The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

บำเพ็ญวิปัสสนาให้พ้นทุกข์ โดย หลวงพ่อวิริยังค์ สิรินฺธโร

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by ทีมงานกรุธรรม, 2022-03-02 23:06:41

บำเพ็ญวิปัสสนาให้พ้นทุกข์ โดย หลวงพ่อวิริยังค์ สิรินฺธโร

บำเพ็ญวิปัสสนาให้พ้นทุกข์ โดย หลวงพ่อวิริยังค์ สิรินฺธโร

Keywords: บำเพ็ญวิปัสสนาให้พ้นทุกข์,หลวงพ่อวิริยังค์ สิรินฺธโร

บาํ เพญ็ วปิ ัสสนาใหพ้ น้ ทกุ ข์
หลวงพอ่ วริ ยิ งั ค์ สิรนิ ฺธโร

ญาตโิ ยมทงั้ หลายตงั้ ใจท่ีจะทาํ ความสงบกนั ตอ่ ไปเพ่ือให้
เป็นปฏิบตั ิบชู าแดอ่ งคส์ มเด็จพระสมั มาสมั พทุ ธเจา้ ในเบอื้ งตน้
นีอ้ าตมาจะนาํ ใหว้ า่ ตามทกุ คน ขา้ พเจา้ ระลกึ ถึงคณุ
พระพทุ ธเจา้ คณุ พระธรรม คณุ พระสงฆ์ คณุ บดิ ามารดา คณุ ครู
บาอาจารย์ จงมาดลบนั ดาลใหใ้ จของขา้ พเจา้ จงรวมลงเป็น
สมาธิ พทุ โธ ธมั โม สงั โฆ (๓ ครงั้ ) พทุ โธๆๆ

นกึ ไวใ้ นใจ น่งั ขดั สมาธิ ขาขวาทบั ขาซา้ ย มือขวาหงายทบั
มือซา้ ย วางไวบ้ นตกั หลบั ตานกึ พทุ โธในใจ กาํ หนดใจไวท้ ่ีใจ

ไมใ่ หส้ า่ ยแสไ่ ปในทางอ่นื ไมใ่ หม้ ีอารมณ์ พยายามท่จี ะกาํ จดั
มนั ออกไป

เราตอ้ งคิดวา่ เราเกิดมาคนเดยี ว ตายไปคนเดียว ไม่มีใคร
เม่ือเราหลบั ตาเหลือแตใ่ จ มองไม่เหน็ อะไร นอกจากใจดวงเดียว
ท่ีเราพากนั เหน็ ก็คือสญั ญาอปุ าทานเท่านนั้ แทท้ ่ีจรงิ แลว้ ไม่มี
อะไรจรงิ ๆ เม่ือหลบั ตาก็มองเหน็ แตค่ วามรู้ มีความรูอ้ นั เดยี ว

โดยทมี งานกรุธรรม grudhamma.com 1

เม่ือหลบั ตาไปแลว้ เป็นอยา่ งนนั้ เพราะฉะนนั้ ใหท้ าํ จติ คือทาํ จติ
ใหม้ ีอารมณอ์ นั เดียว เม่ือมีอารมณอ์ นั เดยี ว จติ ยอ่ มจะเป็น
สมาธิ

การเป็นสมาธิของจติ นนั้ ย่อมจะเกิดปีตคิ วามเอิบอ่มิ
ยอ่ มจะเกิดความสขุ คือความสบาย ย่อมจะตอ้ งเกิดความเบาตวั
แลว้ ก็มีความเบาความละเอยี ดละมนุ ละมอ่ ม น่นั คือจติ สงบแลว้
และจติ เป็นสมาธิแลว้ จติ ท่เี ป็นสมาธินนั้ มีปรากฏการณต์ า่ งๆ
ใหเ้ กิดขนึ้ ไมเ่ หมือนกนั กบั ท่ีเราอย่โู ดยปรกติ ถา้ เราอยโู่ ดยปกติ
ท่ีไม่เป็นสมาธินนั้ มนั มีจติ รกรุงรงั หรอื คิดโน่นคดิ น่ี มีความ
ฟ้งุ ซา่ นตา่ งๆ อนั นนั้ คอื ตามปกตขิ องจิตใจ

แตพ่ อเวลาเป็นสมาธิ จิตนีจ้ ะผิดจากปรกติเดมิ ธรรมดา มา
อย่ใู นฐานะหน่งึ คือมาอย่ใู นฐานะอกี ฐานะนงึ ฐานะนเี้ ป็นฐานะ
ท่ีเรยี กวา่ ฌาน ฌานนนั้ มีอยู่ ๔ ดว้ ยกนั ปฐมฌาน ทตุ ยิ ฌาน
ตตยิ ฌาน จตุตถฌาน ฌานท่ีมี ๔ คือปฐมฌาน มีองค์ ๕ คือ

วิตก วิจาร ปี ติ สุข เอกคั คตา

โดยทมี งานกรุธรรม grudhamma.com 2

วติ ก วจิ ารนนั้ ไดแ้ ก่การนกึ พทุ โธๆ เรยี กวา่ วิตก วจิ าร พอปีติ
เม่ือนกึ พทุ โธแลว้ จติ ก็อยทู่ ่พี ทุ โธ ปีตคิ ือความขนพองสยองเกลา้
รูส้ กึ มนั หววิ ๆอะไรอย่างนี้ เรยี กวา่ ปีติ …วติ ก วิจาร ปีติ สขุ ก็คอื
ความสบาย เอกคั คตานนั้ คอื ความเป็นหน่งึ นีเ้ รยี กวา่ ปฐมฌาน

ทตุ ิยฌานนนั้ ก็มีอยอู่ งค์ ๓ วิตก วิจาร ตดั ออกไป การนกึ พทุ
โธนนั้ ไมต่ อ้ งนกึ แลว้ เหลอื แตป่ ีติ สขุ เอกคั คตา เหลือแตค่ วาม
เอิบอ่มิ และความสบายและความเป็นหนง่ึ

ตตยิ ฌานนนั้ เหลอื อย่อู งค์ ๒ ตดั วติ ก วจิ ารออกไป ตดั ปีติ
ออกไป เหลอื แตส่ ขุ กบั เอกคั คตา มีแตค่ วามสบายและความเป็น
หนง่ึ

จตตุ ถฌานท่ี๔ สดุ ทา้ ยนนั้ ก็มีองค์ ๒ เชน่ เดยี วกนั คอื มีแต่
อุเบกขาและเอกัคคตา เรยี กวา่ วติ ก วจิ าร ตดั ออกไป ความ
เอบิ อ่มิ ตดั ออกไป ความสขุ ความสบายกต็ ดั ออกไป เหลือแต่
ความวางเฉยกบั ความเป็นหนง่ึ

ฌานทงั้ ๔ นีเ้ รยี กวา่ รูปฌาน เม่ือรูปฌานนีไ้ ดร้ บั การ
พฒั นาหรอื ทาํ ใหย้ ่งิ รูปฌานนนั้ จะกลบั กลายเป็นอรูปฌาน คือ

