The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

มรรค ๘ สมเด็จญาณ

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by ทีมงานกรุธรรม, 2022-02-06 11:53:28

มรรค ๘ สมเด็จญาณ

มรรค ๘ สมเด็จญาณ

Keywords: มรรค ๘ สมเด็จญาณ

มรรค ๘
สมเดจ็ พระญาณสงั วร สกลมหาปรณิ ายก
บดั นี้ จกั แสดงธรรมะเป็นเครอ่ื งอบรมในการปฏิบตั ิอบรมจิต
ในเบอื้ งตน้ ก็ขอใหท้ กุ ๆ ทา่ นตงั้ ใจนอบนอ้ มนมสั การ พระผมู้ ี
พระภาคอรหนั ตสมั มาสมั พทุ ธเจา้ พระองคน์ นั้ ตงั้ ใจถงึ พระองค์
พรอ้ มทงั้ พระธรรมและพระสงฆเ์ ป็นสรณะ ตงั้ ใจสาํ รวมกาย
วาจาใจใหเ้ ป็นศลี ทาํ สมาธิในการฟัง เพ่ือใหไ้ ดป้ ัญญาในธรรม
ไดแ้ สดงโพธปิ ักขยิ ธรรม ธรรมะท่ีเป็นไปในฝ่ายแหง่ ความ
ตรสั รู้ ซง่ึ พระพทุ ธเจา้ ทรงรวบรวมธรรมะหลายหมวด เขา้ มาอยู่
ในโพธิปักขิยธรรมนี้ คอื ประกอบดว้ ยสติปัฏฐาน ๔ สมั มปั ปธาน

๔ อทิ ธิบาท ๔ อินทรยี ์ ๕ พละ ๕ โพชฌงค์ ๗ และมรรคมีองค์
๘ เป็นธรรมะถงึ ๗ หมวด รวมเป็น ๓๗ ขอ้

จงึ ควรทาํ ความเขา้ ใจวา่ ธรรมะ ๗ หมวด ๓๗ ขอ้ นี้
พระพทุ ธเจา้ ไดต้ รสั สอนไวโ้ ดยเอกเทศมาแลว้ ตงั้ แตใ่ นเบอื้ งตน้
มรรคมีองค์ ๘ ก็ไดต้ รสั แสดงไวต้ งั้ แตใ่ นปฐมเทศนา คือเทศน์
ครงั้ แรก อนั เรยี กวา่ มชั ฌิมาปฏปิ ทา ขอ้ ปฏิบตั ทิ ่ีเป็นหนทาง

โดยทมี งานกรุธรรม grudhamma.com 1

กลาง ตอ่ มาจง่ึ ไดท้ รงแสดงธรรมะหมวดอ่ืนๆ โดยเอกเทศ เชน่
สตปิ ัฏฐาน ๔ อิทธิบาท ๔ เป็นตน้

และแมท้ รงแสดงไวโ้ ดยเอกเทศ แตใ่ นการปฏิบตั นิ นั้ ก็ปฏบิ ตั ิ
ไดต้ งั้ แตเ่ บอื้ งตน้ และรวมเขา้ ในทางอนั เดยี วกนั ซง่ึ นาํ ไปสคู่ วาม
สิน้ กิเลสและกองทกุ ขด์ ว้ ยกนั และเม่ือทรงแสดงไวโ้ ดยเอกเทศ
แตล่ ะคราวๆ คราวหน่งึ ก็หมวดหน่งึ ๆ ในตอนหลงั ก็ไดท้ รง
ประมวลธรรมะ ๗ หมวด ๓๗ ขอ้ นีเ้ ขา้ มาเป็นโพธิปักขยิ ธรรม
คือเป็นธรรมะท่ีเป็นไปในฝักฝ่ายแหง่ ความตรสั รูด้ งั กลา่ ว

และก็สามารถกลา่ วไดว้ า่ ในทางปฏิบตั ินนั้ จบั ปฏิบตั แิ ตส่ ติ
ปัฏฐาน และก็มาสัมมัปปธาน อิทธิบาท อินทรีย์ พละ ใน
ฐานะท่ีทงั้ ๔ หมวดนีเ้ ป็นอปุ การะธรรมในการปฏิบตั ิสตปิ ัฏฐาน
ใหส้ มบรู ณ์ สติปัฏฐานจงึ เล่อื นขนึ้ เป็นโพชฌงค์ และโพชฌงค์
จงึ เล่อื นขนึ้ เป็นมรรคมอี งค์ ๘ หรอื จะทาํ ความเขา้ ใจวา่ ทงั้ ๗
หมวดนีจ้ ะยกหมวดไหนขนึ้ มาปฏบิ ตั กิ ็ได้ และทงั้ หมดนีก้ ็จะ
เน่ืองถึงกนั ทงั้ หมด เน่ืองอยู่ รวมกนั อยเู่ ป็นอนั เดยี วกนั เป็น

