The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

สวดมนต์ ๗ ตำนาน

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by ทีมงานกรุธรรม, 2022-06-11 11:37:00

สวดมนต์ ๗ ตำนาน

สวดมนต์ ๗ ตำนาน

Keywords: สวดมนต์ ๗ ตำนาน

สวดมนต ๗ ตาํ นาน

สะมันตา จักกะวาเฬสุ ชุมนมุ เทวดา

อัตราคัจฉันตุ เทวะตา, เทพดาในรอบจักรวาฬท้ังหลาย
สทั ธัมมงั มุนริ าชสั สะ จงมาประชมุ กัน
สุณันตุ สคั คะโมกขะทัง. ในสถานท่นี ี้, จงฟง ซงึ่ สทั ธรรมอันใหสวรรค

และนพิ พาน ของพระสัมมาสมั พุทธเจา
ผูเปน เจาแหงมนุ ี.

สัคเค กาเม จะ รูเป ขอเชิญเหลา เทพเจา ซงึ่ สถติ อยใู นสวรรค
คริ สิ ขิ ะระตะเฏ จันตะลกิ เข ช้ันกามภพก็ดี รูปภพกด็ ี และภุมมเทวา
วิมาเน, ทีเป รฏั เฐ จะ คาเม ซ่งึ สถติ อยูใ นวิมานหรือยอดเขาและหบุ ผา
ตะรุวะนะคะหะเน เคหะ ในอากาศ ในเกาะ ในแวนแควน ในบาน
วัตถุมหิ เขตเต, ในตนพฤกษาและปา ชฏั
ภมุ มา จายนั ตุ เทวา ชะละ ในเรอื นและไรนากด็ ี และยักษค นธรรพ นาค
ถะลวิสะเม ยักขะคนั ธพั พะ ซึ่งสถิตอยูใ นนํ้าบนบก
และทอ่ี ันไมเรียบราบกด็ ี
นาคา, ติฏฐันตา สันตเิ ก อันอยใู นที่ใกลเคียง
จงมาประชมุ พรอ มกนั ในทน่ี ้ี
ยงั มุนวิ ะระวะจะนงั คําใดเปนคําสงั่ สอนของจอมพระมุนี
สาธะโว เม สณุ ันตุ. ทา นสาธชุ นทงั้ หลาย จงต้ังใจสดบั ฟงคาํ นนั้ .

ธมั มสั สะวะนะกาโล ดูกอนทา นผูเจริญทั้งหลาย
อะยมั ภะทนั ตา, กาลนีเ้ ปนกาลฟง ธรรม,
ธัมมสั สะวะนะกาโล
ดกู อ นทา นผูเ จริญท้งั หลาย

อะยมั ภะทันตา, กาลน้เี ปน กาลฟง ธรรม,
ธมั มัสสะวะนะกาโล
อะยมั ภะทันตา. ดูกอนทานผเู จริญท้ังหลาย
กาลน้ีเปนกาลฟงธรรม,

ขึ้นตนสวดมนต

ปพุ พะภาคะนะมะการะ

หันทะ มะยัง พทุ ธัสสะ ภะคะวะโต ปพุ พะภาคะนะมะการัง กะโรมะ เส ฯ

นะโม ตสั สะ ภะคะวะโต, ขอนอบนอ ม แดพ ระผมู ีพระภาคเจา,
พระองคน ั้น
อะระหะโต, ซ่งึ เปน ผูไกลจากกเิ ลส,
สัมมาสัมพทุ ธัสสะ. ตรัสรูช อบไดโ ดยพระองคเอง.

(กลาว ๓ ครั้ง)

สะระณะคะมะนะปาฐะ

พุทธัง สะระณัง คัจฉาม,ิ ขา พเจา ถอื เอาพระพทุ ธเจา เปน

สรณะ

ธัมมัง สะระณงั คัจฉาม,ิ ขาพเจา ถือเอาพระธรรม เปนสรณะ

สงั ฆัง สะระณงั คัจฉามิ, ขา พเจา ถือเอาพระสงฆ เปนสรณะ

ทุตยิ ัมป พุทธัง สะระณงั คจั ฉาม,ิ แมค ร้ังที่ ๒ ขา พเจา ถอื เอา

พระพุทธเจา

เปนสรณะ

ทตุ ิยมั ป ธมั มงั สะระณงั คัจฉาม,ิ แมครง้ั ท่ี ๒ ขาพเจา ถือเอาพระธรรม

เปน สรณะ

ทตุ ยิ ัมป สังฆัง สะระณัง คจั ฉาม,ิ แมค ร้งั ที่ ๒ ขาพเจา ถอื เอาพระสงฆ

ตะตยิ มั ป พุทธัง สะระณัง คัจฉาม,ิ เปนสรณะ
พระพทุ ธเจา แมครง้ั ที่ ๓ ขาพเจาถือเอา

ตะตยิ มั ป ธมั มงั สะระณงั คจั ฉาม,ิ เปน สรณะ
แมครงั้ ที่ ๓ ขา พเจาถอื เอาพระธรรม
ตะติยมั ป สงั ฆงั สะระณงั คจั ฉาม,ิ เปน สรณะ
แมค รง้ั ท่ี ๓ ขา พเจาถอื เอาพระสงฆ
เปน สรณะ

นัตถิ เม สะระณัง อญั ญงั สจั จะกริ ยิ ากถา
พทุ โธ (เม) สะระณัง วะรัง,
ที่พง่ึ อยางอืน่ ของขา พเจาไมมี
ขา พเจา พระพทุ ธเจา เปนท่ีพงึ่ อันประเสรฐิ ของ
เอเตนะ สัจจะวชั เชนะ
โสตถิ (เม) โหตุ สพั พะทา. ดวยการกลา วคําสัตยน้ี
นตั ถิ เม สะระณัง อญั ญัง ขอความสวัสดีจงมแี กข าพเจาทุกเมื่อ
ธมั โม (เม) สะระณัง วะรัง, ท่ีพงึ่ อยางอน่ื ของขาพเจา ไมมี
เอเตนะ สัจจะวชั เชนะ พระธรรมเปน ที่พง่ึ อันประเสรฐิ ของขาพเจา
โสตถิ (เม) โหตุ สพั พะทา ดว ยการกลา วคําสัตยน้ี
นัตถิ เม สะระณงั อญั ญัง ขอความสวัสดจี งมีแกขาพเจาทุกเม่อื
สังโฆ (เม) สะระณงั วะรัง, ท่ีพ่ึงอยา งอ่นื ของขาพเจาไมมี
เอเตนะ สัจจะวชั เชนะ พระสงฆเ ปน ท่พี ึ่งอันประเสรฐิ ของขาพเจา
โสตถิ (เม) โหตุ สัพพะทา ดว ยการกลาวคําสัตยนี้
ขอความสวัสดจี งมีแกข า พเจาทุกเมอ่ื
ถา สวดใหผ อู ่ืนเปลยี่ นเปน (เต)

มะหาการุณโิ กนาโถ คิอาทกิ าคาถา

มหาการณุ โิ ก นาโถ พระพุทธเจา ผเู ปนท่ีพง่ึ ของสัตว
อตั ถายะ สพั พะปาณีนงั , ทรงประกอบแลว ดว ยพระ
ปูเรตฺตวา ปาระมี สัพพา บําเพ็ญบารมีทั้งหลายทง้ั ปวงใหเ ตม็

ปตโต สัมโพธิมตุ ตะมงั , เพือ่ ประโยชนเกื้อกูลแกสรรพสตั วท ง้ั หลาย
เอเตนะ สัจจะวัชเชนะ ทรงถึงแลว ความตรัสรูชอบอันยอดเย่ียม
มา โหนตุ สัพพุปทฺทะวา. ดว ยกลาวคําสัตยจริงนี้
มะหาการุณโิ ก นาโถ ขอชัยมงคล จงมีแกทา นเถิด ฯ
หิตายะ สพั พะปาณนี ัง พระพุทธเจา ผูเปน ท่ีพงึ่ ของสัตว
ปเู รตวฺ า ปาระมี สัพพา ทรงประกอบแลวดวยพระมหากรุณา
บาํ เพ็ญบารมีทง้ั หลายทงั้ ปวงใหเตม็
ปตโต สัมโพธมิ ุตตะมัง เพื่อประโยชนเ กอื้ กลู แกส รรพสัตวท ั้งหลาย
เอเตนะ สัจจะวชั เชนะ ทรงถึงแลวความตรัสรชู อบอนั ยอดเยี่ยม
โหตุ เต ชะยะมังคะลัง ฯ ดว ยกลาวคําสัตยจรงิ นี้
มะหาการณุ โิ ก นาโถ ขอชยั มงคล จงมแี กท า นเถดิ ฯ
สุขายะ สัพพะปาณนี ัง, พระพทุ ธเจา ผูเ ปนที่พง่ึ ของสตั ว
ปูเรตฺตวา ปาระมี สัพพา ทรงประกอบแลว ดว ยพระ
บําเพญ็ บารมีท้งั หลายทง้ั ปวงใหเ ตม็

ปต โต สมั โพธมิ ตุ ตะมัง, เพอื่ ประโยชนเกอ้ื กลู แกส รรพสตั วท ัง้ หลาย
เอเตนะ สจั จะวชั เชนะ ทรงถงึ แลวความตรสั รชู อบอันยอดเย่ียม
มา โหนตุ สพั พปุ ท ฺทะวา. ดวยกลา วคําสัตยจ รงิ น้ี
ขอชยั มงคล จงมแี กท านเถิด ฯ

เขมาเขมะสะระณะคะมะนะปะรทิ ีปก า คาถา

พะหงุ เว สะระณงั ยนั ติ มนษุ ยทงั้ หลายเปนอันมาก

ปพพะตานิ วะนานิ จะ, อนั ถกู ภัยคุกคามแลว
อารามะรกุ ขะเจตยานิ ยอ มถงึ ภูเขาทงั้ หลายบาง ปาทั้งหลายบาง
อารามบา ง, รุกเจดียบาง

วา เปน สรณะทพ่ี ่ึงของเขา,

มะนสุ สา ภะยะตชั ชติ า.

เนตัง โข สะระณงั เขมงั นัน่ แล มิใชเ ปน สรณะท่ีพงึ่ อันเกษมเลย
เนตัง สะระณะมตุ ตะมงั , นัน่ มิใชส รณะอันอุดมอนั สูงสุด
เนตัง สะระณะมาคัมมะ เขาอาศยั อันน้ันเปน สรณะ ท่ีพึ่งแลว
สพั พะทกุ ขา ปะมุจจะติ. เขายอมไมพ นจากทุกขท้ังปวงได.

โย จะ พุทธญั จะ ธัมมญั จะ สว นผูใ ดถงึ พระพุทธเจา พระธรรมดว ย
สังฆญั จะ สะระณัง คะโต, พระสงฆดว ย วา เปนสรณะทพ่ี ง่ึ ของเขาแลว,
จตั ตาริ อะริสัจจานิ เห็นจรงิ ตามความเปนจริง คือ รูเหน็ อรยิ สจั
สี่
สัมมัปปญ ญายะ ปส สะติ. ดวยสัมมาทิฏฐิ อันเปนปญญาอันชอบ.
ทกุ ขัง ทกุ ขะสะมปุ ปาทัง คือกําหนดรูทุกขเหน็ ทุกข
เห็นเหตใุ หเกิดทุกข
ทกุ ขัสสะ จะ อะติกฺกะมัง, และกา วลว งทกุ ขเสียไดด ว ยการเจริญ-
อริยมรรค
อะริยัญจฏั ฐังคิกงั มัคคงั ซ่ึงมอี งค ๘ เปนเคร่ืองถึงความสงบระงับ-
แหง ทกุ ข,
ทุกฺขปู ะสะมะคามินงั .

เอตัง โข สะระณงั เขมงั นัน่ แล เปน สรณะท่ีพ่งึ อนั เกษม
เอตงั สะระณะมุตตะมัง, เปน สรณะอันอุดม สงู สดุ ,
เอตัง สะระณะมาคมั มะ เขาอาศยั สรณะอนั อุดมสงู สุดเปนทพ่ี ง่ึ แลว
สัพพะทกุ ขา ปะมุจจะตตี ิ. กย็ อมพน จากทุกขท ั้งปวงได ดงั นีแ้ ล.