โดยทมี งานกรธุ รรม grudhamma.com 3

จติ จะละเอยี ดลงไป จิตละเอยี ดลงไปนนั้ กก็ ลบั กลายเป็นอากาศ
วา่ งเปลา่ ไมม่ ีอะไรเรยี กวา่ อากาสานัญจายตนฌาน เม่ือจิตนี้
ไดร้ บั การฝึกฝนละเอยี ดยง่ิ ขนึ้ ไปแลว้ ก็เหลอื แตค่ วามรู้ ไมม่ ี
อะไรเหลอื แตค่ วามรู้ เรยี กวา่ วญิ ญาณนัญจายตนฌาน เม่ือ
ไดร้ บั การฝึกฝนจนกระท่งั หมดทกุ สง่ิ ทกุ อยา่ ง ไมม่ ีอะไรแลว้
อารมณอ์ ะไร ความสขุ ความอะไรก็ไมม่ ีหมด เรยี กวา่ อา
กิญจัญญายตนฌาน ในท่ีสดุ ถึงท่ีสดุ ของอรูปฌาน ๔ นนั้ คือ
จะวา่ สญั ญากไ็ ม่ใช่ ไม่ใช่สญั ญาก็ไม่ใช่ เรยี กวา่ ไมม่ ีอะไรเอา
เลย นนั้ เรยี กวา่ เนวสัญญานาสัญญายตนฌาน

ทงั้ หมดนเี้ รยี กวา่ รูปฌานและอรูปฌาน ฌานทงั้ หมดนีน้ นั้
เป็นฌานท่ีเรยี กวา่ ฌานโลกยี ์ ฌานโลกียผ์ ทู้ ่ีบาํ เพ็ญฌาน
เหลา่ นีไ้ ดแ้ ลว้ ก็จะไปเกิดในชนั้ พรหมโลก เลยชนั้ สวรรคไ์ ป ก็ไป
เกิดในชนั้ พรหมโลก จากพรหมธรรมดา จนกระท่งั ถงึ มหาพรหม
อยา่ งนีค้ ือผบู้ าํ เพญ็ ฌาน ฌานเหลา่ นีน้ นั้ ไมใ่ ช่เกิดขนึ้ ทงั้ หมดได้
ง่ายๆ ผทู้ ่ีบาํ เพ็ญฌานท่ีเป็นรูปฌานและอรูปฌานนนั้ ตอ้ งใช้
เวลาอนั ยาวนาน บางทีหมดชีวติ ก็ไมไ่ ด้ บางทีพวกฤาษีไปอยใู่ น

โดยทมี งานกรุธรรม grudhamma.com 4

ป่าคนเดยี วบาํ เพญ็ ฌาน ก็ยงั ไมค่ อ่ ยจะสาํ เรจ็ ถึงขนั้ นี้ ฌานพวก
นีถ้ า้ ทาํ สาํ เรจ็ ขนึ้ มาแลว้ สามารถแสดงฤทธิ์ได้ เหาะเหนิ
เดินอากาศได้ มองดจู ติ ใจของคนได้ ระลกึ ชาตหิ นหลงั ได้ อยา่ ง
นีถ้ ือวา่ ไดส้ าํ เรจ็ ฌาน แตฌ่ านเหลา่ นีน้ นั้ ไม่สามารถท่ีจะกาํ จดั
กิเลสได้ กิเลสก็ยงั อยู่ เพราะวา่ ไม่ใชว่ ปิ ัสสนาเป็นแตเ่ พียงสม
ถกรรมฐาน

สมถะนนั้ ถา้ เราบาํ เพ็ญฌานโดยสม่าํ เสมอ อานิสงสแ์ หง่
ฌานกท็ าํ ใหไ้ ปบงั เกิดเพียงแคช่ นั้ พรหม ชนั้ พรหมนนั้ อายุ
ยาวนานกวา่ ชนั้ สวรรคถ์ งึ ๒๐ เทา่ เม่ือไปอย่ทู ่ีน่นั แลว้ กล็ มื มี
ความสบายจนลืม แตท่ ่ีสดุ ถึงท่ีสดุ ก็ตอ้ งกลบั มาในมนษุ ยโ์ ลกอีก
น่นั คอื เรยี กวา่ ยงั เวยี นวา่ ยตายเกิด ผทู้ ่ีไมต่ อ้ งการเวยี นวา่ ยตาย
เกิดอีก หมายความวา่ เม่ือบาํ เพญ็ ฌานไดแ้ ลว้ เขากย็ กอรูป
ฌานออกเสยี เอาแคร่ ูปฌาน ๔ คือปฐมฌาน ทตุ ยิ ฌาน ตติย
ฌาน จตตุ ถฌาน เอาแคฌ่ าน ๔ นี้ เอาฌาน ๔ นีม้ าเป็นกาํ ลงั
หนั หนา้ เขา้ สวู่ ปิ ัสสนา

โดยทมี งานกรุธรรม grudhamma.com 5

เม่ือหนั หนา้ เขา้ สวู่ ปิ ัสสนาก็จะไปพบไตรลักษณ์ ท่ีพระพทุ ธ
องคท์ รงตรสั ไตรลกั ษณน์ นั้ มีเฉพาะในพระพทุ ธศาสนาอยา่ ง
เดียวเทา่ นนั้ ศาสนาอ่ืนไม่มี เพราะฉะนนั้ ในศาสนาทกุ ศาสนา
จงึ ไม่มีวปิ ัสสนา มีเฉพาะในพระพทุ ธศาสนา เพราะทกุ คนนนั้
ปรารถนาแคเ่ พียงสวรรค์ ปรารถนาแคเ่ พียงความสขุ ในเมือง
มนษุ ย์ แตว่ า่ การท่ีสาํ เรจ็ ฌานเหลา่ นนั้ บางทีก็เกิดความเส่อื ม
เม่ือเกิดความเส่ือมแลว้ ก็ไปทาํ ความช่วั สามารถไปตกนรกได้
สามารถไปเกดิ เป็นสตั วเ์ ดรจั ฉานได้ เพราะวา่ ยงั ไมใ่ ชน่ ิยต
บคุ คล เป็นอนยิ ตบคุ คล ดงั นนั้ การเวยี นวา่ ยตายเกิดหรอื วา่ การ
แปรเปล่ยี น ยอ่ มมีแก่ผบู้ าํ เพญ็ ฌาน แตว่ า่ ถา้ ผใู้ ดหนั เขา้ มาสู่
วปิ สสนานนั้ วปิ ัสสนาเป็นทางเดยี วเท่านนั้ ท่ีจะทาํ คนใหพ้ น้
ทกุ ข์ คือพน้ จากความเกิดแกเ่ จ็บตายนีไ้ ด้

