The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

แนวปฏิบัติที่ดีก้านactive-learning

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Fms.lru2017, 2021-07-19 22:05:13

แนวปฏิบัติที่ดีก้านactive-learning

แนวปฏิบัติที่ดีก้านactive-learning

แนวปฏบิ ัตทิ ีด่ ีจากการจดั การเรยี นการสอน

ด้านการผลติ บณั ฑิต : กิจกรรมการจัดการเรียน

มหาวิทยาลัยราชภัฏเลย การสอนแบบ Active Learnin

คณะวิทยาการจัดการ

FACUTY OF MANAGEMENT SCIECE



เป้าหมายการจัดการความรู้ คณะวทิ ยาการจดั การ
ประจาปีการศกึ ษา 2564

ด้านการผลติ บณั ฑิต

ประเด็น KM : กิจกรรมการจัดการเรยี นการสอนแบบ Active Learning
เปา้ หมาย : สาขาวชิ าต้องมีการจัดการเรยี นการสอนแบบ Active Learning
ตัวชีว้ ดั : สาขาวชิ าต้องจดั รายวชิ าทเ่ี ปน็ Active Learning อยา่ งนอ้ ย 2 วิชา

1

1

องค์ความรูจ้ ากกจิ กรรมแลกเปล่ียนเรียนรู้ ปีการศกึ ษา 2563

หนว่ ยงาน : คณะวทิ ยาการจดั การ มหาวิทยาลัยราชภฏั เลย
ช่ือโครงการ : การจัดการความรู้อาจารยผ์ ้สู อน จากความรู้ (Knowledge) ทักษะ (Skill) และ
ประสบการณ์ (Experience) เพ่ือพฒั นาเปน็ แนวปฏบิ ตั ิท่ดี ีในการจัดการเรยี นการสอนและ
การทาวิจยั

นิยาม : การจัดการความรู้ (Knowledge Management : KM) เป็นเครื่องมือในการ
รวบรวมและคัดสรรความรู้ท้ังความรู้ที่ฝังลักในตัวคน (Tacit Knowledge) และความรู้ที่ชัดแจ้ง (Explicit
Knowledge) มาพัฒนาอย่างเป็นระบบ ด้วยกรให้บุคลากรที่มีประสบการณ์จริงได้มีโอกาสการแบ่งปันและ
แลกเปลีย่ นเรียนรู้กับผู้ทส่ี อนใจ รวมท้ังยงั ทาให้บุคลา กรทต่ี อ้ งการ คามรสู้ ามารถเข้าถงึ แหล่งความรู้ได้ ทาให้
เกิดการพัฒนาตนเองให้เป็นผู้รู้ รวมท้ังนาความรทู้ ่ีได้รับไปปรับใช้ในการปฏิบัตงิ านได้อยา่ งมีประสิทธิภาพและ
ประสทิ ธผิ ล เสรมิ สรา้ งศกั ยภาพขององค์กรให้มคี วามสามารถในการแข่งขันระดบั สูง

คณะวิทยาการจัดการ ได้ตระหนักถึงความสาคัญของการพัฒนาอาจารย์ให้มีความรู้ ทักษะ
และประสบการณ์ในการพัฒนาการเรียนการสอน และการทาวิจยั ในส่วนของการพฒั นาการเรยี นการสอนมุ่งให้
ความสาคัญต่อการพัฒนาทักษะของอาจารย์ให้มีความสามารถในการเขียนโครงร่างการวิจัยเพ่ือขอสนับสนุน
ทุนวิจัยทั้งจากภายในและภายนอกมหาวิทยาลัยได้ เช่น แหล่งทุนของ วช. สกอ. สกว. เป็นต้น ผลจากการ
พัฒนาทักษะทั้งสองประการย่อมทาให้อาจารย์ของมหาวิทยาลัยมีความรู้ทักษะ และประสบการณ์ที่จาเป็นใน
การพัฒนาสู่ความเป็นมืออาชีพในการจัดการเรียนการสอนและการทาวิจัยมากยิ่งขึ้น สิ่งเหล่านี้ล้วนมีส่วนช่วย
ให้นักศึกษาได้รับผลประโยชน์ตามไปด้วย ในการดาเนินการเพื่อให้บรรลุเป้าหมายดังกล่าว โดยมีวิธีการ คือ
การพัฒนาด้วยกระบวนการการจัดความรู้ โดยเป็นการนาจุดแข็ง (Strengths) ของอาจารย์ท่ีมีประสบการณ์
ตรงดา้ นการทาวจิ ยั และอาจารย์ที่ได้รบั ทนุ สนับสนุนการทาวจิ ยั ทัง้ จากภายในหรือภายนอกมหาวิทยาลยั มาทา
การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ และพัฒนาเป็นคู่มือไว้ใช้เป็นแนวทางในการปฏิบัติที่ดี (Best Practice) ให้แก่ผู้ท่ีสนใจ
ไดศ้ ึกษาและนาไปประยกุ ต์ใช้

