The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

ปฏิจจสมุปบาท โดย หลวงพ่อพุธ

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by ทีมงานกรุธรรม, 2022-02-10 22:34:07

ปฏิจจสมุปบาท โดย หลวงพ่อพุธ

ปฏิจจสมุปบาท โดย หลวงพ่อพุธ

Keywords: ปฏิจจสมุปบาท,หลวงพ่อพุธ

ปฏจิ จสมุปบาท
หลวงพอ่ พธุ ฐานิโย
โอกาสตอ่ ไปเชญิ เตรยี มน่งั สมาธิไดเ้ ลย หลกั แรกวธิ ีการน่งั
สมาธิ เราก็ไดร้ บั การอบรมทางดา้ นปรยิ ตั มิ ากนั พอสมควรแลว้
การบรกิ รรมภาวนาก็ดี การเพง่ กสณิ ก็ดี การพจิ ารณาธรรมก็ดี
การตามรูอ้ ารมณจ์ ิตก็ดี เป็นวิธีการทาํ สมาธิ จะเรยี กวา่ เป็นการ
ทาํ สมาธิในเบอื้ งตน้ ก็ได้ วธิ ีการดงั กลา่ วมานนั้ เม่ือปฏิบตั แิ ลว้
ผลลพั ธค์ อื ทาํ จิตใหส้ งบน่ิงเป็นสมาธิ มวี ติ ก วจิ าร ปี ติ สุข
เอกคั คตา
วิตก วจิ ารซง่ึ เกิดจากทาํ สมาธิมีอย่สู องประเภท วติ ก วิจาร
อยา่ งหนง่ึ จติ ไปจดจอ่ อย่กู บั อารมณจ์ ิตในปัจจบุ นั เชน่ ภาวนา
พทุ โธ จิตก็จดจอ่ อยกู่ บั พทุ โธ พทุ โธกบั จิตไม่พรากจากกนั จิตอยู่
กบั พทุ โธ พทุ โธอยกู่ บั จติ อนั นีอ้ ย่างหนง่ึ อกี อย่างหนง่ึ จติ ไปเพง่
ในจดุ ใดจดุ หนง่ึ ซง่ึ เรยี กวา่ เพง่ กสิณ จติ ไปเพง่ อยกู่ บั อาการ ๓๒
อยา่ งใดอยา่ งหนง่ึ เชน่ เพง่ อย่ทู ่ี ผม ขน เลบ็ ฟัน หนงั เป็นตน้
โดยท่ีจิตเพง่ ดสู ่งิ เหลา่ นีเ้ อง แลว้ ก็มีสตคิ วบคมุ อยเู่ อง อนั นกี้ ็เป็น

1

ลกั ษณะของจติ ไดว้ ิตก วจิ าร อีกอยา่ งหนง่ึ จิตไปเพง่ อยจู่ ดุ เพง่
เชน่ ดวงไฟดวงกลม หรอื วตั ถอุ ยา่ งใดอย่างหน่งึ อนั เป็นเรอ่ื งการ
เพง่ กสณิ ๑๐ อยา่ ง แลว้ จิตไปจดจอ่ อยกู่ บั สง่ิ ท่ีเพง่ เอง แลว้ ก็มี
สติสมั ปะชญั ญะควบคมุ รูอ้ ยทู่ ่นี ่นั ก็เป็นอนั วา่ จติ ไดว้ ิตก วจิ าร

อกี อย่างหน่งึ จติ มีความคิดพจิ ารณาอารมณข์ องจิตอยา่ งใด
อย่างหนง่ึ เม่ือพจิ ารณาไปหนกั ๆเขา้ จติ เกดิ ความคลอ่ งตวั จิต
สามารถกาํ หนดพจิ ารณาอารมณน์ นั้ พจิ ารณาไปเองโดยไม่ได้
ตงั้ ใจ เชน่ จติ มนั คดิ วา่ สง่ิ นีก้ ็ไมเ่ ท่ียง เป็นทกุ ข์ เป็นอนตั ตา ตอน
แรกเราตงั้ ใจคิด ตงั้ ใจพจิ ารณา แตเ่ ม่ือเราพจิ ารณาไปจน
คลอ่ งตวั แลว้ ในท่ีสดุ จิตเกิดความสงบลงไปนิดหนอ่ ย จติ คิดของ
มนั เอง พจิ ารณาของมนั เอง

การพิจารณานีม้ ีอย่สู องอยา่ ง อย่างหนง่ึ มนั พจิ ารณาใน
เรอ่ื งท่ีเรานาํ มาปอ้ นใหม้ นั อกี อย่างหนง่ึ มนั ทงิ้ เร่อื งเก่าแลว้ ไป
พิจารณาอยา่ งใหม่ คือเกิดความคดิ อยา่ งใหมข่ นึ้ น่นั เอง แตม่ นั
เกิดอยใู่ นลกั ษณะท่ีมีความสงบและมีสติรูพ้ รอ้ มอย่ใู นปัจจบุ นั
นนั้ อนั นีก้ ็จิตไดว้ ิตก วิจารตามองคฌ์ าณดงั ท่ีกลา่ วมาแลว้

2

เม่ือจติ ของนกั ภาวนาไดว้ ติ กวจิ ารเป็นทนุ อยู่ เป็นทนุ ไวแ้ ลว้
เร่อื งของปีตแิ ละความสขุ ความเป็นหนง่ึ ของจิตจะไม่เกดิ ขนึ้
ยอ่ มเป็นไปไมไ่ ด้ เพราะฉะนนั้ นกั ภาวนาทงั้ หลายพงึ ทาํ ความ
เขา้ ใจไวว้ า่ องคฌ์ าณท่ีหนง่ึ กบั องคฌ์ าณท่ีสองเป็นสง่ิ จาํ เป็นท่ี
นกั ภาวนาจะตอ้ งทาํ จติ ใหไ้ ด้ คือทาํ จิตใหไ้ ดว้ ติ ก วจิ าร

วติ ก วจิ ารตามความหมายดงั ท่ีกลา่ วมาแลว้ ฟังแลว้ อาจจะ
เกิดความสบั สน จงึ ขอใหข้ อ้ สงั เกตไวอ้ ยา่ งงา่ ยๆวา่ สงิ่ ใดท่ีจิต
ของเราคิดเองโดยอตั โนมตั ิ คิดไมห่ ยดุ หรอื ส่งิ ใดท่ีจิตของเรา
รูอ้ ย่เู องโดยอตั โนมตั ิ รูอ้ ยอู่ ย่างไมข่ าดสาย และมีสตสิ มั ปะ
ชญั ญะรูพ้ รอ้ ม เตรยี มพรอ้ มอย่ใู นขณะจติ นนั้ ๆ ลกั ษณะอย่างนี้
เรยี กวา่ จิตมีวติ กวิจาร กาํ หนดหมายเอากนั อยา่ งนี้

แตบ่ างทา่ นอาจจะเขา้ ใจวา่ วิตก วิจารหมายถงึ การนอ้ มจิต
พจิ ารณา อนั นนั้ ไม่ถกู แน่ แมจ้ ะมีการพจิ ารณาก็ตาม ก็เป็น
อบุ ายวธิ ีท่ีจะทาํ ใหจ้ ิตเกิดวติ กวจิ ารเม่ือจติ มีสมาธิขนึ้ มาบา้ ง
เลก็ นอ้ ย ถา้ หากวา่ จิตมีอาการสงบเคลมิ้ ลงไป กาํ ลงั เรม่ิ จะเกิด
ความสวา่ งขนึ้ มา กาํ ลงั จะเป็นสมาธิ ถา้ เราไปตงั้ ใจคดิ พจิ ารณา

