The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

แนวปฏิบัติที่ดีด้านนักวิจัยรุ่นใหม่

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Fms.lru2017, 2021-07-19 22:06:53

แนวปฏิบัติที่ดีด้านนักวิจัยรุ่นใหม่

แนวปฏิบัติที่ดีด้านนักวิจัยรุ่นใหม่

แนวปฏิบตั ิท่ีดดี ้านการวิจัย :
การพัฒนานักวิจัยรนุ่ ใหม่

มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏเลย

คณะวทิ ยาการจดั การ

FACUTY OF MANAGEMENT SCIECE



เปา้ หมายการจดั การความรู้ คณะวทิ ยาการจัดการ
ประจาปกี ารศึกษา 2564

ดา้ นการวิจยั

ประเด็น KM : การพฒั นานกั วจิ ยั รนุ่ ใหม่
เปา้ หมาย : 1. แหลง่ ทนุ วิจัยภายนอก

2. ตพี มิ พ์เผยแพร่งานวิจัยในวารสารทางวชิ าการของอาจารย์มี
คณุ ภาพตามเกณฑ์ ก.พ.อ.

ตัวชีว้ ัด : 1. ได้รบั เงนิ ทุนวิจยั ของคณะวทิ ยาการจัดการ มากกวา่ 1,800,000 บาท
2. เผยแพร่ผลงานในวารสารทางวชิ าการระดบั ชาติ ไมน่ ้อยกวา่ 10 เรือ่ ง
และเผยแพรผ่ ลงานในวารสารทางวชิ าการระดบั นานาชาติ
ไม่น้อยกวา่ 1 เรอื่ ง
3. แนวปฏิบัตทิ ด่ี ีในดา้ นการวิจยั : การพัฒนานักวิจยั รนุ่ ใหม่

1

แนวปฏิบัติท่ดี ี (วธิ กี าร/กระบวนการ/แนวทางการดาเนนิ ตาม PDCA)

แผนงาน (Approach) แผนการดาเนินงานของการจดั กจิ กรรมในแตล่ ะปีของกจิ กรรมการพัฒนา

นกั วิจัยรนุ่ ใหม่

ลาดบั ท่ี การดาเนินการ

1 ผู้บรหิ าร และอาจารยป์ ระชมุ หารอื เพื่อรวบรวมข้อมูลวางแผนการดาเนินงานและติดตอ่

ประสานงานนักวจิ ัยพเ่ี ล้ียง

2 เชญิ อาจารยใ์ นคณะ ฯ ร่วมประชุมหารอื ครั้งที่ 1 ช้แี จงเกย่ี วกับนโยบายการพฒั นานักวิจัย

รุ่นใหม่ และแนวททางการดาเนินงาน กระบวนการข้นั ตอนและรว่ มกับแลกเปลี่ยนความคิดเหน็

รับสมคั รอาจารย์ทม่ี คี วามสนใจเขา้ ร่วมโครงการพัฒนานักวิจัยรุ่นใหม่

การปฏบิ ตั ติ ามแผนงาน Practices

การพัฒนากระบวนการสง่ เสรมิ การพัฒนานักวจิ ัยรุ่นใหมม่ ุ่งเน้นกลยุทธ์เชิงรกุ เพ่อื ส่งเสรมิ และ

ผลกั ดนั อาจารยร์ ่นุ ใหม่เกิดการรวมกลุ่มและสรา้ งนักวิจยั รุ่นใหม่ มขี ้นั ตอนดังต่อไปนี้

วางแผน จดั ประชมุ คณะทางานโครงการคลินกิ นักวจิ ยั และโครงการพฒั นาศกั ยภาพนักวิจยั โดย
(Plan) ทีมงานนกั วจิ ยั พ่ีเล้ยี งทมี่ ีความเช่ยี วชาญ มอบหมายหน้าท่ีความรับผิดชอบและขอบเขตการ
ดาเนินงานเพ่ือวางแผนรูปแบบกจิ กรรม

