ตัวบ่งชี้ 3.1 : ระบบและกลไกการบริการวิชาการ เพื่อการพัฒนาท้องถิ่น ชุมชน หรือสังคม ประเภทของตัวบ่งชี้ : กระบวนการ การเก็บข้อมูล : ปีการศึกษา 2565 (1 มิถุนายน 2565 – 31 พฤษภาคม 2566) หน่วยงานที่รับผิดชอบหลัก : ฝ่ายวิชาการและวิจัย คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏเลย ผลการด าเนินงาน : ในรอบปีการศึกษา 2565 คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏเลย ได้ดำเนินงาน ด้านการบริการวิชาการแก่สังคมโดยมีผลการดำเนินงานตามเกณฑ์มาตรฐาน สกอ. ดังนี้ ข้อ เกณฑ์การประเมิน ผลด าเนินงาน เอกสารหลักฐาน 1 มีส่วนร่วมกับสถาบันและชุมชน ในการกำหนดพื้นที่เป้าหมายใน การพัฒนาท้องถิ่นที่สอดคล้อง กับบริบท ปัญหา และความ ต้องการของท้องถิ่น ชุมชน หรือ สังคมตามจุดเน้น จุดเด่นของ สถาบัน ตามศาสตร์พระราชา หรือตามแนวพระราชดำริ คณะวิทยาการจัดการ มีส่วนร่วมในการกำหนดพื้นที่เป้าหมายในการพัฒนาท้องถิ่น ร่วมกับมหาวิทยาลัยฯ ในการสำรวจพื้นที่เพื่อแก้ปัญหาและพัฒนาท้องถิ่น ตามบริบทของ มหาวิทยาลัยราชภัฏเลย ซึ่งในปีงบประมาณ พ.ศ.2566 โดยรองคณบดีฝ่ายวิชาการและวิจัย พร้อมตัวแทนคณาจารย์ของแต่ละสาขาวิชาในคณะได้เข้าไปมีส่วนร่วมในการลงพื้นที่เป้าหมายที่ มหาวิทยาลัยฯ กำหนด เพื่อเก็บรวบรวมข้อมูลบริบท ปัญหาและความต้องการของชุมชน/ ท้องถิ่นในแต่ละชุมชน เพื่อนำมาหาแนวทางในการจัดกิจกรรมบริการวิชาการตามศาสตร์ พระราชา หรือตามแนวพระราชดำริ ตามบริบท ปัญหาและความต้องการของชุมชนนั้น ๆ โดย พื้นที่ที่ได้รับผิดชอบ ซึ่งแต่ละสาขาวิชาได้เสนอโครงการบริการวิชาการเพื่อพัฒนาและ แก้ปัญหาให้สอดคล้องกับความต้องการของชุมชนในพื้นที่เป้าหมาย โดยมหาวิทยาลัยฯ ได้ จัดสรรงบประมาณให้แต่ละคณะ ในการดำเนินการจัดโครงการ/กิจกรรม ตั้งแต่ปีงบประมาณ พ.ศ.2564จนถึงปีงบประมาณ พ.ศ.2566 คณะกำหนดพื้นที่เป้าหมายในการพัฒนาท้องถิ่นที่สอดคล้องกับบริบท ปัญหา และ ความต้องการของท้องถิ่น ชุมชนหรือสังคม ตามจุดเน้น จุดเด่นของสถาบัน ตาม ศาสตร์พระราชา หรือตามแนวพระราชดำริ ซึ่งสอดคล้องกับยุทธศาสตร์ของมหาวิทยาลัยราช ภัฏเลย เพื่อการพัฒนาท้องถิ่นระยะ 20 ปี ในช่วงระหว่าง พ.ศ. 2560 – 2579 โดยพื้นที่ เป้าหมายในการพัฒนาท้องถิ่นที่กำหนดจำนวน 5 พื้นที่ คือ 1.บ้านกลาง ต.ปากตม อ.เชียงคาน จ.เลย 2.บ้านนากระเซ็ง ต.อาฮี อ.ท่าลี่ จ.เลย 3.บ้านนาแขม ต.นาแขม อ.เมือง จ.เลย 4.บ้านร่องจิก ต.ร่องจิก อ.ภูเรือ จ.เลย 5.บ้านโคกหนองแก ต.ศรีสงคราม อ.วังสะพุง จ.เลย เพื่อเป็นการพัฒนาและเสริมสร้างความสัมพันธ์กับชุมชน ในการยกระดับคุณภาพชีวิต ของชุมชนท้องถิ่น ตามยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัยราชภัฏเพื่อการพัฒนาท้องถิ่น ในด้านเศรษฐกิจ ด้านสังคม ด้านสิ่งแวดล้อม และด้านการศึกษา เมื่อทราบพื้นที่เป้าหมายคณะฯได้แต่งตั้ง ผู้รับผิดชอบเพื่อดำเนินงานตามยุทธศาสตร์การพัฒนาท้องถิ่น ในโครงการยกระดับผลิตภัณฑ์ ท้องถิ่น เพื่อเป็นการพัฒนาอาชีพทำให้ชุมชนมีรายได้เพิ่มขึ้น มีชีวิตความเป็นอยู่ดีขึ้น [เอกสาร 3.1.1(1)] โครงการยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัยราชภัฏเพื่อการพัฒนาท้องถิ่น มหาวิทยาลัยราชภัฏ เลย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 จำนวน 10 ชุมชน ดังนี้ 1. บ้านโนนดินแดง ตำบลทรัพย์ไพวัลย์ อำเภอเอราวัณ จังหวัดเลย 2. บ้านชาด ตำบลขามป้อม อำเภอพระยืน จังหวัดขอนแก่น 3. บ้านขาม อำเภอน้ำพอง จังหวัดขอนแก่น 4. บ้านผานาง ตำบลผาอินทร์แปลง อำเภอเอราวัณ จังหวัดเลย 5. บ้านดอนหญ้านาง ตำบลดอนช้าง อำเภอเมือง จังหวัดขอนแก่น 6. บ้านใหม่ชัยเจริญ ตำบลทรัพย์ไพวัลย์ อำเภอเอราวัณ จังหวัดเลย 7. ตำบลห้วยม่วง อำเภอภูผาม่าน จังหวัดขอนแก่น 8. บ้านห้วยลาด อำเภอภูเรือ จังหวัดเลย 9. ตำบลหนองงิ้ว อำเภอวังสะพุง จังหวัดเลย 10.