The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

จิต วิญญาณ มโน โดย สมเด็จพระญาณสังวร สกลมหาปริณายก

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by ทีมงานกรุธรรม, 2022-02-05 14:31:33

จิต วิญญาณ มโน โดย สมเด็จพระญาณสังวร สกลมหาปริณายก

จิต วิญญาณ มโน โดย สมเด็จพระญาณสังวร สกลมหาปริณายก

Keywords: จิต มโน วิญญาณ,จิต วิญญาณ มโน

จติ วญิ ญาณ มโน แตกต่างกนั อย่างไร
สมเด็จพระญาณสงั วร สกลมหาปรณิ ายก
บดั นี้ จกั แสดงธรรมะเป็นเครอ่ื งอบรมในการปฏบิ ตั ิอบรมจิต
ในเบือ้ งตน้ ก็ขอใหท้ กุ ๆ ทา่ นตงั้ ใจนอบนอ้ มนมสั การ พระผมู้ ี
พระภาคอรหนั ตสมั มาสมั พทุ ธเจา้ พระองคน์ นั้ ตงั้ ใจถงึ พระองค์
พรอ้ มทงั้ พระธรรมและพระสงฆเ์ ป็นสรณะ ตงั้ ใจสาํ รวมกาย
วาจาใจใหเ้ ป็นศีล ทาํ สมาธิในการฟัง เพ่ือใหไ้ ดป้ ัญญาในธรรม
จะแสดงศพั ทว์ า่ จิต และศพั ทอ์ ่นื ท่ีใชใ้ นความหมาย
ใกลเ้ คยี งกนั เพ่ือเม่ือฟังธรรมบรรยายจะไดม้ ีความเขา้ ใจ ตดั
กงั ขาความสงสยั
คาํ วา่ จิต นนั้ มีคาํ อ่ืนท่ีใชใ้ กลเ้ คียงกนั อกี ๒ คาํ คือ
วญิ ญาณ และ มโน คือใจ พิจารณาดตู ามพระสตู รท่ี
พระพทุ ธเจา้ ทรงแสดง จติ นนั้ ตรสั ไวว้ า่ มีลกั ษณะดงั ท่ีไดก้ ลา่ ว
แลว้ และไดต้ รสั สอนใหฝ้ ึกจติ ใหอ้ บรมจติ ใหค้ มุ้ ครองจติ ให้
รกั ษาจติ ใหต้ ามดจู ิต และตรสั วา่ จิตท่ีรกั ษาดแี ลว้ นาํ ความสขุ

1

มาให้ และยงั ไดต้ รสั ถึงความอบรมปฏิบตั ธิ รรมะ เป็นไป
ตามลาํ ดบั วา่

สมาธิอนั ศลี อบรมแลว้ ย่อมมีผลมาก มีอานิสงสม์ าก
ปัญญาอนั สมาธิอบรมแลว้ ยอ่ มมีผลมากอานิสงสม์ าก
จิตอนั ปัญญาอบรมแลว้ ยอ่ มพน้ จากอาสวะทงั้ หลาย
ด่งั นี้ กพ็ น้ อาสวะกิเลสท่ีดองจติ สนั ดานได้ และ
พระพทุ ธเจา้ ตรสั สอนใหฝ้ ึกตนใหอ้ บรมตน ซง่ึ ครูก็อธิบายกนั มา
วา่ ก็หมายถึงใหอ้ บรมจติ นีเ้ อง
ฉะนนั้ ในบคุ คลทกุ ๆ คนนีจ้ ติ จงึ เป็นสง่ิ สาํ คญั ท่ีพงึ อบรม
พงึ รกั ษาคมุ้ ครอง และจติ นีเ้ องท่ีไดร้ บั การอบรมดี ก็พน้ จากอา
สวะทงั้ หลายได้ คอื พน้ กเิ ลสได้ ด่งั นีว้ ญิ ญาณนนั้ ตรสั ไวใ้ นขันธ์
๕ ขนั ธ์ ๕ นนั้ ก็ไดแ้ กร่ ูปขนั ธ์ ขนั ธแ์ ปลวา่ กอง รูปขนั ธก์ ็แปลวา่
กองรูป เวทนาขนั ธ์ กองเวทนา สญั ญาขนั ธ์ กองสญั ญา สงั ขาร
ขนั ธ์ กองสงั ขาร วญิ ญาณขนั ธ์ กองวิญญาณ
และ วญิ ญาณ นีก้ ็ไดต้ รสั อธิบายไวว้ า่ เม่ืออายตนะ
ภายในอายตนะภายนอกประจวบกนั ก็เกิด วญิ ญาณ มีจกั ขุ