นะมะการะสิทธิคาถา (ใหม)

โย จักขุมา โมหะมะลาปะกัฎโฐ ทานพระองคใด ทรงมพี ระปญ ญาจกั ษุ
ขจัดมลทนิ คอื โมหะเสยี แลว
สามงั วะ พทุ โธ สุคะโต วมิ ตุ โต ไดตรัสรเู ปน พระพทุ ธเจา
โดยลําพังพระองคเ อง เสดจ็ ผานไปดี
มารัสสะ ปาสา วนิ โิ ม จะยนั โต ทรงพน จากทุกขทัง้ ปวงไปแลว
ปาเปสิ เขมงั ชะนะตัง วเิ นยยัง ทรงชวยเปลอ้ื งชุมชน ผูเปนเวไนยสัตว
มาร แนะนําใหถงึ ความเกษม พนจากบวงแหง

พุทธงั วะรันตัง สริ ะสา นะมามิ ขา พระพทุ ธเจาขอถวายมนสั การ
พระพทุ ธเจา ผูบวรพระองคนัน้
โลกัสสะนาถญั จะวินายะกญั จะ
ตนั เตชะสา เต ชะยะสทิ ธิโหตุ ผูเปน นาถะ และเปนผูน ําแหง โลก
ดว ยเดชแหงพระพุทธเจานั้น
สัพพนั ตะรายา จะ วินาสะเมนตุ ขอความสําเรจ็ ชยั ชนะ จงมแี กท า น
ธมั โมธะโช โย วิยะ ตัสสะ สัตถุ และอนั ตรายทงั้ มวล จงถงึ ความพนิ าศ
พระธรรมใด เปนดุจธงชยั แหง พระศาสดา
ทสั เสสิ โลกัสสะ วิสุทธิมคั คงั พระองคนนั้
ทรงเปดทางแหง ความบรสิ ุทธ์ิใหแ กโลก

นิยยานโิ ก ธมั มะธะรสั สะธารี เปน บวรธรรมนําออกจากยุคเข็ญใหหลุดพน
และธรรมทีค่ ุม ครองผูประพฤติธรรม
สาตาวะโห สนั ติกะโร สุจิณโณ เมื่อประพฤตแิ ลว นํามาซึ่งความสุขความ
สงบ
ธัมมงั วะรนั ตัง สริ ะสานะมามิ ขาพระพุทธเจาขอถวายมนัสการพระธรรม
นั้น
โมหัปปะทาลัง อปุ ะสนั ตะทาหัง อนั ทําลายความหลง ระงบั ความเรา รอ นได
ตนั เตชะสา เต ชะยะสทิ ธโิ หตุ ดวยเดชแหง พระธรรมเจา น้ัน
ขอความสําเรจ็ ชัยชนะ จงมีแกทา น
สพั พนั ตะรายา จะ วินาสะเมนตุ และขออนั ตรายทั้งมวล จงถงึ ความพนิ าศ

สัทธมั มะเสนา พระสงฆเจา ใด เปนธรรมเสนาประกาศพระ
สุคะตานุโคโย สัทธรรม ดําเนินตามรอยพระผเู สด็จไปดี
แลว
โลกสั สะ ปาปูปะกิเลสะเชตา ผจญเสียซ่งึ อุปกิเลสอันเปนบาปของโลก
สนั โต สะยั งสันตินิโย ชะโก จะ เปนผสู งบเองดว ย สอนผอู ืน่ ใหส งบไดด ว ย
สวากขาตะธมั มงั วทิ ติ งั กะโรติ ยังสืบทอดพระธรรม
อนั พระศาสดาทรงตรัสไว
สงั ฆังวะรนั ตัง สิระสา นะมามิ ดแี ลว สอนใหผ อู ืน่ รเู หน็ ธรรมตามได
พทุ ธานพุ ทุ ธัง สะมะสลี ะทฎิ ฐงิ ขอถวายนมัสการแดพระสงฆเ จา ผูบวรนัน้
กัน ผตู รสั รตู ามพระพุทธเจา มีศลี และทิฏฐเิ สมอ
ตนั เตชะสา เต ชะยะสิทธิโหตุ
ดวยเดชพระสงฆเจา น้ัน
สพั พันตะรายา จะ วนิ าสะเมนตุ ขอความสําเร็จดวยชัยชนะ จงมีแกทา น
และอันตรายทัง้ มวลจงถึงความพนิ าศ เทอญ

นะมะการะคาถา (เกา)

สมั พทุ เธ อฏั ฐะวสี ัญจะ ทะวาทะสัญจะ สะหัสสะเก

ปญจะสะตะสะหสั สานิ นะมามิ สริ ะสา อะหงั

ขาพเจา ขอนอบนอ มสมเดจ็ พระสมั มาสัมพทุ ธเจา ท้ังหลาย
๕ แสน ๑ หมน่ื ๒ พัน ๒๘ พระองคน้ัน ดว ยเศียรเกลา
เตสงั ธัมมัญจะ สงั ฆญั จะ อาทะเรนะ นะมามหิ ัง

ขา พเจา ขอนอบนอมพระธรรมและพระอรยิ สงฆ

ของพระสมั มาสัมพุทธเจาเหลาน้ัน โดยความเคารพ

นะมะการานุภาเวนะ หันตวา สพั เพ อุปททะเว

ดวยอานภุ าพแหงการกระทําความนอบนอมตอพระรัตนตรัย

จงขจดั ความจัญไรทัง้ ปวงใหห มดไป
อะเนกา อันตะรายาป วนิ สั สนั ตุ อะเสสะโต ฯ

แมอ นั ตรายทัง้ หลายทั้งปวง จงพินาศไปโดยไมเหลือ

สมั พุทเธ ปญจะปญญาสัญจะ จะตุวสี ะติสะหัสสะเก

ทะสะสะตะสะหสั สานิ นะมามิ สริ ะสา อะหงั

ขา พเจาขอนอบนอ มสมเด็จพระสัมมาสมั พุทธเจา ท้งั หลาย

๑ ลา น ๒ หม่นื ๔ พัน ๕๕ พระองคนน้ั ดว ยเศียรเกลา
เตสัง ธัมมัญจะ สงั ฆญั จะ อาทะเรนะ นะมามหิ งั

ขาพเจา ขอนอบนอมพระธรรมและพระอรยิ สงฆ

ของพระสัมมาสัมพุทธเจา เหลานั้น โดยความเคารพ

นะมะการานภุ าเวนะ หันตวา สัพเพ อปุ ททะเว

ดว ยอานภุ าพแหงการกระทําความนอบนอมตอพระรัตนตรัย

จงขจัดความจญั ไรท้งั ปวงใหหมดไป

อะเนกา อนั ตะรายาป วนิ ัสสันตุ อะเสสะโต ฯ

แมอันตรายทง้ั หลายท้ังปวง จงพินาศไปโดยไมเหลือ

สมั พุทเธ นะวตุ ตะระสะเต อัฏฐะจตั ตาฬสี ะสะหสั สะเก

วีสะติ สะตะ สะหสั สานิ นะมามิ สริ ะสา อะหงั

ขา พเจาขอนอบนอ มสมเด็จพระสมั มาสัมพทุ ธเจา ท้งั หลาย

๒ ลาน ๔ หม่นื ๘ พนั ๑๐๙ พระองคน ั้น ดว ยเศยี รเกลา

เตสัง สงั ธัมมญั จะ สงั ฆัญจะ อาทะเรนะ นะมามหิ ัง

ขา พเจา ขอนอบนอมพระธรรมและพระอริยสงฆ

ของพระสัมมาสัมพุทธเจา เหลานั้น โดยความเคารพ

นะมะการานุภาเวนะ หันตวา สัพเพ อุปททะเว

ดวยอานภุ าพแหงการกระทําความนอบนอมตอ พระรตั นตรัย

จงขจดั ความจญั ไรทงั้ ปวงใหหมดไป

อะเนกา อันตะรายาป วินสั สนั ตุ อะเสสะโต ฯ

แมอนั ตรายท้งั หลายทั้งปวง จงพนิ าศไปโดยไมเหลอื

นโมการฏั ฐกคาถา

นะโม อะระหะโต สัมมา สัมพุทธัสสะ มเหสิโน
ขอนอบนอ มแดพ ระผมู พี ระภาค อรหันตสัมมาสัมพทุ ธเจา
ผูแ สวงหาประโยชนอันยง่ิ ใหญ

นะโม อุตตะมะธัมมสั สะ สวากขาตสั เสวะ เตนธิ ะ
ขอนอบนอ มแดพระธรรมอนั สงู สุดในพระศาสนาที่พระองคต รัสไวด แี ลว

นะโม มหาสงั ฆัสสาป วสิ ุทธะ สีละ ทิฏฐโิ น
ขอนอบนอมแดพระสงฆห มูใหญ ผมู ีศีลและทิฏฐิอนั หมดจด

นะโม โอมาตะยารทั ธัสสะ ระตะนตั ตะยสั สะ สาธกุ งั

ขอนอบนอม แดพ ระรัตนตรัย ทีป่ รารภดีแลว ใหส าํ เรจ็ ประโยชน
นะโม โอมะ กาตีตัสสะ ตสั สะ วัตถุตตะ ยัสสะป

ขอนอบนอม แดพระรัตนตรัย อนั ลวงพน โทษอันต่ําชา นนั้
นะโม การัปปะภาเวนะ วิคัจฉนั ตุ อุปท ทะวา

ดวยความประกาศ การกระทําความนอบนอม อปุ ทวะทัง้ หลายจงพนิ าศไป
นะโม การานภุ าเวนะ สวุ ตั ถิ โหตุ สพั พะทา

ขอความสวัสดี จงมที ุกเม่อื
นะโม การัสสะ เตเชนะ วธิ ิมหิ โหม,ิ เตชะวา ฯ

ดวยเดชะแหงการกระทําความนอบนอ ม เราจงเปนผมู เี ดช ในมงคลพิธีนี้เถดิ

มงั คะละสุตตงั

เอวัมเม สตุ ัง ฯ เอกัง สะมะยงั ถะคะวา,
ในสมยั หนึง่ พระอานนทเถรเจา ไดส ดับมาวา

สาวตั ถิยัง วหิ ะระติ, เชตะวะเน อะนาถะปณฑิกัสสะ อาราเม,
พระผมู พี ระภาคเจาเสดจ็ ประทบั อยูณ วดั พระเชตวนั ของอนาถปณ ฑิก
เศรษฐี สาวัตถี

อะถะโข อัญญะตะรา เทวะตา,
ครั้งนัน้ แล เทพยดาองคใ ดองคห นึ่ง

อะภิกกนั ตายะ รตั ตยิ า อะภกิ กันตะวัณณา

มรี ศั มีงามยิง่ เม่ือเวลาปฐมยามราตรีปานไปแลว
เกวะละกปั ปง เชตะวะนงั โอภาเสตวฺ า,

ยังวดั พระเชตวัน ใหส วางไสวไปทว่ั แลว
เยนะ ภะคะวา เตนุปะสงั กะมิ,

ไดเขา ไปเฝา พระผูม พี ระภาคเจา จนถึงท่ปี ระทบั
อุปะสังกะมติ วฺ า ภะคะวันตงั อะภวิ าเทตฺวา เอกะมนั ตัง อัฏฐาส,ิ

คร้ันเขาไปแลว ทําถวายอภวิ าทแลว จงึ ยืนอยู ณ ท่ีควรแหง หน่ึง
เอกะมนั ตัง ฐิตา โข สา เทวะตา ภะคะวนั ตงั คาถายะ อัชฌะภาส.ิ

แลวไดก ราบทบู ถามพระผมู พี ระภาคเจา ดวยคาถาวา
พะหู เทวา มะนสุ สา จะ มงั คะลานิ อะจนิ ตายงุ ,

เทวดาองคห นง่ึ ไดกราบทูลถามพระผูมีพระภาคเจาวา
หมูเทวดาและมนษุ ยมากหลาย มุงความเจรญิ กาวหนา
ไดค ดิ ถึงเรอ่ื งทเี่ ปน มงคลแลว (ไมตกลงกนั ได)
อากังขะมานา โสตถานงั พรหู ิ มังคะละมตุ ตะมัง,

ขอพระองคทรงตรัสบอกทางแหง มงคลอันสงู สดุ เถิด,
พระผมู พี ระภาคเจา ทรงตรสั ตอบดังนีว้ า

(หมทู ี่ ๑ ทําความเหน็ ใหถ ูกตอง)