บ้านหินสอ ตำบลปลาบ่า อำเภอภูเรือ จังหวัดเลย 3.1.1(1) คำสั่งมหาวิทยาลัย ราชภัฏเลยที่ เรื่อง แต่งตั้ง คณะกรรมการดำเนินโครงการ ยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัยราชภัฏเพื่อ การพัฒนาท้องถิ่น ยุทธศาสตร์ที่ 1 การพัฒนาท้องถิ่น 3.1.1(2) คำสั่งคณะ วิทยาการจัดการที่ เรื่อง คณะกรรมการบริการวิชาการแก่ ชุมชนและสังคม ประจำปี งบประมาณ พ.ศ. 2566 3.1.1(3) แผนบริการทาง วิชาการเพื่อการพัฒนาท้องถิ่นและ ชุมชน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566
ข้อ เกณฑ์การประเมิน ผลด าเนินงาน เอกสารหลักฐาน 2 จัดทำแผนบริการวิชาการเพื่อ การพัฒนาท้องถิ่น ชุมชน หรือ สังคมตามจุดเน้น จุดเด่นของ สถาบัน ตามศาสตร์พระราชา หรือตามแนวพระราชดำริและ แผนการนำไปใช้ประโยชน์ ที่มี การกำหนดตัวบ่งชี้ความสำเร็จ ในระดับแผนและโครงการ บริการวิชาการและเสนอ คณะกรรมการประจำคณะเพื่อ พิจารณา คณะวิทยาการจัดการได้มีการแต่งตั้งคณะกรรมการบริการวิชาการแก่ชุมชนและสังคม ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 คณะวิทยาการจัดการ ซึ่งประกอบด้วยคณบดี รองคณบดีฝ่ายวิชาการและวิจัย และตัวแทนจากหลักสูตรต่าง ๆ [เอกสาร 3.1.2(1)] คณะฯ มีพันธกิจในการให้บริการวิชาการที่เป็นประโยชน์ต่อประชาชน ชุมชม องค์กร ของรัฐและเอกชน และส่งเสริมการเรียนรู้ตลอดชีวิต โดยการมีส่วนร่วมกับสังคมและชุมชน มี การประสานความร่วมมือกับหน่วยงานภายในและภายนอกทั้งหน่วยงานภาครัฐและเอกชน [เอกสาร 3.1.2(2)] เพื่อนำข้อมูลมาจัดทำแผนงาน ด้านการบริการวิชาการของ คณะฯ ให้สอดคล้องกับความต้องการของชุมชนมากที่สุด โดยเฉพาะอย่างยิ่งโครงการที่ สอดคล้องกับยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัยราชภัฏ ซึ่งในปีการศึกษา 2565 คณะฯ ได้นำเสนอแผนบริการวิชาการเพื่อการพัฒนา ท้องถิ่นและชุมชน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 ต่อการประชุมคณะกรรมการประจำ คณะ ในการประชุมครั้งที่ 1/2566 วันที่ 23 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2566โดยการจัดทำแผน บริการวิชาการเพื่อการพัฒนาท้องถิ่น ประจำปีการศึกษา 2565 คณะฯ จัดทำแผนบริการ วิชาการเพื่อการพัฒนาท้องถิ่น ชุมชน หรือสังคมตามจุดเน้น จุดเด่นของสถาบัน ตามศาสตร์ พระราชา ดังนี้ 1. ดำเนินการแต่งตั้งคณะกรรมการบริการวิชาการของคณะ โดยมีประธานบริหาร หลักสูตรทุกสาขาวิชามีหน้าที่กำหนดเป้าหมายและแนวทางการดำเนินงานการบริการวิชาให้ สอดคล้องกับบริบทปัญหา และความต้องการของท้องถิ่น ชุมชน สังคม ตามศาสตร์พระราชา หรือตามแนวพระราชดำริ พันธกิจ นโยบาย และแผนพัฒนาคณะวิทยาการจัดการ จัดทำแผน บริการวิชาการเพื่อการพัฒนาท้องถิ่น ชุมชน สังคม ผลักดันการดำเนินการตามแผนบริการ วิชาการฯ มีหน้าที่กำกับ ดูแลด้านการบริการวิชาการ รวมทั้ง การบูรณาการงานบริการ วิชาการกับการเรียนการสอน การวิจัย และกิจกรรมนักศึกษา แต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินงาน โครงการบริการวิชาการ ซึ่งเป็นอาจารย์จากทุกสาขาวิชาของคณะ เพื่อให้เกิดการมีส่วนร่วมใน การขับเคลื่อนการดำเนินงานในเรื่องที่เกี่ยวข้องกับงานบริการวิชาการ รวมทั้งพัฒนาหลักสูตร ฝึกอบรมและดำเนินการฝึกอบรม พัฒนาเครือข่ายการบริการวิชาการและบูรณาการงานบริการ วิชาการกับพันธกิจอื่นๆ ของคณะกับมหาวิทยาลัยฯ และหน่วยงานภายนอก 2. คณะกรรมการฯ จัดประชุมเพื่อวางแผนการ ให้บริการวิชาการเพื่อการพัฒนา