2

วิญญาณเป็นตน้ เชน่ เม่ือตากบั รูปประจวบกนั ก็เกิดวญิ ญาณ
คอื ความรู้ อนั หมายถงึ รูใ้ นการเหน็ คอื หมายถงึ การเหน็ ท่ีเรยี ก
กนั วา่ เหน็ รูป ซง่ึ การเหน็ รูปนนั้ ก็เป็นความรูร้ ูปนนั้ เอง เรยี กวา่
จกั ขวุ ิญญาณ รูร้ ูปทางตา วญิ ญาณจงึ เป็นความรูอ้ ยา่ งหนง่ึ ท่ี
เรยี กกนั วา่ การเหน็ การไดย้ นิ คอื เหน็ รูป ไดย้ ินเสยี ง การไดท้ ราบ
กลิ่น ทราบรส ทราบโผฏฐัพพะ การรูเ้ รอ่ื งทางมโนคอื ใจ เหลา่ นี้
เรยี กวา่ วญิ ญาณ

และเม่ือเป็นวญิ ญาณขนึ้ สืบมาจงึ เป็น เวทนา ก็เป็นความรู้
อีกเหมือนกนั แตเ่ ป็นความรูท้ ่ีเป็นสขุ เป็นทกุ ขห์ รอื เป็นกลาง ๆ
ไม่ทกุ ขไ์ มส่ ขุ

สบื มา จงึ เป็น สัญญา ก็เป็นความรูอ้ กี เหมอื นกนั แตเ่ ป็น
ความรูจ้ าํ จาํ รูป จาํ เสยี ง จาํ กลนิ่ จาํ รส จาํ โผฏฐัพพะสงิ่ ถกู ตอ้ ง
จาํ เร่อื งราวท่ีคดิ แลว้ จงึ มาเป็น สังขาร ก็เป็นความรูอ้ กี
เหมือนกนั คอื รูค้ ดิ ปรุง หรอื รูป้ รุงคดิ ก็นาํ เอาความจาํ หรอื สงิ่ ท่ี
จาํ น่นั แหละ มาคดิ คือมาปรุงขนึ้ ความคดิ ก็คือความปรุงนนั้ เอง

3

และเพราะเป็นความปรุงจงึ เรยี กวา่ สงั ขาร ท่ีแปลวา่ ปรุงแตง่
สงั ขารในขนั ธ์ ๕ จงึ มีความหมายด่งั นี้

และเม่ือคิดปรุงหรอื ปรุงคิดไปก็รูไ้ ปดว้ ย ในความคดิ ปรุง
หรอื ปรุงคิดนนั้ กม็ าเป็นวญิ ญาณขนึ้ อกี นีค้ อื ขนั ธ์ ๕ รูป เวทนา
สญั ญา สงั ขาร วญิ ญาณ