3

ขนึ้ มาในขณะนนั้ จติ มนั จะถอนจากสมาธิ เพราะฉะนนั้ เร่อื งวิตก
กบั วจิ ารน่ี พงึ ทาํ ความเขา้ ใจวา่ จิตมีความคดิ และจดจอ่ อย่กู บั
สิง่ ๆหนง่ึ และก็มีสตริ ูพ้ รอ้ มอยกู่ บั สิ่งนนั้ ในขณะจิตนนั้ แมจ้ ิต
อาจจะมีความคดิ ไปเองโดยอตั โนมตั ิ แตเ่ ป็นลกั ษณะของ
ความคดิ หรอื ปัญญาท่ีเกิดจากสมาธิ แลว้ ก็มีสตริ ูพ้ รอ้ มอยู่
ในขณะจิตนนั้ ใหพ้ งึ สงั เกตอยา่ งนี้

ทีนีม้ ีผฝู้ ากปัญหามาถาม ถา้ พดู ถงึ วา่ การบรรยายเก่ียวกบั
เรอ่ื งทาํ สมาธิในวนั นี้ เรามาพดู ถึงปัญหาท่ีถามมาสองขอ้ นี้ ถา้
จะเอากนั ใหพ้ สิ ดารกนั จรงิ ๆแลว้ เวลาเกือบจะไมพ่ อเพราะเป็น
ปัญหาท่ีจะตอ้ งอธิบายกวา้ งขวางมาก ซง่ึ ปัญหานีม้ ีผถู้ ามมาวา่
เม่ือน่งั สมาธิจติ สงบแลว้ พจิ ารณากายคตาสติจติ กลบั ไป
กลบั มา จิตจะหยดุ พจิ ารณา เม่ือทา่ นทาํ สมาธิจติ สงบ
หมายความวา่ กอ่ นท่ีจะพิจารณากายคตาสติ ทา่ นอาจจะ
บรกิ รรมภาวนาพทุ โธ หรอื อย่างอ่นื ก็แลว้ แต่ จงึ ทาํ ใหจ้ ติ ของ
ท่านเกิดความสงบ เม่ือจติ ของทา่ นเกิดความสงบแลว้ ทา่ นกม็ า

4

พจิ ารณากายคตาสติ กลบั ไปกลบั มาอกี ตอ่ หนง่ึ อนั นีค้ าํ ถามนี้
ตคี วามหมายออกมาเป็นสองขนั้ ตอน

จติ สงบแลว้ พจิ ารณากายคตาสติ แสดงวา่ จิตสงบเพราะ
เหตอุ ่ืน แลว้ เม่ือจติ สงบเพราะเหตอุ ่ืนแลว้ ก็มาพจิ ารณากายคตา
สติ เม่ือมาพิจารณากายคตาสติ จิตท่ีทา่ นวา่ สงบมนั ก็เปล่ียน
เปล่ียนมาเป็นความไม่สงบ แตท่ ่านสามารถควบคมุ ความรูส้ กึ
นกึ คิดเอาไวไ้ ดด้ ว้ ยความตงั้ ใจ คือตงั้ ใจนอ้ มจติ ใหม้ าพจิ ารณา
กายคตาสติกลบั ไปกลบั มา เม่ือทา่ นพจิ ารณากายคตาสติ
กลบั ไปกลบั มา จิตของท่านหยดุ เม่ือจิตเกิดหยดุ คือหยดุ
พิจารณาน่นั เอง เม่ือหยดุ พจิ ารณาแลว้ จติ ก็เกิดความสงบ
ขนึ้ มาอีกครงั้ หนง่ึ เม่ือจิตสงบน่ิงเพราะการพิจารณากายคตาสติ
แลว้ จิตสวา่ งไสวลอยเดน่ อยเู่ หนือกาย น่จี ติ เรม่ิ เขา้ ไปสคู่ วาม
สงบเป็นสมาธิในขนั้ อุปจาระสมาธิ

สมาธิในขนั้ นีจ้ ะมีสงิ่ ปรากฏการณใ์ หเ้ รามคี วามรูส้ กึ คอื รูส้ กึ
เบากาย รูส้ กึ กายเบา จติ ก็เบา ทกุ ขเวทนาไมเ่ กิด มีแตส่ ขุ เวทนา
เม่ือกายเบา จติ เบา เวทนาท่เี รยี กวา่ เวทนาทกุ ขห์ ายไป ยงั เหลือ

5

แตส่ ขุ เวทนาเพราะตอนนีป้ ีตกิ าํ ลงั เรม่ิ จะเกิด ปีตเิ รม่ิ เกิดแต่
ระยะจติ ของทา่ นรูส้ กึ เบา กายของทา่ นรูส้ กึ เบา เม่ือกายเบาจิต
เบา จติ กเ็ รม่ิ สงบลงไป กายก็สงบลงไป กายสงบจากทกุ ขเวทนา
จติ ก็สงบจากความฟงุ้ ซา่ นราํ คาญ นิวรณ๕์ กาํ ลงั เรม่ิ จะผอ่ น
คลายลงไป เวทนาทกุ ขค์ อ่ ยหายไป สขุ เวทนากาํ ลงั เรม่ิ เกิด
เพราะจติ มีปีตแิ ลว้ ตอ้ งมีความสขุ สขุ อนั นหี้ มายถงึ สขุ ท่ีเกิดจาก
สมาธิ เป็นความสขุ ใจหรอื สขุ ในทางจิต เรยี กวา่ เจตสกิ สุข

เม่ือจติ มีความสขุ กายก็พลอยมีความสขุ ไปดว้ ย
ทกุ ขเวทนาตา่ งๆหายไปหมดสนิ้ เม่ือทกุ ขเวทนาไมร่ บกวน กาย
สงบจติ สงบ จติ มีปีติและความสขุ เป็นเครอ่ื งหลอ่ เลีย้ งยอ่ ม
ปราศจากความดนิ้ รนกระวนกระวาย กามฉันทะความใฝ่สขุ
ดว้ ยอาํ นาจแหง่ ความขีเ้ กียจไดห้ ายไป พยาปาทะ กิรยิ าท่ีคิด
จะตดั รอนการปฏบิ ตั นิ นั้ ๆหายไป อุทธัจจะกุกกจุ จะความ
ฟ้งุ ซา่ นราํ คาญหายไปเพราะกายเบาจิตเบา กายสงบจติ สงบ
วจิ กิ จิ ฉาความลงั เลใจหายไป จิตมีความดดู ด่มื ไดด้ ่มื รสพระ
สทั ธรรมอยา่ งเต็มท่ีคือปีติ แลว้ ก็มีสขุ เป็นเครอ่ื งกาํ กบั เป็น

6

เครอ่ื งหลอ่ เลยี้ ง ความลงั เลสงสยั ในการท่ีจะปฏิบตั ิ จะเอาจรงิ
หรอื ไม่จรงิ ก็หายไปหมด มงุ่ หนา้ ท่ีจะเอาจรงิ ถา่ ยเดยี ว

ตอนนีท้ า่ นมองเหน็ ไดเ้ ดน่ ชดั แลว้ ใช่ไหมวา่ พละธรรม
อนิ ทรียธ์ รรมกาํ ลงั จะเกิดขนึ้ ในจติ ของทา่ นแลว้ ศรทั ธาความ
เช่ือม่นั ในตวั เอง ศรัทธาอธโิ มกข์ การนอ้ มใจเช่ือกาํ ลงั หายไป
เพราะท่านหมดเจตนาหรอื ความตงั้ ใจท่ีจะเช่ือ แตว่ า่ จิตของ
ท่านนอ้ มใจเช่อื เองโดยอตั โนมตั ิ เจตนาของทา่ นไดห้ ายสนิ้ ไป
แลว้ ทกุ สิง่ ทกุ อยา่ งมีแตค่ วามเป็นเอง เม่ือมีศรทั ธา วริ ยิ ะความ
แกลว้ กลา้ อาจหาญ ความพากความเพียรเกิดขนึ้ ในจิตของทา่ น
เองโดยอตั โนมตั ิ สตคิ วามตงั้ ใจอนั เป็นตวั วิจารท่ีสาํ คญั ท่ีสดุ เกิด
ขนึ้ มาเอง ทาํ หนา้ ท่ีเองโดยอตั โนมตั ิ สมาธิความม่นั ใจตอ่ การ
ปฏบิ ตั ิ เป็นสง่ิ ท่ีเป็นมาเองโดยอตั โนมตั ิ ปัญญาอนั เป็น
ตวั ญาณะรูพ้ รอ้ มอยทู่ ่ีจิตเป็นมาเองโดยอตั โนมตั ิ ศรัทธา วริ ยิ ะ
สติ สมาธิ ปัญญา เป็นพลงั ๕ ประการเกิดจากการปฏบิ ตั ิ
สามารถประชมุ พรอ้ มอยทู่ ่ีจติ ทาํ ใหจ้ ติ มีความเป็นปกติ ดาํ รงอยู่
ในความเป็นปกตไิ ดเ้ ป็นเวลานานๆ เป็นฐานท่ีสรา้ งพลงั จิต