ดงั นนั้ ในวปิ ัสสนา พระพทุ ธองคจ์ งึ ทรงตรสั ใหเ้ กิดเป็นไตร
ลกั ษณ์ ไตรลกั ษณน์ นั้ คอื อนิจจงั ทกุ ขัง อนัตตา อนิจจงั คอื
ความไมเ่ ท่ียง ทกุ ขงั คอื ความเป็นทกุ ข์ อนตั ตาคือความไมใ่ ช่

โดยทมี งานกรธุ รรม grudhamma.com 6

ตวั ตน อยา่ งนที้ งั้ สามประการนีถ้ า้ พิจารณาได้ ก็ถือวา่ เราไดเ้ รม่ิ
วิปัสสนาแลว้ พระพทุ ธองคไ์ ดท้ รงตรสั วา่

สัพเพ สังขารา อนิจจา ติ สงั ขารทงั้ หลายเป็นของไม่
เท่ียง

ยะทา ปัญญายะ ปัสสะติ เม่ือใดบคุ คลผใู้ ดทาํ ใหเ้ กิด
ปรากฏขนึ้ แลว้

อะถะ นิพพนิ ทะติ ทกุ เข จากนนั้ ผนู้ นั้ จะเกิดความเบอ่ื
หนา่ ย

เอสะ มัคโค วสิ ุทธิยา นีค้ อื หนทางไปสพู่ ระนิพพาน
สัพเพ ธัมมา อนัตตาติ ธรรมทงั้ หลายไมใ่ ช่ตวั ตน
ยะทา ปัญญายะ ปัสสะติ บคุ คลผใู้ ดทาํ ใหป้ รากฏขนึ้ แลว้
อะถะ นิพพนิ ทะติ ทกุ เข บคุ คลผนู้ นั้ ย่อมจะบงั เกิดความ
เบ่อื หนา่ ย
เอสะ มคั โค วสิ ุทธิยา น่ีคือหนทางพระนิพพาน

โดยทมี งานกรุธรรม grudhamma.com 7

พระพทุ ธองคไ์ ดท้ รงตรสั ยืนยนั เช่นนี้ ตอ้ งการท่ีจะใหพ้ ทุ ธ
บรษิ ัทพน้ ไปจากทกุ ขเ์ สยี ไมต่ อ้ งมาพากนั เวียนวา่ ยตายเกิด
ลาํ บากลาํ บนกนั อย่ใู นเมืองมนษุ ยน์ ่ี เพราะฉะนนั้ ทา่ นจงึ ไดย้ ก
วิปัสสนาขนึ้ เพ่ือใหพ้ ากนั พจิ ารณา การพจิ ารณาทกุ ข์ การ
พิจารณาความไมเ่ ท่ียง การพจิ ารณาถึงความไม่ใชต่ วั ตนนนั้
เป็นสงิ่ ท่ีจะตอ้ งใชฌ้ าน เราจะพจิ ารณาโดยท่ีไม่มีฌานนนั้ ยอ่ ม
ไมไ่ ด้ เพราะฉะนนั้ อยา่ งไรก็ตาม ก็ตอ้ งบาํ เพ็ญฌานอยดู่ ี แตไ่ ม่
จาํ เป็นตอ้ งไปบาํ เพ็ญถงึ อรูปฌาน บาํ เพญ็ แตเ่ ฉพาะรูปฌาน
เท่านนั้ ก็พอแลว้ แลว้ กเ็ ปล่ยี นมาพิจารณา

การพจิ ารณานนั้ ท่านใหพ้ ิจารณาเปรยี บเหมือนกนั กบั ผทู้ ่ี
เดนิ เรอื ใบ เม่ือเวลาเดนิ เรอื ใบไปในกลางทะเล เม่ือเวลาลมจดั
ตอ้ งลดใบ เม่อื เวลาลมพอดีก็กางใบ และเรอื ก็จะแลน่ ไปตาม
ความประสงค์ หากวา่ มีคล่นื ก็ทอดสมออยา่ งนีเ้ ป็นตน้ ฉนั ใดก็
ฉนั นนั้ บคุ คลผทู้ ่ีจะบาํ เพญ็ วปิ ัสสนาตอ้ งพิจารณา แตว่ า่ การ
พจิ ารณาถึงความไม่เท่ียง ความเกิดแก่เจบ็ ตายนนั้ ไมใ่ ชว่ า่ จะ
ใหพ้ จิ ารณาไปตลอด ก็เหมือนกนั กบั เรอื ใบท่ีแลน่ ไปในทะเลนนั้

โดยทมี งานกรุธรรม grudhamma.com 8

ตอ้ งไมแ่ ลน่ ไปตลอด เม่ือเจอลมสลาตนั หรอื ลมใหญ่ ตอ้ งลดใบ
ทนั ที มฉิ ะนนั้ เรอื จะคว่าํ ถา้ หากวา่ เม่ือเวลาจอดไมท่ อดสมอ ถกู
คล่ืนตมี า เรอื ก็คว่าํ

เพราะฉะนนั้ จงึ เปรยี บเหมือนกนั กบั ผบู้ าํ เพญ็ วิปัสสนา ผทู้ ่ี
จะบาํ เพญ็ วปิ ัสสนานนั้ จาํ เป็นอย่างย่งิ ท่ีจะตอ้ งพิจารณาแลว้
และกลบั คนื มาหาความสงบ เม่ือจติ สงบแลว้ ก็ยกออกไป
พจิ ารณาซกั ครูห่ น่งึ แลว้ กย็ อ้ นกลบั คืนมาทาํ ความสงบใหม่
ไม่ใหพ้ จิ ารณาไปตลอดเวลาน่งั สมาธิ เม่ือพจิ ารณาเชน่
พจิ ารณาถึงความไมเ่ ท่ียง รา่ งกายของคนเรานี้ เกิดมาก็หน่มุ
สาว เกิดมาแลว้ ทีนีก้ ็แกไ่ ป เม่ือแกไ่ ปแลว้ เนือ้ ก็เห่ียว หนงั กย็ าน
ในท่ีสดุ ก็เกิดโรคภยั ไขเ้ จ็บป่ วยขนึ้ น่ีเคา้ เรยี กวา่ เปล่ียนแปร
เปล่ยี นแปลง ตอ่ จากนนั้ ก็สนิ้ ลมหายใจก็เรยี กวา่ ตาย เรยี กวา่
อนิจจงั มนั ไม่เท่ียง เกิดขนึ้ มาแลว้ ก็ตายไป อย่างนีค้ อื การ
พจิ ารณาวปิ ัสสนา

เม่ือพิจารณาอยา่ งนีส้ กั ครูห่ นง่ึ กว็ างเฉย คอื หมายความถึง
วา่ เราจะตอ้ งตงั้ ตน้ รา่ งกายอนั นีไ้ ปตงั้ แตเ่ ด็ก และก็เป็นหนมุ่