เม่ือวา่ ถงึ ทางเกิดแหง่ ขนั ธ์ ๕ ในปัจจบุ นั คอื ขนั ธ์ ๕ ท่ีเป็น
ปัจจบุ นั ธรรม อายตนะภายในอายตนะภายนอกท่ีมาประจวบ
กนั อยนู่ นั้ ก็คือรูป ก็เป็นวิญญาณขนึ้ มา จงึ เป็นเวทนา เป็น
สัญญา เป็นสังขาร แลว้ ก็เป็นวญิ ญาณขนึ้ มาอกี แลว้ ก็เป็น
เวทนา เป็นสญั ญา เป็นสงั ขาร เป็นวิญญาณขนึ้ มาอกี วญิ ญาณ
จงึ มากอ่ น

แตท่ า่ นไม่แสดงวา่ รูป วญิ ญาณ เวทนา สญั ญา สงั ขาร
ท่านแสดงวา่ รูป เวทนา สญั ญา สงั ขาร วญิ ญาณ เอาวิญญาณ
ไวท้ า้ ย ก็เพราะวา่ ขนั ธ์ ๕ นเี้ ป็นอารมณข์ องวิปัสสนากรรมฐาน
ในการท่ีจะปฏบิ ตั ิทาํ วปิ ัสสนาปัญญาใหเ้ หน็ แจง้ รูจ้ รงิ ก็ตรสั
สอนใหก้ าํ หนดพิจารณาขนั ธ์ ๕ นีเ้ องโดยไตรลกั ษณ์ คือ

4

ลกั ษณะท่ีไมเ่ ท่ียง ลกั ษณะท่ีเป็นทกุ ข์ ลกั ษณะท่ีเป็นอนตั ตา
เม่ือเป็นด่งั นี้ จบั พิจารณา รูป ก่อนจงึ ประกอบขนึ้ ดว้ ยธาตทุ งั้ ๔
ดิน นา้ํ ไฟ ลม เป็นของหยาบ ก็กาํ หนดพจิ ารณาไดง้ ่าย และตอ่
จากนีจ้ บั พจิ ารณา เวทนา ซง่ึ เวทนานนั้ ก็เป็นขอ้ เรม่ิ ตน้ ของนาม
คือ เวทนา สญั ญา สงั ขาร วญิ ญาณ เป็นนาม รูปก็เป็นรูป ๔
กาํ หนดนามขอ้ เวทนานีข้ นึ้ กอ่ นสะดวก เพราะเวทนาแมเ้ ป็นนาม
แตก่ ็เกิดขนึ้ ไดท้ งั้ ท่ีกายและท่ีจติ เป็นเวทนาทางกายก็มี เป็น
เวทนาทางจติ ก็มี กายก็หมายรูปกาย

ฉะนนั้ เม่ือจบั พิจารณารูปกอ่ นก็พบเวทนาท่ีรูป คือท่ีรูปกาย
และก็พบเวทนาท่ีจิต เน่ืองกนั จบั พิจารณาเวทนาตอ่ จากรูปจงึ
สะดวก แลว้ กม็ า สงั ขาร แลว้ ก็มา สญั ญา มา สงั ขาร ซง่ึ เป็น
นามธรรมโดยลาํ ดบั แลว้ จงึ จบั พจิ ารณา วญิ ญาณ ท่ีประกอบ
อย่กู บั ความคิดปรุงหรอื ปรุงคดิ ซง่ึ เป็นตวั สงั ขารนนั้ ดว้ ย ซง่ึ เป็น
ของละเอยี ด แตเ่ ม่ือไดจ้ บั พจิ ารณามาโดยลาํ ดบั ด่งั นี้ จงึ มาจบั
พจิ ารณา วิญญาณ ก็จะรูจ้ กั วญิ ญาณไดส้ ะดวกขนึ้ เม่อื จบั
วิญญาณไดส้ ะดวกขนึ้ ก็จะไดม้ ีสตใิ นขณะท่ีอายตนะภายใน

5

ภายนอกประจวบกนั อยู่ ซง่ึ ก็เป็นวิญญาณบงั เกิดขนึ้ เป็นการ
เห็นการไดย้ ินเป็นตน้ เพราะฉะนนั้ จงึ ไดเ้ รยี งวิญญาณเอาไว้
เป็นทา้ ย ซง่ึ วญิ ญาณก็มีความหมายด่งั นี้