อะเสวะนา จะ พาลานัง การไมค บคนพาล

ปณฑิตานัญจะ เสวะนา การคบบัณฑติ

ปชู า จะ ปูชะนยี า นัง การบชู าตอ บุคคลท่คี วรบูชา

เอตัมมงั คะละมุตตะมงั กิจสามอยา งน้ี เปน คงคลอนั สูงสดุ

(หมูท่ี ๒ มองปจ จยั พ้นื ฐาน)

ปะฎิรูปะเทสะวาโส จะ การอาศัยอยใู นถิ่นหรือประเทศอันสมควร

ปุพเพ จะ กะตะปญุ ญะตา การเปน ผูมีบญุ ไดทาํ ไวกอน

อตั ตะสมั มาปะณธิ ิ จะ การตัง้ ตนไวช อบ ใหเ หมาะสม ความพอดีๆ

เอตัมมงั คะละมุตตะมัง กิจสามอยา งน้ี เปนมงคลอันสงู สดุ

พาหสุ ัจจญั จะ (หมทู ี่ ๓ รูงานดมี วี นิ ยั )
สิปปง จะ
วินะโย จะ สุสกิ ขโิ ต การเปนผไู ดย ินไดฟ ง ไดเ หน็ มามาก
สภุ าสติ า จะ ยา วาจา การมศี ิลปวทิ ยา รจู ักหนา การงานดี
เอตัมมังคะละมุตตะมัง มีวนิ ยั อันศกึ ษาดว ยปญญามาดแี ลว
การพดู ประกอบดว ยสุภาษติ วาจา
กจิ สีอ่ ยางนี้ เปนมงคลอันสงู สุด

(หมทู ี่ ๔ ทําใหครอบครัวอบอนุ )

มาตาปตอุ ุปฎ ฐานัง การบํารุงเล้ียงดมู ารดาบดิ า-ผูมพี ระคุณตอ

เรา

ปุตตะทารัสสะ สังคะโห การสงเคราะหบุตรและผูอยรู วมดว ยกนั

อะนากลุ า จะ กมั มันตา การงานอนั ไมคั่งคาง ไมป ลอ ยลา ชา สบั สน

เอตัมมังคะละมตุ ตะมัง กจิ สามอยางน้ี เปน มงคลอนั สูงสุด

ทานัญ จะ (หมทู ่ี ๕ เก้ือหนนุ ตอ สังคม)
ธัมมะจะริยา จะ
ญาตะกานญั จะ สังคะโห การบําเพญ็ ในทานตางๆ ทคี่ วรทาํ
อะนะวัชชานิ กมั มานิ การประพฤติธรรม (ระบบธมั มาธปิ ไตย)
เอตัมมงั คะละมุตตะมัง การสงเคราะหหมูญาตพิ ี่นอง
การงานสุจริตอันปราศจากโทษ
กจิ สอ่ี ยางนี้ เปนมงคลอันสงู สุด

(หมทู ่ี ๖ ปฏิบัติธรรมะขน้ั พ้ืนฐาน)

อาระตี วริ ะตี ปาปา การงดเวน จากบาปกรรมความชว่ั

มชั ชะปานา จะ สัญญะโม การยับยั้งใจไวไดจ ากการดื่มน้ําเมา

อปั ปะมาโท จะ ธัมเมสุ ความไมป ระมาทในธรรมทั้งหลาย

เอตัมมังคะละมุตตะมงั กิจสามอยางน้ี เปน มงคลอันสูงสดุ

คาระโว จะ (หมูท่ี ๗ ปฏิบตั ธิ รรมะขนั้ ตน)
นวิ าโต จะ
สันตุฎฐิ จะ มคี วามเคารพในสิง่ ที่ควรเคารพ
กะตญั ตุ า มคี วามถอ มตน ไมเ ยอ หยิ่ง ลามปาม
กาเลนะ ธัมมัสสะวะนัง มคี วามสันโดษ (พอใจในของๆ ตน)
เอตมั มงั คะละมุตตะมงั มคี วามกตญั ู (รคู ณุ ท่ีผูอ่ืนทาํ ไว)
การไดฟ งธรรมตามกาล
กจิ หาอยางน้ี เปน มงคลอันสูงสดุ

ขันตี จะ (หมูท่ี ๘ ปฏบิ ัตธิ รรมะขนั้ กลาง)
โสวะจัสสะตา
มคี วามอดทน (๔ อยาง)
ความเปนคนเลย้ี งงา ย

สะมะณานัญจะ ทัสสะนัง การพบเห็นเขาใกลผูสงบจากกิเลส
กาเลนะ ธมั มะสากจั ฉา การสนทนาธรรมตามกาล
เอตัมมงั คะละมตุ ตะมงั กิจส่อี ยางน้ี เปน มงคลอันสูงสุด

(หมทู ี่ ๙ ปฏบิ ตั ธิ รรมะขนั้ สูง) (เพื่อดับกเิ ลสเครอื่ งเรารอ น)

ตะโป จะ มคี วามเพียร เผากเิ ลส

พรหั มะจะริยัญ จะ การประพฤติพรหมจรรย

อะริยะสจั จานะ ทสั สะนัง การเห็นความจริงแบบพระอริยะเจา

นพิ พานะสัจฉกิ ริ ยิ า จะ การดบั กิเลส ทําพระนพิ พานใหแจง

เอตัมมังคะละมุตตะมงั กิจส่อี ยา งน้ี เปน มงคลอนั สงู สดุ

(หมูที่ ๑๐ รบั ผลจากการปฏบิ ัตธิ รรมะ)

ผุฎฐัสสะ โลกะธมั เมหิ จติ ของผูทไี่ มห ว่นั ไหวโดยโลกธรรม ๘

จิตตงั ยัสสะ นะ กมั ปะติ

อะโสกัง เปนจิตทไี่ มโศกเศรา

วิระชงั เปน จติ ไมม มี ลทิน ไรธุลกี เิ ลส

เขมงั เปนจิตทส่ี งบ เกษมศานต

เอตัมมังคะละมตุ ตะมัง กจิ ส่อี ยางนี้ เปน มงคลอนั สูงสดุ

หมทู ่ี ๑ ทาํ ความเห็นใหถ ูกตอ ง หมทู ี่ ๒ มองปจจยั พน้ื ฐาน
๑. อะเสวะนา จะ พาลานัง : ไมค บคนพาล ๔. ปะฎริ ปู ะเทสะวาโส จะ : อยใู นถ่ินทเี่ หมาะสม
๒. ปณ ฑิตานญั จะ เสวะนา : คบบัณฑิต ๕. ปุพเพ จะ กะตะปุญญะตา : เคยทําบญุ มากอน
๓. ปูชา จะ ปชู ะนียะ นงั : บชู าบุคคลที่ควรบชู า ๖. อตั ตะสัมมาปะณิธิ : ตั้งตนชอบ

หมูท ี่ ๓ รูงานดมี ีวนิ ยั หมทู ี่ ๔ ทาํ ใหค รอบครัวอบอนุ
๗. พาหสุ จั จัง จะ : มีความรู (พหูสตุ ) ๑๑. มาตาปตุอปุ ฎ ฐานงั : บํารงุ บิดามารดา
๘. สปิ ปง จะ : ทาํ งานดี (มีศิลปะ) ๑๒. ปุตตะสงั คะโห: สงเคราะหบ ุตร
๙. วนิ ะโย จะ สุสิกขโิ ต : มวี นิ ยั ๑๓. ทารัสสะ สังคโห : สงเคราะหภ รรยา (สามี)
๑๐. สกุ าสิตา จะ ยา วาจา :(วาจาสุภาษติ ) ๑๔. อะนากุสา จะ กัมมนั ตา : การงานไมคั่งคาง

หมทู ี่ ๕ เกื้อหนุนตอสังคม หมทู ่ี๖ ปฏบิ ัตธิ รรมะขนั้ พน้ื ฐาน
๑๕. ทานัง จะ : การใหที่ไมมีโทษตามมา ๑๙. อาระตี วริ ะตี ปาปา : งดเวน บาป (ความชั่ว)
๑๖. ธัมมะจะริยา จะ : ประพฤติธรรม ๒๐. มชั ชะปานา จะ สญั ญะโม : สํารวมในการเสพ
๑๗. ญาตะกานญั จะ สังคะโห : สงเคราะหญาติ ของมนึ เมา ๒๑. อัปปะมาโท จะ ธมั เมสุ : ไม
๑๘. อะนะวัชชานิ กัมมานิ : ทาํ งานไมมโี ทษ ประมาทในพระธรรม

หมูท ๗่ี ปฏบิ ตั ิธรรมะขนั้ ตน หมูที่ ๘ ปฏบิ ัติธรรมะขนั้ กลาง
๒๒. คาระโว จะ : มีความเคารพ ๒๗. ขนั ติ จะ : มีความอดทน
๒๓. นิวาโต จะ : มีความถอมตน ๒๘. โสวะจัสสสะตา : เปนคนวางาย
๒๔. สันตุฎฐิ จะ : มีความสันโดษ (ในของตน) ๒๙. สะมะณานญั จะ ทสั สะนัง : เห็นสมณะ
๒๕. กะตัญุตา : มคี วามกตัญู (รคู ุณผูอ่นื ) ๓๐. กาเลนะ ธมั มะสากจั ฉา : สนทนาธรรมตาม
๒๖. กาเลนะ ธัมมสั สะวะนงั : ฟง ธรรมตามเวลาที่ เวลาที่สมควร
สมควร

หมทู ี่ ๙ ปฏบิ ตั ิธรรมะข้ันสูง (ดับกิเลส) หมูท๑่ี ๐ รบั ผลจากการปฏบิ ัติธรรมะ

๓๑. ตะโป จะ : พยายามลดละกิเลส ๓๕. ผฎุ ฐัสสะ โลกะธมั เมหิ จติ ตงั
๓๒. พรหมมะจะรยิ งั จะ : ประพฤติอยา งพรหม ยัสสะ นะ กมั ปะติ : จิตไมห วนั่ ไหวในโลกธรรม

๓๓. อิริยะสจั จานะ ทสั สะนงั : เหน็ จริงตามความ ๓๖. อะโสกงั : จิตไมโศกเศรา

เปน จริงอนั ประเสริฐ เพอ่ื ตรสั รู ๓๗. วิรชิ ัง : จิตไมม ีมลทนิ
๓๔. นพิ พานะสจั ฉกิ ริ ิยา จะ : ดบั กเิ ลสของใจ ๓๘. เขมงั : จติ สงบ

ตาํ นานกะระณียะ เมตตะสุตตัง

พระภกิ ษุ ๕๐๐ รปู ในพระนครสาวัตถี ไดเ รียนพระกมั มฏั ฐานในสํานกั ของพระศาสดา
แลวไปหาที่สงัดเงียบสาํ เจรญิ วปิ สสนา ไปไดสนิ้ ทางประมาณ ๑๐๐ โยชนถงึ หมบู านแหง หน่ึง
ชนเหลา น้ันกลาววา จากท่ีนีไ้ ปไมสูจะไกลนัก มปี าชัฏเปนทส่ี งัดเงียบ ขอนมิ นตพ ระผเู ปน เจา
ทัง้ หลาย จงเจริญสมณธรรมในทีน่ น้ั ตลอดไตรมาสเถดิ ฯ

พฤกษาเทวดาทสี่ ิงอยูท ตี่ น ไมใ นปาน้ัน คิดวาพระผูเ ปนเจาท้งั หลายมาอาศยั อยทู ่ีโคน
ตน ไมแหง เรา ตัวเราและบุตรภรรยาของเราจะอยบู นตน ไมน ี้หาสมควรไม จะไมเ ปนการเคารพ
ทาน จงึ พากันลงจากตนไมน ่ังอยเู หนือพ้นื ดนิ ดวยสําคัญวา พระผูเ ปนเจาพกั อยูในท่นี นั้ คนื หนึง่
แลวกจ็ กั ไป ในวันรงุ ขึ้น พระภิกษเุ ทยี่ วบิณฑบาตภายในบานแลว กก็ ลบั มาสูปาชฏั ตามเดิม
เทวดาเหลา นนั้ พากนั คดิ วา ใคร ๆ เขาคงนมิ นตท านฉนั ในวนั พรงุ น้ี วันนีท้ า นจึงกลับมาพักใน
ท่นี ี้อกี และวันหนาทา นกจ็ ะไปที่อน่ื แตภิกษุกย็ ังกลับมาพักในที่เดมิ อีก จนเวลาลว งไป
ประมาณคร่งึ เดือน เทวดาจึงคิดไดวา ชะรอยพระภิกษุจะอยูตลอดไตรมาสแลว พวกเรากต็ อ ง
อยูกับพนื้ ดินตลอดไตรมาสดว ย เปนการลําบากนัก ควรทีพ่ วกเราจะทาํ วิการอะไรขึน้ ทาํ ให
ทา นไปเสยี จากทน่ี ีเ่ ปน การดี เมอื่ ปรารภอยา งน้ีแลว กแ็ สดงวิการตา งๆ มซี ากศพ และรปู ยักษ
เปนตน กบั บันดาลโรคไอและโรคจามใหเกดิ ข้นึ แกพระภิกษทุ ัง้ หลาย พระภิกษทุ ัง้ หลายก็อยูไ ม
เปน ผาสขุ เหมอื นดังแตกอ น มีความหวาดกลัว เกดิ โรคผอมซดี เวยี วลง จงึ พากนั ออกจากท่นี ั้น
ไปสูสํานักพระศาสดา ทูลใหทรงทราบถึงเรอ่ื งตางๆ ทีไ่ ดป ระสบตอ อารมณอ นั นากลัวตา ง ๆ
และความไมผาสุขจากโรคนน้ั ดว ย.