โดยทมี งานกรุธรรม grudhamma.com 9

เป็นสาว และก็แกช่ รา และก็มีโรคภยั เบยี ดเบียน และกต็ ายไป
การพจิ ารณาอยา่ งนีเ้ รยี กวา่ วิปัสสนา แตต่ อ้ งพิจารณาเพียงช่วั
ระยะ เหมือนกนั กบั เรอื แลน่ ไปในมหาสมทุ ร เรอื ใบ เม่ือถงึ เวลา
ลมแรงก็ลดใบลง ถงึ เวลาอนั สมควรก็ทอดสมออย่างนีเ้ ป็นตน้

เม่ือพจิ ารณาอย่างนีแ้ ลว้ กม็ าพิจารณาถงึ ความทกุ ข์ ความ
เกิดนนั้ ก็เป็นทกุ ข์ ความแกก่ ็เป็นทกุ ข์ ความเจ็บก็เป็นทกุ ข์
ความตายก็เป็นทกุ ขอ์ ยา่ งนี้ เม่ือพจิ ารณาอย่างนีแ้ ลว้ เราก็
พิจารณาใหย้ ่งิ ขนึ้ ไปวา่ มนั ทกุ ขอ์ ยา่ งไร เช่นเม่ือเวลาเจบ็ ป่วย
ขนึ้ มาน่ีมนั ทกุ ขแ์ คไ่ หน เม่ือเวลาไม่มีสง่ิ ท่ีเราตอ้ งการมนั เกิด
ความทกุ ขแ์ คไ่ หน เม่ือเราตอ้ งการสงิ่ ใดไมส่ มปรารถนามนั ทกุ ข์
แคไ่ หน ในเม่ือเวลาคนรกั คนชอบของเราตอ้ งตายไป เราทกุ ขแ์ ค่
ไหน อย่างนีเ้ คา้ เรยี กวา่ ทกุ ขงั คอื ความเป็นทกุ ข์ ย่อมจะตอ้ ง
เกิดขนึ้ เม่ือพจิ ารณาอยา่ งนีแ้ ลว้ ก็ช่ือวา่ เป็นวิปัสสนาอกี สว่ น
หนง่ึ

อนัตตาคอื ความไมใ่ ช่ตวั ตนนนั้ เราตอ้ งพจิ ารณาวา่ อนั
รา่ งกายของเรานีม้ นั เป็นเพียงธาตทุ งั้ ๔ ดนิ นา้ํ ไฟ ลม

โดยทมี งานกรุธรรม grudhamma.com 10

เท่านนั้ สว่ นท่ีเป็นลกั ษณะแข็งก็เรยี กวา่ ดนิ สว่ นท่ีเป็นลกั ษณะ
ออ่ นเหลวก็เรยี กวา่ นา้ํ สว่ นท่ีพดั ไปพดั มาก็เรยี กวา่ ลม สว่ นท่ี
ทาํ ใหร้ า่ งกายอบอนุ่ ก็เรยี กวา่ ไฟ มนั เป็นธาตทุ งั้ ๔ จงึ ไมใ่ ช่
ตวั ตนแตอ่ ย่างใด ทงั้ ๓ ประการนมี้ นั เป็นเรอ่ื งของการทวน
กระแสจติ คนเรานนั้ รกั สวยรกั งาม คนเรานนั้ ไม่อยากพดู ถงึ กอง
ทกุ ข์ คนเรานนั้ ถือวา่ เป็นตวั เป็นตนจรงิ ๆ ไมใ่ ชว่ า่ ไม่ใชต่ วั ตน น่ี
เราถือกนั มา แลว้ เราก็รูจ้ กั กนั มาโดยนยั นี้

แตว่ ปิ ัสสนานนั้ เป็นสว่ นท่ีทวนกระแส คือทวนกระแสของ
โลก เม่ือเคา้ วา่ ตวั ตน วปิ ัสสนาก็วา่ ไมใ่ ช่ตวั ตน เม่ือเขาวา่ เท่ียง
วปิ ัสสนาก็วา่ ไมเ่ ท่ียง เม่ือเขาวา่ เป็นสขุ วปิ ัสสนากว็ า่ เป็นทกุ ข์
อยา่ งนี้ ถา้ ผทู้ ่ีมาบาํ เพญ็ พจิ ารณาแลว้ พจิ ารณาเลา่ เรยี กวา่
พิจารณาหลายครงั้ เหลอื เกนิ ครงั้ แลว้ ก็ครงั้ แลา่ มนั ก็จะเกิดส่ิง
หนง่ึ ขนึ้ มา สงิ่ นนั้ ก็คือวปิ ัสสนา

วปิ ัสสนานนั้ มี ๙ ประการ นบั ไปตงั้ แต่ นิพพทิ าญาน มุญจิ
ตุกัมยตาฌาณ ภงั คญาณ เป็นตน้ ญาณนนั้ ไดแ้ ก่ความหย่งั รู้
หรอื สง่ิ ท่ีพอเพยี งแหง่ ความตอ้ งการแลว้ เกดิ ขนึ้ เรยี กวา่ ญาณ

โดยทมี งานกรุธรรม grudhamma.com 11

ในการท่ีพิจารณาใหเ้ กิดความเบ่อื หน่ายขนึ้ นนั้ ความเบ่อื หนา่ ย
เคา้ เรยี กวา่ นิพพทิ าญาณ ถา้ ญาณใดเกดิ ขนึ้ เหมือนกนั กบั นก
กระทาท่ีอยใู่ นกรง พยายามอยากจะเจาะรูกรง เรยี กวา่ สบั กรง
อยเู่ ร่อื ย น่นั เรยี กวา่ มุญจติ ุกัมยตาฌาณ หรอื วปิ ัสสนาญาณ
หนง่ึ ท่ีเกิดขนึ้ นนั้ เหน็ ความเส่อื มสลายหมดเกลยี้ ง ไมม่ ีอะไร
เหลอื อยา่ งนีเ้ รยี กวา่ ภงั คญาณ ถา้ เราทาํ ไดอ้ ยา่ งนี้ ก็วปิ ัสสนา
ก็เกิดขนึ้ กบั เราแลว้

แตว่ ิปัสสนาท่ีเกิดขนึ้ นนั้ พงึ พากนั เขา้ ใจวา่ ไม่ใชส่ าํ เรจ็ ยงั ไม่
สาํ เรจ็ วปิ ัสสนานนั้ เรยี กวา่ เป็นเพยี งการกระทาํ อนั หนง่ึ
เพ่ือท่ีจะใหเ้ ป็นการขดั เกลาจติ ใหบ้ รสิ ทุ ธิ์ขนึ้ ตามลาํ ดบั แตย่ งั
ไมใ่ ชถ่ ึงขนั้ สาํ เรจ็ ถา้ ขนั้ สาํ เรจ็ นนั้ จะตอ้ งบาํ เพ็ญวปิ ัสสนาไปอีก
ใหเ้ กิดนพิ พทิ ทาญาณนนั้ นบั ครงั้ ไมถ่ ว้ น เม่ือบาํ เพญ็ จิตใหเ้ กิด
ความเบ่ือหนา่ ยหรอื เกิดความท่ีมีจิตคดิ อยากออกเหมือนนก
กระทาท่ีสบั กรงอยู่ หรอื เหมือนกนั กบั มองเห็นหมดสนิ้ ทกุ อยา่ ง
อยา่ งนีเ้ รยี กวา่ วิปัสสนา ถา้ เกิดอย่างนีข้ นึ้ มาก็จะตอ้ งใหเ้ กิด
อยา่ งนีข้ นึ้ ไปตลอด