แตว่ า่ วิญญาณนีเ้ องก็ใชเ้ รยี กหมายถึงจติ ในท่ีหลาย
แห่งอีกเหมือนกนั เช่นในธาตุ ๖ ดงั ท่ีไดก้ ลา่ วแลว้ วญิ ญาณธาตุ
ธาตทุ ่ี ๖ คือธาตรุ ู้ ก็หมายถงึ จิต และในท่อี ่นื อกี หลายแห่งแสดง
คาํ วา่ วญิ ญาณซง่ึ หมายถงึ จิต แตส่ าํ หรบั วิญญาณในขนั ธ์ ๕ ซง่ึ
ตรสั แสดงเป็นพืน้ นนั้ ใหม้ ีความหมายดงั ท่ีกลา่ วนี้

อีกคาํ หน่งึ คือ มโน คาํ วา่ มโนนีก้ ็แปลกนั วา่ ใจเหมือนกนั
และจติ ก็แปลกนั เป็นคาํ ไทยวา่ ใจเหมือนกนั ในภาษาไทยจงึ ใช้
คาํ แปลเป็นคาํ เดียวกนั เพราะไมร่ ูว้ า่ จะไปหาคาํ ไหน คาํ อ่ืนมา
ใชใ้ หต้ า่ งกนั ไป คาํ วา่ ใจนนั้ ทกุ คนก็มีความเขา้ ใจ แตว่ า่ มโนท่ี
แปลวา่ ใจนีเ้ ป็นอายตนะภายในขอ้ ที่ ๖

อายตนะภายในนนั้ ก็คอื ตา หู จมกู ลนิ้ กาย และมนะคอื ใจ
ซง่ึ ทงั้ ๖ นีเ้ ป็นทวารคือเป็นประตทู ่ีจิตรบั อารมณค์ อื เร่อื งของรูป
เสียงเป็นตน้ เพราะฉะนนั้ ฐานะของมโนจงึ เป็ นทวารของจติ

6

เท่านนั้ เหมือนอย่างจกั ขุ ตา เป็นตน้ ท่ีเป็นทวารของจิต
เชน่ เดียวกนั แตม่ โนคอื ใจนีจ้ ะตอ้ งประกอบกบั ตา หู จมกู ลนิ้
กาย ๕ ขอ้ นีต้ ลอดเวลาดว้ ย จงึ จะใหส้ าํ เรจ็ การเหน็ รูป การไดย้ นิ
เสยี ง การไดท้ ราบกลิ่น ทราบรส ทราบโผฏฐัพพะ ลาํ พงั ประสาท
ตา ประสาทหู อย่างเดยี ว ประสาทจมกู ประสาทลนิ้ ประสาท
กาย อย่างเดียว ไมพ่ อท่ีจะใหเ้ กิดความรูเ้ ห็นรูป รูไ้ ดย้ นิ เสยี ง
เป็นตน้ ได้ ตอ้ งมีมโนขอ้ ท่ี ๖ นีเ้ ขา้ ประกอบอยดู่ ว้ ย ซง่ึ กไ็ ดก้ ลา่ ว
มาแลว้ เหมือนกนั ตามท่ีพระพทุ ธเจา้ และพระอาจารยผ์ อู้ ธิบาย