พระผมู พี ระภาคเจา ทรงประทานเมตตสูตรเปน เครื่องปองกนั แลวมพี ระพทุ ธดํารัสวา
เธอพึงสาธยายพระสตู รนต้ี ั้งแตร าวไพรภายนอกวิหารเขา ไปสูภ ายในวหิ าร พระภกิ ษุถวาย
บังคมกราบลากลบั ไป เปน คาํ สอนครูบาอาจารยวา ไมป กกลดอยูภ ายใตต นไมที่แหง เดียวนานๆ
หรืออยหู างสกั ระยะทางหนง่ึ เพอื่ ใหภมู เทวาเขาข้นึ ลงจากตน ไมสะดวก โดยเฉพาะเทพธิดานาง
ตะเคยี น ฯลฯ

คราวน้หี มูเทวดาเหลานน้ั กลบั มีความเมตตา ทาํ การตอนรบั อารักขา ภิกษุเหลาน้นั
ก็บําเพ็ญตลอดท้ังกลางวันกลางคนื เห็นความเส่อื มและความสนิ้ ในตนวา อตั ภาพนี้กเ็ ปนเชน
ภาชนะดนิ ตองแตกทาํ ลายไมถาวร พระพทุ ธเจาทรงประทบั อยูใ นพระคันธกุฏิ ทราบความ

ปรารภของพระภิกษุทัง้ หลายนั้นแลว จึงเปลง พระรัศมี ๑๐๐ โยชน ใหเหน็ เหมือนกับวาเสดจ็ มา
ประทับอยูทเ่ี ฉพาะหนา พระภกิ ษเุ หลา น้ัน และตรสั พระคาถาวา

“ภกิ ษุทราบวากายนเี้ ปรยี บเหมือนหมอ ปด จติ นใ้ี หเ หมอื นพระนคร พึงรบกบั มาร
ดวยอาวธุ คือปญญา และพึงเพยี รรกั ษาความชนะไว พึงเปน ผหู าความพวั พนั มไิ ด”
เมอื่ จบพระธรรมเทศนาแลว ภิกษุ ๕๐๐ รปู ก็ไดบ รรลพุ ระอรหตั พรอ มดว ยปฏสิ มั ภิทา.

กะระณยี ะ เมตตะ สุตตะคาถา

กะระณียะ มัตถะ กุสะเลนะ, อันผฉู ลาดในประโยชน พึงทํากิจ

ยันตงั สนั ตงั ปะทัง อะภิสะเมจจะ. ท่ีพระอริยเจา ไดบ รรลุถงึ ซ่ึงทาง

อนั สงบ ไดกระทําแลว,

สกั โก, พึงเปนผอู งอาจกลาหาญ

อชุ ู จะ, เปนผูซ่อื ตรงดวย, (ตอ หนาทีข่ องตน)

สุหุชู จะ, เปนผซู ื่อตรงอยางดดี วย, (ไมใ หใครเดือดรอ น)
สวุ ะโจ จัสสะ, เปน ผวู า งา ย สอนงายดวย

มุท,ุ เปน ผูอ อ นโยน, (ไมมีมานะ ยอมแพคนเปน)
อะนะติมานี, เปน ผไู มด หู มนิ่ ผอู นื่ ,

สันตุสสะโก จะ, เปน ผูยินดดี ว ยของอันมอี ยแู ลวดวย,

สภุ ะโร จะ, เปนผเู ล้ียงงายดว ย, (ทําตนเปนคนเลี้ยงงาย)
อปั ปะกิจโจ, เปนผมู ีกจิ การพอประมาณดว ย, (รจู กั พอ)

จะ สลั ละหกุ ะ วุตติ, ประพฤติตนเปนผเู บากายเบาจิต,

สนั ตนิ ทรโิ ย จะ มีอินทรยี อนั สงบระงับดว ย (สงบดวยปญญา)
นิปะโก จะ มีรกั ษาตนไดดว ย (เอาตวั รอด ดว ยปญญา)

อปั ปะคพั โภ เปนผไู มค นองกายวาจา

กุเลสุ อะนะนุคทิ โธ เปนผไู มติดพันในสกลุ ท้งั หลาย

นะจะ ขุททงั สะมาจะเร วิญูชน, ท่ีติเตยี นเหลาชนอืน่ ไดด ว ย

กญิ จิ เยนะ วญิ ู ปะเร การกระทําอยา งใด, ก็ไมพ งึ ประพฤติ
อุปะวะ เทยยุง. กระทําการอยางนนั้ หนอยหน่งึ แล.

(แลวพงึ ตงั้ ใจแนว แนไมแ สส าย แผเ มตตาไมตรจี ิต ไปในหมูสัตววา )

สุขิโนวา เขมิโน โหนตุ ขอสัตวทัง้ หลายท้ังปวง จงมคี วามสขุ

สพั เพสตั ตา ภะวันตุ สุขติ ตั ตา , มคี วามเกษม มตี นถึงซงึ่ ความสุขเถิด

เย เกจิ ปาณะภูตัตถิ สัตวม ชี วี ิตท้ังหลาย เหลา ใดเหลาหน่ึง

ตะสา วา ถาวะรา วา ยังเปนผูส ะดงุ คือมีตัณหาอยู หรอื เปน ผู

ถาวร

อะนะวะเสสา, มน่ั คง คือไมมตี ณั หาทง้ั หมดไมเหลอื

ฑฆี า วา เย มะหนั ตะ วา เหลา ใดเปน ทีฆชาตหิ รอื โตใหญ

มชั ฌิมา รัสสะกา อะณกุ ะถลู า หรอื ปานกลางหรือต่ําเตย้ี หรอื ผอมอวนพี

ทิฏฐา วา เย จะ อะทิฏฐา เหลาใดทีเ่ ราเหน็ แลว หรอื ไมไ ดเห็น

เย จะ ทูเร วะสันติ อะวิทูเร เหลา ใดท่ีอยไู กล หรือทีใ่ กล

ภูตา วา สัมภะเวสี วา ท่ีเกิดแลว หรือยงั แสวงหาภพตอไปก็ดี

สัพเพ สัตตา ภะวนั ตุ สขุ ิตตั ตา ขอสรรพสัตวทั้งหลายเหลาน้นั

จงเปนผมู ีตนถงึ ซ่ึงความสุขเถดิ

นะ ปะโร ปะรัง นกิ ุพเพถะ สตั วอืน่ อยาพึงขมเหงสัตวอื่น

นาตมิ ญั เญถะ กตั ถะจิ นงั กญิ จิ อยา พงึ ดหู มิน่ อะไรๆ เขาในทใี่ ดๆเลย

พฺยา โรสะนา ปะฏฆี ะสัญญา ไมค วรปรารถนาทุกขใหแ กก ันและกัน

นาญญะมญั ญสั สะ เพราะความกริ้วโกรธ

ทกุ ขะมิจเฉยยะ และดว ยความคบั แคน เคืองใจ

มาตา ยะถา นยิ ัง ปุตตัง มารดาถนอมบุตรผูเกิดในตน

อายุสา เอกะปตุ ตะมะนุรักเข อนั เปนลูกคนเดยี ว คือแมชวี ติ ก็สละได

เพื่อรักษาบุตรของตนไว ฉนั ใด

เอวมั ป สัพพะภูเตสุ พงึ เจรญิ เมตตา มีในใจ ไมม ปี ระมาณ
มานะสมั ภาวะเย อะปะริมาณงั ไปในสตั วท ง้ั หลายท้ังปวง แมฉ ันนั้น
เมตตญั จะ สพั พะ โลกสั สะมิง บุคคลพึงเจริญเมตตาไวในใจ
มานะสัมภาวะเย อะปรมิ าณัง อยางไมม ปี ระมาณ ไปในโลกท้ังส้ิน
อทุ ธงั อะโธ จะ ติริยัญจะ ทั้งเบอ้ื งบน เบอ้ื งตํ่า เบอ้ื งขวาง
อะสัมพาธัง อะเวรัง เปนธรรมอันไมคับแคบ ไมมเี วร-ไมมีศตั รู
อะสะปต ตัง, ผูเจริญเมตตาจิตน้ัน ยืนอยูกด็ ี
ติฏฐญั จะรัง นิสนิ โน วา เดนิ เท่ียวไปก็ดี น่ังแลวกด็ ี นอนแลวกด็ ี
สะยาโน วา ยาวะตัสสะ เปนผปู ราศจากความงว งนอนเพียงใด
วิคะตะมทิ โธ,
เอตัง สะตงิ อะธฏิ เฐยยะ ก็พงึ ตง้ั สะติระลกึ แผเ มตตาไปได เพียงนั้น
พรัหมะเมตัง วิหารงั อธิ ะมาหุ บัณฑติ ทัง้ หลาย กลาวกิริยาอันนวี้ า
เปน การปฏิบัตพิ รหมวิหาร ในพระศาสนานี้
ทฏิ ฐญิ จะ อะนปุ ะคมั มะ มเี มตตาพรหมวหิ ารเปน ทิฐิเครื่องอยู
สลี ะวา ทัสสะเนนะ สมั ปนโน ถึงพรอ มดวยศีลและธรรมะทัสสนะอนั ชอบ
กาเมสุ วิเนยยะ เคธัง นําความหมกหมุนในกามทัง้ หลายออก
นะ หิ ชาตุ คัพภะเสยยงั ยอ มไมถ งึ ความนอน (เกดิ ) ในครรภอีก
ปุนะเรตีติ ฯ โดยแท ทีเดียวแลฯ

ตํานานขันธปรติ

สมัยหนง่ึ พระผมู พี ระภาคเจาเสดจ็ ประทบั อยู ณ พระเชตวนาราม ใกลพระนครสาวตั ถี
ครั้งนั้นพระภกิ ษุรปู หนง่ึ น่ังสีไฟอยู ณ เรือนไฟ งูตัวหนงึ่ ออกมาจากตนไมผุ ไดก ัดน้วิ เทาแหง
พระภิกษนุ ้ัน ทนพิษงูมไิ ด กถ็ ึงมรณะภาพอยู ณ ท่ีนั้น ภิกษุท้งั หลายก็พากนั ไปเฝา
พระพุทธเจา กราบทลู ถึงเรื่องภิกษนุ น้ั สมเด็จพระศาสดาตรสั วา ดูกอนภิกษุทง้ั หลาย ชะรอย
ภกิ ษุน้นั จะไมไ ดเ จริญเมตตาจติ ตอ ตระกูลแหงพญางูทัง้ ๔ ถาหากวา พระภิกษรุ ูปนนั้ ไดเจรญิ

เมตตาจติ ปรารภถงึ ซ่งึ ตระกูลแหงพญางทู ั้ง ๔ แลว งจู ะไมก ดั ถงึ แมว า จะกัดกห็ าตายไม แต
ปางกอ นดาบสทงั้ หลายผูเปน บัณฑติ ไดเ จริญเมตตาจติ ในตระกูลพญางทู ัง้ ๔ กพ็ ากันรอดพน
จากภัยแหง งูท้งั หลาย แลวจึงทรงนําเอาอดตี ชาดกมาแสดง ดงั ตอ ไปนวี้ า

ในอดีตกาล เมอ่ื พระเจาพรหมทตั ตครองราชสมบัติ ณ เมือง พาราณสี
พระโพธิสตั วบ ังเกิดในตระกูลพราหมณ ณ กาสิกรฐั ครน้ั เจรญิ วยั แลว กส็ ละราชสมบตั ิออก
บรรพชาเปน ฤษี ไดบ รรลอุ ภญิ ญา ๔ และสมาบัติ ๘ แลว สรา งอาศรมอยู ณ คงุ แหงหนึง่ ของ
แมน ้าํ คงคาในปาหิมพานต และไดเปนอาจารยส งั่ สอนหมูฤ าษอี ยู ณ ท่นี ั้นดวย.

