณภาพ คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏเลย ผลการด าเนินงาน : ในรอบปีการศึกษา 2565 คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏเลย ได้ดำเนินงานด้านการบริหารของ คณะเพื่อการกำกับติดตามผลลัพธ์ตามพันธกิจกลุ่มสถาบัน และเอกลักษณ์ของคณะโดยมีผลการดำเนินงานตามเกณฑ์ มาตรฐาน สกอ. ดังนี้ ข้อ เกณฑ์การประเมิน ผลด าเนินงาน เอกสารหลักฐาน 1 พัฒนาแผนปฏิบัติราชการ ระยะ 3 ปี จากผลการ วิเคราะห์ SWOT โดย เชื่อมโยงกับวิสัยทัศน์ของ คณะ และสอดคล้องกับ วิสัยทัศน์ของคณะ สถาบัน รวมทั้งสอดคล้องกับกลุ่ม สถาบัน และเอกลักษณ์ของ คณะและพัฒนาไปสู่แผนกล ยุทธ์ทางการเงิน และ แผนปฏิบัติราชการรายปี ตามกรอบเวลาเพื่อให้ บรรลุผลตามตัวบ่งชี้และ เป้าหมายของแผนปฏิบัติ ราชการระยะ 3 ปี และ เสนอผู้บริหารระดับสถาบัน เพื่อพิจารณาอนุมัติ คณะวิทยาการจัดการได้พัฒนาแผนยุทธศาสตร์ คณะวิทยาการจัดการ (พ.ศ.2561 – 2565) [เอกสาร 5.2.1(1)] โดยได้ทบทวนและปรับปรุงแผนยุทธศาสตร์ ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2565 ให้สอดคล้องกับแผนยุทธศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏเลยระยะ 5 ปี (พ.ศ.2561-2565) ภายใต้ยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัยราชภัฏเพื่อการพัฒนาท้องถิ่นระยะ 20 ปี (พ.ศ.2560-2579) [เอกสาร 5.2.1(2)] ภายใต้การมีส่วนร่วมของผู้บริหาร คณาจารย์ บุคลากร นักศึกษา และผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง ร่วมกันวิเคราะห์ SWOT นำมาสู่การจัดทำแผน ยุทธศาสตร์ที่สอดคล้องกับวิสัยทัศน์ของคณะและมหาวิทยาลัย มีการแต่งตั้งคณะกรรมการ จัดทำแผนยุทธศาสตร์คณะวิทยาการจัดการ [เอกสาร 5.2.1(3)] นำไปสู่การจัดทำ แผนปฏิบัติราชการประจำปี แผนกลยุทธ์ทางการเงิน แผนบริการวิชาการ และแผนพัฒนา นักศึกษา ให้มีความสอดคล้องกับแผนยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัยราชภัฏเลย ระยะ 5 ปี (พ.ศ. 2561-2565) [เอกสาร 5.2.1(4)] คณะได้ดำเนินการจัดทำแผนตามเกณฑ์งานประกัน คุณภาพและมาตรฐานการศึกษา ที่ได้รับความเห็นชอบจากที่ประชุมสภามหาวิทยาลัยราช ภัฏเลย ในคราวประชุมครั้งที่ 8/2565วันที่ 21 กันยายน 2565 คณะได้จัดทำแผน ท ั ้ ง ห ม ด 13 แผน ดังนี้ 1. แผนการจัดการกิจกรรมพัฒนานักศึกษา ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 ปีการศึกษา พ.ศ. 2565[เอกสาร 5.2.1(5)] 2. แผนพัฒนานักศึกษาด้านภาษาอังกฤษ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 ปีการศึกษา พ.ศ. 2565 [เอกสาร 5.2.1(6)] 3 . แ ผ น พ ั ฒ น า น ั ก ศ ึ ก ษ า ด ้ า น ด ิ จ ิ ท ั ล ป ร ะ จ ำ ป ี ง บ ป ร ะ ม า ณ พ.ศ. 2566 ปีการศึกษา พ.ศ. 2565 [เอกสาร 5.2.1(7)] 4. แผนบริการวิชาการเพื่อการพัฒนาท้องถิ่น ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 ปี การศึกษา 2565 [เอกสาร 5.2.1(8)] 5. แผนเสริมสร้างความสัมพันธ์กับชุมชน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 ปีการศึกษา พ.ศ. 2565 [เอกสาร 5.2.1(9)] 6 . แ ผ น ด ้ า น ศ ิ ล ป ะ แ ล ะ ค ว า ม เ ป ็ น ไ ท ย ป ร ะ จ ำ ป ี ง บ ป ร ะ ม า ณ พ.ศ. 2566 ปีการศึกษา พ.ศ. 2565 [เอกสาร 5.2.1(10)] 7. แผนการจัดการเรียนรู้แบบบูรณาการกับการทำงาน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 ปีการศึกษา 2566 [เอกสาร 5.2.1(11)] 8 . แ ผ น ก ล ย ุ ท ธ ์ ป ร ะ จ ำ ป ี ง บ ป ร ะ ม า ณ พ . ศ . 2 5 6 6 ปีการศึกษา 2566 [เอกสาร 5.2.1(12)] 5.2.1(1) แผนปฏิบัติราชการ ระยะ 5 ปี(พ.ศ.2566 – 2570) คณะวิทยาการ จัดการ 5.2.1(2) แผนยุทธศาสตร์ เพื่อการพัฒนาท้องถิ่นระยะ 20 ปี (พ.ศ. 2560-2579) 5.2.1(3) คำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการ จัดทำแผนยุทธศาสตร์ คณะวิทยาการ จัดการ 5.2.1(4) แผนปฏิบัติราชการ ระยะ 5 ปี(พ.ศ.2566 – 2570) คณะวิทยาการ จัดการ 5.2.1(5) แผนการจัดการกิจกรรม พัฒนานักศึกษา ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 ปีการศึกษา 2565 5.2.1(6) แผนพัฒนานักศึกษาด้าน ภาษาอังกฤษ ประจำปีงบประมาณ 2566 ปีการศึกษา 2565 5.2.1(7) แผนพัฒนานักศึกษาด้าน ดิจิทัล ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 ปี การศึกษา 2565 5.2.1(8) แผนบริการวิชาการเพื่อการ พัฒนาท้องถิ่น ประจำปีงบประมาณ 2566 ปีการศึกษา 2565 5.2.1(9) แผนเสริมสร้างความสัมพันธ์ กับชุมชน ประจำปีงบประมาณ 2566 ปี การศึกษา 2565 5.2.1(10) แผนด้านศิลปะและความ เป็นไทย ประจำปีประจำปีงบประมาณ 2566 ปีการศึกษา 2565 5.2.1(11) แผนการจัดการเรียนรู้แบบ บูรณาการกับการทำงาน ประจำปี งบประมาณ 2566 ปีการศึกษา 2565


ข้อ เกณฑ์การประเมิน ผลด าเนินงาน เอกสารหลักฐาน 9 . แ ผ น ก ล ย ุ ท ธ ์ ท า ง ก า ร เ ง ิ น ป ร ะ จ ำ ป ี ง บ ป ร ะ ม า ณ พ . ศ . 2 5 6 6 ปีการศึกษา 2566 [เอกสาร 5.2.1(13)] 10. แผนปฏิบัติการประจำปี ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 ปีการศึกษา 2566 [เอกสาร 5.2.1(14)] 1 1 . แ ผ น บ ร ิ ห า ร ค ว า ม เ ส ี ่ ย ง ป ร ะ จ ำ ป ี ง บ ป ร ะ ม า ณ พ . ศ . 2 5 6 6 ปีการศึกษา 2566 [เอกสาร 5.2.1(15)] 1 2 . แ ผ น ก า ร จ ั ด ก า ร ค ว า ม ร ู ้ ป ร ะ จ ำ ป ี ง บ ป ร ะ ม า ณ พ . ศ . 2 5 6 6 ปีการศึกษา 2566 [เอกสาร 5.2.1(16)] 13. แผนการบริหารและแผนพัฒนาบุคลากร ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 ปี การศึกษา 2566 [เอกสาร 5.2.1(17)] โดยได้นำแผนทั้งหมด เข้าที่ประชุมคณะกรรมการประจำคณะ ในคราวประชุมครั้งที่ 1/2566 วันที่ 23 กุมภาพันธ์ 2566 [เอกสาร 5.2.1(18)] และนำเข้าที่ประชุม คณะกรรมการบริหารมหาวิทยาลัยราชภัฏเลย ในคราวประชุมครั้งที่ 6/2565 วันพุธที่ 9 เมษายน 2565 เพื่ออนุมัติแผนฯ คณะวิทยาการจัดการได้ดำเนินงานตามแผนยุทธศาสตร์ และจัดกิจกรรมตาม แผนปฏิบัติราชการระยะ 3 ปี (พ.ศ. 2564- 2566) คณะวิทยาการจัดการ [เอกสาร 5.2.1(19)] และได้รายงานผลการดำเนินงานตามภารกิจที่กำหนดไว้ ต่อที่ประชุม คณะกรรมการบริหารมหาวิทยาลัยเป็นประจำทุกเดือนเพื่อนำข้อเสนอแนะจากที่ประชุมมา ดำเนินงานให้มีสำเร็จตามเป้าหมายที่กำหนดไว้ 5.2.1(12) แผนปฏิบัติราชการรายปี ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 5.2.1(13) แผนปฏิบัติราชการทาง การเงิน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 5.2.1(14) แผนปฏิบัติราชการรายปี ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 5.2.1(15) แผนบริหารความเสี่ยง ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 ปี การศึกษา 2565 5.2.1(16) แผนการจัดการความรู้ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 ปี การศึกษา 2565 5.2.1(17) แผนการบริหารและ แผนพัฒนาบุคลากร ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 ปีการศึกษา 2565 5.2.1(18) รายงานการประชุม คณะกรรมการประจำคณะ 1/2566 วันที่ 23 กุมภาพันธ์ 2566 5.2.1(19) แผนปฏิบัติราชการระยะ 5 ปี (พ.ศ. 2566- 2570) คณะวิทยาการจัดการ 2 ดำเนินการวิเคราะห์ข้อมูล ทางการเงินที่ประกอบไป ด้วยต้นทุนต่อหน่วยในแต่ละ หลักสูตร สัดส่วนค่าใช้จ่าย เพื่อพัฒนานักศึกษา อาจารย์ บุคลากร การ จัดการเรียนการสอนอย่าง ต่อเนื่อง เพื่อวิเคราะห์ความ คุ้มค่าของการบริหาร หลักสูตร ประสิทธิภาพ ประสิทธิผลในการผลิต บัณฑิต และโอกาสในการ แข่งขัน ค ณ ะ ว ิ ท ย า ก า ร จ ั ด ก า ร ไ ด ้ ว ิ เ ค ร า ะ ห ์ ข ้ อ ม ู ล ท า ง ก า ร เ ง ิ น ที่ประกอบด้วยต้นทุนต่อหน่วยในแต่ละหลักสูตร โดยแต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินงาน ซึ่งมี ผ ู ้ ร ั บ ผ ิ ด ช อ บ ห ล ั ก ค ื อ ค ณ บ ด ี รองคณบดีฝ่ายพัฒนานักศึกษาและประกันคุณภาพ เจ้าหน้าที่การเงิน เจ้าหน้าที่พัสดุ ร่วมกันวิเคราะห์ต้นทุนต่อหน่วย ประกอบด้วย ข้อมูลพื้นฐานของคณะ ต้นทุนทางตรงและ ต้นทุนทางอ้อมในการผลิตบัณฑิต ต้นทุนต่อหน่วยในแต่ละสาขา ค่าลงทะเบียน และผลการ วิเคราะห์จำนวนนักศึกษา ณ จุดคุ้มทุนการผลิต รองคณบดีฝ่ายพัฒนานักศึกษาและประกันคุณภาพ เจ้าหน้าที่การเงินและพัสดุ ได้นำ ข้อมูลมาวิเคราะห์ต้นทุนต่อหน่วยในการผลิตบัณฑิตแต่ละหลักสูตร พบว่าทุกหลักสูตร มีค่าไม่คุ้มทุนในการผลิตบัณฑิต เนื่องจากมหาวิทยาลัยราชภัฏเลยเป็นสถาบันอุดมศึกษา เพื่อการพัฒนาท้องถิ่นที่ไม่มีจุดมุ่งหมายเพื่อแสวงหาผลกำไร เก็บค่าลงทะเบียนต่อปี การศึกษาแบบเหมาจ่าย และไม่มีการเรียกเก็บค่าใช้จ่ายอื่นอีก อีกทั้งคณะวิทยาการจัดการ ได้เปิดรับนักศึกษา ซึ่งได้นักศึกษาจำนวนไม่เป็นไปตามแผนที่นำเสนอต่อสภามหาวิทยาลัย การผลิตบัณฑิตของคณะวิทยาการจัดการมีต้นทุนต่อหน่วย (คน) ของการผลิตบัณฑิต เ ท ่ า ก ั บ 5 0 , 9 8 0 . 0 1 บ า ท ต ่ อ ค น แ ล ะ ต ้ น ท ุ น ต ่ อ ห น ่ ว ย FTES ของการผลิตบัณฑิต คือ 95,715.23 บาทต่อFTES โดยสาขาวิชาที่มีต้นทุนต่อหน่วย (คน) สูงที่สุด คือ สาขาวิชาเศรษฐศาสตร์ ต้นทุนการผลิตบัณฑิต 182,109.78 บาท ต้นทุนต่อ ห น ่ ว ย FTES ของการผลิตบัณฑิต คือ 515,405.04 บาทต่อFTES และสาขาวิชาที่มีต้นทุนต่อหน่วย (คน) ต่ำที่สุด คือ สาขาวิชาการจัดการ 14,253.00บาทต้นทุนต่อหน่วยFTESของการผลิต บัณฑิต คือ 29,546 บาทต่อ FTES การวิเคราะห์ความคุ้มค่าในการผลิตบัณฑิตคณะวิทยาการจัดการ [เอกสาร 5.2.2(1)] 5.2.2(1) รายงานการวิเคราะห์ ต้นทุนต่อหน่วยและความคุ้มค่า คณะ วิทยาการจัดการ ปีการศึกษา 2565