โดยทมี งานกรธุ รรม grudhamma.com 2

ธรรมะสามคั คคี วามพรอ้ มเพรยี งกนั ของธรรมะ นาํ ไปสคู่ วามสนิ้
กิเลสและกองทกุ ขไ์ ดเ้ ชน่ เดยี วกนั หมด

และเม่ือไดแ้ สดงมาโดยลาํ ดบั โดยนยั ยะท่วี า่ ตงั้ สติปัฏฐาน
ทงั้ ๔ เป็นหลกั ปฏิบตั ิ และในการปฏิบตั สิ ติปัฏฐานทงั้ ๔ นี้ ก็
ตอ้ งอาศยั อบรมใหม้ ีสมั มปั ปธานเพียรชอบ ใหม้ ีอทิ ธิบาท ใหม้ ี
อินทรยี ์ ใหม้ ีพละ สติปัฏฐานนีจ้ งึ จะเล่อื นขนึ้ เป็นโพชฌงค์ ท่ีเป็น
องคข์ องความตรสั รู้ และเม่ือปฏิบตั ิในโพชฌงคไ์ ปจนถึงขอ้
อเุ บกขา คอื อเุ บกขาโพชฌงค์ หรอื อเุ บกขาสมั โพชฌงค์ ก็นาํ ให้
ไดป้ ฏิบตั ิเขา้ ในมรรคมีองค์ ๘ และการปฏบิ ตั เิ ขา้ ในมรรคมีองค์
๘ นี้ พระพทุ ธเจา้ ไดต้ รสั เรยี งลาํ ดบั ไวท้ งั้ ๘ ขอ้ นี้ โดยตอ่ เน่ืองกนั
ไป ด่งั ท่ีไดต้ รสั ไวใ้ นพระสตู รหนง่ึ ซง่ึ แปลความวา่

ทา่ นพระอานนทไ์ ดก้ ราบทลู พระพทุ ธเจา้ วา่ ความเป็นผมู้ ี
กลั ยาณมติ ร ความเป็นผคู้ ลอ้ ยตามกลั ยาณมติ ร เป็น
พรหมจรรยไ์ ดก้ ึ่งหนง่ึ คือเป็นความประพฤตปิ ระเสรฐิ ในพทุ ธ
ศาสนา ไดค้ รง่ึ หนง่ึ ของทงั้ หมด

โดยทมี งานกรธุ รรม grudhamma.com 3

พระพทุ ธเจา้ กไ็ ดต้ รสั แก่พระอานนทว์ า่ อยา่ ไดก้ ลา่ วอยา่ ง
นนั้ ความเป็นผมู้ ีกลั ยาณมติ ร ความเป็นผคู้ ลอ้ ยตาม
กลั ยาณมิตร จกั ทาํ ใหอ้ บรมมรรคมีองค์ ๘ ใหบ้ งั เกิดขนึ้ คือ
อบรมสัมมาทฏิ ฐิความเหน็ ชอบ สัมมาสงั กัปปะความดาํ รชิ อบ
สัมมาวาจาเจรจาชอบ สัมมากมั มันตะการงานชอบ
สัมมาอาชีวะเลยี้ งชวี ติ ชอบ สัมมาวายามะเพียรชอบ
สัมมาสตริ ะลกึ ชอบ สมั มาสมาธิตงั้ ใจชอบ ฉะนนั้ ความเป็นผู้
มีกลั ยาณมติ ร หรอื มติ รท่ีดงี าม ความเป็นผคู้ ลอ้ ยตาม
กลั ยาณมิตร จงึ เป็นพรหมจรรยท์ งั้ หมด เป็นพรหมจรรยท์ งั้ สนิ้