ครงั้ น้นั งทู ้ังหลายอยู ณ ฝงแหงแมน า้ํ นนั้ ไดกดั ฤาษถี งึ แกความตายเปน อันมาก
พระดาบสทั้งหลายกไ็ ดนําความมาแจง แกด าบสพระโพธิสตั วผเู ปน อาจารยของตน.

พระโพธสิ ตั วจึงประชุมดาบสท้ังหลาย แลวสอนใหด าบสเหลาน้ันเจรญิ เมตตาจติ ตอ
ตระกูลแหง พญางทู ้งั ๔ เปนเบือ้ งตน แลว สอนใหเ จรญิ เมตตาจิตใหสตั วจําพวกอ่นื ตอ ไปตาม
โดยลําดับ ต้ังแตส ัตวท ีไ่ มม ีเทา ๒ เทา ๔ เทา และสัตวท่ีมเี ทามาก วา อยามีเวรอยา
พยาบาทเลย จงถึงซึง่ ความสขุ ปราศจากทกุ ขเ ถดิ

แลวทรงส่ังสอนใหระลกึ ถงึ คุณพระพุทธพระธรรมพระสงฆว า มากไมม ปี ระมาณ (คอื มี
พระคณุ มากเพราะปราศจากกิเลส) สตั วท้งั หลายทมี่ ีประมาณ (เพราะยงั ของอยูในกิเลส) เหลานี้
จงกระทําการปองกันรักษาซ่งึ เราท้งั หลายทัง้ กลางวันกลางคืนเถดิ . ความรักษาและปองกันอัน
เรากระทาํ แลวแกส ตั วท ้ังหลายที่มปี ระมาณเทา นี้ ภตู สัตวทัง้ หลายจงหลีกไปเสีย อยา ไดม า
เบยี ดเบียนเราเลย เรากระทําความออนนอ มแดพระสัมมาสมั พทุ ธเจาท้งั หลาย มีพระวปิ สสี
สัมมาสมั พุทธเจา เปน ตน . อนึง่ ความมไี มตรจี ิตของสัตวทั้งหลายเหลาน้ันไดม อี ยูกบั เราแกผ ูใด
ผูน น้ั ยอ มไดก ระทําความออนนอ มนมัสการแดพระสัมมาสัมพุทธเจา ทั้งหลายโดยลาํ ดบั มา ๗
พระองค มีพระวปิ สสสี ัมมาสัมพุทธเจา เปนตน.

เมื่อพระโพธิสัตวผ ูกพระปรติ ใหแกฤาษีทงั้ หลายแลว พระฤาษเี หลานัน้ กไ็ ดเ จริญเมตตา
และระลกึ ถึงพระพุทธคณุ เปนอารมณ งูทั้งหลายก็หลกี หนีไป มิไดเขามากลา้ํ กรายอกี ตอ ไป.

วริ ูปก เขหิ เม เมตตัง สวดแปล ขันธะปริต
เมตตงั เอราปะเถ หิ เม,
ความเปนมิตรของเรา จงมกี ับสกลุ พญานาค
ท้งั หลายช่ือวา วิรปู กขด ว ย
ความเปนมติ รของเรา จงมกี บั สกลุ พญานาค

ฉัพยาปุตเตหิ เม เมตตงั ทั้งหลายชือ่ วา เอราบถดวย
ความเปน มิตรของเรา จงมกี ับสกุลพญานาค
เมตตัง กัณหาโคตะมะ เกหิจะ, ทั้งหลายชื่อ ฉัพยาบุตรดวย
ความเปนมิตรของเรา จงมกี ับสกลุ พญานาค
อะปาทะเกหิ เม เมตตงั ทงั้ หลายช่ือกัณหาโคตมกะดวย
ความเปน มิตรของเรา จงมีกับสตั วทั้งหลาย
เมตตงั ทปิ าทะเกหิ เม, ทไ่ี มม ีเทาดวย
ความเปนมิตรของเรา จงมีกบั สัตวท้งั หลาย
จะตปุ ปะเทหิ เม เมตตงั ทม่ี ีเทา 2 ดวย
ความเปน มติ รของเราจงมกี ับสัตวทัง้ หลาย
เมตตัง พะหุปปะเทหิ เม ทีม่ ีเทา 4 ดวย
ความเปน มติ รของเราจงมีกบั สัตวทง้ั หลาย
มา มงั อะปาทะโก หงิ สิ ที่มเี ทา มากดว ย
มามงั หงิ สิ ทิปาทะโก สัตวไ มม เี ทา ขออยาเบียดเบยี นเรา
มา มัง จะตุปปะโท หิงสิ สัตว 2 เทา ขออยาเบยี ดเบียนเรา
มา มงั หงิ สิ พะหปุ ปะโท สัตว 4 เทา ขออยาเบียดเบียนเรา
สพั เพ สัตตา สัพเพ ปาณา สตั วมากเทา ขออยาเบียดเบยี นเรา
สพั เพ ภูตา จะ เกวะลา ขอสรรพสัตวท ่มี ชี วี ิตทั้งหลาย
สัพเพ ภทั รานิ ปสสันตุ ท่ีเกดิ มาทั้งหมดจนสิ้นเชิงดวย
มา กญิ จิ ปาปะมาคะมา จงเห็นซง่ึ ความเจริญทั้งหลายน้นั เถดิ
โทษอนั ลามกใดๆ อยาไดมาถึงแลว
อัปปะมาโณ พุทโธ แกส ัตวเหลา น้ันเลย
อัปปะมาโณ ธัมโม พระพุทธเจา ทรงพระคุณอนั ไมม ีประมาณ
พระธรรมทรงพระคุณอนั ไมมีประมาณ

อัปปะมาโณ สังโฆ พระสงฆท รงพระคณุ อนั ไมม ีประมาณ
ปะมาณะวนั ตานิ สิรงิ สะปานิ สัตวเลอ้ื ยคลานท้งั หลายคอื งู แมลงปอ ง
อะหิ วิจฉิกา สะตะปะที ตะเขบ็ ตะขาบ แมลงมมุ ตุกแก หนู
อุณณานาภี สะระพู มสู ิกา เหลานี้ ลว นไมมปี ระมาณ
กะตา เม รักขา ความรกั ษา อันเรารักษาแลว
กะตา เม ปะริตตา ความปองกัน อนั เราไดก ระทาํ แลว
ปะฏกิ กะมันตุ ภูตานิ หมูสัตวทงั้ หลายทรี่ ายกาจจงหลีกไปเสีย
โสหัง นะโม ภะคะวะโต เรานน้ั กระทาํ การนอบนอมแด
พระผมู ีพระภาคเจาอยู
นะโม สัตตนั นัง- เราไดก ระทําการนอบนอม
แดพระสัมมาสมั พุทธ
สัมมาสมั พุทธานัง ฯ เจา ทั้งหลาย 7 พระองคอ ยู ฯ

อัตถิ โลเก สีละคโุ ณ วฏั ฏะกะปริตร
สัจจัง โสเจยยะนทุ ทะยา
คุณแหงศีลมีอยูใ นโลก
เตนะ สัจเจนะ กาหามิ ความสัตยค วามสะอาดกายและความเอน็ ดู
สจั จะกริ ิยะมะนตุ ตะรงั มอี ยใู นโลก
อาวัชชิตวา ธัมมะพะลงั ดวยคําสัตยน ้นั ขาพเจา จักทาํ
สะริตวา ปุพพะเก ชิเน สัจจะกิริยาอนั ยอดเย่ียม
ขาพเจา พิจารณาซึง่ กําลงั แหงธรรม
สจั จะพะละมะวสั สายะ และระลึกพระพุทธเจาผชู นะทัง้ หลาย
สจั จะกิริยะมะกาสะหัง ในปางกอน
เพราะอาศัยกําลงั แหงสัจจะ ดังนัน้
ขา พเจาขอทําสจั จะกิรยิ าวา ดงั นี้

สนั ติ ปกขา อะปตตะนา ปก ทัง้ หลายของขาพเจามอี ยู แตบินไมไ ด
สันติ ปาทา อะวัญจะนา เทา ทง้ั หลายของขาพเจา มอี ยู แตเ ดินไมไ ด
มาตา ปตา จะ นิกขนั ตา มารดาบดิ าของขาออกไปหาอาหาร
ชาตะเวทะ ปะฏกิ กะมะ ดกู อ นไฟปา ขอทานจงหลกี ไป
สะหะ สจั เจ กะเต มัยหงั ครนั้ เมื่อเราทําสจั จะกิริยาอยา งนี้แลว
มะหาปช ชะลิโต สขิ ี เปลวไฟอนั รุงเรืองใหญถ งึ ๑๖ กรสี นน้ั
วชั เชสิ โสฬะสะ กะรสี านิ ก็ไดหลกี เวน ไป
อทุ ะกัง ปต วา ยะถา สขิ ี ประดุจดังเปลวไฟนน้ั ตกลงไปในน้ํา ฉะนน้ั
แล
สัจเจนะ เม สะโม นัตถิ สง่ิ ใดทจ่ี ะเสมอดว ยสัจจะของเราไมมี
เอสา เม สัจจะปาระมีติ ฯ น้เี ปนสจั จะบารมขี องเรา แล ฯ

อุเทตะยญั จักขมุ า เอกะราชา โมระปริตร
หะรสิ สะวัณโณ พระอาทติ ยน เี้ ปนเอกราช ดวงตาของโลก
มีสีเพยี งด่งั สีแหงทอง
ปะฐะวปิ ปะภาโส, ยังพน้ื ปฐพีใหอุทัยแสงสวา งจาข้ึนมา
ตัง ตงั นะมสั สามิ เพราะเหตุนั้น ขา ขอนอบนอมพระอาทติ ย
นนั้
หะริสสะวัณณงั ซึ่งมีสแี หงทอง
ยังพนื้ ปฐพีใหส วางไสว
ปะฐะวิปปะภาสัง, ขา พเจา อันทานคมุ ครองแลว ในวนั นี้
ตะยัชชะคตุ ตา พึงอยเู ปน สุขตลอดวนั
ขอพราหมณทงั้ หลายเหลาใด
วหิ ะเรมุ ทวิ ะสงั , ผถู ึงซึ่งเวท รอบรใู นธรรมท้ังปวง
เย พราหมะณา เวทะคุ
สัพพะธัมเม,

เต เม นะโม เต จงรับความนอมนอบของขา พเจา
จะมัง ปาละยนั ต,ุ ขอจงรักษาขาพเจาดวยเถิด
นะมัตถุ พุทธานงั ขอความนอบนอมจงมแี ดพระพุทธเจา-
ทงั้ หลาย
นะมัตถุ โพธิยา, ขอความนอบนอ ม จงมีแดพระโพธิญาณ
นะโม วิมตุ ตานัง ขอความนอบนอมจงมีแดท านผพู น กิเลส
แลว
นะโมวิมตุ ตยิ า, จงมีแดว ิมุตตธิ รรมเคร่อื งทาํ ใหหลุดพน กิเลส
อมิ งั โส ปะริตตัง กตั วา นกยูงนั้นไดกระทําพระปริตรอนั น้ีแลว
โมโร จะระติ เอสะนา ฯ จึงออกเที่ยวแสวงหาอาหารในเวลากลางวัน

อะเปตะยัญจักขมุ า เอกะราชา พระอาทติ ยนเี้ ปน เอกราช ดวงตาของโลก
หะรสิ สะวณั โณ มีสเี พยี งดง่ั สีแหงทองยงั พนื้ ปฐพี
ปะฐะวปิ ปะภาโส , ความสวา งยอ มอัสดงคตไป
ตัง ตงั นะมัสสามิ เพราะเหตนุ น้ั ขาขอนอบนอ มพระอาทิตย
นนั้
หะรสิ สะวัณณงั ซึ่งมีสีดั่งทอง
ปะฐะวิปปะภาสัง, ยังพ้นื ปฐพใี หสวา งไสว
ตะยชั ชะ คตุ ตา ขา ทัง้ หลาย อนั ทานคุมครองแลว ในวนั นี้
วหิ ะเรมุ รตั ติง, พึงอยูเ ปนสุขตลอดคืน
เย พราหมะณา เวทะคุ ขอพราหมณทง้ั หลายเหลาใดผูถ ึงเวทท้ัง
ปวง
สัพพะธัมเม, ผูถงึ ในธรรมทงั้ ปวง

เต เม นะโม เต พราหมณเ หลานนั้ จงรับความนอบนอมของ

ขา ขอพราหมณท ั้งหลายเหลา น้นั จงรักษาซง่ึ
จะ มัง ปาละยนั ตุ
ความนอบนอมของขา จงมแี ดพระพุทธเจา
ขา ทั้งหลาย จงมแี ดพ ระโพธิญาณ
นะมัตถุ พุทธานงั จงมแี ดทานผูผา นพน กิเลสไปแลว
นะมตั ถุ โพธยิ า ความนอบนอมของขา จงมีแดวิมตุ ตธิ รรม
นะโม วมิ ตุ ตานัง เมอ่ื นกยูงไดก ระทําพระปรติ รอยางน้ีแลว
นะโมวมิ ุตติยา จึงสาํ เร็จในความเปนอยูใ นเวลากลางคืน ฯ
อิมงั โส ปะริตตัง กตั วา
โมโร วาสะมะกัปปะยีติ.