7

แตต่ อนนีจ้ ติ อาจจะยงั น่ิงวา่ งสวา่ งอยู่ ยงั ไมย่ อมทาํ งานใดๆ
เม่ือจติ สรา้ งพลงั งานในตอนนีไ้ ดอ้ ยา่ งพรอ้ มท่ีจะขยบั ตวั ออกไป
ทาํ งาน จิตมกี ารไหวตวั มีอารมณส์ ่งิ รูข้ องจิตเกิดขนึ้ เพราะอาศยั
พลงั ท่ีเกิดจากท่ีเรยี กวา่ พละ ๕ มีพลงั แก่กลา้ ขนึ้ กลายเป็น
อนิ ทรีย์ แลว้ ก็เป็นใหญ่แตล่ ะอย่างๆ ในเม่ือศรทั ธา วริ ยิ ะ สติ
สมาธิ ปัญญารวมพรอ้ มลงเป็นหน่งึ สามารถท่ีหนนุ จติ ใหเ้ กิด
สตปิ ัญญาขนึ้ มาไดค้ อื การไหวตวั มีความคดิ อา่ น หรอื มีธรรม
อทุ านผดุ ขนึ้ มาในขณะจิตนนั้ ๆ อนั นีเ้ ป็นลกั ษณะของจิตท่ีมี
อนิ ทรยี ค์ อื ความเป็นใหญ่ประชมุ พรอ้ มลงเป็นหนง่ึ เม่ือเป็น
เช่นนนั้ อริยมรรค มรรค ๘ ประการก็ประชมุ ลงท่ีน่ี อนิ ทรีย์ ๕
พละ ๕ ก็ประชมุ ลงท่ีน่ีเป็นอนั หนง่ึ อนั เดยี วกนั ยงั เหลอื แตค่ วาม
เป็นหนง่ึ ของจติ ซง่ึ เรยี กวา่ เอกคั คตา

เอกัคคตาจติ ในขนั้ ของวปิ ัสสนากรรมฐาน จิตจะไม่น่ิงวา่ ง
สวา่ งอยเู่ ฉยๆ จิตน่ิงแตไ่ ม่วา่ งจากอารมณจ์ ิต จติ จะมีความคดิ
อา่ นพิจารณาอย่ตู ลอดเวลา แตจ่ ิตดวงนีป้ ระกอบดว้ ยอุเบกขา
ญาณะทศั นะ รูเ้ หน็ อะไร อะไรปรากฏขนึ้ รบั รูเ้ ห็นสมั ผสั รู้ แตม่ ี

8

ความเป็นกลางในส่ิงรูเ้ หน็ นนั้ ๆ ไม่อคติลาํ เอยี ง เพราะจติ มี
ความเป็นใหญ่ ศรทั ธา วริ ยิ ะ สติ สมาธิ ปัญญารวมลงเป็นหนง่ึ
เป็นอินทรยี ์ เป็นใหญ่อยใู่ นจิต ตวั ปรากฏเดน่ ชดั คอื สตนิ ทรีย์
สตินทรยี ท์ ่ีเป็นใหญ่อย่ใู นจติ คือสตวิ ินโย จิตมีสตเิ ป็นผนู้ าํ อยู่
ตลอดกาล

เม่ือเป็นเชน่ นนั้ จิตของทา่ นจะมีการเตรยี มพรอ้ ม
เตรยี มพรอ้ มอยทู่ กุ ขณะจิต เม่ือจิตมีการเตรยี มพรอ้ มอยทู่ กุ
ขณะจิต ไม่วา่ อะไรจะผา่ นเขา้ มา อารมณท์ ่ผี ่านเขา้ มาทางตา หู
จมกู ลนิ้ กายและใจ จติ ท่ีทรงความเป็นใหญ่ไดม้ ารบั รูแ้ ลว้ เขา
จะเกิดมีความเอาใจใส่ เกิดโยนสมิ นสิการ คือการเอาใจใสโ่ ดย
แยบคาย เกิดธัมมวจิ ย การสอดสอ่ งธรรม การพิจารณาธรรม
ขนึ้ มาโดยอบุ ายอนั แยบคาย เม่ือเขามีสติ มพี ลงั ท่ีจะพจิ ารณา
ธรรมเองโดยอตั โนมตั ิ จติ ดวงท่ีมีสติปัญญาจะนอ้ มความรูเ้ ขา้
ไปสกู่ ฏของธรรมชาตคิ ือพระไตรลักษณ์ จติ ดวงนีจ้ ะมองเหน็
ธรรม ธรรมท่ีเป็นวตั ถธุ รรมกด็ ี ธรรมท่ีเป็นนามธรรมก็ดี กฏ

9

ธรรมชาติของเขาอย่ใู นกฏเกณฑแ์ ห่งพระไตรลกั ษณ์ อนิจจัง ไม่
เท่ียง ทกุ ขัง ทนอย่ไู ม่ได้ อนัตตา ไมใ่ ช่ตวั ไมใ่ ชต่ น

แตถ่ า้ หากจติ รูพ้ ระไตรลกั ษณอ์ ย่ใู นขณะจติ ท่ีประกอบ
พรอ้ มไปดว้ ยความสงบอนั เป็นสมาธิ หรอื มีสตปิ ัญญาท่ีอยเู่ หนือ
โลกซง่ึ เรยี กวา่ ปัญญาขนั้ โลกุตตระ จติ จะมีความสมั ผสั รูท้ กุ สิ่ง
ทกุ อยา่ ง เพียงแคม่ ีสภาวะปรากฏการณข์ นึ้ ในเบอื้ งตน้ ทรงตวั
อยชู่ ่วั ขณะหนง่ึ ในท่ีสดุ แลว้ ยอ่ มสลายตวั เม่ือจติ มีสติปัญญา
สามารถกาํ หนดพจิ ารณาไดอ้ ยา่ งละเอยี ดถ่ียบิ ทกุ ขณะจติ
เรยี กวา่ รูท้ นั จติ จะมองเห็นสภาวธรรมทงั้ วตั ถธุ รรมและ
นามธรรมเพียงแคเ่ กิดดบั เกดิ ดบั ๆ อย่ใู นภายในจติ เพียงอยา่ ง
เดียวเท่านนั้ เม่ืออะไรเกิดขนึ้ ในขณะนนั้ ถา้ จิตมีความสาํ คญั ม่นั
หมาย ถา้ ทกุ ขเ์ กิดขนึ้ มา จติ ก็จะรูข้ นึ้ มาวา่ นอกจากทกุ ขไ์ มม่ ี
อะไรเกิด นอกจากทกุ ขไ์ มม่ ีอะไรดบั เม่ือส่งิ ใดเกิดขนึ้ มีความสขุ
สขุ นีก้ ็เป็นสง่ิ ท่ีเกิดขนึ้ นอกจากสขุ ไม่มีอะไรเกิด นอกจากสขุ ไม่
มีอะไรดบั