ปฏบิ ัติ 1. ประชาสมั พนั ธเ์ ชญิ ชวนคณาจารย์เขา้ รว่ มโครงการพัฒนานกั วจิ ัยร่นุ ใหม่
(Do) เชิญคณาจารย์กลุ่มเปา้ หมายท่ีจะพฒั นาเปน็ นักวิจัยรุ่นใหม่
ใหข้ ้อมูล/รายละเอียดโครงการคลนิ กิ นกั วจิ ัยร่นุ ใหมแ่ ละการพฒั นานกั วจิ ยั รนุ่ ใหม่

2. ลงพ้นื ทเี่ พ่ือพัฒนาโจทย์วจิ ัยรว่ มกนั ระหว่างนักวิจยั รนุ่ ใหม่และนักวิจยั พ่เี ลี้ยง

3. เชญิ อาจารยร์ ่วมประชมุ หารอื เพื่อสรปุ ประเดน็ การลงพ้นื ที่และการพฒั นาโครงร่างงานวจิ ัย

ตามกรอบความต้องการของแหล่งทุนภายใต้การเข้าร่วมกิจกรรมโคลการคลนิ ิกนักวิจยั รุน่ ใหม่

และโครงการประชมุ เชงิ ปฏิบัติการ (Workshop) พฒั นาโครงร่างงานวจิ ยั ร่วมกับสถาบันวิจัย

มหาวิทยาลัยราชภฏั เลย

4. นักวจิ ยั รุ่นใหม่เสนอโครงร่างงานวจิ ัยตอ่ นักวิจัยพเ่ี ล้ยี งและผูท้ รงคณุ วฒุ ภิ ายนอกเพ่ือให้

ขอ้ เสนอแนะสาหรับโครงร่างงานวจิ ยั ฉบับสมบรู ณ์ในการยื่นขอจากแหลง่ ทุนทั้งภายในและ

ภายนอก

5. เม่ือได้รบั การพิจารณาอนุมัติทนุ เรยี บรอ้ ยและคณะผูว้ จิ ัยรว่ มดาเนนิ งานตามกรอบงานวจิ ัย

ระหว่างนักวจิ ัยรุ่นใหมแ่ ละนกั วิจยั พ่ีเลย้ี งอีกทั้งระหวา่ งการดาเนินงานวิจยั มกี ารบูรณาการกับ

การเรียนการสอนและการบริการวชิ าการ เมอ่ื ดาเนนิ งานวจิ ัยเสรจ็ สน้ิ มีกระบวนการชแี้ นะ

การเขียนบทความวิจัยเพ่อื ใหไ้ ด้บทความทีส่ ามารถตีพิมพ์กับเครอื ขา่ ยวารสานงานวิจัยท่ี

ทางคณะ ไดท้ า MOU ไว้

2

ลาดับที่ การดาเนินการ
ตรวจสอบ
(Check) ประเมนิ ผลการจัดกจิ กรรม สรปุ ผลการย่นื เสนอโครงร่างงานวิจัยทีย่ นื ขอจากแหลง่ ทนุ
และนามาเปรียบเทยี บกบั แนวโน้มกับเป้าหมายทว่ี างไว้
แกไ้ ข
(Action) ทบทวนปญั หาทเ่ี กิดขนึ้ จากการจดั กิจกรรมทเ่ี กดิ ขึ้น และวิเคราะหโ์ ครงรา่ งงานวจิ ยั ท่ไี ม่
ผา่ นการขอทุนเพอ่ื หาจดุ บกพร่อง