ระตะนะสุตตงั

๒. ยังกญิ จิ วิตตงั อิธะ วา หุรังวา สคั เค สวุ ายงั ระตะนัง ปะณีตัง
นะ โน สะมัง อัตถิ ตะถาคะเตนะ อิทัมป พุทเธ ระตะนัง ปะณตี ัง
เอเตนะ สัจเจนะ สุวตั ถิ โหตุ

ทรพั ยเ ครอ่ื งปลม้ื ใจอยางใดอยา งหนง่ึ ในโลกนี้ หรือในโลกอนื่ หรือรัตนะใดอัน
ประณีตในสวรรค ทรัพยและรตั นะนัน้ เสมอดวยพระตถาคตเจา ไมม ีเลย พุทธ
รตั นะนี้จึงเปนรัตนะอันประณตี ยิ่ง ดวยสจั จวาจานี้ ขอความสวัสดีทง้ั หลาย
เหลาน้ี จงมี

๓. ขะยงั วริ าคงั อะมะตัง ปะณตี ัง ยะทชั ฌะคา สกั ฺยะมนุ ี สมาหิโต
นะ เตนะ ธมั เมนะ สะมตั ถิ กิญจิ อทิ มั ป ธัมเม ระตะนงั ปะณตี งั
เอเตนะ สจั เจนะ สุวตั ถิ โหตุ

พระศากยมนุ มี ีพระหฤทัยดํารงม่ัน ไดบรรลธุ รรมอนั ใดเปนทส่ี ิ้นกเิ ลส เปน ท่ี-

สํารอกกเิ ลสเปนอมฤต ธรรมอนั ประณีต ธรรมชาตอิ ะไรๆเสมอดว ยพระธรรม
นนั้ ยอมไมม ี ธรรมรัตนะน้ี จึงเปนรตั นะอันประณีตย่ิง ดว ยสัจจวาจานี้ ขอ
ความสวัสดที ้งั หลายเหลานี้ จงมี

๔. ยมั พทุ ธะเสฏโฐ ปรวิ ณั ณะยี สจุ งิ สะมาธมิ านนั ตะรกิ ญั ญะมาหุ
สะมาธินา เตนะ สะโม นะ วิชชะติ อทิ ัมป ธมั เม ระตะนงั ปะณีตงั
เอเตนะ สจั เจนะ สุวัตถิ โหตุ

พระพทุ ธเจาผปู ระเสรฐิ สุด ทรงสรรเสริญแลว ซึง่ สมาธใิ ดวาเปนธรรมอนั เย่ียม
บณั ฑิตท้ังหลายกลา วสมาธใิ ดใหผ ลในลาํ ดบั ของสมาธิ ส่งิ อ่ืนเสมอดวยสมาธิ
นนั้ ยอมไมมี ธรรมรตั นะนี้จงึ เปนรัตนะอนั ประณตี ย่งิ ดวยสัจจวาจาน้ี ขอ
ความสวสั ดีท้งั หลายเหลา นี้ จงมี

๕. เย ปคุ คลา อัฏฐะ สะตงั ปะสฏั ฐา, จตั ตาริ เอตานิ ยุคานิ โหนติ
เต ทักขเิ ณยยา สคุ ะตัสสะ สาวะกา, เอเตสุ ทนิ นานิ มะหัปผะลานิ
อิทัมป สงั เฆ ระตะนัง ปะณีตัง เอเตนะ สจั เจนะ สุวตั ถิ โหตุ

บคุ คล ๘จําพวก ๔ คู อันสตั บรุ ุษทัง้ หลายสรรเสริญแลว บุคคลเหลานั้นควรแก
ทกั ษิณาทาน เปนสาวกของพระตถาคต ทานทบี่ ุคคลถวายแลวในทา นเหลานัน้
ยอมมีผลมาก สงั ฆรัตนะน้ีจงึ เปน รัตนะอนั ประณตี ดวยสจั จวาจานี้ ขอความ
สวสั ดที ั้งหลาย จงมี

๖. เย สปุ ปะยุตตา นะมะสา ทฬั เหนะ นิกกามิโน โคตะมะสาสะนัมหิ
เต ปต ตปิ ตตา อะมะตงั วคิ ยั หะ, ลัทธา มธุ า นิพพตุ ิง ภุญชะมานา
อิทัมป สังเฆ ระตะนัง ปณีตงั เอเตนะ สจั เจนะ สุวัตถิ โหตุ

พระอริยบุคคลเหลาใด ในศาสนาพระโคดมประกอบดแี ลว [ดวยกายและวจี-

อันบรสิ ุทธ์ิ] มีใจมั่นคงเปนผไู มม คี วามหวงใยในกายและชีวติ พระอริยบุคคล
เหลา น้ันบรรลมุ รรคผลท่คี วรบรรลุหย่ังลงสอู มตนิพพาน ไดซึ่งความดบั กิเลสให
ส้นิ ไป เสวยผลอยู สงั ฆรตั นะแมน จ้ี ึงเปนรัตนะอนั ประณีต ดว ยสจั จวาจาน้ี ขอ
ความสวสั ดีทง้ั หลายเหลา นี้ จงมี

๑๓. ขีณัง ปรุ าณัง นะวัง นัตถิ สมั ภะวงั , วริ ตั ตะจิตตายะติเก ภวสั
สมิง, เต ขณี ะพีชา อวริ ฬุ หิฉันทา นพิ พันติ ธีรา ยะถายัม ปะทโี ป
อิทัมป สงั เฆ ระตะนงั ปณีตัง เอเตนะ สจั เจนะ สุวัตถิ โหตุ ฯ
พระอริยบุคคลเหลาใดผมู จี ติ อันหนายแลวในภพตอไป มีกรรมเกายุตแิ ลวไมมี
กรรมใหมเ ปนเคร่ืองสมภพ พระอรยิ บคุ คลเหลานั้น มพี ืชพนั ธอ ันส้ินแลว มี
ความพอใจไมง อกงามแลว นักปราชญยอมนิพพานเหมือนประทีปอันดบั ไป
ฉะนัน้ สังฆรตั นะน้จี ึงเปนรตั นะอนั ประณีต ดวยสัจจวาจานี้ ขอความสวสั ดี
ทัง้ หลายเหลานี้ จงมี

ตํานานอาฏานาฏิยะปรติ ร

พระสูตรนมี้ เี นือ้ ความวา สมยั หน่งึ สมเดจ็ พระผูม พี ระภาคเจา เสด็จประทบั อยู ณ
เขาคชิ ฌกูฏบรรพต ใกลกรงุ ราชคฤหมหานคร ในครัง้ น้นั ทา วมหาราชทั้ง ๔ ซ่ึงสถติ อยูเหนือ
ยอดเขายคุ ันธรท่ีเรียกกนั วา ช้ันจาตุมหาราชกิ า อนั เปน ชัน้ ตํ่ากวาดาวดงึ สลงมา และเทวราช
ทัง้ ๔ น้กี อ็ ยใู นอํานาจของพระอนิ ทร พระอินทรม อบใหเ ทวราชทงั้ ๔ น้เี ปน ผูร ักษาตน ทาง ที่
อสูรจะยกมารบกวนดาวดงึ ส

ทาวธตรฏฐ เปนเจาแหง คนธรรพแสนหน่งึ รกั ษาทิศบรู พา. ทา ววริ ุฬหก เปน เจาแหง
กมุ ภณั ฑแ สนหนงึ่ รักษาทิศทกั ษณิ ทา ววริ ปู ก ษ เปน เจา แหงนาคแสนหนึง่ รกั ษาทิศปจ ฉมิ .
ทาวเวสวณั นัยหน่งึ เรียก ทา วกุเวรเปนเจาแหงยกั ษแ สนหนึง่ รักษาทศิ อดุ ร.

เทวราชทง้ั ๔ น้ี คดิ จะเกื้อกูลพระพทุ ธศาสนา มิใหหมยู ักษเปน ศัตรมู ายํา่ ยีบีฑาหมู
สาวกในพระพทุ ธศาสนา ทาวจตุมหาราชจึงประชุมกนั ท่ีอาฏายาฏยิ นคร ผูกซึ่งอาฏานาฏิย
ปริตร สรรเสริญพระสมั มาสมั พทุ ธเจาท้ัง ๗ พระองค มีพระวปิ ส สีเปน ตน มีพระพุทธเจา เราเปน
ปรโิ ยสาน ครนั้ ผูกพระปริตรแลว ก็ประกาศแกบ รษิ ัทของ ๆ ตนวา ธรรมอานาแหงสมเด็จ

พระพุทธเจา อันเปนบรมครแู ละราชอาณาแหงเราทงั้ ๔ น้ี ถาใครไมฟ ง ขืนกระทาํ เกนิ เลยแลว จะ
ทาํ โทษอยา งน้ี ๆ ครันประกาศแลว ทาวมหาราชทง้ั ๔ องค พรอมดว ยบริวารก็ลงมาเฝา
พระพุทธเจา กราบทลู วา ยกั ษท ัง้ หลายที่มีศักดานภุ าพทมี่ ิไดเลอ่ื มใสในพระคณุ แหง พระองค
ยักษท ี่เลือ่ มใสมีนอย เพราะยกั ษมจี ิตกระดางหยาบชา ลวงเบญจศลี น้นั มีมาก ในเมอื่ สาวกของ
พระผมู พี ระภาคเจา ยนิ ดีในอรัญญกิ เสนาสสนะบําเพญ็ สมณธรรม ในท่ปี ราศจากมนุษยส ญั จรไป
มา ยักษทมี่ ไิ ดเ ลื่อมใสศรทั ธา ยอมยํ่ายีบีฑา หลอกหลอนกระทาํ ใหเ จ็บไขเ ปนอนั ตรายแกพ ิธีที่
จะบําเพญ็ สมณธรรม จะเดมิ แตน ้ไี ปเบ้อื งหนา ขอใหทรงรบั อาฏานาฏิยะปรติ รไว แลว โปรด
ประธานใหพ ระสาวกท้ังปวงเจริญเนอื งๆ สวดเนืองๆ เถดิ ยกั ษท งั้ ปวงจะไดม คี วามเลอื่ มใส
ศรัทธาในพระพทุ ธศาสนา แลว ก็มิไดจะทําอนั ตรายแกพ ุทธบริษทั ฯลฯ พระพุทธองคก ็ทรงรบั
โดยอาการดษุ ฎีภาพ ทาวเวสวณั กแ็ สดงอาฏานาฏยิ ะปรติ รถวายวา วิปส สิสะนะมัตถุ ฯลฯ ...
... ... อะยงั ยักโข นะ มญุ จะตีติ.