พระพทุ ธวจั นะเก่ียวแก่เรอ่ื งนี้ ไดแ้ สดงอธิบายไวด้ ่งั นี้ ก็ตอ้ ง
กบั ความรูใ้ นปัจจบุ นั ใหไ้ ปดหู อ้ งแสดงกรรมฐาน คือชนั้ ๒ ท่ีตกึ
ภปร. ท่ีแสดงระบบของมนั สมอง อนั เก่ียวกบั ประสาททงั้ ๕ ตาม
ความรูใ้ นปัจจบุ นั ก็จะเห็นไดช้ ดั เช่นแสดงถึงวา่ การเหน็ รูปนนั้
ตอ้ งอาศยั อะไรบา้ ง จะตอ้ งอาศยั จกั ขปุ ระสาท และจะตอ้ ง
อาศยั มนั สมองอกี สว่ นหนง่ึ ท่ีเน่ืองกบั จกั ขปุ ระสาทนนั้ จงึ จะให้
สาํ เรจ็ การเหน็ รูปได้ การไดย้ นิ เสยี งก็ตอ้ งอาศยั ประสาทหู และก็

7

ตอ้ งอาศยั มนั สมองอีกสว่ นหนง่ึ ท่ีเก่ียวกบั ประสาทหู จงึ จะให้
สาํ เรจ็ การไดย้ นิ เสียงได้

เพราะฉะนนั้ สมเดจ็ พระมหาสมณเจา้ กรมพระยาวชิร
ญาณวโรรส จงึ ไดต้ รสั อธิบายไวว้ า่ มโนซง่ึ เป็นอายตนะขอ้ ท่ี ๖
นี้ ก็เทา่ กบั เป็นมนั สมองสว่ นท่ีมหี นา้ ท่ีอนั เก่ียวแกป่ ระสาททงั้ ๕
ของบคุ คลดงั ท่ีกลา่ วนนั้ แตว่ า่ ทางพทุ ธศาสนานนั้ แสดงมโนใน
ฐานะเป็นนามธรรมอนั หนง่ึ ซง่ึ สมั พนั ธก์ นั อย่กู บั รูปธรรม ๖ สว่ น
ประสาททงั้ ๕ นบั เป็นอายตนะขอ้ ท่ี ๖ หรอื เป็นประสาทภายใน
ขอ้ ท่ี ๖ ก็คงจะได้

เพราะ ฉะนนั้ จิต วญิ ญาณ และมโน ซง่ึ ใชใ้ นคาํ ส่งั สอนของ
พระพทุ ธเจา้ จงึ ไดม้ ีความหมายดงั ท่ีแสดงมานี้

และก็เหน็ ไดช้ ดั ในทตุ ิยเทศนาของพระพทุ ธเจา้ ท่ีแสดงขนั ธ์
๕ วา่ เป็นอนตั ตา มใิ ช่ตวั ตน รูป เวทนา สญั ญา สงั ขาร
วญิ ญาณ เป็นอนตั ตามิใช่ตวั ตน เพราะบงั คบั ใหเ้ ป็นไปตาม
ปรารถนามิได้ เม่ือเป็นด่งั นี้ รูป เวทนา สญั ญา สงั ขาร วญิ ญาณ
จงึ เป็นอนิจจะไม่เท่ียง และสงิ่ ใดไมเ่ ท่ียงสิ่งนนั้ ก็ยอ่ มเป็นทกุ ข์

8

คอื ตอ้ งแปรปรวนเปล่ยี นแปลงไป และสง่ิ ใดไม่เท่ียงเป็นทกุ ข์ สง่ิ
นนั้ ก็เป็นอนตั ตา ไมค่ วรท่ีจะยดึ ถือวา่ น่ีเป็นของเรา เราเป็นน่ี น่ี
เป็นตวั ตนของเรา คือไม่ควรท่ีจะยดึ ถือวา่ รูป เวทนา สญั ญา
สงั ขาร วิญญาณ เป็นของเรา เราเป็นรูป เป็นเวทนา เป็นสญั ญา
เป็นสงั ขาร เป็นวญิ ญาณ รูป เวทนา สญั ญา สงั ขาร วญิ ญาณ
เป็นอตั ตาตวั ตนของเรา และในทา้ ยเทศนาก็ไดต้ รสั วา่ จิตของ
พระเบญ็ จวคั คยี พ์ น้ แลว้ จากอาสวะทงั้ หลาย ด่งั นี้