ท้องถิ่น ชุมชน หรือสังคม และจัดทำแผนการบริการวิชาการ และแผนการนำไปใช้ ประโยชน์ใน ระดับคณะ ประจำปีงบประมาณ 2566 ปีการศึกษา 2565 ตามจุดเน้น จุดเด่นของ มหาวิทยาลัยตามศาสตร์พระราชา และกำหนดตัวชี้วัด ความสำเร็จของแผนและโครงการ บริการวิชาการ โดยใน ปีงบประมาณ 2566 ปีการศึกษา 2565 คณะมีการ ดำเนินงาน บริการวิชาการเพื่อการพัฒนาท้องถิ่น ชุมชน หรือสังคม ดังนี้ 1) โครงการตามแผนบริการวิชาการเพื่อพัฒนาท้องถิ่น ชุมชนจำนวน 1 โครงการ เป็น เงิน 100,000 บาท 2) โครงการยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัยราชภัฏเพื่อการพัฒนาท้องถิ่น มหาวิทยาลัยราช ภัฏเลย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 จำนวน 11 ชุมชน เป็นเงิน 1,468,500 บาท โดยมีการกำหนดตัวชี้วัดความสำเร็จตามตัวบ่งชี้ของแผนบริการวิชาการเพื่อการพัฒนา ท้องถิ่น ชุมชน หรือสังคม และตัวชี้วัดของโครงการ ดังนี้ ตัวบ่งชี้ความสำเร็จของแผนบริการวิชาการเพื่อการพัฒนาท้องถิ่น ชุมชน หรือสังคม ตัวชี้วัดความส าเร็จ หน่วย ค่า เป้าหมาย 1.ร้อยละของผู้รับบริการได้รับประโยชน์ตาม นโยบายของคณะวิทยาการจัดการหรือนำ ความรู้ไปใช้ประโยชน์ในชีวิตประจำวัน ร้อยละ 80 2.ร้อยละความสำเร็จของกิจกรรมที่สนับสนุน และส่งเสริมงานบริการวิชาการ ร้อยละ 80 3.1.2(1) คำสั่งแต่งตั้ง คณะกรรมการบริการวิชาการแก่ ชุมชนและสังคม ประจำปี งบประมาณ พ.ศ. 2566 3.1.2(2) ผลสำรวจความ ต้องการของชุมชนในการให้บริการ วิชาการแก่สังคม 3.1.2(3) แผนบริการทาง วิชาการเพื่อการพัฒนาท้องถิ่นและ ชุมชน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 3.1.2(4) แผนเสริมสร้าง ความสัมพันธ์กับชุมชน ประจำปี งบประมาณ พ.ศ. 2566 3.1.2(5) รายงานการประชุม คณะกรรมการประจำคณะ ครั้งที่ 1/2566 วันที่ 23 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2566
ข้อ เกณฑ์การประเมิน ผลด าเนินงาน เอกสารหลักฐาน 3.ร้อยละของกิจกรรมที่สามารถเบิกจ่ายได้ตาม ไตรมาสที่กำหนด ร้อยละ 80 4.จำนวนกิจกรรมบริการวิชาการที่ บูรณาการ กับการเรียนการสอน ร้อยละ 80 5. จำนวนกิจกรรมบริการวิชาการที่บูรณาการ กับงานวิจัย และการทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม ร้อยละ 50 6. จำนวนผลิตภัณฑ์ที่ได้รับการยกระดับ หรือ พัฒนา ผลิตภัณฑ์ 5 ตัวบ่งชี้ความส าเร็จของโครงการบริการวิชาการ ตัวชี้วัดความส าเร็จ หน่วย ค่า เป้าหมาย เชิงปริมาณ: จำนวนพื้นที่เป้าหมายที่ได้รับการอบรมโครงการ บูรณาการบริการวิชาการ พื้นที่ 5 เชิงคุณภาพ: มีการบูรณาการเรียนการสอนกับการ บริการวิชาการ ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 80 ร้อยละความพึงพอใจของการเข้าร่วมกิจกรรม ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 80 ตัวบ่งชี้ความส าเร็จของโครงการยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัยราชภัฏเพื่อการพัฒนาท้องถิ่น มหาวิทยาลัยราชภัฏเลย ตัวชี้วัดความส าเร็จ หน่วย ค่า เป้าหมาย เชิงปริมาณ: จำนวนชุมชนที่เข้าร่วมโครงการ ชุมชน 5 จำนวนประชาชนในพื้นที่เป้าหมาย เข้าร่วม โครงการ คน/พื้นที่ 20 เชิงคุณภาพ: จำนวนผลิตภัณฑ์ชุมชนที่เข้าร่วม โครงการได้รับ การพัฒนาและ ยกระดับให้มีมาตรฐานและ คุณภาพ ที่สูงขึ้น ผลิตภัณฑ์ 5 เชิงเวลา: ร้อยละของความสำเร็จของการเบิกจ่าย งบประมาณเป็นไปตามไตรมาสที่กำหนด ร้อยละ 100 3 ดำเนินการตามแผน การ บริการทางวิชาการ เพื่อ การพัฒนาท้องถิ่น ชุมชน หรือ สังคมที่กำหนดไว้ตามข้อ 2 โดยร่วมมือกับหน่วยงานภายใน หรือภายนอกสถาบัน อย่างน้อย 1 โครงการ คณะวิทยาการจัดการ ได้ดำเนินการบริการทางวิชาการเพื่อการพัฒนาท้องถิ่น