10

เม่ือมองเห็นสขุ ทกุ ขเ์ กิดสลบั เปล่ียนกนั ไป หรอื คละเคลา้ กนั
ไปทงั้ สขุ และทกุ ข์ เพราะอาศยั จติ ดวงนีม้ ีสตสิ มั ปะชญั ญะ
เดน่ ชดั ขนึ้ มา จะมองเหน็ สภาวะธรรมทงั้ วตั ถธุ รรมและ
นามธรรมตามความเป็นจรงิ ความเป็นจรงิ ของวตั ถธุ รรมและ
นามธรรมมนั จะมีอะไรเสยี อกี นอกจากอนิจจงั ทกุ ขงั อนตั ตา น่ี
คือกฏธรรมชาติของวตั ถธุ รรมและนามธรรมท่ีจะพงึ เป็นไป ขอชี้
ใหเ้ ดน่ ชดั ลงไปวา่ วตั ถธุ รรมก็คือกายของเรา นามธรรมกค็ อื จิต
ของเรา

กายของเราถา้ เรามีสตสิ มั ปะชญั ญะดมู นั ตงั้ แตเ่ ชา้ ต่นื นอน
มาน่ี เราเหน็ ความไมเ่ ท่ียง เป็นทกุ ข์ เป็นอนตั ตาของมนั ต่นื เชา้
มามนั จะตอ้ งรูส้ กึ หิวโหยเพราะมนั ขาดอาหารเป็นเครอ่ื งบาํ รุง
เม่ือมนั เกิดหวิ โหย สขุ มนั ก็หายไปแลว้ มีแตค่ วามทกุ ขเวทนาคอื
ความหวิ เม่ือไดอ้ าหารรบั ประทานแลว้ ขจดั ทกุ ขเวทนาคอื
ความหิวใหห้ ายไป ก็ยงั เหลอื แตส่ ขุ เวทนาคอื ความอ่ิม
เพียงแคน่ ีถ้ า้ เรามีสติสมั ปะชญั ญะพรอ้ มมลู ดแี ลว้ เราก็สามารถ
ท่ีจะมองเหน็ วตั ถธุ รรมของเราในแง่แห่งอนจิ จงั ทกุ ขงั อนตั ตา

11

หรอื เวลาใดกายของเรา วตั ถธุ รรมคอื กายของเรามีความเป็น
ปกติ เรามีความสขุ ความสบายกาย เรากร็ ูว้ า่ กายของเรามี
ความสขุ เรากม็ องเหน็ สขุ เวทนาในกาย ถา้ สขุ มนั หายไป ความ
เหนด็ เหน่ือย ทกุ ขเวทนาความปวดเม่ือยมนั เกิดขนึ้ แมใ้ นขณะ
ปัจจบุ นั เราก็มองเหน็ แลว้ วา่ น่ีคือทกุ ขเวทนา เม่ือเป็นเชน่ นนั้ เรา
ก็มองเห็นทกุ ขต์ ามพระไตรลกั ษณ์

เม่ือเป็นเชน่ นนั้ เราจะมองตอ่ ไปอกี วา่ ทาํ ไมมนั จงึ เป็นอยา่ ง
นี้ เด๋ยี วสขุ เด๋ยี วทกุ ข์ ทาํ ไมมนั ไมส่ ขุ ตลอดไป และทาํ ไมมนั ไม่
ทกุ ขต์ ลอดไป ทาํ ไมมนั จงึ เปล่ยี นอยอู่ ยา่ งนี้ ก็เพราะกฏ
ธรรมชาตขิ องธรรมทงั้ หลายมนั เป็นอยา่ งนี้ มนั เป็นอนิจจงั ทกุ
ขงั อนตั ตา และส่งิ ท่มี นั ไม่เป็นไปตามปรารถนา เราตอ้ งการสขุ
ตลอดไปแตม่ นั ไม่ได้ ก็เพราะมนั เป็นอนตั ตา ไม่ใชต่ วั ของเรา
อารมณท์ ่ีเราชอบ สง่ิ ท่ีเราชอบ เม่ือมนั อยกู่ บั เรา เราดีใจสบาย
ใจมีสขุ ใจ แตแ่ ลว้ ทงั้ ๆท่ีเรากาํ ลงั ชอบ กาํ ลงั หวงแหน มนั กพ็ ลนั
พลดั พรากจากเราไปหรอื สลายตวั ไปเพราะมนั เป็นอนตั ตา เม่ือ
ส่งิ เหลา่ นนั้ มนั สลายตวั ไปแลว้ มองดทู ่ีตรงนีส้ ทิ า่ น สิ่งท่ีทา่ นรกั

12

สงิ่ ท่ที า่ นชอบ เม่ือมนั เป็นไปในทางท่ีทาํ ใหท้ า่ นรูส้ กึ เสยี
ประโยชนห์ รอื ขดั ความรูส้ กึ ของทา่ น ทา่ นรูส้ กึ อย่างไรบา้ ง สง่ิ ท่ี
ทา่ นชอบมีอนั เป็นไปคือสญู สลายตวั ไป พลนั เกิดความไม่พอใจ
ลองดซู จิ รงิ หรอื เปลา่

แหวนท่ีท่านสวมอยใู่ นมือ ถา้ เผ่ือวา่ มนั ตกหลน่ หายไป ทา่ น
เสยี ใจ ทา่ นเสยี ดาย ทา่ นไมพ่ อใจในการหายไปของวตั ถทุ ่ีทา่ น
หวงแหน อนิฏฐารมณม์ นั เกิดขนึ้ แลว้ ใชม่ ยั้ ดใู หด้ ีสิ และทาํ ไม
สิง่ ท่ที า่ นชอบใจมนั ไดส้ ญู หายไปแลว้ ทาํ ไมทา่ นจงึ เกิดความไม่
พอใจคอื อนิฏฐารมณเ์ พราะอะไร ทา่ นจะมองเหน็ วา่ อวชิ ชา
ความรูไ้ มจ่ รงิ มนั มีอย่ใู นจติ ของท่านแลว้ แตแ่ ทท้ ่ีจรงิ ของท่ีมีคา่
หรอื ของท่ีทา่ นหวงแหนมนั ก็เป็นแตเ่ พียงวตั ถอุ นั หนง่ึ เทา่ นนั้ มนั
ไมใ่ ชส่ มบตั ขิ องใครทงั้ สนิ้ แตเ่ ม่ือท่านมีจติ ผกู พนั ไปยดึ วา่ เป็น
ของของเรา เพราะอาศยั อวชิ ชาความรูไ้ มจ่ รงิ เป็นเหตุ เม่ือเป็น
เชน่ นนั้ เม่ือของส่งิ นนั้ มีอนั สญู สลายไปทา่ นกจ็ ะเกิดความไม่
พอใจ เกิดความคดิ ขนึ้ มาวา่ ไม่นา่ จะเป็นอยา่ งนนั้ ความคิดท่ีวา่
ไม่นา่ จะเป็นอยา่ งนนั้ น่นั คือตวั สังขาราอนิจจา มนั บงั เกิดขนึ้

13

มาแลว้ ทา่ นก็มองเหน็ มองเหน็ ปฏจิ จสมุปบาท ซง่ึ เกิดอย่ใู น
จิตของท่าน

อวชิ ชาปัจจยา สังขารา อวชิ ชาความรูไ้ ม่จรงิ เป็นเหตใุ ห้
เกิดสงั ขาร ถา้ เรารูจ้ รงิ วา่ ทกุ สงิ่ ทกุ อยา่ งมนั เป็นไปตามกฏ
ธรรมชาติ โดยเฉพาะอยา่ งย่งิ ตวั ของมนั ก็มีเกิดมีดบั เม่ือสิ่ง
เหลา่ นนั้ มาเป็นสมบตั ขิ องเราท่ีเรายดึ วา่ เป็นของของเรา บางที
มนั ก็อยกู่ บั เรา บางทีมนั ก็สญู หายไปโดยเหตอุ ย่างใดอยา่ งหนง่ึ
ก็ทาํ ใหเ้ ราดีใจเสียใจขนึ้ มาเพราะเหตนุ นั้ ความเป็นไปของวตั ถทุ ่ี
เราหวงแหน มนั จะเปล่ยี นแปลงก็ตาม สลายตวั ไปก็ตาม หรอื
หายไปก็ตาม น่นั มนั เป็นไปตามกฏของธรรมชาติ คอื อนจิ จงั ไม่
เท่ียง ทกุ ขงั เป็นทกุ ข์ อนตั ตา ไมเ่ ป็นตวั ของตวั และไม่เป็นของ
ของเราดว้ ย