ในการน้ี คณะทางานการจดั การความรู้ ซ่ึงมหี น้าทรี่ ับผดิ ชอบโดยตรงด้านการจัดการความรู้
อาจารยผ์ ้สู อน จากความรู้ (Knowledge) ทักษะ (Skill) และประสบการณ์ (Experience) เพอื่ พัฒนาเปน็
แนวปฏบิ ัติท่ดี ใี นการจดั การเรียนการสอนและการทาวิจยั

2

2

ดา้ นการผลติ บณั ฑิต : กจิ กรรมการจัดการเรียนการสอนแบบ Active Learning

การสอนแบบ Active Learning ในการผลิตบัณฑิตของแตล่ ะหลักสตู ร

สาขา แนวปฏิบตั ทิ ี่ได้จากการแลกเปลยี่ นเรยี นรู้

การจดั การ รายวิชาการเป็นผู้ประกอบการ Project based โดยใช้ชุมชน
เป็นฐาน พัฒนาการเป็นผู้ประกอบการจากฐานผลิตภัณฑ์ในท้องถ่ิน
รวมทั้งฝึกเขียนแผนธุรกิจ การทาการตลาด และ การบริหารจดั การเพ่อื
เป็นผู้ประกอบการรายใหม่ Startup

การบัญชี โดยปกติสาขาวิชาการบัญชี ทาอยู่แล้วในเชิงฝึกปฏิบัติและแบบฝึกหัด
ฝึกลงรายการบัญชีในรายวิชาทางการบัญชี พาไปศึกษาดูงานสถาน
ประกอบการ เพื่อให้นักศึกษาเห็นจริง ดูกระบวนการผลิต การทา
Active Learning ในรายวิชา อาจารย์และนักศึกษามีส่วนร่วมซึ่งกัน
และกัน ดคู วามถกู ตอ้ ง ใหค้ าแนะนา ฝึกการถาม ใหเ้ กิดกระบวนการคิด
วิเคราะห์ ตลอดในช่วงทากิจกรรม และมีกิจกรรมการทดสอบความรู้
TAX JUNIOR หลักสูตร “กฎหมายภาษีอากรเบื้องต้นเพ่ือการ
ปฏิบัติการ” ซึง่ มีนักศึกษาผ่านเกณฑ์ได้รบั ประกาศนยี บตั ร

การตลาด Project based โดยใช้ชุมชนเป็นฐาน เช่น การทดลองจาหน่ายสินค้า
คอมพวิ เตอรธ์ ุรกิจดิจทิ ัล การฝึกในเร่ืองของการทาการตลาดที่รองรับกับสถานการณ์ท่ีมีการ
เปล่ียนแปลงอยตู่ ลอดเวลา
การจดั การโลจสิ ติกส์และซัพพลายเชน
รายวิชาเฉพาะหรือรายวิชาโครงงาน ส่วนใหญ่อาจารย์ผู้สอนใน
หลักสูตรจะมีการสอนผ่านกระบวนการ Active Learning พัฒนา
ผู้เรียนก่อนในเร่ืองกระบวนการคิด ปรับทัศนคติผู้เรียน ก่อนวิเคราะห์
ผู้เรียน ว่ามีความถนัดในด้านไหนบ้าง เป้าหมายของรายวิชาต้องชัดเจน
ผู้เรียนต้องทางนออกแบบชิ้นงาน ซึ่งหน่วยงานน้ันต้องใช้ผลงานได้
ผู้สอนแต่ละคนต้องมีเป้าหมายและเด็กมีช้ินงานท่ีสร้างสรรค์ และ
สามารถเขา้ ประกวดได้ และได้รบั รางวลั