ชุมชน หรือสังคม ในปีการศึกษา 2565 โดยมีการกำหนดแนวทางการลงพื้นที่ให้เป็นไปตามแผนบริการ วิชาการ รวมทั้งส่งเสริมให้มีการบูรณาการการทำงานร่วมกับหน่วยงานอื่น โครงการตามแผน บริการวิชาการเพื่อพัฒนาท้องถิ่น ชุมชนซึ่งเป็นการดำเนินงานร่วมกันกับสถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏเลย ซึ่งเป็นหน่วยงานภายใน โดยมีวัตถุประสงค์ในการดำเนินโครงการเพื่อ ยกระดับคุณภาพชีวิตของประชาชนในพื้นที่เป้าหมายที่คณะ ฯ ได้กำหนดร่วมกับมหาวิทยาลัย 3.1.3(1) แผนงาน ยุทธศาสตร์เสริมสร้างพลังทางสังคม โครงการยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย ราชภัฏเพื่อการพัฒนาท้องถิ่น 3.1.3(2) รายงานผล โครงการบริการวิชาการ
ข้อ เกณฑ์การประเมิน ผลด าเนินงาน เอกสารหลักฐาน กิจกรรม ผลิตภัณฑ์/รูปแบบ 1.โครงการยกระดับและต่อยอดผลิตภัณฑ์ ชุมชนเข้าสู่มาตรฐานสินค้า เพื่อขยายตลาด ภูมิปัญญา จากการแปรรปู ผลิตภัณฑ์กล้วย และของที่ระลึกบ้านกลาง ตำบลปากตม อำเภอเชียงคาน จังหวัดเลย ผลิตภัณฑ์กล้วยอบเนย และของที่ระลึกตุ๊กตา 2.โครงการพัฒนาและเพิ่มมูลค่าจากเศษผ้า ทอมือ เป็นของใช้ในครัวเรือน : กระเป๋าใส่ เหรียญ และชุดรองแก้วรองจาน บ้านนากระ เซ็ง อำเภอท่าลี่ จังหวัดเลย ผลิตภัณฑ์กระเป๋าใส่ เหรียญ และชุดรองแก้ว รองจาน 3. โครงการพัฒนาและเพิ่มมูลค่าจากมูลวัว เป็นปุ๋ยอินทรีย์ ตำบลนาแขม อำเภอเมือง จังหวัดเลย ผลิตภัณฑ์ปุ๋ยอินทรีย์ 4. โครงการเพิ่มมูลค่าการแปรรปู มะขาม เปรี้ยว กลุ่มวิสาหกิจเกษตรแปลงใหญ่ ตำบล ร่องจิก อำเภอภูเรือ จังหวัดเลย ผลิตภัณฑ์การแปรรูป มะขามเปรี้ยว 5.โครงการพัฒนาคุณภาพชีวิต และยกระดับ เศรษฐกิจฐานราก ในพื้นที่บ้านโคกหนองแก ตำบลศรีสงคราม อำเภอวังสะพุง จังหวัดเลย ผลิตภัณฑ์น้ำหมัก โครงการยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัยราชภัฏเพื่อการพัฒนาท้องถิ่น มหาวิทยาลัยราชภัฏ เลย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 จำนวน 10 ชุมชน ในจังหวัดเลย และจังหวัดขอนแก่น ได้แก่ 1. บ้านโนนดินแดง ตำบลทรัพย์ไพวัลย์ อำเภอเอราวัณ จังหวัดเลย2. บ้านชาด ตำบลขามป้อม อำเภอพระยืน จังหวัดขอนแก่น 3. บ้านขาม อำเภอน้ำพอง จังหวัด ขอนแก่น 4. บ้านผานาง ตำบลผาอินทร์แปลง อำเภอเอราวัณ จังหวัดเลย 5. บ้านดอนหญ้านาง ตำบลดอนช้าง อำเภอเมือง จังหวัดขอนแก่น 6. บ้านใหม่ชัยเจริญ ตำบล ทรัพย์ไพวัลย์ อำเภอเอราวัณ จังหวัดเลย 7. ตำบลห้วยม่วง อำเภอภูผาม่าน จังหวัดขอนแก่น 8. บ้านห้วยลาด อำเภอภูเรือ จังหวัดเลย 9. ตำบลหนองงิ้ว อำเภอวงัสะพุง จังหวัดเลย 10.บ้าน หินสอ ตำบลปลาบ่า อำเภอภูเรือ จังหวัดเลย โดยได้รับความร่วมมือกับองค์การบริหารส่วน ตำบลในแต่ละพื้นที่ ซึ่งเป็นหน่วยงานภายนอก เพื่อเป็นตัวกลางในการประสานงานชุมชน ซึ่งกระบวนการดำเนินโครงการได้เริ่มตั้งแต่ การสำรวจโจทย์/ ความต้องการของชุมชน นำข้อมูลมาสังเคราะห์และออกแบบกิจกรรมที่เหมาะสมกับบริบทของชุมชน และศักยภาพของ คณาจารย์คณะวิทยาการจัดการ ซึ่งสามารถสรุปกิจกรรมใน ภาพรวมได้ ดังนี้ กิจกรรม ผลิตภัณฑ์/รูปแบบ 1. โครงการการพัฒนาและสร้างมูลค่าเพิ่ม ผลิตภัณฑ์แปรรูปเสื่อกก เพื่อยกระดับ เศรษฐกิจชุมชนบ้านโนนดินแดง ตำบลทรัพย์ ไพวัลย์ อำเภอเอราวัณ จังหวัดเลย ผลิตภัณฑ์เสื่อกก 2. โครงการ การพัฒนาช่องทางการขาย ออนไลน์และออฟไลน์จากผลิตภัณฑ์ผ้าไหม บ้านชาด ตำบลขามป้อม อำเภอพระยืน จังหวัดขอนแก่น ผลิตภัณฑ์ผ้าไหม 3. โครงการพัฒนาผลิตภัณฑ์ชุมชนท้องถิ่น กลุ่มอาชีพบ้านขาม อำเภอน้ำพอง จังหวัด ขอนแก่น ผลิตภัณฑ์สบู่