ข้อ เกณฑ์การประเมิน ผลด าเนินงาน เอกสารหลักฐาน เมื่อพิจารณาจุดคุ้มทุนของการผลิตบัณฑิต โดยใช้ความสัมพันธ์ของ กำไร (Profit) ต้นทุน (Cost) ปริมาณ (Quantity) และรายรับ (Revenue) พบว่า ณ จำนวน ต้นทุน และรายรับที่เกิดขึ้น ณ จุดคุ้มทุนคณะวิทยาการจัดการต้องมีจำนวนนักศึกษาทั้งสิ้น ประมาณ 1,684 คน ซึ่งปัจจุบันคณะวิทยาการจัดการมีจำนวนนักศึกษาจริงรวมทั้งสิ้น 1,260 คน ซึ่งต่ำกว่า จำนวนนักศึกษา ณ จุดคุ้มทุน คิดเป็น ร้อยละ -20.72 คณะมีการวิเคราะห์ความคุ้มค่าของการบริหารหลักสูตร แล้วพบว่า ในปี การศึกษา 2565 เมื่อเปรียบเทียบระหว่างค่าบำรุงการศึกษากับต้นทุนต่อหน่วยของ หลักสูตรทั้ง 10 หลักสูตร พบว่า มีจำนวน 4 สาขาวิชา ที่มีความคุ้มทุน คือ สาขาวิชาการ จัดการ สาขาวิชาการจัดการโลจิสติกส์และซัพพลายเชน สาขาวิชาการท่องเที่ยวและการ โรงแรม และสาขาวิชาการบัญชี ส่วนหลักสูตรอื่น ๆ ยังไม่คุ้มทุน คณะและสาขาวิชาสามารถวิเคราะห์ตัวเลขในมิติอื่นๆ เพื่อแสดงให้เห็นถึงประสิทธิภาพ ของการบริหารจัดการภายในคณะและสาขาวิชามากยิ่งขึ้น เช่น แนวโน้มสัดส่วนจำนวน นักศึกษาที่สำเร็จการศึกษาในแต่ละปีการศึกษา แนวโน้มสัดส่วนจำนวนนักศึกษาใหม่ต่อ จำนวนนักศึกษาทั้งหมด และแนวโน้มสัดส่วนจำนวนนักศึกษาที่มีงานทำต่อจำนวนนักศึกษา ที่สำเร็จการศึกษาในแต่ละปีการศึกษา นอกจากนี้ ภายใต้ข้อจำกัดของข้อมูลที่สามารถ รวบรวมได้ และความเที่ยงตรงของข้อมูล ขึ้นอยู่กับความชัดเจนของการจัดสรรงบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม แต่ละผลผลิตของแต่ละสาขา และคณะ รวมทั้งการจัดเก็บข้อมูลของ หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เพื่อง่ายต่อการให้ข้อมูลในการนำไปวิเคราะห์ การวิเคราะห์ ความคุ้มค่าของหลักสูตรนั้น คณะและสาขาวิชาสามารถเพิ่มการวิเคราะห์ มิติทางด้าน เศรษฐกิจ และสังคม เนื่องจากการผลิตบัณฑิตมีผลกระทบต่อเศรษฐกิจ และสังคมในระยะ ยาว ปีการศึกษา 2565 คณะได้ดำเนินการวิเคราะห์ข้อมูลทางการเงินที่ประกอบด้วยต้นทุน ต่อหน่วยของหลักสูตรในคณะ วิเคราะห์ค่าใช้จ่ายในการพัฒนาด้านนักศึกษา ด้านบุคลากร ด้านการเรียนการสอน เพื่อให้ ผู้บริหารได้เห็นต้นทุนการผลิตบัณฑิต และประสิทธิภาพในการดำเนินงานของคณะ ซึ่ง ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิตต่อจำนวนนักศึกษาเต็มเวลา (FTEF) ของคณะในการจัดการศึกษา เมื่อเปรียบเทียบต้นทุนต่อหน่วยเพื่อการวิเคราะห์ต้นทุนต่อหน่วยในแต่ละหลักสูตรมา วิเคราะห์ความคุ้มค่าของการบริหารหลักสูตร สำหรับปีการศึกษา 2565 สาขาวิชา ต้นทุนต่อหน่วย คน FTES 1. บธ.ม.การจัดการ 297,759.22 13,191,1.05 2. การบัญชี 18,554.94 38,165.92 3. การจัดการ 14,253 29,546.60 4. การตลาดดิจิทัล 50,185.53 95,159.26 5. คอมพิวเตอร์ธุรกิจดิจิทัล 68,421.08 152,747.28 6. การจัดการโลจิสติกส์ฯ 24,485.11 47,492.67 7. การจัดการธุรกิจการค้า สมัยใหม่ 180,105.62 255,260.08 8. เศรษฐศาสตร์ 182,109.78 515,405.04 9. การท่องเที่ยวฯ 33,351.72 51,219.42 10. นิเทศศาสตร์ 98,353.96 127,278.66 ต้นทุนเฉลี่ยต่อหน่วย 967,579.96 1,312,274.93 เมื่อวิเคราะห์ความคุ้มค่าของนักศึกษาในแต่ละหลักสูตร สามารถคำนวณได้ดังนี้ สาขาวิชา จ านวนนักศึกษา


ข้อ เกณฑ์การประเมิน ผลด าเนินงาน เอกสารหลักฐาน ณ จุดคุ้มทุน นศ.มีอยู่ จริง ร้อยละ 1. บธ.ม.การจัดการ 115 11 -90.40 2. การบัญชี 198 339 70.83 3. การจัดการ 105 251 139.22 4. การตลาดดิจิทัล 112 65 -42.15 5. คอมพิวเตอร์ธุรกิจดิจิทัล 280 126 -54.99 6. การจัดการโลจิสติกส์ฯ 127 198 56.47 7. การจัดการธุรกิจการค้า สมัยใหม่ 151 52 -65.67 8. เศรษฐศาสตร์ 129 21 -83.69 9. การท่องเที่ยวฯ 90 104 15.20 10. นิเทศศาสตร์ 135 51 -65.32 รวม 1,327 1,215 จากการวิเคราะห์ต้นทุนต่อหน่วย พบว่า ต้นทุนต่อหน่วยของแต่ละสาขาเพิ่มขึ้น แต่ผล การประเมินคุณภาพการศึกษาภายในระดับหลักสูตรมีผลการประเมินอยู่ในระดับดี และ ระดับดีมาก ทุกหลักสูตร ทั้งนี้ จากการสำรวจภาวะการมีงานของบัณฑิตที่สำเร็จการศึกษา ที่จบการศึกษา ทั้งหมด 414 คน ตอบแบบสำรวจเรื่องการมีงานทำภายใน 1 ปีหลังสำเร็จการศึกษา จำนวน 365 คน คิดเป็นร้อยละ 88.16 โดยมีงานทำภายใน 1 ปี (ไม่นับรวมผู้ที่ประกอบอาชีพ อิสระ) จำนวน 299 คน ซึ่งทำงานข้าราชการ/เจ้าหน้าที่หน่วยงานของรัฐ จำนวน 63 คน รัฐวิสาหกิจ จำนวน 16 คน พนักงานบริษัท/องค์กรเอกชน จำนวน 220 คน ประกอบอาชีพ อิสระ จำนวน 56 คน ศึกษาต่อ 6 คน เกณฑ์ทหาร จำนวน 4 คน ซึ่งเป็นผลเชิงประจักษ์ ด้านประสิทธิภาพประสิทธิผลในการผลิตบัณฑิตของคณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราช ภัฏเลยสร้างโอกาสทางด้านการศึกษา และสร้างคุณภาพบัณฑิตให้เป็นทรัพยากรมนุษย์ รองรับการพัฒนาประเทศ ซึ่งส่งผลให้คณะฯ มีโอกาสในการแข่งขันในด้านการศึกษา เนื่องจากคณะวิทยาการ จัดการ มีหลักสูตรที่หลากหลาย และมีค่าธรรมเนียมและค่าเทอมที่ใกล้เคียงกับสถาบันอื่นที่ อยู่ใกล้ เคียงกัน โดยมีค่าธรรมวิชาชีพปีการศึกษาละ 1,000 บาท และ ค่า เทอมหลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต สาขาการจัดการ สาขาการตลาดดิจิทัล สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจดิจิทัล หลักสูตรบัญชีบัณฑิต และหลักสูตรเศรษฐศาสตรบัณฑิต เทอมละ 8,500 บาท และหลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการโลจิ สติกส์ฯ เทอมละ 10,000 บาท หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาการท่องเที่ยว และการโรงแรม และหลักสูตรนิเทศศาสตรบัณฑิต สาขาวิชานิเทศศาสตร์ดิจิทัลเทอมละ 12,000 บาท เมื่อเปรียบเทียบกับสถาบันอื่นที่ใกล้เคียงจะมีบางสาขามีค่าเทอมราคาต่ำกว่า สถาบันใกล้เคียงและ บางสาขาที่มีความเทอมสูงกว่าสถาบันใกล้เคียง สำหรับ หลักสูตรที่มีค่าเทอมสูงกว่าเนื่องจากคณะวิทยาการจัดการได้มีการจัดทำบันทึกความร่วมมือ กับสภาวิชาชีพต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง อาทิเช่น สาขาวิชาการจัดการโลจิสติกส์ฯ มีค่าเทอมที่ต่ำ กว่าสถาบันอี่น ๆ ที่ใกล้เคียง คณะได้มีการทำบันทึกความร่วมมือกับสมาคมตัวแทนออก ของรับอนุญาตไทย ของภาคตะวันออกเฉียงเหนือ คณะได้ส่งบุคลากรไปรับ การอบรมเพื่อเป็นตัวแทนออกใบรับอนุญาต และยังใช้สนามสอบการออกใบอนุญาตที่คณะ วิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏเลย จึงถือเป็นจุดแข็งในการแข่งขันกับสถาบันอื่น 3 ดำเนินงานตามแผนบริหาร ความเสี่ยง ที่เป็นผล จากการวิเคราะห์และระบุ ปัจจัยเสี่ยงที่เกิดจากปัจจัย ภายนอก หรือปัจจัยที่ไม่ สามารถควบคุมได้ที่ส่งผล คณะได้มีการแต่งตั้งคณะกรรมการบริหารความเสี่ยงในระดับคณะ [เอกสาร 5.2.3(1)] และกำหนดนโยบายแนวทางใน การบริหารความเสี่ยง การควบคุมภายใน วิเคราะห์และระบุ ความเสี่ยง ปัจจัยที่ก่อนให้เกิดความเสี่ยง ประเมินโอกาส ผลกระทบ ความเสี่ยง จัดลำดับความเสี่ยง [เอกสาร 5.2.3(2)] จัดทำแผนบริหารความเสี่ยง ประจำปี 5.2.3(1) คำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการ บริหารความเสี่ยงในระดับคณะ ปี การศึกษา 2565