เพราะเรายงั มีกิเลสตณั หาอปุ าทานยดึ ม่นั ถือม่นั ในสง่ิ นนั้ ๆ
อยู่ เม่ือสง่ิ เหลา่ นนั้ มีอนั เป็นไปในแง่ท่ีเราไมพ่ อใจ หรอื ในแง่ท่ีเรา
ไมป่ รารถนาจะใหเ้ ป็นอยา่ งนนั้ เราเกิดไมพ่ อใจ ความไม่พอใจ
ในความสญู เสยี นนั้ ๆ มองดใู หด้ ีสิ มองเหน็ จดุ เรม่ิ ของตณั หา

14

หรอื ยงั ความไม่พอใจ ความไมย่ นิ ดี มนั มีแนวโนม้ ใหเ้ กิด
วภิ วตณั หา แตส่ ่งิ ใดท่ีเราประสบแลว้ เราพอใจ เรายินดี มนั มี
แนวโนม้ ใหเ้ กิดกามตณั หา ทงั้ ความยนิ ดแี ละทงั้ สงิ่ ท่ีเรายินดี
และไม่ยินดี ถา้ เราไปยดึ เอาไวใ้ นความรูส้ กึ ทงั้ สองอยา่ ง มนั ก็
แนวโนม้ ใหเ้ กิดภวตัณหา เรายดึ สง่ิ ท่ที าํ ใหเ้ กิดเป็นวภิ วตณั หา
เพราะอะไร เพราะเราไมต่ อ้ งการประสบส่ิงนนั้ มลู เหตมุ นั มา
จากไหน มลู เหตเุ พราะเราใครใ่ นสิง่ ท่ีเราตอ้ งการ กิรยิ าท่ี
ความรูส้ กึ วา่ เราไม่พอใจเป็นกิรยิ าของวภิ วตณั หามนั เกดิ ขนึ้
กิรยิ าจติ อนั ใดท่ีรูส้ กึ วา่ ใครพ่ อใจ เป็นกิรยิ าของกามตณั หามนั
เกิดขนึ้ ความยดึ ม่นั (เทปขาดตอน)

ความคิดของทา่ นน่นั สมิ นั เกิด มนั เกิดขนึ้ มาอยา่ งไร สง่ิ ท่ี
ทา่ นหวงแหนมนั สลายตวั ไป จดุ เรม่ิ มนั ไมน่ า่ จะเป็นอยา่ งนนั้ เลย
น่ีคือ ชาติ ความเกิดมนั ปรากฏขนึ้ มาแลว้ ทีนีค้ วามรูส้ กึ วา่ มนั ไม่
นา่ จะเป็นอยา่ งนนั้ เลย ผดุ ขนึ้ มาในความรูส้ กึ ของเรา ถา้ สง่ิ ใดท่ี
เป็นไปในทางท่ีเราไมต่ อ้ งการ มนั ก็เกิดโทมนัส ถา้ สง่ิ ใดเกิดขนึ้

15

ในทางท่ีเราพอใจ มนั กเ็ กิดโสมนัส มนั จงึ เป็นอนั วา่ ถา้ เราจะนบั
ตามอนั ดบั แหง่ ความเกิดของกิเลสทงั้ หลายเหลา่ นี้

อวชิ ฺชาปจจฺ ยา สงขฺ ารา (อวชิ ชาปัจจยา สงั ขารา) ความรู้
ไมจ่ รงิ เป็นเหตเุ ป็นปัจจยั ใหเ้ กิดความปรุงคือสงั ขาร

สงขฺ ารปจจฺ ยา วิ�ญฺ านํ (สงั ขารปัจจยา วิญญานงั ) ความ
ปรุงแตง่ เป็นเหตใุ หเ้ กิดวิญญาณคอื ความรู้

วิ�ยฺ าณปจจฺ ยา นามรูปํ (วญิ ญาณะปัจจยา นามะรูปัง) รู้
ไปเกาะเก่ียวอย่ทู ่ีตรงไหน เกดิ นามรูปขนึ้ มา

นามรูปปจจฺ ยา สฬายตนํ (นามะรูปะปัจจยา สฬายตะนงั )
เม่ือมีนามกบั รูปประกอบกนั เขา้ คอื มีกายกบั จติ ประกอบกนั เขา้
มนั ก็มีรูปมีรา่ งขนึ้ มา มีตา หู จมกู ลนิ้ กายและใจ เพราะอาศยั
อวิชชาความรูไ้ มจ่ รงิ จติ ขาดสติสมั ปะชญั ญะ จงึ สา่ ยแสไ่ ปตาม
ตา หู จมกู ลนิ้ กายและใจ

สฬายตนปจจฺ ยา ผสโฺ ส (สฬายตะนะปัจจยา ผสั โส) เม่ือมี
อายตนะ ๖ คอื ตา หู จมกู ลนิ้ กายและใจ ย่อมมีสิง่ เขา้ มาสมั ผสั
รูปสมั ผสั กบั ตา เสยี งสมั ผสั กบั หู กล่ินสมั ผสั กบั จมกู รสสมั ผสั

16

กบั ลิน้ สง่ิ ถกู ตอ้ งสมั ผสั กาย ความนกึ คดิ สมั ผสั ใจ เม่ือเกดิ มี
อายตนะ ก็มีความมีความเป็นขนึ้ มา เป็นโน่นเป็นน่ี

ผสสฺ ปจจฺ ยา เวทนา (ผสั สะปัจจยา เวทนา) ในเม่ือมีผสั สะ
ก็ย่อมมีเวทนา คอื รูส้ กึ สขุ รูส้ กึ ทกุ ข์ รูส้ กึ ไม่สขุ ไมท่ กุ ขเ์ ป็น
กลางๆ

เวทนาปจจฺ ยา ตณฺหา (เวทนาปัจจยา ตณั หา) ถา้ หากสิ่ง
ใดมาสมั ผสั แลว้ รูส้ กึ ทาํ ใหส้ ขุ สบาย ก็ทะเยอะทยานอยากได้
เป็นกามตณั หา ถา้ สง่ิ ใดสมั ผสั แลว้ ไมส่ บาย ก็ทาํ ใหท้ ะเยอทยา
นอยากจะทงิ้ เสยี แตม่ นั กท็ งิ้ ไม่ได้

ตณฺหาปจจฺ ยา อุปทานํ (ตณั หาปัจจยา อปุ าทานงั ) เม่ือมี
ตณั หา เวทนาแลว้ ก็มีตณั หา ตณั หาแลว้ ก็มีอปุ าทาน

อุปาทานปจจฺ ยา ภโว (อปุ าทานะปัจจยา ภะโว) มีความ
ยดึ ม่นั ถือม่นั ท่ตี รงไหน ความมีความเป็นคอื ภพอย่ทู ่ีน่นั ในเม่ือมี
ภพมีความมีความเป็น เป็นอะไร เป็นคือจติ มนั ไปยดึ อยทู่ ่ี
ตรงไหนมนั ก็เป็นขนึ้ ท่ีน่นั มนั ก็กลายเป็นภพ ในเม่ือเกิดมีภพ
ความมีความเป็น