ครัน้ ทา วจตมุ หาราชกลับแลว จงึ มีพระพทุ ธฎกิ าประชุมสงฆท ัง้ ปวง แลว ทรงแสดงเหตแุ ต
หนหลงั ใหทราบ และในตอนทายพระพทุ ธวจนะมีวา ดูกอนภิกษุท้งั หลาย ทา นพงึ อุตสาหะ
กระทําซง่ึ อาฏานาฏิยปริตรนี้ใหบรบิ รู ณในสนั ดาน จําใหม น่ั คง จะคุม ครองปอ งกนั รกั ษา มิให
เหลาอมนุษยทั้งหลายเขามากลาํ้ กลายยํา่ ยีบีฑาพุทธบริษทั ๔ ท้ังปวงได จะไดอ ยเู ปน สขุ สําราญ
กาย ฯ

อาฏานาฏิยะ ปะริตตัง

วิปสสิสสะ นะมัตถุ ความนอบนอ มแหง ขาพเจา จงมแี ดพ ระพทุ ธเจา

จกั ขุมนั ตสั สะ สริ มิ ะโต ผูมีพระนามวา วิปสสี ผมู จี ักษุ ผมู ีสริ ิ
สขิ สิ สะป นะมตั ถุ ความนอบนอ มแหง ขาพเจา จงมแี ดพ ระพทุ ธเจา
สัพพะภูตานกุ มั ปโน ผมู พี ระนามวา สขิ ี

เวสสะภสุ สะ นะมตั ถุ ผูม ปี กติอนุเคราะหแ กส ตั วทง้ั ปวง
นะหาตะกัสสะ ตะปสสิโน ความนอบนอมแหงขาพเจา จงมแี ดพ ระพทุ ธเจา
ผมู พี ระนามวา เวสสภู ผูม ีกเิ ลสอันลา งแลวผมู ี
ตะบะ
นะมัตถุ กะกสุ ันธสั สะ ความนอบนอมแหงขาพเจา จงมีแดพ ระพทุ ธเจา

มาระเสนัปปะมัททโิ น ผูมีพระนามวา กกุสันธะ
ผยู ํ่ายีเสียซ่ึงมารและเสนาแหง มาร
โกนาคะมะนสั สะ นะมตั ถุ ความนอบนอมแหง ขาพเจา จงมแี ดพระพทุ ธเจา
พราหมะณสั สะ วสุ ีมะโต ผมู พี ระนามวา โกนาคมนะ ผมู ีบาปอันลอยเสีย
แลว
ผูม ีพรหมจรรย อนั อยจู บแลว.
กัสสะปสสะ นะมัตถุ ความนอบนอมแหงขาพเจา จงมีแดพ ระพทุ ธเจาผู
มี
วิปปะมุตตสั สะ สัพพะธิ พระนามวากสั สปผพู น วิเศษแลวจากกิเลสทั้งปวง
องั ครี ะสัสสะ นะมตั ถุ ความนอบนอมแหงขาพเจา จงมแี ดพระพทุ ธเจาผู
มี
สกั ยะปตุ ตัสสะ สิรีมะโต พระนามวา องั คีรส ผเู ปนโอรสแหงศากยราชผมู ี
สริ ิ
โย อมิ ัง ธัมมะมะเทเสสิ พระพทุ ธเจา พระองคใด ไดแสดงแลว ซงึ่ ธรรมน้ี
สพั พะทกุ ขาปะนทู ะนัง เปน เคร่ืองบรรเทาเสียซ่งึ ทุกขท้งั ปวง อนงึ่
เย จาป นพิ พตุ า โลเก พระพทุ ธเจาทง้ั หลาย
เหลาใดกด็ ที ่ีดบั กิเลสแลว ในโลก
ยะถาภตู งั วปิ ส สิสุง เหน็ แจง แลว ซึง่ ธรรม ตามความเปน จรงิ
เต ชะนา อะปสุณา พระพุทธเจาทงั้ หลายเปน ผูไ มม ีความสอเสียด เปน
ผู
มะหันตา วีตะสาระทา มีพระคณุ ใหญ ไปปราศจากความครั่นครา มแลว
หิตงั เทวะมนุสสานัง เทวดาและมนษุ ยทงั้ หลาย นอบนอมอยูซึ่ง
ยงั นะมัสสนั ติ โคตะมงั พระพทุ ธเจา ผูเ ปน โคดมโคตร
ผเู ปนประโยชนเ กือ้ กูลแกเทวาดาและมนษุ ย

วิชชาจะระณะสัมปน นงั เปน ผถู ึงพรอ มแลว ดว ยวิชชาและจรณะ ผมู ี
พระคุณ
มะหนั ตัง วตี ะสาระทงั ฯ ใหญ มคี วามครั่นครา มไปปราศจากแลว
วชิ ชาจะระณะสมั ปน นัง เปนผถู ึงพรอมแลวดว ยวิชชาและจรณะ
พุทธงั วนั ทามะ โคตะมนั ตฯิ ขอนอบนอมตอ พระพทุ ธเจา ผูเปน โคดมโคตร

อะภะยะปรติ ตงั
ยันทุนนิมติ ตงั อะวะมงั คะลัญจะ นิมิตอนั เปนลางช่ัวรายอนั ใด อวมงคลอนั ใด
โย จามะนาโป สะกณุ ัสสะ สทั โท เสยี งนกที่ไมชอบใจอันใด บาปเคราะอันใด
ปาปค คะโห ทุสสุปนัง อะกนั ตัง ความฝน รา ยทีไ่ มพอใจอันใด สงิ่ เหลา น้นั
พทุ ธา นุภาเวนะ วนิ าสะเมนตุ จงถึงพินาศไปดว ยอาํ นาจของพระพุทธเจา

ยนั ทุนนิมติ ตัง อะวะมงั คะลัญจะ นมิ ติ อนั เปน ลางชั่วรายอนั ใด อวมงคลอนั ใด
โย จามะนาโป สะกุณัสสะ สัทโท เสยี งนกที่ไมช อบใจอนั ใด บาปเคราะอันใด
ปาปค คะโห ทสุ สุปน ัง อะกนั ตงั ความฝนรายท่ไี มพ อใจอนั ใด สิ่งเหลา น้ัน
ธมั มา นุภาเวนะ วินาสะเมนตุ จงถึงพนิ าศไปดวยอํานาจของพระธรรม ฯ

ยนั ทนุ นิมติ ตัง อะวะมังคะลัญจะ นมิ ติ อนั เปน ลางชวั่ รายอันใด อวมงคลอันใด
โย จามะนาโป สะกุณสั สะ สัทโท เสียงนกทไี่ มชอบใจอนั ใด บาปเคราะอันใด
ปาปคคะโห ทสุ สุปนงั อะกันตัง ความฝนรา ยท่ไี มพ อใจอนั ใด ส่งิ เหลา นั้น
สังฆา นภุ าเวนะ วนิ าสะเมนตุ จงถงึ พนิ าศดว ยอาํ นาจของพระอริยสงฆ ฯ

องั คลุ มาละปะริตตัง
ยะโตหงั ภะคินิ อะริยายะ ชาติยา ชาโต,
นาภชิ านามิ สัญจจิ จะ ปาณัง ชีวิตา โวโรเปตา ฯ

เตนะ สัจเจนะ โสตถิ เต โหตุ โสตถิ คัพภสั สะ ฯ
ดกู รนองหญิง จาํ เดิมตัง้ แตอ าตมาภาพเกดิ ในชาติอรยิ ะแลว มไิ ดร ูสกึ วา
จงใจทาํ ลายชีวิตสัตวเลย ดว ยเดชแหง สัจจะนี้ ขอความสวัสดจี งมีแกเจา
ขอความสวัสดจี งมีแกค รรภของเจา เถิด

โพชฌังคะปะริตตงั

โพชฌงั โค สะติสังขาโต โพชฌงั โค ๗ ประการ คอื ตอ งมสี ติ
ธัมมานัง วจิ ะโย ตะถา มีการเฟนเลือกธรรมใหถ กู กับตนเอง
วริ ยิ มั ปต ปิ ส สทั ธิ มคี วามเพยี ร มีรูสกึ ปติ มปี สสัทธิ ความสงบ
โพขฌงั คา จะ ตะถาปะเร เปน องคป ระกอบการตรัสรธู รรม
สะมาธุเปกขะโพชฌงั คา มีสมาธิตง้ั ใจมนั่ และมอี ุเบกขา รวมเปน ๗
สตั เตเต สัพพะทัสสินา ๗ ประการน้ีแล ที่เปนขน้ั ตอนรูเหน็ บรรลุซึง่ ธรรม
มุนินา สมั มะทกั ขาตา อนั พระจอมมุนีไดตรสั รไู วช อบแลว
ภาวติ า พะหลุ กี ะตา อนั บุคคลควรเจริญใหมาก ทําใหม ากแลว
สงั วตั ตนั ติ อะภิญญายะ ยอ มเปนไปเพ่ือความรยู ง่ิ ทไ่ี มเคยรูมากอ น
นพิ พานายะจะ โพธิยา เพ่อื ความตรสั รูและเพื่อนิพพาน
เอเตนะ สจั จะวชั เชนะ ดว ยการกลา วคําสัจจน้ี
โสตถิ เต โหตุ สัพพะทา ฯ ขอความสวัสดีทง้ั หลาย จงบงั เกิดมแี กท านทุกเม่อื
เอกสั มฺ งิ สะมะเย นาโถ ในสมยั หนึง่ พระโลกนาถเจา
โมคคัลลานัญจะ กัสสะปง ทรงเห็นพระโมคคลั ลานะ และพระมหากัสสปะ
คลิ าเน ทุกขเิ ต ทสิ ฺวา เจบ็ ไข ไดร บั ความลําบาก
โพชฌังเค สตั ตะ เทสะยิ จงึ ทรงแสดงธรรมโพชฌงค ๗ ประการใหฟง
เต จะตัง อะภนิ นั ทิตวฺ า ทานทงั้ สองชืน่ ชมยนิ ดียง่ิ นักในโพชฌงคธรรม
โรคา มจุ จิงสุ ตงั ขะเณ โรคกบ็ รรเทาหายไดในขณะนั้นแล

เอเตนะ สัจจะวชั เชนะ ดวยการกลา วคําสจั จนี้

โสตถิ เต โหตุ สัพพะทา ฯ ขอความสวัสดีท้ังหลาย จงบังเกิดมีแกท านทกุ เม่อื

เอกะทา ธมั มะราชาป ในคร้ังหนึ่งพระธรรมราชาเจา

เคลัญเญ นาภิปฬิโต ทรงพระประชวรดว ยไขหนัก

จนุ ทัตเถเรนะ ตัญเญวะ รับสั่งใหพระจุนทะกลาวสาธยายธรรมซง่ึ

ภะณาเปตตวานะ สาทะรัง โพชฌงค ๗ ทูลถวายใหฟง โดยความเคารพ

สัมโมทิตวฺ า จ ะ อาพาธา กท็ รงบันเทิงพระหฤทัย

ตมั หา วุฏฐาสิ ฐานะโส หายจากพระประชวรโดยพลนั

เอเตนะ สัจจะวชั เชนะ ดว ยการกลา วคําสัจจน้ี

โสตถิ เต โหตุ สัพพะทา ฯ ขอความสวัสดที งั้ หลาย จงบังเกดิ มแี กทานทกุ เมือ่

ปะหนี า เต จะ อาพาธา ก็อาพาธของพระผูทรงคณุ ยิง่ ใหญท้ัง ๓ องคน น้ั

ตณิ ณันนมั ป มะเหสินัง หายแลว ไมกลบั มาอีก

มคั คาหะตะกิเลสา วะ ดุจดังกเิ ลสถกู อรยิ มรรคกาํ จัดเสยี แลว

ปต ตานปุ ปต ติ ธมั มะตงั ถึงซ่งึ ความไมเกดิ อกี เปน ธรรมดา

เอเตนะ สัจจะวัชเชนะ ดว ยการกลาวคําสัจจน้ี

โสตถิ เต โหตุ สัพพะทา ฯ ขอความสวัสดีท้งั หลาย จงบงั เกดิ มีแกท านทุกเม่ือ

ตํานานชะยะปรติ ร

พระมหาการญุ ยานุภาพน้ไี ดส รา งสะสมมานานแลว แมค รั้งเมือ่ เสวยพระชาตเิ ปนพระ
สุเมธดาบส ไดพ บพระทปี ง กรพทุ ธเจา เวลาน้นั พระองคท รงมีบารมีแกกลาสมควรท่จี ะสาํ เรจ็
อรหตั ผลสนิ้ ทกุ ขเ สยี ไดแตในชาตนิ ้ันแลว หากมีพระเมตตาคณุ พระกรณุ าคณุ ตอสรรพสัตว
ท้ังหลาย ทยี่ ังประสบความทกุ ขอ ยอู กี มากมายนกั ยงั มิควรเอาตวั รอดไปเสยี แตล ะพงั ผูเ ดียว
กอ น ควรจะหาอุบายชว ยผอู ืน่ พนทกุ ขไดด วย พระองคจ ึงตง้ั ความปรารถนาพระโพธิญาณ
เแพาะพระพักตรพ ระทีปง กรพุทธเจา ก็ไดร บั ลัทธยาเทศจากพระพทุ ธทีปงกรวา สเุ มธดาบสน้ี
จะไดตรสั รเู ปนพระพทุ ธเจาพระองคหนงึ่ ในภายหนา.