ข้อ เกณฑ์การประเมิน ผลด าเนินงาน เอกสารหลักฐาน ต่อการดำเนินงานตาม พันธกิจของคณะและให้ ระดับความเสี่ยงลดลงจาก เดิมอย่างน้อย 1 เรื่อง งบประมาณ พ.ศ. 2566 ปีการศึกษา 2565 [เอกสาร 5.2.3(3)] และได้รายงานให้ งานตรวจสอบภายในทราบ ก า ร ด ำ เ น ิ น ง า น ค ว า ม เ ส ี ่ ย ง ด้ า น อ า จ า ร ย์ ใ น ต า แ ห น่ ง ท า ง วิ ช า ก า ร ซ ึ ่ ง เ ป ็ น ค ว า ม เ ส ี ่ ย ง ท ี ่ ต ั ้ ง ไ ว ้ ป ร ะ จ ำ ป ี ก า ร ศ ึ ก ษ า 2 5 6 5 มีจำนวน 18 คน ซึ่งเป็นความเสี่ยงที่คณะสามารถจัดการได้ โดยใช้ระบบและกลไกในการ พัฒนาตำแหน่งทางวิชาการ จัดทำแผนการบริหารและแผนพัฒนาบุคลากร ประจำปี งบประมาณ พ.ศ. 2565 ปีการศึกษา พ.ศ. 2564 [เอกสาร 5.2.3(3)] ส่งผลให้อาจารย์ได้ ต ำ แ ห น ่ ง ท า ง ว ิ ช า ก า ร เ พ ิ ่ ม ข ึ ้ น ใ น ป ี ก า ร ศ ึ ก ษ า 2 5 6 5 เป็นจำนวน 19 คน ด้านคุณวุฒิของอาจารย์ระดับปริญญาเอก ซึ่งเป็นความเสี่ยงที่ตั้งไว้ ประจำปีการศึกษา 2565 มีจำนวน 19 คน ซึ่งเป็นความเสี่ยงที่คณะสามารถจัดการ ได้ โดยใช้ระบบและกลไกในการพัฒนาติดตามการสำเร็จการศึกษาระดับปริญญาเอกของ อาจารย์ตามแผนการบริหารและแผนพัฒนาบุคลากร ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 ปี การศึกษา พ.ศ. 2564 [เอกสาร 5.2.3(4)] ส่งผลให้อาจารย์ได้สำเร็จการศึกษาระดับ ป ร ิ ญ ญ า เ อ ก เ พ ิ ่ ม ข ึ ้ น ใ น ป ี ก า ร ศ ึ ก ษ า พ . ศ . 2 5 6 5 จำนวน 1 คน แต่มีอาจารย์เกษียณอายุราชการ ในปีการศึกษา 2564 จำนวน 1 คน ส่งผลให้ มีอาจารย์สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาเอก ในปีการศึกษา พ.ศ. 2565 จำนวน 20 คน ความเสี่ยงที่เกิดจากสภาพเศรษฐกิจส่งผลให้จำนวนนักศึกษาลดลง และอัตราการเกิด ลดลง ส่งผลให้นักศึกษาที่จะสำเร็จการศึกษามัธยมศึกษาปีที่ 6 ลดลง แผนการจัดการความ เสี่ยงคณะจึงจัดทำแผนเป็นหลักสูตรระยะสั้น เพื่อหากลุ่มเป้าหมายผู้เรียน เป็นผู้ที่สนใจ เรียนรู้เพิ่มเติมตลอดชีวิต โดยกำหนดชั่วโมงและค่าลงทะเบียนเป็นคอร์ส เพื่อเป็นการสร้าง ร า ย ไ ด ้ แ ล ะ ใช้ทรัพยากรอย่างคุ้มค่า และเป็นช่องทางใช้ศักยภาพของอาจารย์ในคณะ ซึ่งคณะได้ ดำเนินการเปิดหลักสูตรระยะสั้น การพัฒนาทักษะดิจิทัลในการใช้งานด้านธุรกิจ Program in Development of Digital Skills for Business Applications เพื่อจัดทำหลักสูตรอบรมเพิ่มสมรรถนะให้กับอาจารย์ นักศึกษา แรงงาน (Re skill Up skill) รองรับการจัดการศึกษาการเรียนรู้ตลอดชีวิต คณะยังได้มีการจัดการความเสี่ยงโดยการจัดโครงการหลักสูตรระยะสั้นเพื่อใช้ในการ อบรมเชิงปฏิบัติการหลักสูตร “การพัฒนาศักยภาพบุคลากรด้านการปฏิบัติงาน ในระบบ e-LAAS (งานการเงิน งานบัญชี งานจัดเก็บรายได้ งานพัสดุ ระบบงาน งบประมาณ) และการบันทึกบัญชีของหน่วยงานภายใต้สังกัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น” (โรงเรียน, ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก) เป็นการอบรม 2 วัน มีค่าใช้จ่ายในการ ลงทะเบียนคนละ 4,900 บาท ปัจจุบันได้ดำเนินการไปแล้วจำนวน 1 รุ่น คือ ระหว่างวันที่ 25 –26 มีนาคม 2566 มีจำนวนผู้เข้าร่วมอบรม 23 คน จาก 6 หน่วยงาน การจัดการความเสี่ยงนี้ เป็นการหากลุ่มผู้เรียนกลุ่มใหม่ที่มีงานประจำทำ หรือผู้ที่ ต้องการเพิ่มทักษะในการทำงาน Up-Skill เพื่อเป็นการใช้ทรัพยากรของคณะ ด้าน บ ุ ค ล า ก ร อ า จ า ร ย ์ สื่ออุปกรณ์ และครุภัณฑ์ ให้เกิดประโยชน์สูงสุด 5.2.3(2) รายงานการจัดการความ เสี่ยง ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 ปี การศึกษา 2565 5.2.3(3) แผนบริหารความเสี่ยง ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 ปี การศึกษา 2565 5.2.3(4) แผนการบริหารและ แผนพัฒนาบุคลากร ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 ปีการศึกษา 2565 4 บริหารงานด้วยหลัก ธรรมาภิบาลอย่างครบถ้วน ทั้ง 10 ประการที่อธิบาย การดำเนินงานอย่างชัดเจน ค ณ ะ ว ิ ท ย า ก า ร จ ั ด ก า ร ม ห า ว ิ ท ย า ล ั ย ร า ช ภ ั ฏ เ ล ย ย ึ ด ห ล ั ก ก า ร บ ร ิ ห า ร ง า น ด ้ ว ย ห ล ั ก ธ ร ร ม า ภ ิ บ า ล 10 ป ร ะ ก า ร ม ี ผ ล ก า ร ต ิ ด ต า ม ก า ร ต ร ว จ ส อ บ แ ล ะ ป ร ะ เ ม ิ น ผ ล ใ น ต ำ แ ห น ่ ง ค ณ บ ด ี มีค่าเฉลี่ย 4.64 อยู่ในระดับดีมาก จากการสำรวจข้อมูลจากผู้ที่เกี่ยวข้องของคณะวิทยาการ จัดการ มีจำนวน อาจารย์ 63 คน พนักงานสายสนับสนุน 12 คน รวมเป็น 75 คน โดยมีการ บริหารงานตามหลักธรรมาภิบาล ดังนี้ 1) หลักประสิทธิผล (Effectiveness) คณะวิทยาการจัดการดำเนินงานตามเป้าหมายที่กำหนดไว้ในแผนยุทธศาสตร์ และ แผนปฏิบัติราชการประจำปี อย่างคุ้มค่าและบรรลุเป้าหมายตามที่กำหนดไว้ จัดสรร 5.2.4(1) รายงานผลการดำเนินงาน ด้านการใช้จ่ายงบประมาณ 5.2.4(2) รายงานผลการปฏิบัติตาม ภารกิจของมหาวิทยาลัย 5.2.4(3) รายงานการสำรวจพัสดุ ครุภัณฑ์


ข้อ เกณฑ์การประเมิน ผลด าเนินงาน เอกสารหลักฐาน งบประมาณไปยังสาขาวิชา ในงบประมาณแผ่นดิน และงบประมาณรายได้ 70 : 30 คณะ มีการกำกับติดตาม และรายงานผลการดำเนินงานด้านการใช้จ่ายงบประมาณเป็นประจำทุก เดือน โดยการประชุมคณะกรรมการวิชาการคณะวิทยาการจัดการ และรายงานผลต่อ มหาวิทยาลัยทุกไตรมาส และทุกสิ้นปีการศึกษา [เอกสาร 5.2.4(1)] ในการกำกับติดตามการบริหารจัดการงบประมาณ ที่ลงสู่สาขาวิชาที่ บริหารจัดการโดยคณะ มีคณะกรรมการกำกับติดตาม รายงานผลแก่ผู้บริหารคณะ เพื่อ เร่งรัดการใช้งบประมาณแต่ละสาขาให้ตรงตามไตรมาส โดยการประชุมคณะกรรมการ วิชาการคณะวิทยาการจัดการทุกเดือน 2) หลักประสิทธิภาพ (Efficiency) คณะวิทยาการจัดการมีการออกแบบกระบวนการปฏิบัติงานเพื่อให้เกิดความคุ้มค่า ประหยัดทรัพยากรงบประมาณ และเวลาที่ใช้ไปอย่างเป็นระบบ โดยการกำหนดนโยบายต่าง ๆ ที่ครอบคลุมทุกพันธกิจ มีการแต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินงาน มีการรายงานผลการปฏิบัติ ราชการประจำปี พ.ศ. 2565 และมีการให้บริการแก่ผู้มาติดต่อราชการทุกวันที่มีการจัดการ เรียนการสอน ซึ่งสามารถตอบสนองความต้องการของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียทุกกลุ่ม 3) หลักการตอบสนอง (Responsiveness) คณะวิทยาการจัดการบริหารงานเพื่อตอบสนองต่อความต้องการของคณาจารย์ บุคลากร และนักศึกษาตามระยะเวลาที่กำหนดในปฏิทินดำเนินงาน ได้จัดหาสิ่งสนับสนุน การเรียนรู้ให้กับนักศึกษาตามความต้องการ โดยคณะได้มีการสำรวจพัสดุ ครุภัณฑ์ มีการ จัดซื้อจัดจ้าง [เอกสาร 5.2.4(3)] ปรับปรุง ซ่อมแซมวัสดุครุภัณฑ์เมื่อได้รับแจ้งหรือร้องขอ จากสาขาวิชา นักศึกษา คณาจารย์ และผู้ใช้บริการ ดังนี้ 1) สนับสนุน เร่งรัด ตรวจสอบความถูกต้อง ติดต่อประสานงานกับผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง ดำเนินการจัดซื้อจัดจ้างได้ภายในระยะเวลาที่กำหนด 2) ให้บริการ ยืม-คืนวัสดุ-อุปกรณ์ เพื่อสนับสนุนการเรียนการสอน และการ ให้บริการทั่วไป 3) รับแจ้งซ่อม ทำบันทึกติดต่อประสานงานภายในระยะเวลา 1 วัน รีบเร่งซ่อมแซม วัสดุ-ครุภัณฑ์ที่ชำรุดเสียหายให้ทันเวลาเพื่อรักษาทรัพย์สินให้ใช้การได้โดยไม่ก่อเกิดความ เสียหายแก่ส่วนราชการ โดยดำเนินแล้วเสร็จไม่เกิน 1 สัปดาห์ 4) บริการเบิกจ่าย วัสดุ-อุปกรณ์สำนักงานที่จำเป็นเพื่อใช้ในการเรียนการสอนให้แก่ คณาจารย์ และนักศึกษา เพื่อสนับสนุนการเรียนรู้ และอำนวยความสะดวกให้เกิดการเรียน การสอนที่มีประสิทธิภาพ ซึ่งสามารถดำเนินการได้อย่างรวดเร็ว เนื่องจากคณะวิทยาการ จัดการได้มีสื่อ-อุปกรณ์ที่จำเป็นไว้เพื่อให้บริการนอกเหนือจากการติดตั้งในห้องเรียน คณะได้สำรวจครุภัณฑ์โดยได้ทำบันทึกข้อความแจ้งไปยังสาขาวิชานำข้อมูลมาวางแผน และกำหนดวัสดุครุภัณฑ์ที่จำเป็นในแต่ละปีงบประมาณ ตรวจสอบครุภัณฑ์ประจำปี และ รายงานครุภัณฑ์ คงเหลือประจำปีไปยังพัสดุกลางในทุกสิ้นปีงบประมาณ 4) หลักภาระรับผิดชอบ (Accountability) ค ณ ะ ว ิ ท ย า ก า ร จ ั ด ก า ร ม ห า ว ิ ท ย า ล ั ย ร า ช ภ ั ฏ เ ล ย ได้ตระหนักในบทบาทหน้าที่ในการผลิตบัณฑิต ในด้านสังคม ตอบสนองต่อผู้ประกอบการ ส ร ้ า ง ม ู ล ค ่ า ท า ง เ ศ ร ษ ฐ ก ิ จ ซ ึ ่ ง เ ป ็ น พันธกิจสำคัญของคณะที่มุ่งรับผิดชอบต่อการผลิตบัณฑิตในทุกหลักสูตรให้มีคุณภาพ มีการ แต่งตั้งแต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินงานประกันคุณภาพภายใน ระดับคณะ ประจำปี การศึกษา 2565 [เอกสาร 5.2.4(4)] โดยคณะได้กำกับติดตามการดำเนินงานการประกัน คุณภาพการศึกษาภายใน ระดับหลักสูตร [เอกสาร 5.2.4 (5)] ตลอดจนมีการพัฒนา อาจารย์ประจำหลักสูตรอย่างต่อเนื่องตามแผนพัฒนาบุคลากร นอกจากนี้ยังมีความ รับผิดชอบต่อการพัฒนาท้องถิ่นด้วยการให้บริการทางวิชาการแบบให้เปล่า แก่ชุมชน โดยจัดทำโครงการแผนยุทธศาสตร์เพื่อการพัฒนาท้องถิ่น และแผนบริการวิชาการ เพื่อการพัฒนาท้องถิ่นและชุมชม ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 ปีการศึกษา 2565 ซึ่ง 5.2.4(4) คำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการ ดำเนินงานประกันคุณภาพภายใน ระดับ คณะ ประจำปีการศึกษา 2565 5.2.4(5) คำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการ ดำเนินงานประกันคุณภาพภายใน ระดับ หลักสูตร ประจำปีการศึกษา 2565 5.2.4(6) แผนบริการวิชาการ เพื่อ การพัฒนาท้องถิ่นและชุมชม ประจำปี การศึกษา 2565 5.2.4(7) แผนปฏิบัติราชการรายปี ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2566 5.2.4(8) แผนปฏิบัติราชการทาง การเงิน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2566 5.2.4(9) แผนปฏิบัติราชการ ระยะ 5 ปี (พ.ศ.2566 – 2570) คณะวิทยาการ จัดการ 5.2.4(10) แผนปฏิบัติราชการ ระยะ 5 ปี มหาวิทยลัยราชภัฏเลย (พ.ศ. 2566-2570) 5.2.4(11) ค ำ ส ั ่ ง แ ต ่ ง ต ั ้ ง คณะกรรมการวิชาการคณะวิทยาการ จัดการ 5.2.4(12) ค ำ ส ั ่ ง แ ต ่ ง ต ั ้ ง คณะกรรมการพัฒนานักศึกษา 5.2.4(13) ค ำ ส ั ่ ง แ ต ่ ง ต ั ้ ง คณะกรรมการบริหารความเสี่ยง 5.2.4(14) ค ำ ส ั ่ ง แ ต ่ ง ต ั ้ ง คณะกรรมการบริการวิชาการแก่ชุมชน 5.2.4(15) ค ำ ส ั ่ ง แ ต ่ ง ต ั ้ ง คณะกรรมการศิลปะและวัฒนธรรม