บูรณาการรว่ มกันเพอ่ื ปฏิบตั ิงานจริง ส่วนใหญอ่ าจารยผ์ ู้สอนในหลกั สูตร
จะมกี ารสอนผ่านกระบวนการ Active Learning โดยใชเ้ หตุการณ์ และ
ศกึ ษาดูงานจากสถานประกอบการประกอบ

3

3

สาขา แนวปฏบิ ัตทิ ่ีไดจ้ ากการแลกเปล่ยี นเรยี นรู้
การเงนิ
รายวิชาสัมมนาทางการเงิน ทาตามวัตถุประสงค์ของหลักสูตร คือ
การจดั การธุรกิจการค้าสมัยใหม่ สามารถให้นักศึกษาทางานร่วมกับผู้อื่น ๆ ได้ ทากิจกรรมร่วมกับ
เศรษฐศาสตร์ ผูอ้ ืน่ ได้ การทาความร่วมมือกับตลาดหลักทรัพย์แหง่ ประเทศไทย ร่วม
ผลิตสื่อ แล้วนาไปเผยแพร่ในการใช้เทคโนโลยี และมีกิจกรรมให้
นิเทศศาสตร์ นักศึกษาสอนนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย (ม.6) เรียนรู้วิธีการ
การท่องเที่ยวและการโรงแรม เลน่ ห้นุ โดยการจาลองจากสถานการณจ์ ริง

ทุกรายวิชาในหลักสูตร ใช้การเรียนรู้จากสถานการณ์จริง เป็น Work
based learning โดยมหาวิทยาลยั ทาความร่วมมอื กบั องคก์ รภายนอก
(บริษัท CP All) นักศึกษาเรียนรู้จากสถานการณ์จริงจากร้านค้าปลีก
และ เรยี นรภู้ าคทฤษฎจี ากคณาจารยใ์ นสาขาวชิ า

บูรณาการร่วมกันเพ่ือปฏิบัติงานจริงด้วยการวิเคราะห์ต้นทุนและ
จุดคุ้มทุนของธุรกิจด้วย Microsoft Excel ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของ
รายวิชาการประยุกต์ใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ในทางเศรษฐศาสตร์
เพื่อให้นักศึกษาได้มีประสบการณ์ในการลงพ้ืนที่ และสามารถนา
ความรไู้ ปประยุกต์ใชใ้ นสถานการณจ์ ริงได้
บูรณาการร่วมกันเพื่อปฏิบัติงานจริงฝึกปฏิบัติการนักนิเทศศาสตร์สู่
มืออาชีพ ด้านการออกแบบและผลิตกราฟิก การเขียนบท ตัดต่อ
ถ่ายทาวีดโี อ โดยใช้ชมุ ชนเป็นฐานพัฒนา

ใช้การจัดการเรียนการสอนแบบ Project based และ Fieldwork
การฝึกปฏิบัติ การจัดนาเที่ยวเพื่อสร้างสมรรถนะด้านงานมัคคุเทศก์
(เส้นทางจังหวัดเลย) ฝกึ ปฏิบตั กิ ารจดั เลีย้ งในรปู แบบต่าง ๆ

4

4

สาขาวิชา
การจดั การ

5

5

สาขาวิชา
คอมพิวเตอร์
ธรุ กจิ ดิจิทลั

สาขาวิชา
การเงิน

6

6

สาขาวิชา
การจดั การ
ธรุ กิจการคา้
สมยั ใหม่

77

แนวปฏิบัติท่ีดีในการจัดกิจกรรมการสอนแบบ Active Learning

1 ปรับเจตคตขิ องผู้สอนแต่ละคน วิเคราะห์วัตถปุ ระสงคข์ อง
เพอื่ ให้เห็นประโยชนแ์ ละคณุ คา่
2 หลกั สตู รว่าต้องการนักศกึ ษา
ของการให้นกั ศกึ ษาสามารถสร้างความรู้
มีสมรรถนะอย่างไร
ด้วยตนเองได้ มากกวา่ การบรรยายเพียง
วิเคราะห์วตั ถปุ ระสงคข์ องแตล่ ะ
อย่างเดยี ว
3 รายวชิ าต้องการผลลพั ธ์การ
4 วเิ คราะห์ผเู้ รียน ในแต่ละรายวชิ า
วา่ มจี ดุ แขง็ และจุดอ่อนดา้ นใด เรยี นรู้อย่างไร