และก็ไดต้ รสั ไวอ้ กี วา่ สตั วท์ งั้ หลายท่ีมีชาตคิ อื ความเกิดเป็น
ธรรมดา มีชราความแก่ มรณะความตายเป็นธรรมดา มีโสกะ
ความแหง้ ใจ ปริเทวะ ความครา่ํ ครวญใจ ทุกขะ ความไม่
สบายกาย โทมนัสสะ ความไม่สบายใจ อุปายาส ความคบั
แคน้ ใจ เป็นธรรมดา คอื มีทกุ ขเ์ หลา่ นีเ้ ป็นธรรมดา อาศยั เรา คือ
อาศยั พระพทุ ธเจา้ ผพู้ ระตถาคตเป็นกลั ยาณมติ ร ก็จะพน้ จาก
ชาติ ความเกดิ ชรา ความแก่ มรณะ ความตาย พน้ จากโสกะ

โดยทมี งานกรธุ รรม grudhamma.com 4

ความโศกความแหง้ ใจ ปรเิ ทวะ ความรญั จวนครา่ํ ครวญใจ
ความไม่สบายกาย ความไมส่ บายใจ ความคบั แคน้ ใจได้ คือจะ
พน้ ทกุ ขไ์ ดด้ ่งั นี้ เม่ืออาศยั พระองคเ์ ป็นกลั ยาณมิตรด่งั นี้ ก็จะ
ปฏบิ ตั ใิ นมรรคมีองค์ ๘ พน้ ทกุ ขไ์ ด้

ฉะนนั้ จงึ ตรสั วา่ ความเป็นผมู้ กี ลั ยาณมิตร มิตรท่ีดีงามคอื
พระพทุ ธเจา้ และเป็นผคู้ ลอ้ ยตามกลั ยาณมิตรคอื พระพทุ ธเจา้
คือปฏิบตั ิตามคาํ ส่งั สอนของพระองค์ จงึ ช่ือวา่ เป็นพรหมจรรย์
ทงั้ หมด และอกี คราวหนง่ึ ทา่ นพระสารบี ตุ รไดก้ ราบทลู
พระพทุ ธเจา้ วา่ ความเป็นผมู้ ีกลั ยาณมิตร ความคลอ้ ยตามผู้
เป็นกลั ยาณมติ ร เป็นพรหมจรรยท์ งั้ หมด พระพทุ ธเจา้ ได้
ประทานสาธกุ ารรบั รองในคาํ กราบทลู ของทา่ นพระสารบี ตุ รนนั้

และก็ไดต้ รสั ไวเ้ ป็นขอ้ หลกั วา่ อวชิ ชาคือไม่รูใ้ นสจั จะท่ีเป็น
ความจรงิ เป็นหวั หนา้ เพ่ือความบงั เกิดขนึ้ พรอ้ มสรรพแห่งอกศุ ล
ธรรมทงั้ หลาย ใหบ้ งั เกิด อหริ ิความไมล่ ะอายใจ อโนตตปั ปะ
ความไมเ่ กรงกลวั ตอ่ บาปอกศุ ลธรรมทงั้ หลาย มจิ ฉาทฏิ ฐิ คอื
ความเห็นผดิ ยอ่ มมีพรอ้ มแกผ่ ทู้ ่ีมีอวชิ ชา มจิ ฉาสังกปั ปะ คือ

โดยทมี งานกรุธรรม grudhamma.com 5

ความดาํ รผิ ดิ ยอ่ มมีแก่ผทู้ ่ีมมี จิ ฉาทฏิ ฐิคือความเหน็ ผิด มจิ ฉา
วาจา เจรจาผดิ ยอ่ มมีแก่ผทู้ ่ีมีมจิ ฉาสงั กปั ปะดาํ รผิ ิด มจิ ฉากมั
มันตะ การงานผดิ ยอ่ มมีแกผ่ ทู้ ่ีมีมิจฉาวาจา วาจาผดิ มจิ ฉา
อาชีวะ เลยี้ งชีวิตผิดย่อมมีแกผ่ ทู้ ่ีมีมิจฉากมั มนั ตะการงานผดิ
มจิ ฉาวายามะ เพยี รผิดย่อมมีแกผ่ ทู้ ่ีมีมจิ ฉาอาชีวะเลีย้ งชีวติ ผิด
มิจฉาสติ ระลกึ ผิดยอ่ มมีแกผ่ ทู้ ่ีมีมจิ ฉาวายามะเพียรผดิ มจิ ฉา
สมาธิ ตงั้ ใจผดิ ยอ่ มมีแกผ่ ทู้ ่มี ีมจิ ฉาสตริ ะลกึ ผดิ ด่งั นี้