17

ภวปจจฺ ยา ชาติ (ภวปัจจยา ชาต)ิ ยดึ ท่ีตรงไหนมนั ก็เกดิ ท่ี
น่นั ไอต้ วั เกิดนีก้ ็คอื ตวั สงั ขารท่ีตวั ปรุงตวั แตง่ น่นั แหละ ไปยดึ ท่ี
รูปก็วา่ รูปสวยงาม ไปยดึ ท่ีเสยี ง ก็วา่ เสยี งไพเราะ ไมไ่ พเราะ ไป
ยดึ ท่ีกลนิ่ กก็ วา่ กลนิ่ เหมน็ กลน่ิ หอม ไปยดึ ท่ีรส กว็ า่ รสอรอ่ ย ไม่
อรอ่ ย ไปยดึ ท่สี มั ผสั ก็วา่ สมั ผสั เยน็ รอ้ นออ่ นแขง็ ไปยดึ ท่ี
ธรรมารมณ์ คอื อารมณ์ ก็สาํ คญั ม่นั หมายวา่ ดีไม่ดี ตวั สงั ขารตวั
ปรุงทงั้ นนั้ ในเม่ือมีชาตคิ ือความเกิดก็มีความโศกเศรา้ มีความ
โทมนสั นอ้ ยใจ มีความวิปโยคพลดั พราก มีทกุ สิง่ ทกุ อย่างท่ี
ก่อใหเ้ กิดใหเ้ ป็นทกุ ข์ เพราะอาศยั อวิชชาตวั เดยี ว

ทีนีเ้ ราจะดอู วชิ ชา ดปู ฏจิ จสมปุ บาทอย่ใู นจิตของเราน่ี สว่ น
อวชิ ชาปัจจยา สงั ขารา สงั ขารปัจจยา นนั้ ตามคมั ภีรน์ นั้ ยกไว้
เรามาดตู วั อวชิ ชาปัจจยาในจิตของเราขณะนี้ ดซู ิ อะไรท่ที าํ ให้
เราดใี จเสียใจในปัจจบุ นั ความทกุ ขเวทนาท่ีเกิดขนึ้ เชน่ น่งั นาน
เม่ือย เราไมพ่ อใจในความเม่ือยนนั้ เพราะอะไร เพราะอวิชชา
อวชิ ชาปัจจยา สงั ขารา

18

เพราะฉะนนั้ ดคู วามเกิดดบั ท่ีมนั เกิดดบั อย่กู บั จติ เน่ยี อะไร
เกิดอะไรดบั เราดกู นั อยทู่ ่ีตรงนี้ เราก็มองเหน็ ทงั้ สง่ิ ท่ีเป็นกิเลส
และไม่เป็นกิเลส มองเหน็ สง่ิ ท่ีเป็นบญุ กศุ ลทงั้ สง่ิ ท่ีไมเ่ ป็นบญุ
เป็นกศุ ล แลว้ ถา้ จิตของเราดาํ เนนิ ทอ่ งเท่ยี วอยใู่ นการพจิ ารณา
ดงั ท่ีกลา่ วมานี้ กายเบาจิตเบา กายสงบจติ สงบ บางทีสงบไป
จนกระท่งั กายหายไปจากความรูส้ กึ ยงั เหลอื แตจ่ ติ ดวงเดียวท่ี
ลอยเดน่ อยู่ เหมือนดวงจนั ทรด์ วงอาทิตยท์ ่ีลอยเดน่ อยู่

ทีนีเ้ ม่ือจิตเป็นอย่างนีต้ อ่ ไปจะปฏิบตั ิอยา่ งไร น่ีเป็นปัญหา
อกี ขอ้ หนง่ึ ถา้ จติ เป็นอยา่ งนีต้ ลอดไป ถา้ หากวา่ มนั ไปสงบ กาย
เบาจติ เบา กายสงบจิตสงบ เวทนาทกุ ขห์ ายไปหมด ยงั เหลอื แต่
เวทนาสขุ กบั ความเป็นกลางๆของจติ ท่ีไปน่ิงสวา่ งไสวอยู่ น่งิ
รูอ้ ย่ทู ่ีตวั รูเ้ ฉยๆ ไม่มีอะไรเกิดขนึ้ ในช่วงท่ีทา่ นมีความสมั ผสั หรอื
สงิ่ ดงั กลา่ วเกดิ ขนึ้ ในจติ ในเบอื้ งตน้ ถา้ ทา่ นสามารถทาํ จติ ให้
เป็นอยา่ งนีบ้ อ่ ยๆ จนคลอ่ งตวั จนชาํ นิชาํ นาญย่งิ เป็นการดี ถา้
สามารถทาํ ไดท้ กุ ครงั้ ท่ีเราปฏบิ ตั หิ รอื น่งั ปฏิบตั หิ รอื อาจจะ

19

เป็นอยไู่ ดต้ ลอดเวลา ก็ปลอ่ ยใหม้ นั เป็นไปอย่างนนั้ ก่อน อยา่
เพ่ิงทาํ อะไรทงั้ นนั้

ทีนถี้ า้ เผ่ือวา่ จติ ไมส่ งบลงไปสสู่ ว่ นลกึ เพียงแตเ่ บากายเบา
จติ แลว้ จติ ไปน่ิงวา่ งอย่เู ฉยๆ เพียงแตร่ ะงบั เวทนาทาํ ใหร้ ูส้ กึ น่งั
สบายเท่านนั้ ในตอนนีถ้ า้ หากวา่ จิตมนั ไปเป็นสภาพเช่นนนั้ ถา้
ปลอ่ ยไวน้ านๆแลว้ มนั จะกลายเป็นจติ หดหู่ แตถ่ า้ มนั เกดิ วา่ งเบา
ลงไปแลว้ มีความสวา่ ง มีปีติ มีความสขุ มีความสงบละเอยี ดลง
ไปจนกระท่งั ตวั หาย เป็นอยา่ งนีบ้ อ่ ยๆ ก็ปลอ่ ยใหม้ นั เป็นอย่างนี้
กอ่ น

ทีนีเ้ ม่ือทา่ นจะทาํ อะไรตอ่ ไป ควรจะทาํ ตอ่ เม่ือจิตเขา้ ไปสู่
ความสงบละเอียดจนกระท่งั ตวั หายแลว้ จติ ถอนออกมาจาก
สมาธิ พอมารูส้ กึ วา่ มีกายเทา่ นนั้ จติ ของทา่ นจะเกิดความคิด
ขนึ้ มาทนั ที ในช่วงนีท้ า่ นอยา่ ละโอกาส รบี กาํ หนดจติ ทาํ สตติ าม
รูค้ วามคิดนนั้ ไป จติ จะคดิ ไปเหนือไปใต้ คดิ เรอ่ื งกศุ ลเรอ่ื งอกศุ ล
เรอ่ื งบาปเร่อื งบญุ อะไรก็แลว้ แต่ แมแ้ ตค่ ดิ ออกไปเร่อื งโลกๆ
เรอ่ื งงานเร่อื งการอะไรก็ตามแต่ ปลอ่ ยใหเ้ คา้ คดิ ไป ท่านไมค่ วร

20

ไปหา้ มความคิดอนั นี้ แลว้ ฝึกทาํ สตติ ามรูค้ วามคดิ ดงั กลา่ วไป
เอาความคดิ ท่ีมนั เกิดขนึ้ เองน่นั แหละเป็นอารมณข์ องจติ แต่
กาํ หนดหมายรูว้ า่ ส่ิงท่ีคดิ นี้ ญาณะมตั ตายะ สกั แตว่ า่ เป็น
อารมณส์ ่งิ รูข้ องจติ ปะตสิ สะตมิ ตั ตายะ สกั แตว่ า่ เป็นท่ีอาศยั
ระลกึ