เพ่อื ออกแบบกจิ กรรมให้เกดิ ความ จัดกจิ กรรมการสอนแบบ ตาม

เหมาะสม 5 จดุ เน้นของหลกั สูตรหรอื รายวิชา ใน

เม่ือส้ินสุดทุกกิจกรรมแล้ว เบ้อื งตน้ สามารถจดั กลมุ่ เปน็ 4 กลมุ่

6 อาจารย์ผสู้ อนจะตอ้ งสรุป กลุม่ ท่ี 1 การจัดการสอนท่เี นน้ ทักษะกระบวนการคดิ
บทเรยี นและความรู้ทน่ี ักศึกษา กลุ่มที่ 2 การจดั การเรยี นเรียนรู้แบบเน้นประสบการณ์
กลุม่ ที่ 3 การจดั การแบบเนน้ ประสบการณ์
ไดร้ บั กลมุ่ ท่ี 4 การสอนแบบโครงงาน
หลกั สูตรบรหิ ารธุรกจิ บณั ฑิต สาขาวิชาคอมพวิ เตอร์ธรุ กจิ ดจิ ิทัล
ประเมนิ ผลกิจกรรมการเรยี นรู้
 ปรับทัศนคตนิ ักศึกษา วิเคราะห์นกั ศึกษา ควบคกู่ ับ
7 วา่ สอดคลอ้ งและเป็นไปตาม เป้าหมายของรายวชิ า

วตั ถปุ ระสงค์ของรายวชิ า นักศกึ ษาออกแบบชิ้นงาน ซึง่ หน่วยงานนน้ั ตอ้ งใชผ้ ลงานได้
หรือไม่  นักศกึ ษามีชน้ิ งานทส่ี ร้างสรรคแ์ ละสามารถเข้าประกวด
และไดร้ ับรางวัล

ปรับปรุงกิจกรรมใหส้ อดคลอ้ งกับ

8 วตั ถปุ ระสงค์การเรยี นรูข้ อง

หลักสูตรและรายวิชา

88

PDCA ขน้ั ตอน กจิ กรรมหลัก หลกั ฐาน ผรู้ บั ผิดชอบ

ศกึ ษาวตั ถปุ ระสงค์ มคอ.2 ของ -อาจารยผ์ ูส้ อน

วิเคราะหว์ ัตถปุ ระสงค์ ในการจัดทา หลักสูตร -กรรมการบรหิ าร

ของหลกั สูตร หลกั สตู ร หลกั สูตร

วิเคราะหว์ ตั ถปุ ระสงค์ ศกึ ษาวัตถปุ ระสงค์ มคอ.3 ของรายวชิ า -อาจารย์ผสู้ อน
ของรายวชิ า
การเรียนรขู้ อง -กรรมการบรหิ าร
วเิ คราะห์ผู้เรยี น
รายวิชา หลกั สูตร
จัดกิจกรรมการสอนแบบ
Active Learning ศึกษาจดุ แขง็ ผลการเรียนของ -อาจารย์ผู้สอน
จุดอ่อน ของ นักศกึ ษาท่ี
สรปุ บทเรียนและความรทู้ ี่ นักศึกษา ลงทะเบยี น
นักศึกษาไดร้ บั
ออกแบบกิจกรรม มคอ.3 ของรายวิชา -อาจารย์ผูส้ อน
ประเมนิ ผล Active Learning ในแต่
กิจกรรม ละประเด็นความรู้

ปรบั ปรุงกิจกรรมให้ สังเกตผลลพั ธก์ าร ใบกจิ กรรม -อาจารย์ผู้สอน
สอดคลอ้ งกับ เรียนร้ขู องนักศึกษา
วัตถุประสงค์
ประเมนิ ผลการจดั มคอ.3 ของรายวิชา -อาจารยผ์ สู้ อน
กจิ กรรมการเรยี นรู้ มคอ.5 ของรายวิชา -กรรมการบรหิ าร
วา่ เป็นไปตาม
วตั ถุประสงค์หรือไม่ หลกั สตู ร

ปรบั ปรงุ กิจกรรมให้ มคอ.3 ของรายวชิ า -อาจารย์ผสู้ อน
สอดคล้องกับ มคอ.5 ของรายวชิ า
วัตถปุ ระสงค์การ
เรยี นรู้ของรายวิชา

99

10


Click to View FlipBook Version