ข้อ เกณฑ์การประเมิน ผลด าเนินงาน เอกสารหลักฐาน สามารถประเมินผลการบริหารตามความรับผิดชอบได้จากความพึงพอใจต่อการบริหารงาน ผู้บริหารคณะ และด้านต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง [เอกสาร 5.2.4(6)] 5) หลักความโปร่งใส (Transparency) คณะวิทยาการจัดการ ยึดหลักความโปร่งใสในการทำงาน จัดสรรงบประมาณจากคณะ ลงสู่หน่วยงานระดับสาขาวิชาตามแผนยุทธศาสตร์ มีการนำแผนไปสู่การปฏิบัติตามขั้นตอน มีแผนปฏิบัติราชการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 [เอกสาร 5.2.4(7)] แผนกลยุทธ์ ทางการเงินประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 [เอกสาร 5.2.4(8)] เพื่อเสนอต่อการประชุม คณะกรรมการประจำคณะให้ความเห็นชอบ และนำไปสู่การปฏิบัติ ดำเนินงานตาม โครงการ/กิจกรรม กำหนดตัวชี้วัด เป้าหมาย เพื่อการติดตามและประเมินผลอย่างชัดเจน 6) หลักการมีส่วนร่วม (Participation) คณะวิทยาการจัดการได้มีการบริหารงานโดยการมีส่วนร่วมของหลักสูตรทุกหลักสูตร ในคณะ เปิดโอกาสให้บุคลากรในคณะได้มีส่วนร่วมในการตัดสินใจในกิจกรรมต่าง ๆ ของ คณะที่จัดขึ้นบุคลากรทุกภาคส่วนในคณะสามารถรับรู้และมีการส่วนร่วมในกิจกรรมต่าง ๆ ของคณะผ่านทางเว็บไซต์คณะ หรือสามารถร่วมแสดงความคิดเห็นและข้อเสนอแนะต่าง ๆ ผ่านทางเว็บไซต์คณะผ่านสายตรงคณบดี หรือในที่ประชุมของคณะกรรมการชุดต่าง ๆ เปิด โอกาสให้บุคลากรทุกภาคส่วนได้มีโอกาสในการแสดงความคิดเห็นและข้อเสนอแนะ และ การบริหารจัดการในด้านต่าง ๆอย่างเสรี 7) หลักการกระจายอ านาจ (Decentralization) คณะวิทยาการจัดการเปิดโอกาสให้คณะกรรมการบริหารหลักสูตร ทุกหลักสูตร บริหารจัดการหลักสูตรร่วมกันและสรุปรายงานการประชุมต่างๆ ให้คณบดีรับทราบและร่วม พิจารณารวมทั้งแต่งตั้งคณะกรรมการบริหารคณะ คณบดีคณะวิทยาการจัดการได้มีการ กระจายอำนาจและมอบหน้าที่ขอบเขตงานให้รองคณบดี โดยแบ่งเป็น 3 ฝ่าย คือ รองคณบดีฝ่ายวิชาการและวิจัย ภารกิจที่คณบดีมอบหมายให้ปฏิบัติราชการแทน 1 งานบัณฑิตศึกษา 2 การปรับปรุงและพัฒนาหลักสูตร 3 ควบคุม ดูแลการจัดการสอนตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2552 4 ควบคุมและดูแลการจัดการศึกษาโดยเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ 5 ควบคุม ดูแลการจัดแผนการเรียน 6 ควบคุม ดูแลงานฝึกประสบการณ์วิชาชีพ 7 ควบคุม ดูแลและพัฒนาระบบอาจารย์ที่ปรึกษา 8 ควบคุมและส่งเสริมคุณภาพเกี่ยวกับการเรียนการสอน 9 ควบคุมดูแลงานการวัดและประเมินผลการเรียนการสอน 10 ลงนามในใบส่งผลการเรียน 11 ควบคุม ดูแล แนะนำพนักงานราชการ (สายผู้สอน) 12 ควบคุม ดูแล แนะนำพนักงานในสถาบันอุดมศึกษา (สายผู้สอน) 13 ส่งเสริม สนับสนุน เผยแพร่และพัฒนางานวิจัย 14 อบรมและให้บริการวิชาการแก่ชุมชนและท้องถิ่น 15 งานอื่น ๆ ตามที่ได้รับมอบหมาย ร อ ง ค ณ บ ดี ฝ่ า ย พั ฒ น า นั ก ศึ ก ษ า แ ล ะ ป ร ะ กั น คุ ณ ภ า พ ภารกิจที่คณบดีมอบหมายให้ปฏิบัติราชการแทน


ข้อ เกณฑ์การประเมิน ผลด าเนินงาน เอกสารหลักฐาน 1 กิจกรรมนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา 2 ควบคุม ดูแลโครงการและกิจกรรมของนักศึกษา 3 ควบคุม ดูแลเกี่ยวกับทุนการศึกษาของนักศึกษา 4 ควบคุม ดูแลการทัศนศึกษาดูงานตามโครงการของสาขาวิชา 5 ป ร ะ ส า น ง า น เ ก ี ่ ย ว ก ั บ ง า น ว ิ ท ย า ก า ร จ ั ด ก า ร ส ั ม พ ั น ธ ์ (วจ.สัมพันธ์) 6 งานแนะแนวและงานประชาสัมพันธ์ 7 ดูแล และจัดกิจกรรมเพื่อหารายได้ 8 ดูแลห้องประชุมศรีสองรัก 9 ลงนามในหนังสือสั่งซื้อ-สั่งจ้าง (รองคณบดี) 10 งานประกันคุณภาพ 11 งานการจัดการความรู้ KM 12 งานอื่น ๆ ตามที่ได้รับมอบหมาย รองคณบดีฝ่ายบริหารและศิลปวัฒนธรรม ภารกิจที่คณบดีมอบหมายให้ปฏิบัติ ราชการแทน 1 ทำนุ บำรุง ส่งเสริมและเผยแพร่ศิลปวัฒนธรรม 2 ดูแลมูลนิธิคณะวิทยาการจัดการ 3 งานสำนักงานโครงการ 5 ส 4 การประสานงานกับองค์กรต่าง ๆ เพื่อสร้างเครือข่าย 5 การประสานงานและสร้างความเข้มแข็งให้แก่ชุมชนและท้องถิ่น 6 ลงนามในหนังสือสั่งซื้อ-สั่งจ้าง (ประธานกรรมการตรวจรับ) 7 ค ว บ ค ุ ม ด ู แ ล พ ั ฒ น า พ น ั ก ง า น ใ น ส ถ า บ ั น อ ุ ด ม ศ ึ ก ษ า (สายสนับสนุน) 8 ควบคุม ดูแล พัฒนาพนักงานราชการ (สายสนับสนุน) 9 ควบคุม ดูแล ระบบงานธุรการสำนักงานคณะ 10 ส่งเสริมและเผยแพร่ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงตามแนวพระราชดำรัชของ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว 11 งานอื่น ๆ ตามที่ได้รับมอบหมาย หัวหน้าส านักงานคณบดีภารกิจที่คณบดีมอบหมายให้ปฏิบัติราชการแทน 1 งานกำกับดูแลตัวชี้วัดงานประกันคุณภาพ 2 งานกำกับดูแลระบบงานสารบรรณ งานประชุม 3 งานกำกับดูแล แนะนำ เจ้าหน้าที่ประจำคณะ 4 งานกำกับดูแลการใช้พัสดุ ครุภัณฑ์ประจำคณะ 5 งานกำกับดูแลให้บริการห้องสมุด ห้องคอมพิวเตอร์ 6 งานกำกับดูแลฝ่ายเอกสารการพิมพ์ 7 งานติดต่อประสานงานกับหน่วยงานทั้งภายในและภายนอกคณะ 8 งานอาคารสถานที่และภูมิทัศน์ 9 ควบคุม ดูแลศูนย์ปฏิบัติการวิชาชีพทางบริหารธุรกิจ


ข้อ เกณฑ์การประเมิน ผลด าเนินงาน เอกสารหลักฐาน 10 ดูแลประมาณการวัสดุฝึกและวัสดุการศึกษา 11 ประสานและติดตามการใช้จ่ายเงินงบประมาณ 12 งานอื่น ๆ ตามที่ได้รับมอบหมาย ประธานคณะกรรมการบริหารหลักสูตร สาขาวิชา 10 สาขามีการกระจายอำนาจ หน้าที่โดยการแต่งตั้งเพื่อการบริหารงานในระดับหลักสูตร เพื่อสะดวกในการสื่อสารข้อมูล และให้บุคลากรได้มีส่วนร่วมในการบริหารจัดการ ดูแลกำกับงานด้านต่าง ๆ ของคณะฯ ได้แก่ งานธุรการ งานบริหาร งานวิชาการ งานวิจัยงานกิจการนักศึกษา งานศิลปวัฒนธรรม ของคณะ มีการแต่งตั้งคณะกรรมการชุดต่างๆ ที่ประกอบด้วยบุคลากรจากทุกสาขา นอกจากนั้นคณะวิทยาการจัดการมีระบบการควบคุมภายในและบริหารความเสี่ยง ซึ่งมีการวางระบบการบริหารจัดการและมีการรายงานผลการดำเนินงานต่อมหาวิทยาลัย และหน่วยงานตรวจสอบภายนอก ต่างๆ ดังนี้ 1. คณะกรรมการวิชาการคณะ 2. คณะกรรมการพัฒนานักศึกษา 3. คณะกรรมการจัดทำแผนกลยุทธ์ทางการเงิน 4. คณะกรรมการบริหารความเสี่ยง 5. คณะกรรมการการประกันคุณภาพ 6. ค ณ ะ ก ร ร ม ก า ร ด ้ า น ท ำ น ุ บ ำ ร ุ ง ศ ิ ล ป ว ั ฒ น ธ ร ร ม คณะวิทยาการจัดการ จากการมอบหมายอำนาจหน้าที่ที่ปฏิบัติหน้าที่แทนคณบดีคณะ วิทยาการจัดกร เป็นการมอบหมายอำนาจหน้าที่และความรับผิดชอบในการตัดสินใจ การ ดำเนินการให้แก่คณะกรรมการฝ่ายต่างๆ โดยมุ่งเน้นการสร้างความพึงพอใจ ในการให้บุคลากรทั้งภายในและภายนอกคณะวิทยาการจัดการ 8) หลักนิติธรรม (Rule of Law) คณะวิทยาการจัดการมีการปฏิบัติราชการมีการบริหารงานด้วยหลักนิติธรรม คำนึงถึง ประโยชน์ของคณะฯ และผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย และปฏิบัติตามกฎระเบียบข้อบังคับแนวปฏิบัติ ของสภามหาวิทยาลัยในการบริหารจัดการ คณะวิทยาการจัดการได้นำหลักนิติธรรมมาใช้ในการประเมินผลการปฏิบัติราชการ ข อ ง ข ้ า ร า ช ก า ร พ ล เ ร ื อ น ในสถาบันอุดมศึกษา พนักงานในสถาบันอุดมศึกษา ตำแหน่งวิชาการและพนักงานใน ส ถ า บ ั น อ ุ ด ม ศ ึ ก ษ า ต ำ แ ห น ่ ง ส น ั บ ส น ุ น ซ ึ ่ ง ใ น ก า ร ป ร ะ เ ม ิ น ข ้ า ร า ช ก า ร พ ล เ ร ื อ น ผ ู ้ ท ี ่ ท ำ ห น ้ า ท ี ่ ป ร ะ เ ม ิ น คือ คณบดี โดยจะยึดหลักเกณฑ์ หลักฐานและการมีส่วนร่วมในการดำเนินงานของหลักสูตร คณะและมหาวิทยาลัยในการประเมิน และในการประเมิน พนักงานในสถาบันอุดมศึกษา ตำแหน่งผู้สอนและพนักงานในสถาบันอุดมศึกษา ตำแหน่งสนับสนุน จะมีการเสนอชื่อผู้มี อำนาจหน้าที่ความรับผิดชอบควบคุมการปฏิบัติงานที่เกี่ยวข้องเพื่อให้เกิดความเสมอภาค และถูกต้องในการประเมินมากที่สุด ซึ่งในการแจ้งผลประเมินหากมีข้อสงสัยในการประเมินผู้รับการประเมินสามารถ สอบถามข้อมูลจากคณะกรรมการและแสดงหลักฐานเพิ่มเติม เพื่อความเที่ยงธรรมในการ ประเมิน 9) หลักความเสมอภาค (Equity) คณะวิทยาการจัดการให้ความสำคัญกับหลักความเสมอภาคทั้งในด้านการบริหาร และการให้บริการ โดยผู้บริหารคณะสนับสนุนให้บุคลากรทุกระดับมีส่วนร่วมในการ บริหารงานและร่วมกิจกรรมต่าง ๆ ของคณะ สำหรับบุคลากรสายวิชาการและสายสนับสนุน วิชาการมีการฝึกอบรมการสัมมนากับหน่วยงานภายนอกและภายในเพื่อเพิ่มพูนความรู้และ ประสบการณ์ต่าง ๆ โดยจัดงบประมาณให้กับบุคลากรสำาหรับการพัฒนาโดยตรงอย่างเท่า เทียมกัน มีการสนับสนุนให้คณาจารย์ได้มีโอกาสในการพัฒนาผลงานทางวิชาการเพื่อเข้าสู่ ตำแหน่งทางวิชาการ และมีนโยบายในการสนับสนุนให้คณาจารย์ลาศึกษาต่อเพื่อเพิ่มพูน ความรู้ทางวิชาการและเพิ่มศักยภาพในการศึกษาต่อระดับปริญญาเอกซึ่งการดำเนินการใน