และใน เทศนาท่ี ๓ (อาทติ ตปรยิ ายสตู ร) ทรงยกแสดงเป็น
แม่บทวา่ สง่ิ ทงั้ ปวงเป็นของรอ้ น อะไรเป็นของรอ้ น ก็คอื ตา หู
จมกู ลนิ้ กาย และมนะคอื ใจ อนั ไดแ้ กอ่ ายตนะภายในทงั้ ๖ รูป
เสยี ง กลน่ิ รส โผฏฐัพพะ ธรรมะคอื เรอ่ื งราว ซง่ึ เป็นอายตนะ
ภายนอก วิญญาณ สมั ผสั เวทนา อนั บงั เกิดสืบเน่ืองมาจากท่ี
อายตนะภายในภายนอกประจวบกนั นนั้ เป็นของรอ้ น รอ้ น
เพราะอะไร รอ้ นเพราะไฟคอื ราคะ ไฟคอื โทสะ ไฟคือโมหะ รอ้ น
เพราะชรา พยาธิ มรณะ รอ้ นเพราะชาติ ชรา พยาธิ มรณะ
เพราะโสกะความโศก ปรเิ ทวะความคร่าํ ครวญราํ พนั ทกุ ขะ

9

ความไม่สบายกาย โทมนสั สะความไม่สบายใจ อปุ ายาสะความ
คบั แคน้ ใจ และในทา้ ยพระสตู รก็ตรสั วา่ จติ ของภกิ ษุพนั รูป ท่ี
เรยี กวา่ เป็นปรุ าณชฎิล เป็นชฎลิ เกา่ ก็พน้ จากอาสวะด่งั นี้

เป็นอนั วา่ ไดท้ รงจาํ แนกเอาไวช้ ดั เจน วญิ ญาณก็ดี มโนก็ดี
เป็นขอ้ ท่พี งึ พจิ ารณาวา่ เป็นอนตั ตา หรอื โดยไตรลกั ษณ์ และเม่ือ
เป็นของรอ้ น แตว่ า่ จติ นนั้ มไิ ดต้ รสั รวมเขา้ ดว้ ย แตว่ า่ ตรสั วา่ เม่ือ
ไดฟ้ ังพระธรรมเทศนานี้ จติ ของพระเบ็ญจวคั คีย์ และของพระ
ปรุ าณชฎิลพนั รูป ก็พน้ จากอาสวะทงั้ หลาย เพราะฉะนนั้ จิตจงึ
เป็นสงิ่ สาํ คญั ดงั กลา่ ว

และจติ นี้ ยงั ไดต้ รสั เอาไวว้ า่ ทุรังคมงั เท่ียวไปไกล เอกะจ
รัง เท่ียวไปผเู้ ดยี ว อสรรี ัง ไม่มีสรรี ะรูปรา่ งสณั ฐาน คูหาสยัง มี
คหู าคอื ถา้ํ เป็นท่ีอาศยั ตามท่ีตรสั เอาไวน้ ีเ้ ม่อื มากาํ หนด
พิจารณาดจู ิตของตนก็จะเหน็ ได้ วา่ เท่ียวไปไกล คอื คดิ ไปน่นั คดิ
ไปน่ีไดไ้ กลมาก คิดไปถึงดวงอาทิตยก์ ็ได้ คดิ ถึงดวงจนั ทรก์ ็ได้
ถงึ ดวงดาวดวงใดดวงหนง่ึ กไ็ ด้ ในโลกนกี้ ค็ ิดไปถึงท่ีน่นั ท่ีน่ีไดท้ ่วั
โลกทงั้ นนั้ และก็เท่ียวไปผเู้ ดยี วหรอื เท่ียวไปดวงเดียว ไมม่ ีสรรี ะ