โดยทมี งานกรุธรรม grudhamma.com 12

ผทู้ ่ีจะบาํ เพ็ญวิปัสสนาอย่างจรงิ จงั นนั้ เขาจะตอ้ งกาํ หนดให้
รูว้ า่ การทาํ จติ ใหเ้ กิดนิพพทิ ทาญาณนนั้ ใหเ้ กิดขนึ้ มาไดอ้ ย่างไร
เราไดก้ าํ หนดจติ อยา่ งไร เราไดพ้ ิจารณาอยา่ งไร ใหจ้ ดจาํ เอาไว้
แลว้ ก็ทาํ อย่างนนั้ อกี ความนพิ พทิ ทาญาณก็จะเกิดตอ่ ไป
ตามลาํ ดบั อนั นีก้ ารท่ีจะพิจารณาใหเ้ หน็ เชน่ นนี้ นั้ ดว้ ยอาํ นาจ
แห่งกระแส คอื กระแสจติ ท่ีไดร้ บั การฝึกฝนมาแลว้ น่นั เอง

ถา้ บคุ คลบาํ เพญ็ ใหเ้ กิดขนึ้ เชน่ นีไ้ ดแ้ ลว้ บคุ คลผนู้ นั้ ก็จะได้
ไปพบความรูอ้ นั หนง่ึ ความรูอ้ นั หนง่ึ นนั้ เป็นความรูท้ ่ีเรยี กวา่
ทวนกระแสจติ ผทู้ ่ีมองเหน็ ความทกุ ขค์ อื รา่ งกายอนั นีต้ อ้ งแตก
สลายไป ตวั ผเู้ ห็นยอ่ มจะตอ้ งมี การแตกสลาย การมองเหน็ นนั้ ก็
เหมือนกบั ไฟฉาย เม่ือเราฉายแสงออกไป ท่ีสาํ คญั ท่ีสดุ คอื ตวั ไฟ
ฉาย ตวั ไฟฉายนนั้ จงึ จะช่ือวา่ เป็นตวั ตน้ ตระกลู หรอื เรยี กวา่ เป็น
ตวั ตน้ ทาง ถา้ มีไฟฉายอย่แู ลว้ จะสอ่ งแสงสวา่ งเม่ือไรก็ได้ หรอื
เม่ือเราท่ีจะมองพจิ ารณาเหน็ รา่ งกายทกุ สว่ น เหน็ ความแก่
ความตาย เราก็ตอ้ งทวนกระแสจติ วา่ ใครเป็นผเู้ หน็ ผเู้ หน็ น่นั
แหละเรยี กวา่ เป็นตวั ตน้ ตระกลู หรอื เรยี กวา่ ฐีตภิ ตู งั

โดยทมี งานกรุธรรม grudhamma.com 13

เม่ือเราทวนกระแสจิตมาถึงท่ีตงั้ ของจิตไดน้ ่นั เรยี กวา่ สาํ เรจ็
คือสาํ เรจ็ ขนั้ หน่งึ แตจ่ ะเป็นชนั้ ไหนนนั้ เราไมต่ อ้ งไปสมมตุ ิมนั ขนึ้
แตถ่ ือวา่ สาํ เรจ็ ขนั้ หนง่ึ การทวนกระแสจติ ท่ีจะกลบั คนื เขา้ มาถงึ
ท่ีตงั้ ของจติ นนั้ จะตอ้ งทวนกระแสหลายครงั้ จงึ จะทวนกระแส
กลบั คืนมาตงั้ ได้ เหมือนกบั ผทู้ ่ีมองเหน็ ความแก่ความตายของ
รา่ งกายนี้ แลว้ ก็ทวนกระแสถามวา่ ใครเป็นผเู้ หน็ อยอู่ ยา่ งนี้
ตลอด ก็จะถงึ วนั หนง่ึ วนั หนง่ึ เม่ือถงึ จดุ ความเพยี งพอแลว้ จะ
ตกหนองออ้ “ออ้ อย่นู ่ีเองหรอกหรอื ” ถา้ ถงึ เชน่ นนั้ แลว้ เรยี กวา่ ผู้
นนั้ จะตอ้ งเป็นผทู้ ่ีมีบารมีสงู สามารถท่ีพบได้

ถา้ เม่ือพบไดแ้ ลว้ ผนู้ นั้ ก็จะเจรญิ วิปัสสนาไดอ้ ย่าง
คลอ่ งแคลว่ หรอื หมายความวา่ เป็นผจู้ บั ไฟฉายได้ เม่ือจบั ไฟ
ฉายไดอ้ ยากจะฉายเม่ือไรกฉ็ ายไดเ้ ม่ือนนั้ เพราะฉะนนั้ เรอ่ื งของ
วปิ ัสสนานีจ้ งึ เป็นเร่อื งท่ีละเอียดออ่ น และจาํ เป็นท่ีจะตอ้ งใช้
วธิ ีการดงั กลา่ วมาแลว้ จงึ จะเป็นวิปัสสนาได้ ถา้ บาํ เพญ็
วิปัสสนาไดแ้ ลว้ ท่ีสดุ ถึงท่ีสดุ จะมีสง่ิ ท่ีเกิดขนึ้ ถึง ๗ ประการ
ดว้ ยกนั สง่ิ ท่ีจะปรากฏถึง ๗ ประการนนั้ คอื วสิ ทุ ธิ ๗ ประการ

โดยทมี งานกรุธรรม grudhamma.com 14

วิสุทธิ ๗ ประการนนั้ นบั มาตงั้ แตห่ นง่ึ จติ ตวสิ ุทธิ สลี วิ
สุทธิ กงั ขาวติ รณวสิ ุทธิ ญาณะวสิ ุทธิ (ญาณทสั สนะวสิ ุทธิ)
ปฏปิ ทาญาณทสั สนะวสิ ุทธิ ทงั้ ๗ ประการ (อา่ นเพ่มิ เตมิ ไดท้ ่ี
หมายเหตุ ๑) นีเ้ รยี กวา่ ความบรสิ ทุ ธิ์ ๗ ประการ ความบรสิ ทุ ธิ์