ข้อ เกณฑ์การประเมิน ผลด าเนินงาน เอกสารหลักฐาน 4. โครงการ การยกระดับผลิตภัณฑ์ชุมชนเข้าสู่การตลาดดิจิทัลของบ้านผานาง ตำบลผา อินทร์แปลง อำเภอเอราวัณ จังหวัดเลย ผลิตภัณฑ์ขนมกะหรี่ปั๊ป / การขายสินค้าออนไลน์ 5. โครงการยกระดับผลิตภัณฑ์ชุมชนท้องถิ่น เพื่อขยายตลาดภูมิปัญญา ผ้าไหมทอมือ บ้าน ดอนหญ้านาง ตำบลดอนช้าง อำเภอเมือง จังหวัดขอนแก่น ผลิตภัณฑ์ผ้าไหมทอมือ 6. โครงการ การพัฒนาเศรษฐกิจชุมชนโดย การยกระดับผลิตภัณฑ์ชุมชน : หัตถกรรมไม้ ไผ่เครื่องจักสาน บ้านใหม่ชัยเจริญ ตำบล ทรัพย์ไพวัลย์ อำเภอเอราวัณ จังหวัดเลย ผลิตภัณฑ์ไม้ไผ่จักสาน 7. โครงการ การพัฒนาต่อยอดผลิตภัณฑ์จาก ผ้าไหม และเครื่องจักสานจากกกให้มี มาตรฐาน : กลุ่มผ้าไหม และเครื่องจักสาน จากกก ตำบลห้วยม่วง อำเภอภูผาม่าน จังหวัดขอนแก่น ผลิตภัณฑ์กลุ่มผ้าไหม และ เครื่องจักสานจากกก 8. โครงการ การสร้างการรับรู้แหล่งท่องเที่ยว เชิงอนุรักษ์บ้านห้วยลาด อำเภอภูเรือ จังหวัด เลย เส้นทางการท่องเที่ยว 9. โครงการ การพัฒนาคุณภาพการย้อมผ้า และลายผ้าฝ้ายทอมือจากต้นกระบกเพื่อต่อ ยอดเป็นผลิตภัณฑ์ผ้าฝ้ายที่มีมาตรฐาน สร้างอัตลักษณ์เพิ่มรายได้ให้กับชุมชน บ้านกกบก ตำบลหนองงิ้ว อำเภอวงัสะพุง จังหวัดเลย ผลิตภัณฑ์จากการย้อมผ้า และลายผ้าฝ้ายทอมือ 10.โครงการยกระดับคุณภาพสังคมผู้สูงอายุ และเตรียมความพร้อมสู่วัยเกษียณ หมู่บ้าน หินสอ ตำบลปลาบ่า อำเภอภูเรือ จังหวัดเลย ผลิตภัณฑ์การออมเตรียม ความพร้อมสู่วัยเกษียณ
ข้อ เกณฑ์การประเมิน ผลด าเนินงาน เอกสารหลักฐาน 4 ประเมินความสำเร็จตามตัวบ่งชี้ ของแผนและโครงการบริการ วิชาการเพื่อการพัฒนาท้องถิ่น ชุมชน หรือสังคมตามข้อ 2 และ นำเสนอคณะกรรมการประจำ คณะเพื่อพิจารณา จากการดำเนินการตามแผนบริการวิชาการ เพื่อการพัฒนาท้องถิ่น ชุมชน คณะวิทยาการ จัดการ ได้มีการประเมินความสำเร็จของการดำเนินงานตามตัวบ่งชี้ของแผน และประเมิน ความสำเร็จตามตัวบ่งชี้ของโครงการบริการวิชาการแก่สังคม คือ แผนบริการวิชาการเพื่อพัฒนา ท ้ อ ง ถ ิ ่ น แ ล ะ ช ุ ม ช น ป ร ะ จ ำ ป ี ง บ ป ร ะ ม า ณ พ.ศ. 2566 [เอกสาร 3.1.4(1)] มีประเมินความสำเร็จตามตัวบ่งชี้ของแผนและโครงการ บริการวิชาการเพื่อการพัฒนาท้องถิ่น ชุมชน หรือสังคม ดังนี้ รายงานตัวบ่งชี้ความสำเร็จของแผนบริการวิชาการเพื่อการพัฒนาท้องถิ่น ชุมชน หรือ สังคม ตัวชี้วัดความส าเร็จ หน่วย ค่า เป้าหมาย การประเมิน ผลส าเร็จ บรรลุ ไม่บรรลุ 1.ร้อยละของผู้รับบริการได้รับ ประโยชน์ตามนโยบายของ คณะวิทยาการจัดการหรือนำ ความรู้ไปใช้ประโยชน์ใน ชีวิตประจำวัน ร้อยละ 80 2.ร้อยละความสำเร็จของ กิจกรรมที่สนับสนุนและ ส่งเสริมงานบริการวิชาการ ร้อยละ 80 3.ร้อยละของกิจกรรมที่ สามารถเบิกจ่ายได้ตามไตรมาส ที่กำหนด ร้อยละ 80 4.จำนวนกิจกรรมบริการ วิชาการที่ บูรณาการกับการ เรียนการสอน ร้อยละ 80 5. จำนวนกิจกรรมบริการ วิชาการที่บูรณาการกับงานวิจัย และการทำนุบำรุง ศิลปวัฒนธรรม ร้อยละ 50 6. จำนวนผลิตภัณฑ์ที่ได้รับการ ยกระดับ หรือพัฒนา ผลิตภัณฑ์ 5 ตัวบ่งชี้ความส าเร็จของโครงการบริการวิชาการ ตัวชี้วัดความส าเร็จ หน่วย ค่า เป้าหมาย การประเมิน ผลส าเร็จ บรรลุ ไม่บรรลุ เชิงปริมาณ: จำนวนพื้นที่เป้าหมายที่ได้รับ การอบรมโครงการบูรณาการ บริการวิชาการ พื้นที่ 5 เชิงคุณภาพ: 3.1.4(1) แผนบริการ วิชาการเพื่อพัฒนาท้องถิ่นและชุมชน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 3.1.4(2) รายงานการประชุม คณะกรรมการประจำคณะ ครั้งที่ 2/2566 วันที่ 16 มิถุนายน 2566 3.1.4(3) รายงานผลโครงการ บริการวิชาการ