พระมหากรุณาน้ีไดต้งั ข้นึ แลว และเจรญิ สบื มาจนไดบ รรลปุ รมาภิเษกสัมโพธญิ าณ
พระองคจ ะเสวยวมิ ุตตสิ ขุ เฉยอยูอยา งพระปจเจกโพธ์กิ ไ็ ด แตห ากทรงเต็มไปดว ยพระมหา
กรุณาจึงไมท รงประพฤติเชนนน้ั ได จึงไดทรงประทานพระพทุ ธศาสนาใหค วามสขุ ควมเจรญิ แก
โลกอยูจนถงึ บัดนี้ บัณฑิตท้ังหลายหวังในพระการญุ ภาพน้ี เพ่ือใหเ ปน เครอ่ื งคุมครองและเจรญิ
สริ ิมงคล จึงไดว างระเบียบการสวดพระคาถาบทน้ี ไวทา ยสวดมนตเปน ประเพณสี ืบมา.

ชะยะปรติ ร

(คําแปล อยูในบทถวายพรพระ อนโุ มทนาในพธิ ีฉนั )

มะหาการุณิโก นาโถ หิตายะ สัพพะปาณีนงั
ปูเรตฺวา ปาระมี สัพพา ปตโต สัมโพธมิ ุตตะมัง
เอเตนะ สัจจะวชั เชนะ โหตุ เต ชะยะมังคะลงั ฯ

ชะยนั โต โพธยิ า มเู ล สักยฺ านงั นันทวิ ฑั ฒะโน
เอวัง ตะวัง วชิ ะโย โหหิ ชะยัสสุ ชะยะมงั คะเล
อะปะราชิตะปลลงั เก สเี ส ปะฐะวิโปกขะเร
อภเิ สเก สัพพะพทุ ธานัง อคั คัปปต โต ปะโมทะต.ิ
สนุ กั ขัตตัง สุมงั คะลัง สปุ ะภาตงั สุหุฏฐิตัง,
สุขะโณ สุมหุ ุตโต จะ สุยิฏฐงั พรหมะจาริส,ุ

ปะทักขิณัง กายะกัมมัง วาจากัมมัง ปะทกั ขณิ ัง,
ปะทกั ขณิ งั มะโนกมั มัง ปะณิธิ เต ปะทักขิณา,
ปะทักขณิ านิ กตั ฺวานะ ละภนั ตตั เถ ปะทกั ขิเณ ฯ

โส อัตถะลทั โธ สุขโิ ต ทา นผเู ปน ชาย จงเปนผมู ปี ระโยชน
อันไดแลวถึงซง่ึ ความสุข
วริ ฬุ โห พุทธะสาสะเน มคี วามเจรญิ ในพระพทุ ธศาสนา
อะโรโค สุขิโต โหหิ ปราศจากโรค ถึงแลว ซึง่ ความสขุ

สะหะ สพั เพหิ ญาติภิ ฯ กบั ดว ยญาติทงั้ หลายท้งั หมด ฯ

สา อัตถะลทั ธา สุขิตา ทานผูเ ปน หญิง จงเปนผูมปี ระโยชน
อนั ไดแลว ถึงซ่งึ ความสขุ
วิรฬุ หา พทุ ธะสาสะเน มคี วามเจรญิ ในพระพุทธศาสนา
อะโรคา สุขติ า โหหิ ปราศจากโรค ถึงแลว ซ่ึงความสขุ
สะหะ สพั เพหิ ญาตภิ ิ ฯ กบั ดวยญาตทิ ั้งหลายท้ังหมด ฯ

เต อัตถะลัทธา สุขิตา ทา นท้ังหลาย ทว่ั ทกุ ๆ ทา น จงเปนผมู ี
ประโยชนอนั ไดแ ลว ถงึ ซ่ึงความสขุ
วิรฬุ หา พุทธะสาสะเน ถงึ ความเจริญในพระพุทธศาสนา
อะโรคา สุขิตา โหถะ ปราศจากโรค ถงึ แลว ซง่ึ ความสขุ
สะหะ สัพเพหิ ญาตภิ ิ ฯ กับดว ยญาติทั้งหลายทงั้ หมด ฯ

สกั กัตวา พทุ ธะระตะนงั โอสะถัง อุตตะมัง วะรงั ,
หิตัง เทวะมะนุสสานงั พุทธะเตเชนะ โสตฺถนิ า,
นัสสันตปุ ท ทะวา สัพเพ ทุกขา วปู ะสะเมนตุ เต.

เพราะกระทําความเคารพบูชาพระพุทธรัตนะ อันเปนเหมอื นดงั โอสถยา
รกั ษาโรคอันประเสรฐิ สูงสุด เปนประโยชนเ กอ้ื กูลแกเทวดาและมนษุ ย
ท้ังหลาย
ขอความจญั ไรทัง้ หลายท้ังปวง จงพนิ าสฉิบหายไป ขอใหท กุ ขท้ังหลายของ
ทาน จงสงบระงับไปโดยสวัสดี ดว ยเดชแหงพระพทุ ธเจาเถดิ ฯ

สักกัตวา ธมั มะระตะ นัง โอสะถัง อุตตะมัง วะรงั ,
ปะรฬิ าหูปะสะมะนงั ธมั มะเตเชนะ โสตฺถนิ า,
นสั สนั ตปุ ท ทะวา สัพเพ ภะยา วปู ะสะเมนตุ เต.

เพราะกระทําความเคารพบูชาพระธรรมรัตนะ อนั เปน เหมือนดังโอสถยา
รักษาโรคอนั ประเสริฐสงู สุด เปนประโยชนเกื้อกูลแกเทวดาและมนุษย
ท้งั หลาย
ขอความจัญไรท้งั หลายทั้งปวง จงพินาสฉิบหายไป ขอใหภัยความนากลวั
ท้งั หลายของทา น จงสงบระงบั ไปโดยสวัสดี ดว ยเดชแหงพระพทุ ธเจาเถิด ฯ

สักกัตวา สังฆะระตะนงั โอสะถงั อุตตะมัง วะรัง,
อาหุเนยฺยงั ปาหเุ นยยฺ งั สงั ฆะเตเชนะ โสตฺถินา,
นัสสนั ตปุ ททะวา สัพเพ โรคา วูปะสะเมนตุ เต.

เพราะกระทําความเคารพบชู าพระสังฆรัตนะ อนั เปน เหมอื นดงั โอสถยา
รักษาโรคอันประเสรฐิ สงู สดุ เปนประโยชนเก้อื กูลแกเทวดาและมนุษย
ทั้งหลาย
ขอความจญั ไรทง้ั หลายท้งั ปวง จงพนิ าสฉิบหายไป ขอใหโรคคือความเสียด
แทงกายและใจท้ังหลายของทาน จงสงบระงบั ไปโดยสวสั ดี ดว ยเดชแหง
พระพุทธเจา เถดิ ฯ

นตั ถิ เม สะระณัง อญั ญงั พุทโธ เม สะระณงั วะรัง,
เอเตนะ สัจจะวัชเชนะ โหตุ เต ชะยะมงั คะลัง,.
นตั ถิ เม สะระณงั อญั ญัง ธัมโม เม สะระณงั วะรัง,
เอเตนะ สจั จะวชั เชนะ โหตุ เต ชะยะมังคะลัง,.
นัตถิ เม สะระณัง อัญญงั สังโฆ เม สะระณัง วะรงั ,
เอเตนะ สัจจะวัชเชนะ โหตุ เต ชะยะมงั คะลัง,.

(คําแปลนี้ อยใู นบท ตน สวดมนตแ ลว )

ยงั กิญจิ ระตะนัง โลเก รัตนะอยางใดอยางหนึง่ ในโลก
วชิ ชะติ ววิ ิธัง ปุถ,ุ มมี ากมายหลายอยาง

ระตะนัง พทุ ธะสะมงั นัตถิ รตั นะนัน้ ๆ จะเสมอดวยพระพทุ ธรัตนะ ยอมไมม ี
ตสั ฺมา โสตถี ภะวนั ตุ เต. เพราะเหตุนน้ั ขอความสวัสดที ้ังหลายจงมีแกทาน

ยังกญิ จิ ระตะนัง โลเก รัตนะอยางใดอยางหนง่ึ ในโลก

วิชชะติ วิวิธงั ปุถ,ุ มีมากมายหลายอยาง

ระตะนงั ธมั มะสะนัง นตั ถิ รตั นะนน้ั ๆ จะเสมอดวยพระธรรมรตั นะ ยอมไมม ี

ตัสมฺ า โสตถี ภะวันตุ เต. เพราะเหตนุ ้ัน ขอความสวัสดที ง้ั หลายจงมีแกทาน

ยังกิญจิ ระตะนงั โลเก รัตนะอยางใดอยา งหนึง่ ในโลก

วิชชะติ วิวิธงั ปุถุ, มีมากมายหลายอยาง

ระตะนงั สังฆะสะมัง นัตถิ รตั นะนั้นๆ จะเสมอดวยพระสงั ฆรัตนะ ยอ มไมม ี

ตสั มฺ า โสตถี ภะวนั ตุ เต. เพราะเหตุนนั้ ขอความสวัสดีท้ังหลายจงมีแกทาน

เทวะตา อุยโยชะนะคาถา

(คาถาเชญิ เทวดากลับ)

ทกุ ขัปปตตา จะ นิททุกขา ขอสรรพสัตวท ั้งหลาย ที่ถึงแลว ซ่งึ ทุกข

ภะยัปปตตา จะ นพิ ภะยา จงเปน ผูไมม ที ุกข และท่ถี งึ แลวซึง่ ภยั

โสกัปปต ตา จะ นสิ โสกา จงเปนผไู มมภี ัย และถงึ แลวท่ีโศก

โหนตุ สัพเพป ปาณโิ น จงเปน ผไู มมโี ศก.

เอตตฺ าวะตา จะ อัมเหหิ และขอเหลา เทพเจา ทั้งปวง จงอนุโมทนา

สมั ภะตงั ปญุ ญะ สัมปะทงั ซึง่ บุญสมบัติ อนั เราท้งั หลายกอสรางแลว

สพั เพ เทวานุโมทันตุ ดวยเหตมุ ีประมาณเทา น้ี

สพั พะ สัมปต ติ สทิ ธิยา เพ่อื อนั สําเร็จสมบัติทั้งปวง.

ทานงั ทะทันตุ สัทธายะ มนุษยท้ังหลายจงใหทานดวยศรัทธา

สลี งั รักขนั ตุ สพั พะทา จงรักษาศลี ในกาลทง้ั ปวง

ภาวะณา ภิระตา โหนตุ จงเปนผยู ินดีแลวในภาวนา,

คัจฉันตุ เทวะตาคะตา เทพดาท้ังหลายทีม่ าแลว เชิญกลบั ไปเถิด.
สพั เพ พุทธา พะลัปปตตา พระพุทธเจาท้ังหลายลวนทรงพระกําลัง
ทงั้ หมดกําลังอนั ใด
ปจ เจกานัญจะ ยงั พะลงั แหงพระปจเจกพทุ ธเจาท้งั หลายดว ย
อะระหนั ตานญั จะ เตเชนะ แหง พระอรหันตท ้งั หลายดวย
รกั ขงั พนั ธามิ สพั พะโส. ขา พเจา ขอเหนี่ยวความรกั ษาดวยเดชแหง
กําลงั ทัง้ หลายเหลานี้ โดยประการท้ังปวง ฯ


Click to View FlipBook Version