๗ ประการท่ีจะเกิดขนึ้ ไดน้ นั้ เกิดขนึ้ ไดจ้ ากวิปัสสนา และเป็น
เครอ่ื งหรอื เป็นสญั ลกั ษณ์ ท่ีจะบอกใหเ้ หน็ วา่ ไดด้ าํ เนินวปิ ัสสนา
มาเขา้ ขนั้ แลว้ จงึ จะปรากฏวสิ ทุ ธิ ๗ ประการนีข้ นึ้ เรม่ิ ตน้ มา
ตงั้ แต่ จติ ตวสิ ุทธิ ก็คือความบรสิ ทุ ธิ์ของใจ ความบรสิ ทุ ธิ์ของใจ
นนั้ คอื การท่ที าํ สมาธิ ไม่ไดค้ ิด คอื ไม่ไดค้ ิดอยากจะไปอวดอา้ ง
ใคร หรอื ทาํ สมาธิน่ีเป็นกศุ โลบาย หรอื ทาํ สมาธิน่ีเพ่ือท่ีจะเอาไป
อิงอา้ งอะไรอยา่ งใดอยา่ งหน่งึ จิตผทู้ ่ีเป็นจิตตวสิ ทุ ธินนั้ ไมม่ ี
ความท่ีไมบ่ รสิ ทุ ธิ์อยา่ งนีไ้ มม่ ี ถา้ ถึงขนั้ นีแ้ ลว้ จิตนนั้ จะแนว่ แน่
แลว้ ก็ไม่มีท่ีจะไปคิดรา้ ยแกใ่ คร และไม่ไดค้ ิดอาฆาตใครเป็นตน้
เรยี กวา่ จติ ตวสิ ทุ ธิ์ อนั นเี้ ป็นสญั ลกั ษณข์ องวปิ ัสสนา

และสีลวสิ ุทธนิ นั้ ศลี นนั้ จะเกิดขนึ้ โดยท่ีไมต่ อ้ งไปรบั เอากบั
ใคร จะเกิดวริ ตั ิขนึ้ มาในจิต หรอื เรยี กวา่ สาํ เรจ็ ขนึ้ มาในจิตของ

โดยทมี งานกรุธรรม grudhamma.com 15

บคุ คลผนู้ นั้ เชน่ จะไปฆา่ สตั วก์ ็ฆา่ ไม่ได้ เพราะวา่ จิตมนั ถงึ ซะ
แลว้ ศลี มนั บรสิ ทุ ธิ์ดว้ ยสามารถแห่งสมาธิแลว้ คือใครจะบงั คบั
ใหฆ้ า่ นนั้ ฆา่ ไมไ่ ดแ้ น่ น่ีเป็นความบรสิ ทุ ธิ์ของศีล เกิดขนึ้ มาเอง
หรอื ใครจะไปบงั คบั ใหข้ โมยอย่างนี้ จะไปบงั คบั หรอื จะไปฆา่ เอา
ชีวติ แลว้ ใหไ้ ปขโมย ก็ทาํ ไมไ่ ด้ หรอื การท่ีจะประพฤติผิด
กาเมสมุ จิ ฉาจาร ผิดประเวณี จะไปบงั คบั ใหท้ าํ ย่อมไม่ได้ มนั
เกิดขนึ้ มาในศลี ในตวั เองอยา่ งนี้ หรอื การท่ีจะใหไ้ ปโกหก
หลอกลวงใคร อยา่ งนกี้ ็โกหกไม่ได้ หรอื จะไปบงั คบั ใหด้ ่มื กินซง่ึ
สรุ าเมรยั ยาเสพตดิ อย่างนี้ กก็ ินไม่ได้ เพราะวา่ ความบรสิ ทุ ธิ์นนั้
เกิดขนึ้ มาจากวปิ ัสสนาแลว้ เพราะมามองเห็นวา่ สงิ่ เหลา่ นนั้ ทาํ
ไม่ได้ ถึงแมว้ า่ ใครจะมาบงั คบั ใหท้ าํ กท็ าํ ไมไ่ ด้ น่ีคอื ศลี เกิดขนึ้ มา
จากลกั ษณะของการเจรญิ วปิ ัสสนา ผทู้ ่ีเจรญิ วิปัสสนาเขา้ ขนั้
คือทาํ ไมไ่ ดท้ งั้ หา้ ศีลท่จี ะลว่ งละเมิดนนั้ ทาํ ไมไ่ ด้ ทา่ นเรยี กวา่
สีลวิสทุ ธิ

จากนนั้ กเ็ ป็นกังขาวิตรณวสิ ุทธิ คอื ความสงสยั ความ
สงสยั วา่ พระพทุ ธเจา้ มีจรงิ หรอื ไม่ พระธรรมมีจรงิ หรอื ไม่

โดยทมี งานกรธุ รรม grudhamma.com 16

พระสงฆม์ ีจรงิ หรอื ไม่ สวรรคม์ ีจรงิ หรอื ไม่ นรกมีจรงิ หรอื ไม่ แลว้
อมตธรรม วปิ ัสสนา หรอื สจั ธรรมน่ีมีจรงิ หรอื ไม่ ไม่ตอ้ งไปถาม
คือไม่มีความสงสยั และไม่ไดค้ ดิ สงสยั เลย เพราะจะไปสงสยั
ไมไ่ ดใ้ นเม่ือเคา้ มองเหน็ ซง่ึ สจั ธรรม บงั เกิดนิพพิททาญาณความ
เบ่อื หนา่ ยขนึ้ มาแลว้ เหน็ จรงิ แจง้ ประจกั ษ์ เพราะฉะนนั้ ความ
สงสยั จงึ ตดั ไปไดเ้ ลย จงึ เรยี กวา่ กงั ขาวติ รณวสิ ทุ ธิ

ญาณะวสิ ุทธิ คอื ความหย่งั รู้ ความหย่งั รูน้ นั้ คอื นิพพทิ ทา
ญาณท่ีเกิดขนึ้ นิพพิททาญาณท่ีเกิดขนึ้ น่นั แหละคอื ความหย่งั รู้
คอื ตวั ญาณ เรยี กวา่ ญาณะวสิ ทุ ธิ ไม่ใช่ไปคดิ เบ่อื เอา หรอื ไมใ่ ช่
ไปคดิ เดาเอาวา่ ชนั้ จะเบ่อื หนา่ ย หรอื ไปคดิ เดาเอาวา่ โอโ้ ห ชนั้ น่ี
เป็นทกุ ข์ ไม่อยากจะออกอะไรแลว้ หรอื ฉนั น่ีคดิ เอาวา่ โอ้ ฉนั พน้
ทกุ ขแ์ ลว้ ไม่ใช่คดิ เอา แตว่ า่ ญาณนีจ้ ะตอ้ งเกิดขนึ้ เอง เม่ือญาณ
เกิดขนึ้ แลว้ ก็เป็นความบรสิ ทุ ธิ์ ไมใ่ ชญ่ าณนกึ ญาณคดิ
ญาณะทสั สนะ นอกจากท่ีวา่ จะมีความหย่งั รูแ้ ลว้ ก็ยงั มี
ความเห็น คือนอกจากรูแ้ ลว้ ก็เหน็ ดว้ ย หลบั ตาลงไปเหน็ สจั
ธรรมไปเลย