ข้อ เกณฑ์การประเมิน ผลด าเนินงาน เอกสารหลักฐาน มีการบูรณาการเรียนการสอน กับการบริการวิชาการ ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 80 ร้อยละความพึงพอใจของการ เข้าร่วมกิจกรรม ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 80 ตัวบ่งชี้ความส าเร็จของโครงการยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัยราชภัฏเพื่อการพัฒนาท้องถิ่น มหาวิทยาลัยราชภัฏเลย ตัวชี้วัดความส าเร็จ หน่วย ค่า เป้าหมาย การประเมิน ผลส าเร็จ บรรลุ ไม่บรรลุ เชิงปริมาณ: จำนวนชุมชนที่เข้าร่วม โครงการ ชุมชน 5 จำนวนประชาชนในพื้นที่ เป้าหมาย เข้าร่วมโครงการ คน/ พื้นที่ 20 เชิงคุณภาพ: จำนวนผลิตภัณฑ์ชุมชนที่เข้า ร่วม โครงการได้รับการพัฒนา และ ยกระดับให้มีมาตรฐาน และคุณภาพ ที่สูงขึ้น ผลิตภัณฑ์ 5 เชิงเวลา: ร้อยละของความสำเร็จของการ เบิกจ่ายงบประมาณเป็นไปตาม ไตรมาสที่กำหนด ร้อยละ 100 การดำเนินโครงการบริการวิชาการตามแผนบริการวิชาการเพื่อการพัฒนาท้องถิ่น ชุมชน หรือสังคม คณะกรรมการฯ ได้ทบทวนและติดตามการดำเนินงาน ประจำปีงบประมาณ 2566 (ประจำปีการศึกษา 2565) ทั้งนี้โครงการบริการวิชาการเพื่อการพัฒนาท้องถิ่น ชุมชน หรือ สังคม เริ่มดำเนินการในไตรมาสที่ 1 ถึงไตรมาสที่ 4 จากการติดตามผลการดำเนินการการ ให้บริการวิชาการในระดับคณะ พบว่า โครงการส่วนใหญ่ดำเนินงานเป็นไปตามแผนบริการ วิชาการฯ ที่กำหนด โครงการตามแผนบริการวิชาการเพื่อพัฒนาท้องถิ่น ชุมชน กิจกรรม ผลการด าเนินงาน ประโยชน์ที่ได้รับ 1.โครงการยกระดับ และต่อยอด ผลิตภัณฑ์ชุมชนเข้า สู่มาตรฐานสินค้า เพื่อขยายตลาดภูมิ ปัญญา จากการ แปรรปู ผลิตภัณฑ์ 1 .มีการต่อยอดผลิตภัณฑ์ จากเดิม (กล้วยฉาบ) เป็น ผลิตภัณฑ์ใหม่ (กล้วยแหก โค้ง) โดยใช้วัตถุดิบที่มีใน ชุมชน ชุมชนมีผลิตภัณฑ์ ใหม่และสร้างรายได้ ให้กับคนในชุมชน
ข้อ เกณฑ์การประเมิน ผลด าเนินงาน เอกสารหลักฐาน กล้วยและของที่ ระลึกบ้านกลาง ตำบลปากตม อำเภอเชียงคาน จังหวัดเลย 2. มีการออกแบบบรรจุ ภัณฑ์ใหม่ ทำให้สินค้ามี ความน่าสนใจมากยิ่งขึ้น 2.โครงการพัฒนา และเพิ่มมูลค่าจาก เศษผ้าทอมือ เป็น ของใช้ในครัวเรือน : กระเป๋าใส่เหรียญ และชุดรองแก้วรอง จาน บ้านนากระ เซ็ง อำเภอท่าลี่ จังหวัดเลย 1.มีการต่อยอดรูปแบบการ พัฒนาลวดลายจากเศษผ้า ทอมือ เป็นกระเป๋าใส่ เหรียญ และชุดรองแก้ว รองจาน ชุมชนมีผลิตภัณฑ์ ใหม่และสร้างรายได้ ให้กับคนในชุมชน 3. โครงการพัฒนา และเพิ่มมูลค่าจาก มูลวัว เป็นปุ๋ย อินทรีย์ ตำบลนา แขม อำเภอเมือง จังหวัดเลย ชุมชนมีการเพิ่มมูลค่าจาก มูลวัว มาทำเป็นปุ๋ยอินทรีย์ กลุ่มอาชีพมี ผลิตภัณฑ์ที่ หลากหลายมาก ยิ่งขึ้น 4. โครงการเพิ่ม มูลค่าการแปรรปู มะขามเปรี้ยว กลุ่ม วิสาหกิจเกษตร แปลงใหญ่ ตำบล ร่องจิก อำเภอภูเรือ จังหวัดเลย 1.มีผลิตภัณฑ์ใหม่จากการ แปรรูปมะขามเปรี้ยว 2.ได้องค์ความรู้จากการ ยกระดับผลิตภัณฑ์ 1. ชุมชนได้รับองค์ ความรู้จากการแปร รูปมะขามเปรี้ยว 2. สร้างอาชีพ สร้าง รายได้ให้กับชุมชน 5.โครงการพัฒนา คุณภาพชีวิต และ ยกระดับเศรษฐกิจ ฐานราก ในพื้นที่ บ้านโคกหนองแก ตำบลศรีสงคราม อำเภอวังสะพุง จังหวัดเลย ชุมชนได้ผลิตภัณฑ์ใหม่ จากการใช้เศษวัตถุดิบที่มี อยู่ให้เกิดประโยชน์ ชุมชนได้ผลิตภัณฑ์ น้ำหมักที่ทำจากเศษ วัตถุดิบที่เหลืออยู่ โครงการยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัยราชภัฏเพื่อการพัฒนาท้องถิ่น มหาวิทยาลัยราชภัฏเลย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 กิจกรรม ผลการด าเนินงาน ประโยชน์ที่ได้รับ 1. โครงการการ พัฒนาและสร้าง มูลค่าเพิ่มผลิตภัณฑ์ แปรรูปเสื่อกก เพื่อ 1 . มีการต่อยอด ผลิตภัณฑ์จากเดิมที่เป็น เสื่อกก ได้มีการแปรรูป เป็นกระเป๋าถือ ชุมชนมีผลิตภัณฑ์ ใหม่และสร้างรายได้ ให้กับคนในชุมชน