ข้อ เกณฑ์การประเมิน ผลด าเนินงาน เอกสารหลักฐาน ส่วนนี้เพื่อพัฒนาศักยภาพของบุคลากรให้มีความรู้ ความสามารถในการเป็นผู้สอนใน หลักสูตรต่าง ๆ อย่างมีประสิทธิภาพและมีคุณสมบัติเป็นไปตามเกณฑ์มาตรฐานของ หลักสูตร ตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ 10) หลักมุ่งเน้นฉันทามติ (Consensus Oriented) การบริหารของคณะวิทยาการจัดการให้ความสำคัญกับการนำหลักการตัดสินใจโดย ฉันทามติ กระบวนการตัดสินใจ ในที่ประชุมคณะกรรมการประจำคณะและที่ประชุม คณาจารย์ของคณะฯ ในการพิจารณาให้ ความเห็นชอบหรือไม่เห็นชอบในเรื่องต่างๆ ร่วมกัน ทำงานในรูปแบบคณะกรรมการชุดต่าง ๆ ในการประชุม - นอกจากนั้นคณะวิทยาการจัดการ มีคณะกรรมการวิชาการคณะ เพื่อพิจารณาวาระ ที่เป็นผลประโยชน์แก่ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียและนักศึกษา เช่น การพิจารณาผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียนของนักศึกษาจะใช้หลักฉันทามติให้เป็นที่ยอมรับร่วมกันตามความเห็นในมติที่ประชุม ตัวอย่างเช่น นักศึกษาได้มีคำร้องให้คณะวิชาเปิดรายวิชาเพิ่มเนื่องจากมีความประสงค์ที่จบ การศึกษาเป็นต้น และทางคณะฯ ได้นำเข้าที่ประชุมคณะกรรมการวิชาการ เป็นมติเห็นชอบให้เปิด รายวิชานั้นตามบันทึก เป็นต้น


ข้อ เกณฑ์การประเมิน ผลด าเนินงาน เอกสารหลักฐาน 5 ค้นหาแนวปฏิบัติที่ดีจาก ความรู้ทั้งที่มีอยู่ในตัวบุคคล ทักษะของผู้มีประสบการณ์ ตรง และแหล่งเรียนรู้อื่นๆ ตามประเด็นความรู้ อย่างน้อย ครอบคลุมพันธกิจด้านการ ผลิตบัณฑิต และด้านการวิจัย จัดเก็บอย่างเป็นระบบโดย เผยแพร่ออกมาเป็นลาย ลักษณ์อักษรและนำมาปรับใช้ ใน การปฏิบัติงาน จริง คณะวิทยาการจัดการ มีการแต่งตั้งคณะกรรมการจัดการความรู้ (KM) [เอกสาร 5.2.5(1)] โดยมีหน้าที่ในการสำรวจ รวบรวม วิเคราะห์ข้อมูล ประชาสัมพันธ์ให้แก่ บุคลากรภายในคณะฯ ผ่านการจัดกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ และจัดทำแผนการจัดการ ค ว า ม ร ู ้ ป ร ะ จ ำ ป ี ง บ ป ร ะ ม า ณ พ . ศ . 2 5 6 6 ป ี ก า ร ศ ึ ก ษ า 2565 [เอกสาร 5.2.5(2)] โดยคณาจารย์ผู้มีประสบการณ์ในแต่ละพันธกิจที่คลอบคลุม ด้านการเรียนการสอน ด้านการวิจัย ด้านบริการวิชาการ พร้อมทั้งจัดเก็บเผยแพร่ผ่าน เว็บไซต์ของคณะฯ ด้านการการเรียนการสอน มีการแลกเปลี่ยนให้คำปรึกษาทางวิชาการ โ ด ย ม ี ค ณ า จ า ร ย ์ ท ี ่ ม ี ก า ร ต ี พ ิ ม พ ์ ห น ั ง ส ื อ / ต ำ ร า มาให้เทคนิค ความรู้ และข้อแนะนำในการเขียนหนังสือ/ตำรา ด้านการวิจัย มีการ แลกเปลี่ยนเรียนรู้ผ่านการจัดโครงการแลกเปลี่ยนและสร้างองค์ความรู้และคณะได้สร้างแนว ปฏิบัติที่ดี จากการดำเนินงานของคณะเพื่อกำกับติดตามผลการดำเนินตามพันธกิจของ สถาบันและเอกลักษณ์ของคณะ คณะได้มีการค้นหาแนวปฏิบัติที่ดีที่ครอบคลุมพันธกิจด้าน ก า ร ผ ล ิ ต บ ั ณ ฑ ิ ต และด้านวิจัย ดังนี้ 1. คณะได้มีการแต่งตั้งคณะกรรมการจัดการความรู้ 5.2.5(1) คำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการ จัดการความรู้ (KM) 5.2.5(2) แผนการจัดการความรู้ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 ปี การศึกษา 2565 5.2.5(3) แนวปฏิบัติที่ดีจากการ จัดการเรียนการสอน ด้านการผลิตบัณฑิต : คู่มือเตรียมความพร้อมการทำข้อสอบ ภาษาอังกฤษตามมาตรฐาน CEFR จำนวน 3 เล่ม ประกอบด้วย 1) Sentence Completion


ข้อ เกณฑ์การประเมิน ผลด าเนินงาน เอกสารหลักฐาน 2. คณะได้จัดทำแผนการจัดการความรู้ ของคณะวิทยาการจัดการ โดยได้ กำหนด เป้าหมายที่พัฒนาความรู้และทักษะ ด้านการผลิตบัณฑิต และด้านการวิจัย ซึ่งได้มี การวิเคราะห์องค์ความรู้ให้สอดคล้องกับสถานการณ์ปัจจุบัน อีกทั้งยังกำหนดกลุ่มเป้าหมาย และสอดคล้องกับความต้องการของบุคลากรในคณะ 3. คณะฯได้ดำเนินการตามแผน โดยการแบ่งปันและแลกเปลี่ยนความรู้และ ท ั ก ษ ะ จ า ก ผ ู ้ ม ี ป ร ะ ส บ ก า ร ณ ์ ต ร ง (tacit knowledge) ซึ่งเป็นกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้เพื่อค้นหาแนวปฏิบัติที่ดี 4. การสร้างองค์ความรู้ คณะได้รวบรวมองค์ความรู้ที่ได้ตามประเด็นที่ได้จากการ ให้ความรู้ การแลกเปลี่ยนประสบการณ์ เพื่อสร้างเป็นแนวปฏิบัติที่ดี โดยได้จัดทำเล่มสรุป องค์ความรู้ที่เป็นลายลักษณ์อักษร 5. คณะได้มีการถอดแนวปฏิบัติที่ดี เผยแพร่ไปยังกลุ่มเป้าหมาย 6. คณะได้ติดตามผลการนำองค์ความรู้จากกระบวนการจัดการความรู้ไปใช้ประโยชน์ จากกลุ่มเป้าหมายเพื่อเป็นข้อมูลการเกิด ผลสัมฤทธิ์ในการประยุกต์ใช้แนวปฏิบัติที่ดี ในปีการศึกษา 2565 คณะวิทยาการจัดการได้มีการจัดการความรู้ ด้านการผลิต บัณฑิต และด้านการวิจัย โดยการจัดทำแนวปฏิบัติที่ดี สำหรับการจัดการความรู้ KM ด้าน การเรียนการสอนและงานวิจัย โดย การพัฒนาการจัดการสอนโดยใช้ปัญหาเป็นฐาน (Problem Based learning : PBL) เป็นการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาที่เกิดขึ้น จริงเป็นจุดเริ่มต้นในการเชื่อมโยงความรู้ที่มีอยู่เดิม ให้ผสมผสานกับข้อมูลใหม่ที่นักศึกษาได้ ทำการค้นคว้าผ่านกระบวนการเรียนรู้ด้วยตนเอง แล้วประมวลเป็นความรู้ใหม่ เพื่อให้ นักศึกษาเกิดทักษะในการคิดวิเคราะห์และ คิดหาแนวทางแก้ไขปัญหา รวมทั้งได้พัฒนา ความรู้ตามที่นักศึกษาได้ศึกษาไปพร้อมกันด้วย โดยนักศึกษาจะได้พัฒนาผลการเรียนรู้ใน หลายด้าน ได้แก่ การตัดสินใจที่ดี การคิดอย่างมีวิจารณญาณ การทำงานเป็นทีม ใฝ่รู้ และ การเรียนรู้อย่างต่อเนื่องตลอดชีวิต เพื่อให้สามารถก้าวทันกับสภาพการเปลี่ยนแปลงในยุค ปัจจุบันและอนาคตได้ ซึ่งคณะกรรมการได้จัดทำแนวปฏิบัติที่ดีนำเสนอต่อคณบดี ทำหนังสือเผยแพร่ และมี การเผยแพร่ทางเว็บไซต์คณะวิทยาการจัดการ www.manage.lru.ac.th 2) Reading Comprehension 3) Listening 5.2.5(4) แนวปฏิบัติที่ดีด้านการวิจัย : เทคนิคการเขียนบทความวิชาการเพื่อ ตีพิมพ์และเผยแพร่ จากโครงการบริการ วิชาการและโครงการยุทธศาสตร์เพื่อการ พัฒนาท้องถิ่น 6 การกำกับติดตามผลการ ดำเนินงานตามแผนการ บริหารและแผนพัฒนา บุคลากรสายวิชาการและ สายสนับสนุน คณะวิทยาการจัดการมีได้ดำเนินงานแบบมีส่วนร่วมของ บุคลากรจากระดมความคิด ทั้งนี้เพื่อให้การดำเนินงานมีความ สอดคล้องกับแผนกลยุทธ์ซึ่งนำไปกำหนดเป็นกรอบประเด็น ยุทธศาสตร์ และแนวทางในการการบริหารและพัฒนา โดยการ พิจารณาจัดสรรงบประมาณ และดูแลรับผิดชอบโครงการ/ กิจกรรมในการส่งเสริมและพัฒนาบุคลากรในภาพรวม เพื่อให้ เกิดผลเป็นรูปธรรมให้มีการขับเคลื่อนแผนฯ ไปสู่การปฏิบัติใน ระดับวิทยาลัยฯ ซึ่งมีการผลักดันให้นโยบายการส่งเสริมและ พัฒนาบุคลากรเป็นส่วนหนึ่งของการบริหารและพัฒนาบุคลากร อาทิ เป้าหมาย มาตรการ และแนวทางไปดำเนินการจัดทำโครง/ กิจกรรม เพื่อให้เกิดผลเป็นรูปธรรม และการมีส่วนร่วมใน โครงการ/กิจกรรมที่วิทยาลัยดำเนินการในภาพรวมโดยมีแนว ทางการติดตามและประเมินผล ดังนั้นการกำกับติดตามผลการดำเนินงานตามแผน การบริหารและแผนพัฒนาบุคลากรสายวิชาการและสายสนับสนุน จะดำเนินการโดยคณะกรรมการบริหารคณะทำหน้าที่พิจารณา 5.2.6( 1) แผ น การ บ ริหารและ แผนพัฒนาบุคลากร ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 ปีการศึกษา พ.ศ. 2565 5.2.6(2) แผนกรอบอัตรากำลังระดับ ตำแหน่งที่สูงขึ้นของบุคลากรสายสนับสนุน มหาวิทยาลัย ราชภัฏเลย ปี พ.ศ. 2562 - 2565 5.2.6(3) รายงานผลโครงการเทคนิค การทำผลงานวิชาการเพื่อเข้าสู่ตำแหน่ง ทางวิชาการ สำหรับคณาจารย์คณะ วิทยาการจัดการ 5.2.6(4) รายงานผลโครงการระบบ อาจารย์พี่เลี้ยงส่งเสริม สนับสุนนอาจารย์ เพื่อเข้าสู่ตำแหน่งทางวิชา