และก็ไดต้ รสั ในทางตรงกนั ขา้ มวา่ วชิ ชาคอื ความรูถ้ กู ตอ้ ง
ในสจั จะท่ีเป็นความจรงิ เป็นหวั หนา้ เพ่ือความบงั เกิดขนึ้ พรอ้ ม
พร่งั แหง่ กศุ ลธรรมทงั้ หลาย กบั ทงั้ หริ ิความละอายแกใ่ จ
โอตตัปปะ ความเกรงตอ่ บาปอกศุ ลธรรมทงั้ หลาย สมั มาทฏิ ฐิ
ความเห็นชอบยอ่ มมีแกผ่ ทู้ ่ีมวี ชิ ชา สมั มาสงั กปั ปะ ดาํ รชิ อบย่อม
มีแก่ผทู้ ่ีมีสมั มาทิฏฐิความเหน็ ชอบ สมั มาวาจา เจรจาชอบยอ่ ม
มีแก่ผทู้ ่ีมีสมั มาสงั กปั ปะดาํ รชิ อบ สมั มากมั มนั ตะ การงานชอบ
ยอ่ มมีแก่ผทู้ ่มี ีสมั มาวาจาเจรจาชอบ สมั มาอาชีวะ เลยี้ งชีวิต
ชอบยอ่ มมีแกผ่ ทู้ ่ีมีสมั มากมั มนั ตะการงานชอบ สมั มาวายามะ

โดยทมี งานกรุธรรม grudhamma.com 6

เพียรชอบยอ่ มมีแก่ผทู้ ่ีมีสมั มาอาชีวะเลยี้ งชีวิตชอบ สมั มาสติ
ระลกึ ชอบยอ่ มมีแกผ่ ทู้ ่ีมีสมั มาวายามะเพยี รชอบ สมั มาสมาธิ
ตงั้ ใจชอบยอ่ มมีแก่ผทู้ ่ีมีสมั มาสตริ ะลกึ ชอบ ด่งั นี้ เป็นอนั ไดท้ รง
แสดงมรรคมีองค์ ๘ นีโ้ ยงกนั ไป เป็นมรรคสมังคี คอื ความ
พรอ้ มเพรยี งของมรรค

ฉะนนั้ จดุ อนั สาํ คญั ท่ีสดุ จงึ อย่ทู ่ี อวิชชากบั วชิ ชา อวิชชา
คือความไม่รูส้ จั จะท่ีเป็นตวั ความจรงิ วชิ ชาคือความรูส้ จั จะท่ี
เป็นตวั ความจรงิ เม่ือมีอวิชชาซง่ึ เป็นตวั ความไม่รูใ้ นสจั จะท่ีเป็น
ความจรงิ กน็ าํ ใหบ้ งั เกิดมิจฉามรรค คอื ทางปฏิบตั ทิ ่ีผดิ ไปทกุ ขอ้
เม่ือมีวิชชาคือความรูใ้ นสจั จะท่ีเป็นตวั ความจรงิ ยอ่ มนาํ ใหเ้ กิด
สมั มามรรค คอื ทางปฏิบตั ทิ ่ชี อบ คือมรรคมีองค์ ๘ ไปทกุ ขอ้ ด่งั
นี้

เพราะฉะนนั้ การปฏบิ ตั ธิ รรมะในพระพทุ ธศาสนานนั้ จงึ
กลา่ วสรุปไดว้ า่ เป็นการปฏบิ ตั เิ พ่ือรู้ คือรูจ้ กั สจั จะท่เี ป็นความ
จรงิ ไม่ใชป่ ฏิบตั เิ พ่ือไมร่ ูส้ จั จะท่ีเป็นตวั ความจรงิ และความรูใ้ น

โดยทมี งานกรธุ รรม grudhamma.com 7

สจั จะท่ีเป็นความจรงิ นี้ ก็เรยี กวา่ วิชชานนั้ เอง เม่ือยงั ไมร่ ูอ้ ยกู่ ็
เป็นอวิชชา