โดยทมี งานกรุธรรม grudhamma.com 17

ในท่ีสดุ ทา้ ยคอื ปฏปิ ทาญาณะ ผนู้ นั้ จะตอ้ งเป็นผทู้ าํ ดว้ ย รู้
ดว้ ย เห็นดว้ ยทงั้ สามประการเกิดขนึ้ พรอ้ มกนั อย่างนีเ้ รยี กวา่ วิ
สทุ ธิ ๗ ประการ อนั เป็นสญั ลกั ษณแ์ สดงใหเ้ หน็ ถงึ ผนู้ นั้ ได้
ดาํ เนนิ วปิ ัสสนาเป็นผลสาํ เรจ็ ขนึ้ แลว้ ในเร่อื งของสมถะก็ดี ใน
เร่อื งของวิปัสสนาก็ดี ในเร่อื งของวสิ ทุ ธิ ๗ ประการก็ดี ทงั้ หมดนี้
จะไปรวมกนั กลบั กลายเป็นองคแ์ หง่ การตรสั รู้ องคแ์ หง่ การตรสั
รูน้ นั้ มีอยู่ ๗ ประการคอื โพชฌงค์ ๗

โพชฌงคค์ อื องคแ์ หง่ การตรสั รูน้ นั้ นบั ไปตงั้ แต่ โพชฌงคค์ อื
สตโิ พชฌงค์ ปี ตโิ พชฌงค์ ปัสสัทธโิ พชฌงค์ วิริยะ
โพชฌงค์ ไปจนกระท่งั ถึงอเุ บกขาโพชฌงค์ (อา่ นเพ่มิ เติมไดท้ ่ี
หมายเหตุ ๒) โพชฌงคค์ อื องคแ์ ห่งการตรสั รูน้ นั้ ตอ้ งมีสติ
เรยี กวา่ ความม่นั คงแหง่ สติ ความม่นั คงแห่งสตนิ นั้ สติจะตอ้ ง
กาํ หนดอย่ใู นอนิจจงั ในทกุ ขงั ในอนตั ตาคอื สตนิ นั้ จะกาํ หนดอยู่
ในไตรลกั ษณอ์ ย่ตู ลอดเวลา เม่ือสติกาํ หนดอย่ใู นไตรลกั ษณ์
ตลอดเวลา กเ็ ป็นองคแ์ หง่ การตรสั รู้ อนั นีเ้ รยี กวา่ องคแ์ หง่ การ

โดยทมี งานกรธุ รรม grudhamma.com 18

ตรสั รู้ องคแ์ ห่งการตรสั รูน้ นั้ คือการภาวโิ ต พาหลุ ีกโต สติ
สมั โพชฌงค์

โพชฌังโค สะตสิ ังขาโต
ธัมมานัง วจิ ะโย ตะถา
วิริยมั ปี ตปิ ัสสัทธิ
โพชฌังคา จะ ตะถาปะเร
สะมาธุเปกขะโพชฌังคา
สัตเตเต สัพพะทสั สินา
มุนินา สัมมะทกั ขาตา
ภาวิตา พะหลุ กี ะตา
ท่ีพระทา่ นสวดโพชฌงคน์ ่นั แหละ น่นั แหละคอื องคแ์ ห่งการ
ตรสั รูเ้ รยี กวา่ เม่ือเป็นวิปัสสนาแลว้ ก็เขา้ มาถึงโพชฌงค์ สตนิ นั้
จะตอ้ งอย่กู บั อนิจจงั ทกุ ขงั อนตั ตาอย่ตู ลอด และเป็นผทู้ ่ีวาง
อเุ บกขาได้ ในเม่ือมีสิง่ ท่ีมารบกวน จะเป็นสิ่งท่ีมาหลอกหลอน
วา่ เราไดส้ าํ เรจ็ บา้ ง หลอกหลอนวา่ เราไดช้ นั้ นีช้ นั้ นนั้ บา้ ง สง่ิ

โดยทมี งานกรธุ รรม grudhamma.com 19

เหลา่ นีม้ าหลอกหลอนไมไ่ ด้ เพราะวา่ เป็นอเุ บกขาโพชฌงค์
เสยี แลว้

เพราะฉะนนั้ ในการปฏิบตั ินนั้ ยอ่ มจะมีหนทางท่ีทาํ ใหเ้ รารู้ ท่ี
แสดงอนั นีเ้ ป็นคาํ ส่งั สอนของพระพทุ ธศาสนาเรยี กวา่ ปรมตั ถ
ธรรม ปรมตั ถธรรมท่ีแสดงมาวนั นีน้ นั้ เป็นธรรมะชนั้ สงู เรยี กวา่
สงู สดุ ของพระพทุ ธศาสนา และก็เป็นธรรมท่ีสมควรแก่
การศกึ ษาอย่างย่งิ ถา้ เรายงั ไมเ่ ขา้ ใจ เรากพ็ ยายามฟังใหบ้ อ่ ย
แลว้ เกิดความเขา้ ใจ เม่ือเขา้ ใจธรรมะปรมตั ถน์ ่ีเม่ือไร จิตนนั้ ก็
ถือวา่ สงู แลว้ บคุ คลผนู้ นั้ จะเป็นผทู้ ่ีไมม่ ีการตกต่าํ เป็นธรรมดา
เรยี กวา่ ปิดอบายภมู ไิ ดโ้ ดยสนิ้ เชงิ การปิดอบายภมู ิ อบายภมู กิ ็
คอื นรก เปรต อสรุ กาย สตั วเ์ ดรจั ฉาน ส่ปี ระการนนั้ เรยี กวา่
อบายภมู ิ ผทู้ ่บี าํ เพญ็ วปิ ัสสนาเขา้ ขนั้ แหง่ ปรมตั ถน์ นั้ ยอ่ มปิด
อบายภมู ิทงั้ ๔ นีไ้ ด้ ตอ่ ไปก็น่งั สมาธิกนั อกี ซกั พกั ตอ่ ไป

ท่ีมา: https://youtu.be/U9x2mo4Jyc8

โดยทมี งานกรุธรรม grudhamma.com 20

หมายเหตุ ๑
วสิ ทุ ธิ 7 (ความหมดจด, ความบรสิ ทุ ธิ์ท่ีสงู ขนึ้ ไปเป็นขนั้ ๆ,
ธรรมท่ีชาํ ระสตั วใ์ หบ้ รสิ ทุ ธิ์ ยงั ไตรสิกขาใหบ้ รบิ รู ณเ์ ป็นขนั้ ๆ ไป
โดยลาํ ดบั จนบรรลจุ ดุ มงุ่ หมายคอื นิพพาน — purity; stages
of purity; gradual purification)
1. สีลวิสทุ ธิ (ความหมดจดแหง่ ศลี คือ รกั ษาศีลตามภมู ขิ นั้
ของตนใหบ้ รสิ ทุ ธิ์ และใหเ้ ป็นไปเพ่ือสมาธิ — purity of
morality) วสิ ทุ ธิมรรควา่ ไดแ้ ก่ ปารสิ ทุ ธิศีล 4 [160]
2. จติ ตวิสทุ ธิ (ความหมดจดแหง่ จติ คือ ฝึกอบรมจติ จน
บงั เกิดสมาธิพอเป็นบาทฐานแหง่ วิปัสสนา — purity of mind)