ระวงั อยา่ ใหม้ ีความยดึ ในความคดิ นีเ้ กิดขนึ้ เม่ือท่านเกิดยดึ
ในความคิดอนั นีข้ นึ้ มาเม่ือไหร่ ทา่ นจะมองเหน็ ตวั สงั ขารปรากฏ
ขนึ้ ทาํ ไมจิตของทา่ นจงึ ยดึ ยดึ เพราะรูไ้ มจ่ รงิ ความรูไ้ มจ่ รงิ คอื
อวชิ ชา อวิชชาอยใู่ นจติ ของทา่ น แตท่ า่ นมสี ติสมั ปะชญั ญะดี
ทา่ นจะมองเหน็ ตวั กิเลสคอื ตวั อวชิ ชา ทาํ ไมมนั จงึ ยดึ เพราะไม่รู้
จรงิ เราจงึ ยดึ ในเม่ือยดึ แลว้ มนั ก็ปรุงคือความคดิ นนั้ เอง คิดวา่
เป็นอยา่ งนนั้ คิดวา่ เป็นอย่างนี้ ประเด๋ยี วคดิ วา่ สงิ่ ท่ีมนั น่มี นั คือ
อะไร สมาธิคอื อะไร ปัญญาคอื อะไร ศลี คอื อะไร ส่งิ ทงั้ หลาย
เหลา่ นีต้ วั สงั ขาร สงั ขาราอวชิ ชาทงั้ นนั้ เพราะมนั ปรุง เพราะ
ความรูไ้ ม่จรงิ มนั จงึ ยดึ ยดึ แลว้ มนั จงึ ปรุง ตวั ปรุงคือตวั สงั ขาร ใน
เม่ือปรุงไปรูไ้ ป ปรุงไปรูไ้ ป ดใี จไปเสยี ใจไป เกิดทกุ ขไ์ ป ทกุ ขส์ ขุ

21

ไป เราก็มองเหน็ ความไม่เท่ียง เป็นทกุ ข์ เป็นอนตั ตา มองเหน็
อริยสัจ ๔ คอื ทกุ ข์ สมุทยั นิโรธ มรรค ไปพรอ้ มๆกนั
ในขณะจิตเดียวกนั นนั้ แหละ น่ที างปฏิบตั คิ วรจะไดท้ าํ อย่างนี้

เม่ือท่านผใู้ ดพจิ ารณาส่ิงใด จติ สงบลงเป็นสมาธิได้ ใหย้ ดึ
หลกั นนั้ พจิ ารณาสิ่งนนั้ บอ่ ยๆ จนมนั คลอ่ งตวั จนชาํ นิชาํ นาญ
ถือเอาอนั นนั้ แหละเป็นวหิ ารธรรมเครอ่ื งอยขู่ องจิต อย่างท่านผทู้ ่ี
ถามนี้ บอกวา่ พิจารณากายคตาสตแิ ลว้ จติ มนั หยดุ พจิ ารณา
แลว้ ก็มีความสงบน่งิ จิตสวา่ งไสวลอยเดน่ อยเู่ หนือกาย กายเบา
จติ เบา เม่ือท่านจะปฏิบตั ใิ นคราวตอ่ ไป กพ็ ิจารณากายคตาสติ
ไมต่ อ้ งไปบรกิ รรมภาวนาใหจ้ ิตสงบก่อน พจิ ารณากายคตาสติ
เลย ใหจ้ ิตสงบเพราะกายคตาสตินนั้ เม่ือจิตสงบลงไปแลว้ เม่ือ
มนั จะสงบไปถงึ ไหน ละเอยี ดแคไ่ หนปลอ่ ยมนั สงบไป เม่ือมนั
ถอนจากความสงบขนึ้ มาแลว้ ก็เม่ือรูส้ กึ วา่ มีกายปรากฏ
ความคิดเกิดขนึ้ ใหก้ าํ หนดตามรูอ้ ารมณจ์ ติ ของตวั เองไปดว้ ย
ความมีสตสิ มั ปะชญั ญะ น่ีคอื แนวทางการปฏิบตั มิ ีอยแู่ คน่ ี้

22

อา้ ว ทีนีเ้ ป็นปัญหาขอ้ ท่ีสอง การทาํ พิธีแบบโยเลเป็น
กิจกรรมของพระพทุ ธศาสนาหรอื ไม่ และเวลานีม้ ีคนนิยมมาก

ไดเ้ คยพดู อย่เู สมอวา่ สมาธิเป็นหลกั ธรรมเป็นกลางๆ ไม่
สงั กดั ในลทั ธิและศาสนาใดๆทงั้ สนิ้ โยเลเป็นวธิ ีปฏิบตั สิ มาธิอกี
แบบหนง่ึ ตามความเขา้ ใจของผนู้ าํ ลทั ธินหี้ รอื ผจู้ ดั เจนในการ
ปฏบิ ตั ิตามลทั ธิวธิ ีอนั นี้ แตอ่ ย่ใู นเกณฑท์ ่ีจดั เขา้ ในพวกประเภท
สมาธิเหมือนกนั เราจะถือวา่ เป็นสมาธิในหลกั พระพทุ ธศาสนาก็
ได้ เป็นหลกั สมาธิในลทั ธิโยเลก็ได้ เป็นสมาธิในศาสนาครสิ ต์
อสิ ลามอะไรก็ได้ เพราะคาํ วา่ สมาธิน่ีเป็นหลกั กลางๆ ไม่ได้
สงั กดั ในลทั ธิและศาสนาใดๆทงั้ สนิ้

แตว่ ธิ ีการคอื วธิ ีการปฏบิ ตั ิจติ ใหม้ ีสมาธินนั้ อาจจะมีสงั กดั
ในลทั ธิและศาสนานนั้ ๆ แตค่ วามท่ีจติ เป็นสมาธิสามารถใชก้ าร
ได้ มนั เป็นสมาธิสรุปลงในหลกั อนั เดียวกนั คือจิตมีความสงบ
และมีวิตก วิจาร ปีติ สขุ เอกคั คตาเหมือนกนั แตส่ มาธิอ่นื ๆ
นอกจากหลกั ของพระพทุ ธเจา้ เป็นสมาธิท่ที าํ ขนึ้ เพ่ือประโยชน์
ในปัจจบุ นั เป็นสว่ นใหญ่ โยเลน่ีเทา่ ท่ีไดท้ ราบ มนั เป็นวธิ ีการใช้

23

พลงั จิตอีกแบบหนง่ึ เก่ียวกบั การรกั ษาโรคภยั ไขเ้ จ็บ และเป็น
วิธีการสามารถท่ีปฏิบตั ิแลว้ สามารถทาํ จติ ใหม้ ีความสงบสบาย
ไดเ้ หมือนกนั

แมใ้ นลทั ธิของพระพทุ ธศาสนาของเราน่ีเราก็สามารถท่ีจะ
ทาํ สมาธิแลว้ ใชพ้ ลงั จิตไปรกั ษาโรคภยั ไขเ้ จ็บได้ แมแ้ ตใ่ นลทั ธิ
ไสยศาสตรพ์ วกเวทมนตรค์ าถา เคา้ ก็ใชส้ มาธิไปรกั ษาโรคภยั ไข้
เจ็บได้ เชน่ วิชาอาคมมนตต์ อ่ กระดกู เป็นตน้ อนั นกี้ ็ใชพ้ ลงั สมาธิ
แตส่ มาธิท่ีใชโ้ ดยท่วั ๆไปเก่ียวกบั รกั ษาโรคภยั ไขเ้ จบ็ ก็ดี หรอื
เก่ียวกบั เวทมนตรค์ าถาทางไสยศาสตรก์ ็ดี เป็นสมาธิท่ีมจี ดุ เรม่ิ
ดว้ ยความเช่ือม่นั ในเม่ือใครจะใชพ้ ลงั จิตไปในทางใด ตอ้ ง
อาศยั ความเช่ือม่นั อนั นีเ้ ป็นเบือ้ งตน้ แตบ่ างท่านก็ไม่เพียงแค่
วา่ อาศยั ความเช่ือม่นั เพียงอยา่ งเดยี ว สามารถท่ีจะทาํ สมาธิให้
ลกึ ลงไปเป็นอปุ จาระสมาธิ หรอื ขนาดฌาณสมาบตั ิขนั้ ท่ี๑ คือ
ปฐมฌาณ ซง่ึ ประกอบดว้ ยวิตก วจิ าร ปี ติ สุข เอกคั คตา