ข้อ เกณฑ์การประเมิน ผลด าเนินงาน เอกสารหลักฐาน กำกับและติดตามผลการดำเนินงานตามแผนการบริหารและ แผนพัฒนาบุคลากร ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 ปีการศึกษา 2565 [เอกสาร5.2.6(1)] สายวิชาการและสายสนับสนุนโดย คณะวิทยาการจัดการได้มีการจัดทำแผนพัฒนาบุคลากร ปี 2561 – 2565 [เอกสาร5.2.6(2)] ทั้งสายวิชาการและสาย สนับสนุน มีรายละเอียด ดังนี้ แผนพัฒนาบุคลากร (สายวิชาการ) 1. คณาจารย์ที่จะไปศึกษาต่อของคณะวิทยาการจัดการ 2. คณาจารย์ที่จะขอเข้าสู่ตำแหน่งทางวิชาการ แผนพัฒนาบุคลากร (สายสนับสนุน) 1 . บ ุ ค ล า ก ร ส า ย ส น ั บ ส น ุ น ข อ ง ค ณ ะ ว ิ ท ย า ก า ร จ ั ด ก า ร ได้ทำกรอบระดับตำแหน่งที่สูงขึ้น 2. บ ุ ค ล ก ร ส า ย ส น ั บ ส น ุ น ข อ ง ค ณ ะ ว ิ ท ย า ก า ร จ ั ด ก า ร ที่จะไปอบรมเพื่อพัฒนาตนเอง การกำกับติดตามในปีการศึกษา 2565 คณบดีได้มอบหมายให้รองคณบดีดำเนินการ ดังต่อไปนี้ ผู้ที่ได้รับ มอบหมาย กิจกรรมการก ากับ ติดตาม ผลการก ากับติดตาม รองคณบดี ฝ่าย วิชาการ และวิจัย แผนพัฒนาบุคลากร (สายวิชาการ) 1. คณาจารย์ที่จะไป ศึกษาต่อของคณะ วิทยาการจัดการ 2. คณาจารย์ที่จะขอ เข้าสู่ตำแหน่งทาง วิชาการ 1.ได้กำกับติดตามอาจารย์ สาขาวิชาการตลาดดิจิทัลที่จะ สำเร็จการศึกษาระดับปริญญา เอก จำนวน 1 คน คือ ดร.วรรณวิสา ไพศรีสำเร็จ การศึกษาระดับปริญญาเอก สาขาวิชาการตลาด มหาวิทยาลัยมหาสารคาม 2. จากการดำเนินโครงการ พัฒนาอาจารย์เข้าสู่ตำแหน่ง ผลงานทางวิชาการ ในปี การศึกษา 2564 ได้มีอาจารย์ จำนวน 1 คน ได้ส่งผลงานเพื่อ เข้าสู่ตำแหน่งทางวิชาการ ผล จากการติดตาม ผ่านการ พิจารณาและอนุมัติเข้าสู่ ตำแหน่งผลงานวิชาการ เมื่อ วันที่ 22 มิถุนายน 2565 คือ ผศ.ณิชนันทน์ กะวิวังสกุล 3. ได้จัดโครงการเทคนิคการทำ ผลงานวิชาการเพื่อเข้าสู่ตำแหน่ง ทางวิชาการ สำหรับคณาจารย์ คณะวิทยาการจัดการ วันที่ 11 - 12 พฤษภาคม 2566 ณ ห้อง ประชุมชั้น 9 อาคาร 19 คณะ 5.2.6(5) รายงานผลโครงการอบรมเชิง ปฏิบัติการ เรื่องการพัฒนางานประจำสู่ งานวิจัย สำหรับบุคลากรสายสนับสนุน


ข้อ เกณฑ์การประเมิน ผลด าเนินงาน เอกสารหลักฐาน วิทยาการจัดการ [เอกสาร 5.2.6(3)] 4.ได้จัดโครงการระบบอาจารย์พี่ เลี้ยงส่งเสริม สนับสุนนอาจารย์ เพื่อเข้าสู่ตำแหน่งทางวิชา โดยมี อาจารย์ส่งขอเข้าสู่ตำแหน่งทาง วิชาการจำนวน 3 คน ดังนี้ 1. นางเมชยา ท่าพิมาย 2. นางสาวเพลินพิศ โพธิ์วัน 3. นางสาวนริศรา ธรรมรักษา รองคณบดี ฝ่าย บริหาร และศิลป วัฒนธรรม แผนพัฒนาบุคลากร (สายสนับสนุน) 1 . บ ุ ค ล า ก ร ( ส า ย สนับสนุน) ของคณะ วิทยาการจัดการ ได้ ท ำ ก ร อ บ ร ะ ด ั บ ตำแหน่งที่สูงขึ้น 2. บ ุ ค ลาก ร ( ส า ย สนับสนุน) ของคณะ วิทยาการจัดการ ที่จะไปอบรมเพื่อ พัฒนาตนเอง 1.กำกับติดตามบุคลากร (สายสนับสนุน) ที่จะเข้าสู่กรอบ ระดับตำแหน่งที่สูงขึ้น จำนวน 3 คน ดังนี้ 1.นางสาวประกาย นามผา 2.นายประสิทธิ์ฏิชัย ชัยยันต์ 3.นายอนุสรณ์ พรหมมาศ 2.คณะได้มีการส่งเสริมการ พัฒนาตนเองโดยจัดโครงการ ศ ึ ก ษ า ด ู ง า น เ พ ื ่ อ ศ ึ ก ษ า กระบวนการทำงานและขั้นตอน ในการปฏิบัติงานตามหน้าที่ คว า ม รั บ ผ ิ ด ช อ บ ณ คณะ วิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัย ราชภัฏนครปฐม และ คณะ วิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัย ราชภัฏเพชรบุรี ระหว่างวันที่ 28 มีนาคม ถึง 31 มีนาคม 2566 7 ดำเนินงานด้าน การ ประกันคุณภาพการศึกษา ภายในตามระบบและกลไกที่ เหมาะสมและสอดคล้องกับ พันธกิจและพัฒนาการของ คณะที่ได้ปรับให้การ ดำเนินงานด้านการประกัน คุณภาพเป็นส่วนหนึ่งของการ บริหารงานคณะตามปกติที่ ประกอบด้วย การ ควบคุมคุณภาพ การ ตรวจสอบคุณภาพ และการ ประเมินคุณภาพ คณะวิทยาการจัดการมีการดำเนินงานด้านการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ต า ม ร ะ บ บ แ ล ะ ก ล ไ ก ท ี ่ เ ห ม า ะ ส ม และสอดคล้องกับพันธกิจและพัฒนาของคณะที่ได้ปรับให้การดำเนินงานด้านการประกัน คุณภาพ เป็นส่วนหนึ่งของการบริหารงานคณะตามปกติที่ประกอบด้วย การควบคุมคุณภาพ การตรวจสอบคุณภาพ และการประเมินคุณภาพ โดยมีการดำเนินการดังนี้ 1. การควบคุมคุณภาพ 1.1 ค ณ ะ ว ิ ท ย า กา ร จ ั ด ก า ร ม ี ก า ร ว า ง แ ผ น ป ร ะ ก ั น ค ุ ณ ภ า พ มีระบบและกลไกการประกันคุณภาพการศึกษาภายในที่เหมาะสม และสอดคล้องกับพันธกิจ และพัฒนาการของคณะ และสาขา วิชาฯ และมีการดำเนินการตามระบบที่กำหนด โดยดำเนินงานการประกันคุณภาพการศึกษาตาม ระบบตามตัวชี้วัดของสำนักงาน คณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.) โดยมีการจัดทำคู่มือประกันคุณภาพการการศึกษา ระดับคณะ และจัดทำแผนงานประกันคุณภาพการศึกษา ปีการศึกษา 2565 เพื่อกำหนด ก ิ จ ก ร ร ม โ ค ร ง ก า ร ใ ห ้ ส อ ด ค ล้ อ ง ก ั บ ก า ร ป ร ะ ก ั น ค ุ ณ ภ า พ ก า รศ ึ ก ษ า และแต่งตั้งคณะกรรมการประกันคุณภาพการศึกษาภายในของคณะฯ เพื่อกำกับดูแลและ ดำเนินงานด้านการประกันคุณภาพการศึกษาในระดับคณะ และระดับหลักสูตร ซึ่งมีการ ดำเนินงานแบบมีส่วนร่วมของบุคลากรในคณะฯประกอบด้วยผู้บริหาร คณาจารย์ และ เจ้าหน้าที่ โดยมีการกำหนดหน้าที่รับผิดชอบใน แต่ละฝ่ายอย่างชัดเจน 5.2.7(1) รายงานผลการตรวจประเมิน คุณภาพการศึกษาภายใน ระดับคณะ ปีการศึกษา 2565 5.2.7(2) รายงานการประชุม คณะกรรมการประจำคณะวิทยาการจัดการ ครั้งที่ 2/2566 วันที่ 16 มิถุนายน 2566


ข้อ เกณฑ์การประเมิน ผลด าเนินงาน เอกสารหลักฐาน 1.2 จัดโครงการเตรียมความพร้อมการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน เพื่อสร้าง ความเข้าใจให้กับอาจารย์และบุคลากรเกี่ยวกับเกณฑ์การประกันคุณภาพการศึกษา 1.3. ส่งเสริมให้อาจารย์แต่ละหลักสูตรเป็นผู้ประเมินการประกันคุณภาพการศึกษา ภายใน 1.4 คณะวิทยาการจัดการมีการนำข้อเสนอแนะ จากคณะกรรมการ ประเมินคุณภาพภายใน ปี พ.ศ. 2565[เอกสาร 5.2.7(1)] มาจัดทำแผนการดำเนินงานการ ประกันคุณภาพ คณะวิทยาการจัดการให้มีประสิทธิภาพ โดยมีประเด็นที่สำคัญ ดังนี้ ข้อเสนอแนะเพื่อการพัฒนาในภาพรวม องค์ประกอบที่ 1 จุดที่ควรพัฒนา ข้อเสนอแนะ 1.การบริหารหลักสูตรที่มี คะแนนน้อย 1. ให้กำกับและส่งเสริมให้อาจารย์มี งานวิจัยในการเผยแพร่ในวารสารวิชาการ ระดับชาติ และระดับนานาชาติที่ สปอว. ยอมรับ เพื่อให้อาจารย์สามารถนำผลงาน ไปขอกำหนดตำแหน่งทางวิชาการได้ 2.ร้อยละของอาจารย์ ประจำคณะที่มีคุณวุฒิ ปริญญาเอกและดำรง ตำแหน่งทางวิชาการ 2. เร่งรัดและจูงใจให้อาจารย์มีผลงานทาง วิชาการที่มีคุณภาพ เพื่อเตรียมพร้อมให้ อาจารย์เข้าสู่การกำหนดตำแหน่งทาง วิชาการต่อไป 3.การนำผลการประเมินไป ปรับปรุงแผนหรือปรับปรุง การจัดกิจกรรมเพื่อพัฒนา นักศึกษา 3. คณะควรมีการกำหนดตัวชี้วัดของแผน ค่าเป้าหมาย และผลการดำเนินงาน ซึ่งสา มารรถวัดหรือสะท้อนผลการดำเนินงาน ตามแผน ให้เห็นถึงผลผลิตหรือผลลัพธ์ใน เชิงคุณภาพ ซึ่งการประเมินแผนสามารถ ประเมินได้ 2 มิติ คือ เชิงปริมาณ และเชิง คุณภาพ ข้อเสนอแนะเพื่อการพัฒนาในภาพรวม องค์ประกอบที่ 2 จุดเด่น แนวเสริม 1.คณาจารย์ได้รับทุนอุดหนุน การทำวิจัยสูง โดยเฉลี่ย 90,518.32 บาท/คน 1. คณะควรส่งเสริมสนับสนุนผลักดันให้อาจารย์ที่ ยังไม่เคยขอทุนวิจัยภายในและภายนอก ให้ อาจารย์เขียนข้อเสนอทุนวิจัย เพื่อให้อาจารย์ทุก ท่านได้มีส่วนร่วมในการขอทุนวิจัย 2. การตรวจสอบคุณภาพ คณะมีการดำเนินงานด้านการประกันคุณภาพการศึกษาภายในระดับคณะ และระดับ หลักสูตรที่ครบถ้วน ประกอบด้วย 2.1 รายงานผลการประเมินคุณภาพการศึกษาภายในระดับหลักสูตร และระดับคณะ ปี การศึกษา 2565 ต่อที่ประชุมคณะกรรมการประจำคณะ ครั้งที่ 3/2566 วันที่ 16 มิถุนายน 2566 2.2 นำผลการประเมินคุณภาพการศึกษาภายในระดับหลักสูตร และระดับคณะ ปี ก า ร ศ ึ ก ษ า 2 5 65 ไ ป จ ั ด ท ำแ ผ น พ ั ฒ น า ค ุ ณ ภ า พ ก า ร ศ ึ ก ษ า ( Quality Improvement Plan) ปีการศึกษา 2565 เพื่อพัฒนาและปรับปรุงการดำเนินงาน ในปีการศึกษา 2565 ต่อไป [เอกสาร5.2.7(2)]


ข้อ เกณฑ์การประเมิน ผลด าเนินงาน เอกสารหลักฐาน 2.3 คณะได้มีการจัดกิจกรรมเตรียมความพร้อมประกันคุณภาพระดับหลักสูตร และ ชี้แจงขั้นตอนการรายงานผลการดำเนินงานของหลักสูตร ติดตามและตรวจสอบให้แต่ละ หลักสูตรได้ รายงานผลการ ดำเนินงานด้านการประกันคุณภาพใน และนอกจากยังเป็นการ ให้มีความรู้ความเข้าใจในเกณฑ์การประเมินมากขึ้นอีก 2.4 กำกับ ติดตามการดำเนินงานของหลักสูตรและคณะ ให้มีคุณภาพตามตัว บ่งชี้ที่ สกอ.กำหนด 2.5 รายงานผลการปรับปรุงการดำเนินงาน (Quality Improvement Plan) ระดับหลักสูตรตามแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา ปีการศึกษา 2565 3. การประเมินคุณภาพ 3.1 คณะวิทยาการจัดการ การควบคุมกำกับ และติดตามการดำเนินงานโดย คณะกรรมการประกันคุณภาพการศึกษา ภายในคณะ กำกับดูแลและติดตามการดำเนินงาน ตามองค์ประกอบ เพื่อติดตามการดำเนินงานด้านการประเมินคุณภาพระดับคณะและ หลักสูตร ให้เป็นไปตามองค์ประกอบ การประกันคุณภาพ และติดตามการดำเนินงานตาม แผนปฏิบัติงานด้านการประกัน คุณภาพการศึกษา ประจำปีการศึกษา 2565 โดยกำหนดให้ทุกหลักสูตรรายงานผลการ ดำเนินงานตามตัวบ่งชี้ตามองค์ประกอบคุณภาพ ระดับหลักสูตร และจัดทำรายงานสรุปผลการติดตามรายงานตัวบ่งชี้ของ องค์ประกอบ คุณภาพในระดับหลักสูตร ซึ่งภายหลังเสร็จสิ้นการตรวจประเมินคุณภาพการศึกษาระดับ หลักสูตร คณะจะดำเนินการนำผลการตรวจประเมินคุณภาพการศึกษาระดับหลักสูตร รายงานต่อที่ประชุมคณะกรรมการประจำคณะ ต่อไป ปีการศึกษา 2565 งานประกันคุณภาพการศึกษาและมาตรฐานการศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏเลย ได้จัดทำปฏิบัติการปฏิบัติงานประคุณภาพการศึกษา ดังนี้ วัน/เดือน/ปี รายการ/กิจกรรม ที่ปฏิบัติงาน ผู้รับผิดชอบ 1 พฤษภาคม– 8 มิถุนายน 2566 • ประเมินคุณภาพการศึกษา ภายใน ระดับหลักสูตร ประจำปีการศึกษา 2565 คณะกรรมการ ประเมินระดับ หลักสูตร อาจารย์ประจำ หลักสูตร 17 มิถุนายน 2566 • หลักสูตรทุกหลักสูตร สรุปผลการประเมินแจ้งต่อ คณะ หลักสูตร 18 มิถุนายน 2566 • หลักสูตรทุกหลักสูตร สรุปผลการประเมินแจ้งต่อ คณะ หลักสูตร มิถุนายน 2566 • คณะจัดทำรายงานประเมิน ตนเอง (SAR) ประจำปี การศึกษา 2565 พร้อมทั้ง กรอกผลการดำเนินงานลง ใน CHE QA Online งานประกัน คุณภาพ การศึกษา • งานประกันคุณภาพและ ม า ต ร ฐ า น ก า ร ศ ึ ก ษ า ลงตรวจเยี่ยมคณะ เพื่อช่วย ตรวจสอบเอกสาร/หลักฐาน ของคณะทั้ง 5 คณะ ทุกคณะ 19 - 23 มิถุนายน 2566 • ประเมินคุณภาพการศึกษา ภายใน ระดับคณะ และ คณะ และศูนย์ สำนัก