วสิ ทุ ธิมรรควา่ ไดแ้ ก่ สมาบตั ิ 8 พรอ้ มทงั้ อปุ จาร
3. ทิฏฐิวิสทุ ธิ (ความหมดจดแหง่ ทิฏฐิ คอื ความรูเ้ ขา้ ใจ

มองเหน็ นามรูปตามสภาวะเป็นจรงิ เป็นเหตขุ ม่ ความเขา้ ใจผิด
วา่ เป็นสตั วบ์ คุ คลเสยี ได้ เรม่ิ ดาํ รงในภมู ิแหง่ ความไมห่ ลงผดิ —
purity of view; purity of understanding) จดั เป็นขนั้ กาํ หนด
ทกุ ขสจั จ์

โดยทมี งานกรธุ รรม grudhamma.com 21

4. กงั ขาวติ รณวสิ ทุ ธิ (ความหมดจดแหง่ ญาณเป็นเหตขุ า้ ม
พน้ ความสงสยั , ความบรสิ ทุ ธิ์ขนั้ ท่ีทาํ ใหก้ าํ จดั ความสงสยั ได้ คอื
กาํ หนดรูป้ ัจจยั แห่งนามรูปไดแ้ ลว้ จงึ สนิ้ สงสยั ในกาลทงั้ 3 —
purity of transcending doubts) ขอ้ นีต้ รงกบั ธรรมฐิตญิ าณ
หรอื ยถาภตู ญาณ หรอื สมั มาทสั สนะ จดั เป็นขนั้ กาํ หนดสมทุ ยั
สจั จ์

5. มคั คามคั คญาณทสั สนวสิ ทุ ธิ (ความหมดจดแห่งญาณท่ี
รูเ้ ห็นวา่ เป็นทางหรอื มิใชท่ าง คอื เรม่ิ เจรญิ วิปัสสนาตอ่ ไปดว้ ย
พิจารณากลาป จนมองเหน็ ความเกิดขนึ้ และความเส่ือมไปแหง่
สงั ขารทงั้ หลาย อนั เรยี กวา่ อทุ ยพั ยานปุ ัสสนา เป็นตรุณ
วปิ ัสสนา คือวปิ ัสสนาญาณออ่ นๆ แลว้ มีวปิ ัสสนปู กิเลส เกิดขนึ้
กาํ หนดไดว้ า่ อปุ กิเลสทงั้ 10 แหง่ วิปัสสนานนั้ มใิ ชท่ าง สว่ น
วปิ ัสสนาท่ีเรม่ิ ดาํ เนนิ เขา้ สวู่ ถิ ีน่นั แลเป็นทางถกู ตอ้ ง เตรยี มท่ีจะ
ประคองจติ ไวใ้ นวิถีคือ วปิ ัสสนาญาณนนั้ ตอ่ ไป — purity of
the knowledge and vision regarding path and not-path)
ขอ้ นีจ้ ดั เป็นขนั้ กาํ หนดมคั คสจั จ์

โดยทมี งานกรธุ รรม grudhamma.com 22

6. ปฏิปทาญาณทสั สนวสิ ทุ ธิ (ความหมดจดแหง่ ญาณอนั รู้
เห็นทางดาํ เนนิ คอื ประกอบความเพียรในวปิ ัสสนาญาณ
ทงั้ หลายเรม่ิ แตอ่ ทุ ยพั พยานปุ ัสสนาญาณ ท่ีพน้ จากอปุ กิเลส
ดาํ เนินเขา้ สวู่ ถิ ีทางแลว้ นนั้ เป็นตน้ ไป จนถงึ สจั จานโุ ลมกิ ญาณ
หรอื อนโุ ลมญาณ อนั เป็นท่สี ดุ แห่งวิปัสสนา ตอ่ แตน่ ีก้ ็จะเกิด
โคตรภญู าณ ค่นั ระหวา่ งวสิ ทุ ธิขอ้ นีก้ บั ขอ้ สดุ ทา้ ย เป็นหวั ตอ่ แห่ง
ความเป็นปถุ ชุ นกบั ความเป็นอรยิ บคุ คล โดยสรุป วสิ ทุ ธิขอ้ นี้ ก็
คอื วิปัสสนาญาณ 9 — purity of the knowledge and vision
of the way of progress)

7. ญาณทสั สนวสิ ทุ ธิ (ความหมดจดแหง่ ญาณทสั สนะ คือ
ความรูใ้ นอรยิ มรรค 4 หรอื มรรคญาณ อนั เกิดถดั จากโคตรภู
ญาณเป็นตน้ ไป เม่ือมรรคเกิดแลว้ ผลจติ แตล่ ะอย่างยอ่ มเกิดขนึ้
ในลาํ ดบั ถดั ไปจากมรรคญาณนนั้ ๆ ความเป็นอรยิ บคุ คลย่อม
เกิดขนึ้ โดยวสิ ทุ ธิขอ้ นี้ เป็นอนั บรรลผุ ลท่ีหมายสงู สดุ แหง่ วิสทุ ธิ
หรอื ไตรสกิ ขา หรอื การปฏบิ ตั ิธรรมในพระพทุ ธศาสนาทงั้ สนิ้ —
purity of knowledge and vision)

โดยทมี งานกรธุ รรม grudhamma.com 23

วสิ ทุ ธิ 7 เป็นปัจจยั สง่ ตอ่ กนั ขนึ้ ไปเพ่ือบรรลนุ ิพพาน ดจุ รถ 7
ผลดั สง่ ตอ่ กนั ใหบ้ คุ คลถึงท่ีหมาย โดยนยั ดงั แสดงแลว้

หมายเหตุ ๒
โพชฌงค์ 7 (ธรรมท่ีเป็นองคแ์ หง่ การตรสั รู้ —
enlightenment factors)
1. สติ (ความระลกึ ได้ สาํ นกึ พรอ้ มอยู่ ใจอยกู่ บั กิจ จติ อยกู่ บั
เรอ่ื ง — mindfulness)
2. ธมั มวจิ ยะ (ความเฟน้ ธรรม, ความสอดสอ่ งสืบคน้ ธรรม
— truth-investigation)

3. วริ ยิ ะ (ความเพียร — effort; energy)
4. ปีติ (ความอ่ิมใจ — zest)
5. ปัสสทั ธิ (ความสงบกายสงบใจ — tranquility;
calmness)
6. สมาธิ (ความมีใจตงั้ ม่นั จติ แนว่ ในอารมณ์ —
concentration)

โดยทมี งานกรุธรรม grudhamma.com 24

7. อเุ บกขา (ความมีใจเป็นกลางเพราะเหน็ ตามเป็นจรงิ —
equanimity)

ท่ีมา: พจนานกุ รมพทุ ธศาสตร์ ฉบบั ประมวลธรรม

โดยทมี งานกรุธรรม grudhamma.com 25


Click to View FlipBook Version