ปรบั ปรงุ โครงรา่ งงานวจิ ัยจากจดุ บกพร่องท่ีพบโดยวิธีการระดมสมองและประชมุ กลมุ่
ย่อยรว่ มกับระหว่างนักวจิ ัยรุ่นใหม่และนักวิจยั พีเ่ ลี้ยง และลงพนื้ ทชี่ ุมชนท้องถ่ินหาโจทย์
วจิ ัยเพือ่ พัฒนาโครงรา่ งงานวิจัยใหม่อย่างต่อเน่ือง
ปรับปรุงรปู แบบการจัดกจิ กรรมเพื่อให้เกดิ กจิ กรรมรูปแบบใหม่และแกไ้ ขปญั หา
อปุ สรรคตามผลการประเมินเพอ่ื เตรียมความพร้อมในการจัดกจิ กรรมครั้งตอ่ ไป

3

กระบวนการพัฒนานักวิจยั ร่นุ ใหม่ (PDCA)

กระบวนการ ภาพกจิ กรรม

การวางแผน (Planning)
ประชมุ วางแผนชแ้ี จงนโยบายการพฒั นา

นกั วิจัยรุ่นใหม่และแนวทางการดาเนนิ งาน
กระบวนการข้นั ตอนและรว่ มกันแลกเปลีย่ นความ
คดิ เหน็

การปฏิบัติการ (Do)
การลงพ้นื ทีเ่ พ่ือพฒั นาโจทย์วิจยั รว่ มกันระหวา่ ง

นักวจิ ัยรุ่นใหมแ่ ละนักวจิ ยั พเ่ี ลย้ี ง

การตรวจสอบ (Check)
ประชุมประเมินผลการจัดกจิ กรรมสรปุ ผลการ

ย่นื เสนอโครงร่างงานวิจยั ท่ยี ืนขอจากแหลง่ ทุนและ
นามาเปรียบเทียบกับแนวโนม้ กับเป้าหมายท่กี าหนด

แก้ไข (Action)
ประชมุ เพื่อหาแนวทางการปรบั ปรงุ รปู แบบการ

จัดกจิ กรรมเพื่อให้เกดิ กิจกรรมรูปแบบใหม่และแกไ้ ข
ปัญหา อุปสรรคตามผลการประเมินเพ่อื เตรยี มความ
พร้อมในการจัดกจิ กรรมครง้ั ต่อไป

4

แนวปฏิบัตทิ ี่ดี เร่ิมตน้ ทาวิจัย กระบวนการที่ดี ผลลัพธท์ ดี่ ี

การพัฒนา ศกึ ษากรอบแนวคดิ กระบวนการทเ่ี ปน็ ระบบ นกั วจิ ยั ทม่ี คี ณุ ภาพ
นักวิจยั รุ่นใหม่ นโยบาย วสิ ยั ทศั น์ของ Plan : วางแผนงานแบบมสี ว่ นรวม
มหาวิทยาลัย งานวิจยั ทม่ี คี ุณภาพ
ประชุมทีมงานกาหนด ตอบโจทยช์ มุ ชน
นาท้องถิ่นเขา้ มมามี แผนการดาเนินงาน มอบหมายหนา้ ท่ี
สว่ นรว่ ม ความรับผดิ ชอบ บรู ณาการการเรยี น
Do : ปฏบิ ัติ การสอนและบรกิ ารวิชาการ
ศึกษาจากสถานการณ์ อยา่ งมปี ระสิทธภิ าพ
จริ งชมุ ชนทอ้ งถิ่นใกลต้ ัว ประชาสมั พนั ธโ์ ครงการ
พฒั นานกั วจิ ัยรุน่ ใหม่ การสรา้ งเครือข่าย
ให้ความสาคญั กรอบ งานวิจัย
แนวคดิ การวจิ ัย ลงพ้นื ทพ่ี ัฒนาโจทยว์ จิ ยั ใน - กัลยาณมติ ร
ชุมชนท้องถิ่น - เปิดตัว เปดิ ใจ เปดิ สมอง
ความตอ้ งการแหลง่ ทนุ
พฒั นาโครงรา่ งจากวจิ ัยจาก
การเรม่ิ ต้นงานวิจยั ไม่ โจทยใ์ นชุมชนท้องถ่ินร่วมกันระหว่าง
ซบั ซ้อน นักวจิ ยั รุ่นใหม่ นักวจิ ยั พ่ีเลีย้ งและ
ผ้ทู รงคุณวฒุ ิ
ประโยขน์ต่อยอดได้
ตอบโจทย์ 3 ประเด็น เสนอโครงร่างงานวิจัยกบั
ปัญหาวจิ ัยเป็นอย่างไร แหล่งทุนทั้งภายในและภายนอก
แกป้ ัญหาไดอ้ ย่างไร
นาไปใประโยชนอ์ ยา่ งไร เมือ่ ไดร้ ับทนุ ดาเนินการวิจัย
และบูรณาการกับการส่อน่วมกบั
โครงการบรกิ ารวิชาการ
Chack : ตรวจสอบ