ข้อ เกณฑ์การประเมิน ผลด าเนินงาน เอกสารหลักฐาน ยกระดับเศรษฐกิจ ชุมชนบ้านโนนดิน แดง ตำบลทรัพย์ ไพวัลย์ อำเภอ เอราวัณ จังหวัดเลย 2. มีการออกแบบบรรจุ ภัณฑ์ใหม่ ทำให้สินค้ามี ความน่าสนใจมากยิ่งขึ้น 2. โครงการ การ พัฒนาช่องทางการ ขายออนไลน์และ ออฟไลน์จาก ผลิตภัณฑ์ผ้าไหม บ้านชาด ตำบลขาม ป้อม อำเภอพระยืน จังหวัดขอนแก่น 1.ม ีช ่ อ งท า งก า รข า ย ออนไลน์และออฟไลน์จาก ผลิตภัณฑ์ผ้าไหม ชุมชนมีช่องทางการ ขายออนไลน์ มีเพจ และ Facebook ของ กลุ่มเพื่อจำหน่าย สินค้า 2.ทำให้สินค้าเป็นที่ รู้จักมากยิ่งขึ้น มีรายได้มากขึ้น 3. โครงการพัฒนา ผลิตภัณฑ์ชุมชน ท้องถิ่นกลุ่มอาชีพ บ้านขาม อำเภอน้ำ พอง จังหวัด ขอนแก่น 1.ผลิตภัณฑ์ของกลุ่มอาชีพ ได้รับการพัฒนาให้ดียิ่งขึ้น กลุ่มอาชีพมี ผลิตภัณฑ์ที่ หลากหลายมาก ยิ่งขึ้น 4. โครงการ การ ยกระดับผลิตภัณฑ์ ชุมชนเข้าสู่ การตลาดดิจิทัลของ บ้านผานาง ตำบล ผาอินทร์แปลง อำเภอเอราวัณ จังหวัดเลย 1.ม ีช ่ อ งท า งก า รข า ย ออนไลน์และออฟไลน์ 2. ชุมชนมีองค์ความรู้ใน การขายสินค้าออนไลน์ และสามารถใส่เรื่องรายว ความเป็นมาของชุมชนใน ผลิตภัณฑ์ได้ ชุมชนมีช่องทางการ ขายออนไลน์ มีเพจ และ Facebook ของ กลุ่มเพื่อจำหน่าย สินค้า 2.ทำให้สินค้าเป็นที่ รู้จักมากยิ่งขึ้น มีรายได้มากขึ้น 5. โครงการ ยกระดับผลิตภัณฑ์ ชุมชนท้องถิ่นเพื่อ ขยายตลาดภูมิ ปัญญา ผ้าไหมทอ มือ บ้านดอนหญ้า นาง ตำบลดอนช้าง อำเภอเมือง จังหวัด ขอนแก่น 1. ผลิตภัณฑ์ได้รับการ ยกระดับเข้าสู่มาตรฐาน 2. ชุมชนมีลวดลายเป็น เอกลักษณ์เฉพาะกลุ่ม 1. มีลวดลายที่เป็น เอกลักษณ์ และได้รับ มาตรฐาน 2. ทำให้สินค้าเป็นที่ รู้จักมากยิ่งขึ้น มีรายได้มากขึ้น 6. โครงการ การ พัฒนาเศรษฐกิจ ชุมชนโดยการ ยกระดับผลิตภัณฑ์ ชุมชน : หัตถกรรม ไม้ไผ่เครื่องจักสาน บ้านใหม่ชัยเจริญ 1. ชุมชนมีผลิตภัณฑ์ใหม่ จ า ก ก ารจ ัก สา น เช ่น กระเป๋าที่ทำจากไม้ไผ่ กลุ่มอาชีพมี ผลิตภัณฑ์ที่ หลากหลายมาก ยิ่งขึ้น
ข้อ เกณฑ์การประเมิน ผลด าเนินงาน เอกสารหลักฐาน ตำบลทรัพย์ไพวัลย์ อำเภอเอราวัณ จังหวัดเลย7. โครงการ การ พัฒนาต่อยอด ผลิตภัณฑ์จากผ้า ไหม และเครื่องจัก สานจากกกให้มี มาตรฐาน : กลุ่มผ้า ไหม และเครื่องจัก สานจากกก ตำบล ห้วยม่วง อำเภอภู ผาม่าน จังหวัด ขอนแก่น 1. ผลิตภัณฑ์ได้รับการ ยกระดับเข้าสู่มาตรฐาน 2. ชุมชนมีลวดลายเป็น เอกลักษณ์เฉพาะกลุ่ม 3. ไ ด ้ ร ั บ ก า ร พ ั ฒ น า ผลิตภัณฑ์ใหม่จากการจัก สานจากกก เป็นผลิตภัณฑ์ ใหม่ 1. มีลวดลายที่เป็น เอกลักษณ์ และได้รับ มาตรฐาน 2. ทำให้สินค้าเป็นที่ รู้จักมากยิ่งขึ้น มีรายได้มากขึ้น 8. โครงการ การ สร้างการรับรู้แหล่ง ท่องเที่ยวเชิง อนุรักษ์บ้านห้วย ลาด อำเภอภูเรือ จังหวัดเลย9. โครงการ การ พัฒนาคุณภาพการ ย้อมผ้าและลายผ้า ฝ้ายทอมือจากต้น กระบกเพื่อต่อยอด เป็นผลิตภัณฑ์ผ้า ฝ้ายที่มีมาตรฐาน สร้างอัตลักษณ์เพิ่ม รายได้ให้กับชุมชน บ้านกกบก ตำบล หนองงิ้ว อำเภอวงัสะพุง จังหวัดเลย 1.มีคู่มือการย้อมผ้าจากต้น กระบก 2 . ช ุ ม ช น ม ี ล า ย เ ป ็ น เอกลักษณ์ 3. ชุมชนได้รับการพัฒนา คุณภาพการย้อมผ้าและ ลายผ้าฝ้ายทอมือจากต้น กระบก 1.ชุมชนมีองค์ความรู้ เกี่ยวกับการการย้อม ผ้าและลายผ้าฝ้ายทอ มือจากต้นกระบก 2.ชุมชนได้รับแนว ทางการ พัฒนาความ เป็นอยู่ของ คนใน ชุมชนอย่างยั่งยืน 10.โครงการ ยกระดับคุณภาพ สังคมผู้สูงอายุและ เตรียมความพร้อมสู่วัยเกษียณ หมู่บ้าน หินสอ ตำบลปลา บ่า อำเภอภูเรือ จังหวัดเลย 1.ชุมชนรู้จักวิธีการเตรียม ความพร้อมสู่วัยเกษียณ 2. ชุมชนเข้าใจวิธีการออม ก่อนวัยเกษียณ ช ุ ม ช น ได ้ รั บแนว ทางการ พัฒนาความ เป็นอยู่ของ คนใน ชุมชนอย่างยั่งยืน