10

คอื รูปรา่ งสณั ฐาน แตว่ า่ มีคหู าเป็นท่ีอาศยั มีคหู าก็คอื มีถา้ํ เป็นท่ี
อาศยั คหู าคอื ถา้ํ นพี้ ระอาจารยท์ า่ นอธิบายรวมกนั ไปวา่ มีกายนี้
เป็นท่ีอาศยั ไปที เดยี ว และพระอาจารยผ์ อู้ ธิบายในภายหลงั ท่ี
ท่านอธิบายตามความเขา้ ใจของท่านเอง วา่ จติ นีอ้ าศยั อยทู่ ่ีหทยั
วตั ถคุ ือท่ีหวั ใจของทกุ ๆ คนท่ีเตน้ ตบุ ๆ อยทู่ กุ เวลานี้ วา่ จิต
อาศยั อย่ทู ่ีน่ี แตก่ ็ไม่มีพทุ ธพจนต์ รสั แสดงเอาไว้ ตรสั เอาไวว้ า่ มี
คหู าคือมีถา้ํ เป็นท่ีอาศยั เท่านนั้

และเม่ือวิทยาในปัจจบุ นั เจรญิ มาถงึ เพยี งนี้ ดงั ท่ีไดม้ ีแสดง
ถงึ ระบบประสาททงั้ ๕ กบั ระบบมนั สมองท่ีประสานกนั และ
ท่ีตงั้ ของมนั สมองอย่ใู นกะโหลกศรี ษะ ผทู้ ่ีเป็นนกั คิดในปัจจบุ นั
จงึ มีความเหน็ วา่ จติ นา่ จะอาศยั อย่กู บั มนั สมอง และภายใน
กะโหลกศรี ษะนี้ รูปรา่ งก็เป็นคหู าคอื เป็นถา้ํ อย่แู ลว้ ตามบาลี
ท่ีวา่ มีคหู าท่ีแปลวา่ ถา้ํ คือถา้ํ ในภเู ขาเป็นท่ีอาศยั แตพ่ ระ
อาจารยท์ ่านตอ้ งการท่ีจะอธิบายวา่ อาศยั อยทู่ ่ีกายนี้ คหู าคอื ถา้ํ
ก็หมายถงึ กายนีจ้ งึ ไม่มีผิด เป็นการท่ีแสดงรวมทงั้ หมด และ
ตามท่ีไดแ้ สดงมานีแ้ มไ้ ม่เก่ียวกบั การปฏบิ ตั โิ ดยตรง แตว่ า่ เม่ือรู้

11

ถงึ สมมติบญั ญตั ศิ พั ทธ์ รรมะในพทุ ธศาสนา ก็จะทาํ ใหม้ ีความ
เขา้ ใจ และทาํ ใหไ้ มส่ งสยั

และตามท่ีกลา่ วมานกี้ ็พงึ เขา้ ใจวา่ ในบคุ คลทกุ ๆ นี้ มีส่งิ ท่ี
เป็นวตั ถุ ท่มี ี สรรี ะ รูปรา่ งสณั ฐานคอื รูปกาย กบั มีสิง่ ท่ีไม่มีสรรี ะ
ไมม่ ีรูปรา่ งสณั ฐานคือจิต ประกอบกนั อย่พู รอ้ มกบั นามธรรมทงั้
ปวงท่ีเป็นอาการของจติ เพราะฉะนนั้ จิตนจี้ งึ มใิ ชม่ นั สมอง
มนั สมองเป็นรูป เป็นสรรี ะ มีรูปรา่ งสณั ฐาน แตว่ า่ จิตนีเ้ ป็น
อสรรี ะ ไม่มีรูปรา่ งสณั ฐาน ดงั ท่ีพระพทุ ธเจา้ ไดต้ รสั เอาไว้ แตว่ า่
เม่ือเป็นด่งั นีจ้ ะพสิ จู นไ์ ดอ้ ย่างไรวา่ มีจิต