สรุปและประเมินผลการยน่ื
เสนอโครงร่างงานวจิ ัยเป็นไปตาม
เปา้ หมายทก่ี าหนด

ทบทวนปัญหาท่ีเกดิ ขึน้
วเิ คราะห์โครงร่างวิจัยที่ไมผ่ ่านการขอ
ทนุ เพื่อหาจุดบกพรอ่ ง
Action : แก้ไข

ปรับปรงุ โครงรา่ งงานวิจัย
จากจดุ บกพร่องที่พบโดยวธิ กี ารระดม
สมองและประชมุ กลมุ่ ยอ่ ยรว่ มกับ
ระหว่างนกั วจิ ยั รุ่นใหมแ่ ละนกั วิจยั พ่ี
เล้ียง และลงพ้ืนที่ชุมชนทอ้ งถ่ินหา
โจทยว์ ิจยั เพอื่ พัฒนาโครงรา่ งงานวิจยั
ใหม่อยา่ งต่อเน่ือง

แผนภาพที่ 1 แนวปฏิบัตทิ ี่ดกี ารพัฒนานกั วจิ ัยรนุ่ ใหม่

5

ผลกระทบทีเ่ ปน็ ประโยชน์หรอื สรา้ งคุณค่า

1. มรี ะบบและกลไกการพฒั นานักวจิ ยั รุน่ ใหมท่ ม่ี ีประสทิ ธิภาพ
2. มรี ะบบตดิ ตาม ตรวจสอบและประเมนิ ผลการดาเนนิ งานพฒั นานกั วจิ ยั รนุ่ ใหมอ่ ยา่ งต่อเนื่อง
3. นาผลการประเมนิ ปรับปรุงและพัฒนาคณะวิทยาการจัดการเพื่อให้บรรลตุ ามเป้าหมายท่ีกาหนด
4. ผู้บริหารและคณาจารย์มีความร่วมมือ กระตือรือร้นในการทางานวิจัยอย่างแพร่หลายมีการสร้าง

เครอื ข่ายสร้างความเข็มแข็งในงานวจิ ัยเพ่ือพัฒนาท้องถ่ินสามารถนาผลงานวิจัยไปใช้ประโยชน์ได้
อย่างแทจ้ ริง

กระบวนการพัฒนานักวจิ ัยรุ่นใหม่ (PDCA)