ข้อ เกณฑ์การประเมิน ผลด าเนินงาน เอกสารหลักฐาน โดยคณะจะดำเนินการนำเสนอคณะกรรมการประจำคณะ เพื่อพิจารณา ในการประชุม ครั้งที่ 2/2566 วันที่ 16 มิถุนายน 2566 [เอกสาร 3.1.4(2)] เพื่อขอข้อเสนอแนะ และนำผล การประเมินไปปรับปรุงแผนบริการวิชาการในปีงบประมาณต่อไป 5 นำผลการประเมินตามข้อ 4 ไป ปรับปรุงแผนบริการวิชาการใน ปีต่อไป คณะวิทยาการจัดการ ได้นำผลการดำเนินงานตามแผนบริการวิชาการเพื่อการพัฒนา ท้องถิ่น ประจำปีการศึกษา 2565 เสนอต่อการประชุมคณะกรรมการประจำคณะ ประชุมครั้ง ที่ครั้งที่ 2/2566 ลงวันที่ 16 มิถุนายน 2566 [เอกสาร 3.1.5(1)] โดยผู้ทรงคุณวุฒิได้ให้ ข้อเสนอแนะ มีโครงการบริการวิชาการ และโครงการยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัยราชภัฏเพื่อการ พัฒนาท้องถิ่น มหาวิทยาลัยราชภัฏเลย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 ที่ส่งเสริมให้ชุมชน เข้มแข็งจำนวนมาก และเป็นไปตามศาสตร์ของคณะวิทยาการจัดการ ในเรื่องของการจัด ผลิตภัณฑ์ แต่อย่างให้คณะได้ดำเนินการบูรณาการในเรื่องของการเป็นผู้ประกอบการต้องรู้จัก ในทุกด้านเนื่องจากเป็นชุมชน คณะจึงควรจัดทำหลักสูตรเพื่อให้สอดคล้องกับสภาวะปัจจุบัน ทั้งนี้คณะวิทยาการจัดการจะนำข้อเสนอแนะจากคณะกรรมการประจำคณะ ไป ปรับปรุงแผนบริการวิชาการในปีการศึกษา 2566 ต่อไป 3.1.5(1) รายงานการประชุม คณะกรรมการประจำคณะ ครั้งที่ 2/2566 ลงวันที่ 16 มิถุนายน 2566
ตัวบ่งชี้ 3.2 : ชุมชนเป้าหมายที่ได้รับการพัฒนาอย่างต่อเนื่องตามแผน เสริมสร้าง ความสัมพันธ์กับชุมชน ประเภทของตัวบ่งชี้ : ผลลัพธ์ การเก็บข้อมูล : ปีการศึกษา 2565 (1 มิถุนายน 2565 – 31 พฤษภาคม 2566) หน่วยงานที่รับผิดชอบหลัก : ฝ่ายวิชาการและวิจัย คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏเลย เกณฑ์การประเมิน โดยการแปลงค่าคะแนนร้อยละจำนวนกลุ่มเป้าหมายที่ได้รับการพัฒนาอย่างต่อเนื่องตามแผนเสริมสร้าง ความสัมพันธ์กับชุมชนที่กำหนดให้เป็นคะแนนเต็ม 5 = ร้อยละ 20 สูตรการค านวณ 1. คำนวณค่าร้อยละของชุมชนเป้าหมายที่ได้รับการพัฒนาอย่างต่อเนื่องตามแผนเสริมสร้างความสัมพันธ์กับชุมชน 2. แปลงค่าร้อยละที่คำนวณได้ ในข้อ 1 เทียบกับคะแนนเต็ม 5 ในรอบการศึกษา 2565 คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏเลย มีชุมชนเป้าหมายที่ได้รับ การพัฒนาอย่างต่อเนื่องตามแผนเสริมสร้างความสัมพันธ์กับชุมชน จำนวน 5 หน่วยงาน ในพื้นที่ ความรับผิดชอบของ คณะตามที่ได้รับมอบหมายจากมหาวิทยาลัยราชภัฏเลย สามารถคำนวณได้ดังนี้ จำนวนชุมชนเป้าหมายที่ได้รับการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง ตามแผนเสริมสร้างความสัมพันธ์กับชุมชน จำนวนชุมชนเป้าหมายทั้งหมด ร้อยละของชุมชนเป้าหมายที่ได้รับการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง ตามแผนเสริมสร้างความสัมพันธ์กับชุมชน ร้อยละจำนวนกลุ่มเป้าหมายที่ได้รับการพัฒนาอย่างต่อเนื่องตามแผนเสริมสร้าง ความสัมพันธ์กับชุมชนที่กำหนดให้เป็นคะแนนเต็ม 5 x 5 x 100
1. คำนวณค่าร้อยละของชุมชนเป้าหมายที่ได้รับการพัฒนาอย่างต่อเนื่องตามแผนเสริมสร้างความสัมพันธ์กับ ชุมชน = 5 = 100 2. แปลงค่าร้อยละที่คำนวณได้ ในข้อ 1 เทียบกับคะแนนเต็ม 5 (ร้อยละ 20 คิดเป็น 5 คะแนน) = 100 = 5 คำนวณค่าร้อยละของชุมชนเป้าหมายที่ได้รับการพัฒนาอย่างต่อเนื่องตามแผนเสริมสร้าง ความสัมพันธ์กับชุมชน จำนวน 5 พื้นที่ เทียบระดับคะแนน คะแนนเต็ม 5 = 5 คะแนน การประเมินตนเอง : เป้าหมาย ผลการด าเนินงาน คะแนนการประเมินตนเอง บรรลุเป้าหมาย บรรลุ ไม่บรรลุ ร้อยละ 20 ร้อยละ 100 5 คะแนน x 100 x 5 5 100