และสามญั ชนท่วั ไปนนั้ ตา่ งกม็ ีอวชิ ชา คอื ความไม่รูใ้ นสจั จะ
ท่ีเป็นความจรงิ นี้ นอนจมหมกั หมมอย่ใู นจิตสนั ดาน
เพราะฉะนนั้ ความรูท้ ่ีแสดงออกมา ความรูท้ ่ีบงั เกิดขนึ้ ทาง
อายตนะมีตาหเู ป็นตน้ ความรูท้ ่ีบงั เกิดขนึ้ อนั เป็นธรรมชาติของ
จติ ซง่ึ เป็นธาตรุ ู้ จงึ เป็นความรูห้ ลง เป็นความรูผ้ ดิ เพราะฉะนนั้
เม่ือไดม้ าสดบั ฟังธรรมะท่ีเป็นคาํ ส่งั สอนของพระพทุ ธเจา้ และ
ไดใ้ ชป้ ัญญาท่ีมีอยอู่ นั เป็นธรรมชาติของจิตของมนษุ ยพ์ จิ ารณา
ยอ่ มจะทาํ ใหไ้ ดป้ ัญญา คือความรูท้ ่ีเป็นความรูถ้ กู ตอ้ ง เป็น
วิชชาคือความรูท้ ่ีเป็นความรูจ้ รงิ ขนึ้ โดยลาํ ดบั

และในการปฏบิ ตั นิ ีก้ ็กลา่ วไดว้ า่ ผปู้ ฏบิ ตั ทิ กุ ทา่ นทกุ คน ตา่ ง
ก็ไดม้ ีการปฏบิ ตั ิในศลี ปฏิบตั ใิ นสมาธิ ปฏิบตั ใิ นปัญญา มาตาม
แนวท่ีพระพทุ ธเจา้ ทรงส่งั สอน ตงั้ แตใ่ นเบือ้ งตน้ และก็กลา่ วได้
วา่ ตอ้ งมีตวั วชิ ชาหรอื ปัญญา อนั มีอย่ตู ามธรรมชาตธิ รรมดาของ
มนษุ ย์ ซง่ึ มีจติ อนั เป็นธาตรุ ูท้ ่ีไดอ้ บรมมาแลว้ เพราะฉะนนั้ จงึ ได้

โดยทมี งานกรุธรรม grudhamma.com 8

เรยี กวา่ กศุ ลท่แี ปลวา่ กิจของคนฉลาด ไดแ้ ก่สามารถมีความรู้
เปรยี บเทียบขาวดาํ ประณีตหรอื เลว มีโทษไมม่ ีโทษ ดีไมด่ ี ขนึ้
โดยลาํ ดบั อนั เป็นสจั จะท่ีเป็นความจรงิ อยา่ งหนง่ึ ๆ

พระพทุ ธเจา้ เองไดท้ รงอบรมพระบารมีมากอ่ นแตต่ รสั รู้ ทรง
เป็นบคุ คลพเิ ศษท่ีเรยี กวา่ โพธิสตั ว์ คอื เป็นสตั วท์ ่ีจะตรสั รู้ ซง่ึ เป็น
ผทู้ ่ียงั ขอ้ งอยู่ เพราะสัตตะแปลวา่ ผขู้ อ้ งผตู้ ิด แตข่ อ้ งติดอย่ใู น
ความรูเ้ พ่ือท่ีจะรูย้ ่งิ ๆ ขนึ้ ไป ไดท้ รงบาํ เพ็ญพระบารมีมาสนิ้ เวลา
เป็นอนั มาก แมใ้ นพระชาตทิ ่ีเป็นสทิ ธตั ถะราชกมุ าร ได้
ทอดพระเนตรเหน็ เทวทตู ทงั้ ๔ คนแก่ คนเจ็บ คนตาย และ
สมณะ จงึ ไดท้ รงสละทางโลกทกุ อยา่ งออกทรงผนวช ในระยะ
เหลา่ นีก้ ก็ ลา่ วไดว้ า่ ไดท้ รงปฏิบตั พิ ระองคอ์ ยใู่ นศีล คอื ความ
ประพฤติทางกายวาจาใจ เวน้ จากการก่อภยั ก่อเวร อนั เกิด
ความเดือดรอ้ น และมพี ระทยั ตงั้ ม่นั อยใู่ นกศุ ลธรรมทงั้ หลาย