ในขอ้ นีก้ ็ตอ้ งตอบวา่ การพสิ จู นน์ นั้ สาํ หรบั สิ่งท่ีมีสรรี ะ ก็ตอ้ ง
พสิ จู นก์ นั ตามหลกั เกณฑข์ องสง่ิ ท่ีมีสรรี ะ หรอื วตั ถุ แตว่ า่ ส่งิ ท่ีไม่
มีสรรี ะคอื จิตและนามธรรมทงั้ หลาย ก็ตอ้ งพสิ จู นก์ นั ดว้ ยวิธีของ
ส่ิงท่ีไม่มีสรรี ะ หรอื นามธรรมดว้ ยกนั และในบคุ คลเรานี้ สิ่งท่ีไม่
มีสรรี ะนีม้ ีอยเู่ ป็นอนั มากท่ีพสิ จู นด์ ว้ ยวตั ถดุ ว้ ยกนั ไมไ่ ด้ เป็นตน้
วา่ ปัญญาคอื ความรู้

12

ความรูข้ องบคุ คลท่ีมีอยู่ ท่ีเป็นปัญญามาตงั้ แตก่ าํ เนิดก็ดี ท่ี
เป็นปัญญาท่ีเกิดจากการศกึ ษาเลา่ เรยี นไดช้ นั้ นนั้ ชนั้ นกี้ นั มาก็ดี
ไม่ใช่วตั ถจุ ะเอามาช่งั ตวงวดั ตวงวดั กนั ดว้ ยเคร่อื งช่งั เครอ่ื งตวง
เคร่อื งวดั ตา่ ง ๆ วา่ ใครมีปัญญามากเทา่ ไร ก่ีทะนานก่ีถงั เอา
ทะนานเอาถงั มาตกั มาตวงกนั เป็นตน้ ด่งั นีไ้ ม่ได้ เพราะไมม่ ี
รูปรา่ งท่ีจะปรากฏวา่ ใครมีปัญญามากเทา่ ไร

เพราะฉะนนั้ จงึ ตอ้ งมีการพสิ จู นเ์ ทา่ ท่ีจะพงึ ทาํ ได้ เชน่ ดว้ ยวธิ ี
สอบไล่ หรอื วธิ ีสอบตา่ ง ๆ วดั ความรูต้ า่ ง ๆ ก็ไดเ้ ทา่ นนั้ แตก่ ็
ไมใ่ ชห่ มายความวา่ จะทาํ ใหร้ ูไ้ ดท้ งั้ หมด ด่งั นีเ้ ป็นตน้
เพราะฉะนนั้ สิง่ ท่ีไมม่ ีสรรี ะในบคุ คลเรานที้ ่ีเป็นนามธรรมเน่ือง
กบั จติ จงึ มีอยเู่ ป็นอนั มาก ธรรมะทงั้ หลายก็เป็นนามธรรมเน่ือง
อยกู่ บั จติ ทงั้ นนั้ วดั กนั ไม่ได้ ตวงกนั ไม่ได้ วา่ ใครมีสติมีปัญญา
อะไรเป็นตน้ เทา่ ไร กิเลสก็เหมือนกนั เพราะฉะนนั้ สงิ่ ท่ีไมม่ ีสรรี ะ
อนั นีจ้ งึ มีอยใู่ นทกุ ๆ คน เพราะฉะนนั้ ก็ตอ้ งศกึ ษาและตอ้ ง
กาํ หนดใหร้ ู้ และจะทาํ ใหร้ บั รองธรรมะอนั เป็นคาํ ส่งั สอนของ
พระพทุ ธเจา้ ไดอ้ กี เป็นอนั มาก

13

ตอ่ ไปนีก้ ็ขอใหต้ งั้ ใจฟังสวดและทาํ ความสงบสบื ตอ่ ไป
(ถอดเสยี งธรรมโดย คณุ อณิศร โพธิทองคาํ )
ท่ีมา: https://youtu.be/0GDZcSKM1Zo

14


Click to View FlipBook Version