กระบวนการ กระบวนการท่ีมีอยเู่ ดิม กระบวนการพัฒนา

ระยะเรม่ิ ตน้ การพัฒนานกั วิจยั รุน่ ใหม่ 2558 2559 2560 2561 2562 2563

1 ผ้บู ริหารและทมี งานคลีนิควิจัยคณะวิทยาการจดั การ 

ประชมุ หารือเพื่อรวบรวมข้อมลู มอบหมายหน้าท่ี

ความรับผิดชอบและขอบเขตการดาเนนิ งาน เพื่อวาง

แผนการรปู แบบกจิ กรรม

2 เชญิ นักวิจยั กลมุ่ เปา้ หมายรว่ มประชมุ หารอื ช้ีแจง 

เกย่ี วกับแนวทางการจัดโครงการคลีนิคเพอ่ื พฒั นา

นกั วจิ ัยรุ่นใหม่

3 ลงพื้นท่เี พ่อื พฒั นาโจทย์วจิ ยั รว่ มกันระหว่างนักวิจยั รุ่น 

ใหม่และนักวิจัยพเี่ ลี้ยง

4 เชญิ อาจารยร์ ่วมประชุมหารือเพอ่ื สรปุ ประเด็นการลง 

พืน้ ทีแ่ ละการพฒั นาข้อเสนอโครงร่างงานวจิ ัย

5 นกั วจิ ัยรนุ่ ใหมข่ ้อเสนอโครงร่างงานวิจัยตอ่ นักวจิ ยั พี่ 

เล้ยี งและผู้ทรงคุณวฒุ ิภายนอกเพ่ือให้ข้อเสนอแนะ

ระยะดาเนินการ

6 กลุ่มนกั วิจัยย่ืนข้อเสอนโครงร่างงานวิจยั กบั 

คณะกรรมการพจิ ารณาทนุ มหาวิทยาลยั

ระยะส้นิ สุด

7 รอการพิจารณาข้อเสนอโครงรา่ งงานวิจยั จากแหล่งทนุ      

ท้ังภายในและภายนอก

6

กระบวนการ กระบวนการทีม่ ีอยเู่ ดิม กระบวนการพัฒนา

ระยะเร่มิ ต้นการพัฒนานักวจิ ยั รนุ่ ใหม่ 2558 2559 2560 2561 2562 2563

8 ติดตามประเมินผลโครงรา่ งงานวจิ ัยทีไ่ ดร้ บั อนุมตั ทิ ุน 

และท่ีไมไ่ ดร้ บั อนุมัติทนุ

9 ประชุมนักวจิ ัยรนุ่ ใหม่ข้อเสนอโครงรา่ งงานวจิ ัยต่อ 

นกั วิจยั พีเ่ ล้ยี งเพื่อสรุปงานและวางแผนการ

ดาเนินงานเสนอโครงร่างวจิ ยั ในอนาคต

10 นักวิจยั รนุ่ ใหม่ไดส้ รา้ งทมี กับนักวิจัยพี่เลีย้ งขอทุน 

วิจยั เปน็ ชดุ โครงการหลกั โครงการย่อย

วิจัยคณะวิทยาการจดั การ นักวิจัยคณะวิทยาการจัดการ

30 20
25 15
20 10
15
10 5
0
5
0 นักวิจัยเกา่ นกั วจิ ัยรุ่นใหม่

2561 2562 2563
งานวจิ ัย นักวิจัย

กราฟที่ 1 จานวนนักวจิ ัยคณะวิทยาการจดั การ กราฟท่ี 2 จานวนนักวิจยั รนุ่ ใหมค่ ณะวทิ ยาการจัดการ

จากกระบวนการพฒั นานกั วิจัยรนุ่ ใหม่ของคณะวทิ ยาการจัดการ ก่อให้เกดิ ประโยชนแ์ ละสร้างคุณค่า
คอื ทาให้เกิดนักวิจัยรุน่ ใหม่ของคณะ ฯ เพิ่มจานวนมากข้ึนอยา่ งต่อเนอื่ งเกดิ การรวมกลุ่มเครอื ขา่ ยนกั วิจยั โดย
มเี ป้าหมายร่วมกันในการพัฒนางานวิจัยทีแ่ ก้ปญั หาใหก้ บั ชุมชนทอ้ งถ่ินอยา่ งยงั่ ยนื

7

ปัจจยั แหง่ ความสาเร็จ

ปัจจัยแห่งความสาเร็จการพัฒนานักวิจัยรุ่นใหม่เพ่ือพัฒนาท้องถิ่นอย่างย่ังยืนของคณะ
วิทยาการจัดการ ซึ่งเกิดจากการนางานวิจัยไปใช้ในการเรียนการสอนและบูรณาการการบริการวิขาการสู่
ท้องถิ่นโดยมรี ายละเอยี ดดังต่อไปนี้