ข้อ เกณฑ์การประเมิน ผลด าเนินงาน เอกสารหลักฐาน ระดับศูนย์ สำนัก ประจำปี การศึกษา 2565 3.2 คณะวิทยาการจัดการได้กำหนดให้หลักสูตรสาขาวิชาส่งผลการประเมิน ตนเอง และรายงาน มคอ.7 เพื่อได้รับการตรวจประเมินระดับหลักสูตร ซึ่งทุกหลักสูตรได้มี การดำเนินงานตาม ตัวบ่งชี้และพันธกิจ และกรอกข้อมูลในระบบฐานข้อมูล CHE QA Online ของสำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.) เพื่อเป็นการรายงานผลการ ดำเนินงานประกันคุณภาพการศึกษา ระดับหลักสูตร ต่อสำนักงานคณะกรรมการการการ อุดมศึกษา (สกอ.) โดยได้รับการประเมินจากคณะกรรมการที่มหาวิทยาลัยกำหนด หลักสูตร วันที่ประเมิน คะแนน เฉลี่ย ระดับ 1. บธม. การจัดการ 23 พ.ค. 66 3.09 ดี 2. การบัญชี 24 พ.ค. 66 3.73 ดี 3. การจัดการ 24 พ.ค. 66 3.78 ดี 4. การตลาดดิจิทัล 22 พ.ค. 66 3.74 ดี 5. คอมพิวเตอร์ธุรกิจดิจิทัล 16 พ.ค. 66 3.84 ดี 6. การจัดการโลจิสติกส์ฯ 31 พ.ค. 66 4.04 ดีมาก 7. การจัดการธุรกิจการค้า สมัยใหม่ 8 มิ.ย. 66 3.27 ดี 8. เศรษฐศาสตร์ 3.73 ดี 9. นิเทศศาสตร์ 31 พ.ค. 66 3.86 ดี 10. การท่องเที่ยวฯ 31 พ.ค. 66 3.60 ดี คณะนำเสนอผลการประเมินให้แก่คณะกรรมการประจำคณะ เพื่อพิจารณาและ สรุปผลการประเมิน ในการประชุมครั้งที่ 3/2566 วันที่ 16 มิถุนายน 2566 [เอกสาร 5.2.7(3)] และรายงานผลต่อมหาวิทยาลัยต่อไป การประเมินตนเอง เป้าหมาย ผลการด าเนินงาน คะแนนการประเมินตนเอง บรรลุเป้าหมาย บรรลุ ไม่บรรลุ 7 ข้อ 7 ข้อ 5 คะแนน


ตัวบ่งชี้ 5.3 : ระบบกำกับการประกันคุณภาพหลักสูตร ประเภทของตัวบ่งชี้ : กระบวนการ การเก็บข้อมูล : ปีการศึกษา 2565 (1 มิถุนายน 2565 – 31 พฤษภาคม 2566) หน่วยงานที่รับผิดชอบหลัก : ฝ่ายพัฒนานักศึกษาและประกันคุณภาพ คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏเลย เกณฑ์การประเมิน คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3 คะแนน 4 คะแนน 5 มีการดำเนินการ 1ข้อ มีการดำเนินการ 2 ข้อ มีการดำเนินการ 3-4 ข้อ มีการดำเนินการ 5 ข้อ มีการดำเนินการ 6 ข้อ ผลการด าเนินงาน : ในรอบปีการศึกษา 2565 คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏเลย ได้ดำเนินการพัฒนาระบบกำกับ การประกันคุณภาพหลักสูตรโดยมีผลการดำเนินงานตามเกณฑ์มาตรฐาน สกอ. ดังนี้ เกณฑ์การประเมิน รายงานผลการด าเนินงาน เอกสารหลักฐาน 1. มีระบบและกลไกในการ กำกับการดำเนินการประกัน คุณภาพหลักสูตรให้เป็นไป ตามองค์ประกอบการ ประกันคุณภาพหลักสูตร คณะมีระบบและกลไกในการกำกับการดำเนินการประกันคุณภาพหลักสูตรโดยแต่ละหลักสูตรมี การแต่งตั้งคณะกรรมการประกันคุณภาพระดับหลักสูตรแล้วส่งรายชื่อมายังคณะเพื่อคำสั่งแต่งตั้ง คณะกรรมการประกันคุณภาพระดับคณะ มีการกำกับ ติดตาม ควบคุม โดยรองคณบดีฝ่ายพัฒนา นักศึกษาและประกันคุณภาพ เป็นผู้รับผิดชอบหลัก และ มีคณบดี รองคณบดีฝ่ายต่างๆ ในการกำกับดูแลตัวบ่งชี้ จากนั้นทางคณะได้จัดสรรงบประมาณในการดำเนินงานด้านต่างๆที่สอดคล้อง กับเกณฑ์ประกันคุณภาพลงยังไปยังทุกหลักสูตร เมื่อดำเนินการกิจกรรมต่างๆแล้วให้ทุกหลักสูตร รายงานผลการดำเนินงานและนำผลการดำเนินงานที่ได้มาปรับปรุงการดำเนินงานในครั้งถัดไปให้มี ประสิทธิภาพมากขึ้น นอกจากนี้คณะวิทยาการจัดการ ยังได้มีระบบและกลไกการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ดังนี้ 1. คณะได้มีการแต่งตั้งคณะกรรมการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ประจำคณะวิทยาการ จัดการประจำปีการศึกษา 2565 เพื่อทำหน้าที่ตรวจสอบงานด้านการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ระดับหลักสูตร ส่วนในระดับคณะได้มีการแต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินงานประกันคุณภาพการศึกษา ภายในประจำคณะ เพื่อกำกับดูแลตัวบ่งชี้ และจัดเก็บรวบรวมข้อมูลและรายงานผลการดำเนินงานตาม องค์ประกอบการประกันคุณภาพการศึกษาภายในระดับคณะ โดยมีผู้บริหารในแต่ละส่วนงานคอยกำกับ ดูแล นอกจากนี้คณะได้มีระบบการดำเนินงานด้าน การประกันคุณภาพที่มีการเชื่อมโยง ระหว่างมหาวิทยาลัย คณะ และหลักสูตร โดยมีเจ้าหน้าที่ประสานงานระดับคณะ คอยทำหน้าที่ ประสานงาน เก็บข้อมูลรายงานผลตามตัวบ่งชี้และแจ้งข้อมูลต่าง ๆ ด้านงานประกันคุณภาพอย่าง ต่อเนื่อง [เอกสาร 5.3.1(1)] 2. คณะใช้คู่มือการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน มหาวิทยาลัยราชภัฏเลย พ.ศ.2565เพื่อใช้ เป็นแนวทางปฏิบัติในการกำกับและพัฒนาคุณภาพการศึกษาภายในของหน่วยงาน ในระดับหลักสูตร [เอกสาร 5.3.1(2)] 3. มีการกำหนดแบบฟอร์มการเขียนรายงานผลการดำเนินงานระดับหลักสูตร (SAR) ของ หลักสูตรที่สังกัดคณะฯ [เอกสาร 5.3.1(3)] 4. มีการกำกับและติดตามการรายงานผลการดำเนินงานของหลักสูตร มคอ.7 ให้เป็นไปตาม ระยะเวลาที่กำหนดและมีทิศทางในการรายงานผลให้ชัดเจน[เอกสาร 5.3.1(4)] 5. มีการประเมินความพึงพอใจของนักศึกษาต่อสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้และจัดทำรายงานผลไปยัง หลักสูตรทุกหลักสูตร เพื่อนำไปใช้ ในการวางการจัดสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ในปีการศึกษาถัดไป 5.3.1(1) คำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการ ดำเนินงานประกันคุณภาพฯ ระดับหลักสูตร และระดับคณะ ประจำปีการศึกษา 2565 5.3.1(2) คู่มือการประกันคุณภาพ การศึกษาภายในคณะวิทยาการจัดการ 5.3.1(3) แบบฟอร์มการเขียนรายงานผล การดำเนินงานระดับหลักสูตร (SAR) ของ หลักสูตร 5.3.1(4) รายงานผลโครงการเขียน รายงานการประเมินตนเอง และรายงานผล การดำเนินงานหลักสูตร (มคอ.7) ระดับ หลักสูตร 5.3.1(5) ประกาศมหาวิทยาลัยราชภัฏ เลย เรื่อง ระบบและกลไกการกำกับการ ดำเนินการประกันคุณภาพหลักสูตร