เม่ือไดท้ รงเหน็ คนแกค่ นเจ็บคนตาย เหน็ สมณะ จงึ ไดท้ รง
นาํ มาใครค่ รวญพจิ ารณา โดยนอ้ มเขา้ มาถึงพระองคเ์ องวา่
พระองคเ์ องกจ็ ะตอ้ งแก่ตอ้ งเจ็บตอ้ งตายอย่างนนั้ จะทรงเป็น

โดยทมี งานกรธุ รรม grudhamma.com 9

อะไรอย่ใู นโลก จนถงึ เป็นพระเจา้ จกั รพรรดิพ์ ระราชาเอกในโลก
ก็จะตอ้ งแก่ตอ้ งเจบ็ ตอ้ งตายไม่พน้ ไปได้

จงึ ไดท้ รงปรารถนาโมกขธรรม ธรรมะเป็นเครอ่ื งหลดุ พน้
โดยทรงอนมุ านขนึ้ ในพระทยั วา่ เม่ือมีแกเ่ จ็บตาย ก็จะตอ้ งมีไม่
แก่ไม่เจบ็ ไมต่ าย เหมือนอยา่ งมีมืดก็มีสวา่ ง มีกลางคืนก็มี
กลางวนั คกู่ นั จงึ ไดท้ รงสลดั ทางโลก ออกเสดจ็ บรรพชาเท่ียว
แสวงหาโมกขธรรม ธรรมะเป็นเคร่อื งหลดุ พน้ ในชนั้ นี้ ก็ทรงมีศลี
คือความประพฤติท่งี ดเวน้ จากบาปอกศุ ลทจุ รติ ทงั้ หลาย ทรงมี
สมาธิคอื ตงั้ พระทยั ม่นั อยใู่ นโมกขธรรม และก็ทรงแสวงหา คือ
แสวงหาปัญญาความรูน้ นั้ เอง หรอื แสวงหาวชิ ชาคอื ความรู้
นนั้ เองในโมกขธรรม ทรงปฏบิ ตั ทิ กุ อย่าง ทรงแสวงหาทกุ ๆ อย่าง
ก็เพ่ือใหพ้ บกบั ปัญญาหรอื วิชชา ซง่ึ เป็นตวั ความรูถ้ กู ตอ้ ง หรอื
วา่ สจั จะท่ีเป็นความจรงิ นีเ้ อง ไม่ใช่สิ่งอ่นื

จงึ กลา่ วไดว้ า่ ไดท้ รงมีศลี อยเู่ ป็นภาคพนื้ และไดท้ รงมีสมาธิ
คือพระทยั ท่ีตงั้ ม่นั ไมเ่ ปล่ยี นแปลง และก็ทรงไดป้ ัญญาคอื
ความรูข้ นึ้ โดยลาํ ดบั นอ้ มเขา้ มารูท้ ่ีพระองคเ์ อง วา่ ท่ีปฏบิ ตั ไิ ป

โดยทมี งานกรธุ รรม grudhamma.com 10

นนั้ พน้ หรอื ยงั ยงั มีโลภโกรธหลง ยงั มีราคะโทสะโมหะอย่หู รอื ไม่
ก็ทรงพบวา่ ยงั ไม่ทรงพบโมกขธรรม เพราะทรงปฏบิ ตั ไิ ปอย่างไร
ในสาํ นกั ของอาจารยก์ ็ดี ทรงปฏบิ ตั ิเองในทกุ รกิรยิ าก็ดี ทาํ เป็น
อยา่ งย่งิ แตใ่ นพระทยั เองนนั้ ก็ยงั ไมพ่ น้ ยงั มีราคะโทสะโมหะ ยงั
มีโลภโกรธหลง ทรงนอ้ มเขา้ มารูพ้ ระองคเ์ อง ก็ทรงทราบดว้ ย
พระองคเ์ องวา่ ท่ีปฏิบตั ไิ ปนนั้ ยงั ไมใ่ ชท่ าง ยงั ไม่ใช่ทางก็ทรง
แสวงหาเร่อื ยไปตามลาํ ดบั