1. Active Learning การมุ่งเน้นการพัฒนาโจทย์วิจัยสู่การพัฒนานักวิจัยรุ่นใหม่

ร่วมกับการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนเชิงปฏิบัติการนาไปสู่การเป็นบัณฑิตนักปฏิบัติโดยการลงพื้นที่ชุมชน
ทาให้เกดิ การเรยี นรู้ด้วยตนเองอย่างแทจ้ รงิ

2. Good Practices แนวทางการปฏิบัติการทาการวิจัยเชิงบูรณาการกับการเรียน

การสอนจากแหล่างเรียนรู้ในท้องถิ่นท้ังในห้องเรียนและนอกห้องเรียนก่อให้เกิดงานวิจัยและบริการวิชาการที่
เกิดประโยชนต์ อ่ ชมุ ชนอย่างยั่งยืน

3. Participation เกิดการบูรณาการความร่วมมือของผู้ท่ีมีส่วนร่วมทุกภาคส่วน คือ

ภาคการศึกษาและภาคประชาชนร่วมกันในการวางแผนศึกษาปัญหาในพ้ืนที่โดยหาแนวทางในการแก้ไขเป็น
การกาหนดเป้าหมายและทางานร่วมกันในการศึกษาค้นค้วาทางด้านวิชาการและประยุกต์ความรู้นาไปใช้
ประโยชนใ์ นชีวิตจริง

4. Happiness การสร้างความสุขท่ีเกิดขึ้นจากตัวเองเป็นแรงขับเคลื่อนสู่แรงผลักดัน

ของกลุ่มท่ีนาไปสู่องค์กรท่ีมีความสุข สร้างแรงบันดาลใจกระตุ้นให้เกิดการทากิจกรรมร่วมกันระหว่าง นักวิจัย
คณาจารย์ นกั ศกึ ษาและชุมชนท้องถ่ินมีลักษณะเป็นกลั ยาณมิตรมีการชว่ ยเหลือเกื้อกูลซ่ึงกันและกันมีกิจกรรม
ร่วมด้วยช่วยกนั ทาให้ทุกภาคส่วนทมี่ ีสว่ นเกี่ยวข้องมีความสขุ และสนุกในการทางานวจิ ัย การเรยี นการสอนและ
ชุมชนมคี วามสุขจากการไดร้ บั การบริการวชิ าการท่ีตรงความตามต้องการทแี่ ทจ้ รงิ

8

Active Good บูรณาการ หลากหลายวิชาการ (บรู ณาการ)
Learning Practices
หลากหลายแหลง่ ความรู้
Participation Happiness หลากหลายความสนใจ
ความสามารถ/ความถนดั
หลากหลายปญั ญา (พหปุ ญั ญา)

หลากหลายวิธีสอน

แผนภาพที่ 2 ปจั จยั แห่งความสาเรจ็ การพัฒนานกั วจิ ัยรุ่นใหมเ่ พ่อื พัฒนาทอ้ งถ่ินอย่างย่ังยนื
ของคณะวิทยาการจัดการ

ปัญหาอปุ สรรคและแนวทางการแกไ้ ข

ขอ้ จากดั ด้านเวลา เน่อื งจากอาจารยม์ ภี าระการสอนและงานอ่นื มากสง่ ผลต่อการทางานวิจยั

แนวทางในการจัดการความรู้

การจัดการความรู้ด้านการพัฒนานกั วจิ ัยรนุ่ ใหมใ่ นรปู แบบสหวทิ ยาการทีเ่ ป็นการบูรณาการหลาย
ศาสตร์ มศี ักยภาพการเผยแพรง่ านวิจยั โดยนาองคค์ วามรูท้ ่ีไดไ้ ปใชใ้ นการจัดการเรยี นการสอนและการบริการ
วิชาการเพอ่ื พฒั นาท้องถน่ิ อย่างย่ังยืน

9


Click to View FlipBook Version