เกณฑ์การประเมิน รายงานผลการด าเนินงาน เอกสารหลักฐาน และมีคณะกรรมการประกันคุณภาพและผู้รับผิดชอบข่าวสาร สารสนเทศ ระดับคณะ ประจำปีการศึกษา 2565 ประกอบด้วยคณบดี รองคณบดี ประธานสาขา และหัวหน้าสานักงานคณะ มีการประชุมมีคณะกรรมการประกันคุณภาพ ปีการศึกษา 2565 และกำหนดนโยบายคุณภาพ เป็นกลไกในการกำกับการดำเนินงานประกันคุณภาพหลักสูตรให้เป็นไปตามองค์ประกอบการประกัน คุณภาพการศึกษาที่ระบบกำหนด [เอกสาร 5.3.1(6)] 2. มีคณะกรรมการกำกับ ติดตามการดำเนินงานให้ เป็นไปตามระบบที่กำหนดใน ข้อ 1 และรายงานผลการ ติดตามให้กรรมการประจำ คณะเพื่อพิจารณาทุกภาค การศึกษา คณะวิทยาการจัดการ มีคณะกรรมการประกันคุณภาพการศึกษา ทำหน้าที่กำกับติดตามการ ดำเนินงานให้เป็นไปตามระบบที่กำหนดใน ข้อ 1 และรายงานผลการติดตามต่อคณะกรรมการประจำ ค ณ ะ ฯ เพื่อพิจารณาทุกภาคการศึกษาโดยมีกระบวนการดังนี้ 1) แต่งตั้งคณะกรรมการการประกัน คุณภาพการศึกษาภายใน ระดับหลักสูตร และระดับคณะ [เอกสาร 5.3.2(1)] ซึ่งประกอบไปด้วย คณบดี รองคณบดี ประธานหลักสูตร รวมทั้ง บุคลากรในคณะ ทำหน้าที่ใน การติดตามการดำเนินงานและรายงานผลการประกันคุณภาพการศึกษาหลักสูตร 2) ค ณ ะ ว ิ ท ย า ก า ร จ ั ด ก า ร ไ ด ้ ม ี ก า ร ก ำ ห น ด ใ ห ้ ท ุ ก ห ล ั ก ส ู ต ร มีการรายงานผลการดำเนินงานประกันคุณภาพหลักสูตร ในปีการศึกษา 2565 ได้มีการติดตามการ รายงานผลการดำเนินงานของหลักสูตร 10 สาขาวิชา โดยคณะได้ดำเนินการตรวจประเมิน ประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ระดับหลักสูตร รอบระยะเวลา 6 เดือน (1 มิถุนายน – 30 พฤศจิกายน 2565) รอบระยะเวลา 9 เดือน (1 มิถุนายน – 28 กุมภาพันธ์ 2566) และรอบระยะเวลา 12 เดือน (1 มิถุนายน – 31 พฤษภาคม 2566) โดยนำผลการประเมินคุณภาพการศึกษาภายในระดับ หลักสูตรนำเสนอต่อการประชุมคณะกรรมการประจำคณะ ครั้งที่ 3/2566 วันที่ 16 มิถุนายน 2566 ณ ห้องปฏิบัติการดิจิทัล อาคาร 19 คณะวิทยาการจัดการ [เอกสาร 5.3.2(2)] 5.3.2(1) คำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการ ประกันคุณภาพการศึกษาภายในระดับ หลักสูตร และระดับคณะ 5.3.2(2) รายงานการประชุม คณะกรรมการประจำคณะ ครั้งที่ 2/2566 ลง วันที่ 16 มิถุนายน 2566 3. มีการจัดสรรทรัพยากร เพื่อสนับสนุนการดำเนินงาน ของหลักสูตรให้เกิดผลตาม องค์ประกอบการประกัน คุณภาพหลักสูตร คณะวิทยาการจัดการมีการจัดสรรทรัพยากร เพื่อสนับสนุนการดำเนินงานของหลักสูตรให้เกิดผล ตามองค์ประกอบการประกันคุณภาพหลักสูตร ดังนี้ 1. การจัดสรรทรัพยากรบุคคล มีการแต่งตั้งเจ้าหน้าที่สายสนับสนุน เป็นผู้ช่วยเลขานุการ และ รับผิดชอบตัวบ่งชี้การประกันคุณภาพการศึกษา ระดับคณะ โดยมีหน้าที่จัดเก็บข้อมูลเก็บรวบรวม หลักฐานการปฏิบัติงานตามแนวทางการประเมินผลในแต่ละตัวบ่งชี้ 2. ทรัพยากรด้านงบประมาณ เพื่อให้ทุกหลักสูตรได้ดำเนินกิจกรรมบริหารงานหลักสูตร พัฒนา นักศึกษาและอาจารย์ให้มีมาตรฐานเป็นไปตามเกณฑ์การประกันคุณภาพการศึกษาภายในระดับ หลักสูตร โดยคณะจัดสรรให้กับทุกหลักสูตรตามรายหัวของนักศึกษาเพื่อให้แต่ละหลักสูตรเสนอแผนการ ใช้จ่ายในการดำเนินงานแสดงอยู่ในแผนการใช้จ่ายงบประมาณประจำปี พ.ศ. 2566 3. ค ณ ะ ฯ ไ ด ้ ม ี ก า ร ใ ช ้ ร ะ บ บ ฐ า น ข ้ อ ม ู ล ส า ร ส น เ ท ศ ข อ ง ม ห า ว ิ ท ย า ล ั ย ราชภัฏเลย เพื่อสนับสนุนการประกันคุณภาพการศึกษา ได้แก่ ระบบฐานข้อมูลนักศึกษา [เอกสาร 5.3.3(3)] ข้อมูลการบริหารหลักสูตร ข้อมูลการเงิน งานพัสดุ และมีระบบสารสนเทศของคณะที่ได้ พัฒนาขึ้นในเรื่องข้อมูลงานวิจัย ข้อมูลงานบริการวิชาการ ข้อมูลงานบุคคล นอกจากนี้คณะฯ ได้ใช้ ประโยชน์จากข้อมูลสารสนเทศบนเว็บไซต์ชองสำนักงานประกันคุณภาพ [เอกสาร 5.3.3(4)] เกี่ยวกับ แบบฟอร์มการเก็บข้อมูลประกันคุณภาพ คู่มือประกันคุณภาพ มีระบบสารสนเทศเพื่อการประกัน คุณภาพ ระบบ มคอ. ออนไลน์ [เอกสาร 5.3.3(5)] เพื่อให้อาจารย์ผู้สอนกรอกข้อมูล มคอ.3 รายงานผล การดำเนินของรายวิชา มคอ. 5 และสรุปผลการดำเนินงานของหลักสูตรใน มคอ.7 เพื่อให้สอดคล้องกับ แนวทางการประกันคุณภาพการศึกษาภายในสถานศึกษา เพื่อให้คณะฯ รวบรวมข้อมูลด้านงานประกัน คุณภาพของคณะฯ โดยข้อมูลออนไลน์เชื่อมต่อกับระบบ CHE OA Online ของ สกอ. [เอกสาร 5.3.3(6)] และมีการใช้สารสนเทศบนเว็บไซต์ของคณะฯ [เอกสาร 5.3.3(7)] เพื่อสนับสนุนการดำเนินงาน ของหลักสูตรเพื่อให้เกิดผลตามองค์ประกอบการประกันคุณภาพหลักสูตร 5.3.3(1) คำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการ ประกันคุณภาพฯ ระดับหลักสูตร ปีการศึกษา 2565 5.3.3(2) บันทึกข้อความขอสนับสนุน งบประมาณ 5.3.3(3) ระบบบริการการศึกษา ออนไลน์ https://reg.lru.ac.th/register/ home.asp 5.3.3(4) เว็บไซต์สำนักประกันคุณภาพ https://www.qc.lru.ac.th 5.3.3(5) ระบบ มคอ.ออนไลน์ https://reg.lru.ac.th 5.3.3(6) ระบบ CHE OA Online 5.3.3(7) เว็บไซต์คณะวิทยาการจัดการ


เกณฑ์การประเมิน รายงานผลการด าเนินงาน เอกสารหลักฐาน 4. มีการประเมินคุณภาพ หลักสูตรตามกำหนดเวลาทุก หลักสูตรและรายงานผลการ ประเมินให้กรรมการประจำ คณะเพื่อพิจารณา คณะวิทยาการจัดการ มีการประเมินคุณภาพหลักสูตรตาม กำหนดเวลาทุกหลักสูตร โดยคณะ กรรมการประเมินคุณภาพการศึกษา ภายในระดับหลักสูตร ปีการศึกษา 2565 [เอกสาร 5.3.4(1)] ตามรูปแบบ รายงานการประเมินตนเองที่คณะได้กำหนด และมคอ.7 ที่ สกอ. กำหนด และในระบบ CHE-QA online เพื่อเป็นเครื่องมือในการควบคุม ติดตาม ตรวจสอบและประเมินคุณภาพการจัดการศึกษาในระดับหลักสูตร ให้ได้ ข้อมูลที่ชี้ผลการบริหารจัดการหลักสูตรที่ได้คุณภาพตามมาตรฐาน อุดมศึกษาของแต่ละหลักสูตร เพื่อสร้างความมั่นใจต่อสังคมและ สาธารณชน คณะวิทยาการจัดการ ได้การกำหนดให้ระดับหลักสูตรมีการตรวจ ประเมินระหว่างวันที่ 16 พฤษภาคม ถึง 8 มิถุนายน 2566 และได้มีการ แต่งตั้งคณะกรรมการตรวจประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ระดับหลักสูตร คณะวิทยาการจัดการ ประจำปีการศึกษา 2565 เพื่อ ดำเนินการตรวจประเมินคุณภาพการศึกษาภายในระดับหลักสูตร ซึ่งมี หลักสูตรที่รับการตรวจประเมินฯ ทั้งสิ้น จำนวน 10 หลักสูตร ระดับ ปริญญาตรี จำนวน 9 หลักสูตร และ ระดับปริญญาโท จำนวน 1 หลักสูตร ซึ่งทุกหลักสูตรมีผลการประเมินตนเอง “ผ่าน” ในองค์ประกอบที่ 1 การกำกับมาตรฐานหลักสูตร ทั้งนี้ เมื่อการประเมินหลักสูตรเสร็จสิ้นแล้ว คณะจะดำเนินการรายงานผลการดำเนินงาน ต่อ คณะกรรมการประจำ คณะ [เอกสาร 5.3.4(2)] คณะฯ มีผลการประเมินคุณภาพการศึกษา ระดับหลักสูตร ปีการศึกษา 2565 ดังนี้ หลักสูตร วันที่ประเมิน คะแนน เฉลี่ย ระดับ 1. บธม. การจัดการ 23 พ.ค. 66 3.09 ดี 2. การบัญชี 24 พ.ค. 66 3.73 ดี 3. การจัดการ 24 พ.ค. 66 3.78 ดี 4. การตลาดดิจิทัล 22 พ.ค. 66 3.74 ดี 5. คอมพิวเตอร์ธุรกิจดิจิทัล 16 พ.ค. 66 3.84 ดี 6. การจัดการโลจิสติกส์ฯ 31 พ.ค. 66 4.04 ดีมาก 7. การจัดการธุรกิจการค้าสมัยใหม่* 8 มิ.ย. 66 3.27 ดี 8. เศรษฐศาสตร์ 20 พ.ค. 66 3.73 ดี 9. การท่องเที่ยวฯ 31 พ.ค. 66 3.60 ดี 10. นิเทศศาสตร์ 31 พ.ค. 66 3.86 ดี โดยได้นำผลการประเมินคุณภาพการศึกษา ระดับหลักสูตร ปีการศึกษา 2565 เสนอต่อที่ประชุมคณะกรรมการประจำคณะวิทยาการ 5.3.4(1) คำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการ ประเมินคุณภาพภายใน ระดับหลักสูตร ปี การศึกษา 2565 5.3.4(2) รายงานการประชุม คณะกรรมการประจำคณะ ครั้งที่ 2/2566 ลง วันที่ 16 มิถุนายน 2566


เกณฑ์การประเมิน รายงานผลการด าเนินงาน เอกสารหลักฐาน จัดการ ครั้งที่ 3/2566 วันที่ 16 มิถุนายน 2566 ณ ห้องปฏิบัติการ บริหารธุรกิจดิจิทัล คณะวิทยาการจัดการ 5. นำผลการประเมินและ ข้อเสนอแนะจากกรรมการ ประจำคณะมาปรับปรุง หลักสูตรให้มีคุณภาพดีขึ้น อย่างต่อเนื่อง คณะวิทยาการจัดการ ได้มีการนำผลการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ระดับหลักสูตร ปี การศึกษา 2565 เสนอต่อที่ประชุมคณะกรรมการประจำคณะ ครั้งที่ 3/2566 วันที่ 16 มิถุนายน 2566 ณ ห้องปฏิบัติการบริหารธุรกิจดิจิทัล คณะวิทยาการจัดการ [เอกสาร 5.3.5(1)] จากการรายงานผลการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ปีการศึกษา 2565 ระดับหลักสูตร “ผ่าน” องค์ประกอบที่ 1 การกำกับมาตรฐานทุกหลักสูตร ผลการประเมินคุณภาพ การศึกษาระดับหลักสูตรข้อมูลย้อนหลัง 3 ปีคือ ปีการศึกษา 2563, 2564 และ2565 หลักสูตร ปี 2563 ปี 2564 ปี 2565 1.บธม.การจัดการ - - 3.09 2.การบัญชี 3.76 3.77 3.73 3.การจัดการ 3.53 3.66 3.78 4.การตลาดดิจิทัล 3.51 3.57 3.74 5.คอมพิวเตอร์ธุรกิจดิจิทัล 3.72 4.03 3.84 6.การจัดการโลจิสติกส์ฯ 3.53 3.66 4.04 7.การจัดการธุรกิจการค้าสมัยใหม่ 2.97 3.12 3.27 8.เศรษฐศาสตร์ 3.74 3.89 3.73 9.นิเทศศาสตร์ดิจิทัล 3.68 3.78 3.86 10.การท่องเที่ยวฯ 3.39 3.56 3.60 ทั้งนี้ ในการประชุมคณะกรรมการประจำคณะคณะวิทยาการจัดการจะดำเนินการรายงานผล การประเมินคุณภาพภายในระดับหลักสูตร และระดับคณะ และขอข้อเสนอแนะ ในการจัดทำ แผนพัฒนาคุณภาพคณะวิทยาการจัดการ (Quality Improvement Plan) ปีการศึกษา 2565 (จากผลการประเมินคุณภาพการศึกษา ปีการศึกษา 2564) เพื่อนำมาปรับปรุงการดำเนินงานด้าน ประกันคุณภาพระดับหลักสูตรให้มีคุณภาพดีขึ้นต่อไป 5.3.5(1) รายงานการประชุม คณะกรรมการประจำคณะ ครั้งที่ 2/2566 ลง วันที่ 16 มิถุนายน 2566


เกณฑ์การประเมิน รายงานผลการด าเนินงาน เอกสารหลักฐาน 6. มีผลการประเมินคุณภาพ ทุกหลักสูตรผ่าน องค์ประกอบที่ 1 การ กำกับมาตรฐาน ทุกหลักสูตรในคณะวิทยาการจัดการ ได้รับการตรวจประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ในระหว่าง วันที่ 16 พฤษภาคม ถึง 8 มิถุนายน 2566 และมีผลการประเมินคุณภาพ “ผ่าน” องค์ประกอบที่ 1 การกำกับมาตรฐานทุกหลักสูตร จำนวน 10 หลักสูตร ซึ่งประกอบไปด้วย หลักสูตรระดับปริญญาตรี จำนวน 9 หลักสูตร และ หลักสูตรระดับปริญญาโท จำนวน 1 หลักสูตร และ มีค่าเฉลี่ยองค์ประกอบที่ 2 – 6 เท่ากับ 3.67 [เอกสาร 5.3.6(1)] หลักสูตร องค์ประกอบที่ 1 ปี2565 1.บธม.การจัดการ ผ่าน 2.การบัญชี ผ่าน 3.การจัดการ ผ่าน 4.การตลาดดิจิทัล ผ่าน 5.คอมพิวเตอร์ธุรกิจดิจิทัล ผ่าน 6.การจัดการโลจิสติกส์ฯ ผ่าน 7.การจัดการธุรกิจการค้าสมัยใหม่ ผ่าน 8.เศรษฐศาสตร์ ผ่าน 9.นิเทศศาสตร์ดิจิทัล ผ่าน 10.การท่องเที่ยวฯ ผ่าน 5.3.6(1) รายงานผลการประเมิน คุณภาพการศึกษาภายในระดับหลักสูตร ปี การศึกษา 2564 จำนวน 10 หลักสูตร การประเมินตนเอง เป้าหมาย ผลการด าเนินงาน คะแนนการประเมินตนเอง บรรลุเป้าหมาย บรรลุ ไม่บรรลุ 6 ข้อ 6 ข้อ 5 คะแนน


Click to View FlipBook Version