ด่งั นีเ้ รยี กวา่ ไดท้ รงบาํ เพ็ญมาในศีลในสมาธิในปัญญาท่ี
เบือ้ งตน้ นีเ้ ป็นลาํ ดบั มา จงึ ทรงไม่หลงไปในขอ้ ปฏิบตั นิ นั้ ๆ ยดึ ถือ
อย่ใู นขอ้ ปฏบิ ตั ินนั้ ๆ เม่ือยงั มีกิเลสอย่กู ็แปลวา่ ยงั ไมบ่ รรลโุ มกข
ธรรม เพราะจติ ใจเม่ือยงั มีกิเลสอย่นู ี้ ตวั เองรูส้ กึ เองวา่ มี ถึงวา่ จะ
ปฏบิ ตั อิ ยา่ งไร ในศลี ในสมาธิในปัญญาอยา่ งไร แมใ้ นพทุ ธ
ศาสนานีเ้ อง หากวา่ กิเลสยงั มีอยู่ กิเลสยอ่ มจะแสดงออกมาใหร้ ู้
ไดท้ ่ีจิตใจตนเอง วา่ ยงั ไม่พน้

เพราะฉะนนั้ การปฏิบตั ิของพระองคน์ นั้ จงึ มีพืน้ ฐานมาเป็น
อนั มาก และศลี ของพระองคก์ ็บรสิ ทุ ธิ์ขนึ้ โดยลาํ ดบั จนถงึ ทรงได้

โดยทมี งานกรธุ รรม grudhamma.com 11

สมาธิท่ีบรสิ ทุ ธิ์ สมาธิท่ีปลอ่ ยวาง นอ้ มพระทยั ท่ีเป็นสมาธิใน
เพ่ือรู้ นีไ้ ปเพ่ือรู้ ญาณคอื ความหย่งั รูท้ ่ีเรยี กวา่ เป็นจกั ขคุ ือ
ดวงตาจงึ ไดผ้ ดุ ขนึ้ ในทกุ ข์ ในเหตเุ กิดทกุ ข์ ในความดบั ทกุ ข์
ในทางปฏบิ ตั ิใหถ้ ึงความดบั ทกุ ข์

ด่งั นีจ้ งึ เป็นสมั มาทฏิ ฐิ และเม่ือเป็นสมั มาทฏิ ฐิแลว้ อกี ขอ้
ตอ่ ๆ ไปก็เน่ืองกนั ไป ดงั ท่ีกลา่ วมาในเบือ้ งตน้ ครบทงั้ ๘ ฉะนนั้
สมาธิท่ีบรสิ ทุ ธิ์ดงั กลา่ วนี้ ท่จี ะนาํ ไปใหบ้ งั เกิดญาณคือความ
หย่งั รู้ ท่ีผดุ ขนึ้ ในสจั จะทงั้ ๔ ได้ จงึ เป็นสมาธิท่ีบรสิ ทุ ธิ์ อนั ไดแ้ ก่
สมาธิสมั โพชฌงค์ อเุ บกขาสมั โพชฌงคอ์ งคแ์ ห่งความรู้ องค์
แหง่ ความตรสั รู้ คือสมาธิ และคืออเุ บกขา อนั เป็นสมาธิท่ี
บรสิ ทุ ธิ์

เพราะสมาธิท่บี รสิ ทุ ธิ์นนั้ ตอ้ งประกอบดว้ ยอุเบกขา คอื
ความเขา้ ไปเพง่ เฉยอยู่ วางความยดึ ถืออะไรทงั้ หมด ฉะนนั้ จงึ
ตอ้ งผา่ นโพชฌงค์ จนถงึ สมาธอิ ุเบกขาสัมโพชฌงค์ ซง่ึ เป็น
สมาธิท่ีบรสิ ทุ ธิ์ และนอ้ มจิตท่ีเป็นสมาธินีไ้ ปเพ่ือรู้ จกั ขุคอื
ดวงตา คอื ญาณ คือวิชชา คอื ปัญญา คอื ความสวา่ งก็ผดุ ขนึ้ ใน

โดยทมี งานกรธุ รรม grudhamma.com 12

อริยสัจทงั้ ๔ เป็นสมั มาทฏิ ฐิความเห็นชอบ มรรค ๘ ก็บงั เกิด
ขนึ้ สมบรู ณ์ เม่อื เป็นด่งั นีแ้ ลว้ จงึ จะเป็นโพธิปักขิยธรรม

ตอ่ ไปนีก้ ็ขอใหต้ งั้ ใจทาํ ความสงบสบื ตอ่ ไป
(ถอดเสยี งธรรมโดย คณุ อณิศร โพธิทองคาํ )
ท่ีมา: https://youtu.be/wqTalp_C57s

โดยทมี งานกรุธรรม grudhamma.com 13


Click to View FlipBook Version