เม่ือสามารถทาํ จิตใหส้ งบลงไปอย่ใู นระดบั ท่ีกาํ ลงั เกิดปีติ
หรอื มีความสวา่ งขนึ้ มา เคา้ สามารถท่ีจะเพง่ กระแสจิตไปถ่าย

24

กาํ ลงั ใหใ้ ครตอ่ ใครก็ได้ หรอื ไม่อยา่ งนนั้ สามารถท่ีจะเพง่ กระแส
จิตเขา้ ไปตรวจดโู รคภยั ไขเ้ จ็บในรา่ งกายของคนไขก้ ็ได้ เชน่
ยกตวั อยา่ งเชน่ มีพระภิกษุรูปหนง่ึ ในอดีตกาลอนั ใกลน้ ีช้ ว่ งชีวติ
ของเราน่ีแหละ ทา่ นผนู้ นั้ เจบ็ กระเพราะเจบ็ ทอ้ งอยู่ ไม่หายซกั ที
ท่านอาจารยจ์ นั ทร์ เขมปัตโต ไปรูเ้ ขา้ ทา่ นก็จบั พระองคน์ นั้ มา
น่งั ขา้ งหนา้ ทา่ น ทา่ นพดู คลา้ ยๆกบั วา่ พดู ทีเลน่ ทีจรงิ ไหนดซู ิ
ทาํ ไมมนั เจ็บทอ้ งไมห่ ายซกั ที มา จะตรวจโรคให้ พอทา่ นน่งั
กาํ หนดจติ อยแู่ พลบ็ หน่งึ ทา่ นก็ลมื ตาขนึ้ มา โอย้ มนั จะไม่เจบ็
อย่างไร ไปกินเบด็ เขา้ ไปตงั้ หลงั มนั เกาะอยผู่ นงั กระเพาะน่นั ไป
เคยี้ วหวั ปลาหมอใช่มยั้ พระองคน์ นั้ บอกวา่ ใช่ น่นั แหละเบด็ มนั
ติดอย่หู วั ปลาน่นั แลว้ มนั กลนื เขา้ ไปมนั ไปเกาะอยผู่ นงั กระเพาะ
ไปหาหมอใหห้ มอเอาออกใหซ้ ะ ทนี ีพ้ ระองคน์ นั้ ก็ไปหาหมอ
หมอก็ผา่ ออกใหแ้ ลว้ มนั ก็หาย

อยา่ งเนีย้ แมแ้ ตใ่ นลทั ธิศาสนาพทุ ธของเราก็ยงั มีผใู้ ชพ้ ลงั
จิตสาํ หรบั รกั ษาโรคอยู่ และคาํ ตอบในทอ่ นตอ่ ไป คาํ ถามใน
ทอ่ นตอ่ ไปวา่ เวลานีม้ ีคนเคา้ นิยมไปมาก ท่ีเคา้ นิยมกนั มากก็

25

เพราะเหตวุ า่ โยเลน่ีเป็นของตา่ งประเทศนาํ มาคือญ่ีป่นุ โดย
นิสยั คนไทยของเราไมช่ อบของเก่า และไมช่ อบสมบตั ิท่ีเรามีอยู่
เราจงึ หลงไปเช่ือคาํ โฆษณาเคา้ แลว้ ก็ไปนยิ มชมชอบเชน่ อย่าง
ลทั ธิไสบาบาเป็นตน้ ของๆเราน่ีถา้ จะพจิ ารณากนั ใหซ้ งึ้ ดใู หด้ ี
แลว้ คนของเราก็สามารถท่ีจะทาํ สมาธิเพ่ือรกั ษาโรคภยั ไขเ้ จ็บ
ได้ ก็ถา่ ยพลงั จิตพลงั ใจใหก้ นั ไดต้ ามความเช่ือถือ และส่ิงเหลา่ นี้
มนั จะเป็นไปไดจ้ รงิ ไหมนนั้ มนั ขนึ้ อยกู่ บั ความเช่ือม่นั ของผทู้ าํ
และผรู้ บั การกระทาํ นนั้ ๆ อนั นีย้ กเอาไวใ้ หท้ า่ นทงั้ หลาย
พิจารณาเอาเอง

และอีกอยา่ งหนง่ึ การฝึกฝนอบรมสมาธิภาวนาของผใู้ หก้ าร
อบรมส่งั สอนสมาธิตามหลกั ของพระพทุ ธศาสนานนั้ อยใู่ นวง
แคบจนเกินไป ไปมองขา้ มสงิ่ เลก็ ๆนอ้ ยๆ แมแ้ ตก่ ารฝึกหดั ทาํ สติ
ตามรูก้ ารยนื เดนิ น่งั นอน รบั ทาน ด่มื ทาํ พดู คิด หรอื เม่ือทาํ
จิตบรกิ รรมภาวนาลงไปแลว้ จิตรูส้ กึ สงบลงนิดหนอ่ ย จิตทิง้
บรกิ รรมภาวนาไปคิดอยา่ งอ่นื ถา้ ใครบอกวา่ ปลอ่ ยใหม้ นั คดิ ไป
แลว้ ทาํ สตติ ามรูเ้ รอ่ื ยไป มนั จะไปขดั กบั มตขิ องนกั ภาวนาใน

26

หลกั ของพระพทุ ธศาสนา ทงั้ นีอ้ าจจะเป็นเพราะความ
รูเ้ ท่าไม่ถงึ การณ์ ความเขา้ ใจในหลกั การภาวนาหรอื
ประสบการณภ์ ายในจติ ในการภาวนายงั อย่ใู นวงแคบ เราจงึ ไป
จาํ กดั จาํ เข่ยี วา่ ตอ้ งทาํ อยา่ งนีๆ้ แมพ้ วกเราเองซง่ึ สอนศาสนา
พทุ ธดว้ ยกนั กย็ งั มีการขดั แยง้ กนั เก่ียวกบั เร่อื งความรูค้ วามเหน็
ในทางภมู ิจติ ภมู ิใจ

ถา้ ใครจะนยิ มชมชอบไปเรยี นลทั ธิโยเลกบั เคา้ บา้ งก็ยอ่ ม
เรยี นได้ สนใจได้ ไม่ใช่มจิ ฉาทิฐิ เพราะมนั เป็นอบุ ายท่ีทาํ จติ ให้
สงบลงไดเ้ หมือนกนั ถา้ ทาํ จรงิ แตส่ มาธิท่ีเราฝึกอบรมอยนู่ ีม้ นั
เป็นกลางๆ ถา้ อยากจะใหส้ มาธิท่ีปฏิบตั ิตามแบบไหนอย่างไรให้
มนั เกิดประสทิ ธิภาพในทางท่ีจะขจดั กิเลส ชาํ ระจติ ใหบ้ รสิ ทุ ธ์
สะอาด ตอ้ งมีศลี อยา่ งต่าํ ศลี ๕ ตอ้ งใหบ้ รสิ ทุ ธิ์สะอาดอยา่ ง
แทจ้ รงิ สมาธินนั้ จงึ จะเป็นไปเพ่ือตรสั รูม้ รรคผลนิพพานได้

แตข่ อยา้ํ อกี อนั หนง่ึ วา่ โยเลสมาธิน่ีมนั ก็ตา่ ง ตา่ งแตช่ ่ือ แต่
เม่ือวิธีกรรมในการปฏิบตั ิก็แมน้ เหมือนกนั บางทีก็บางท่านก็ให้
ทอ่ งคาถาบรกิ รรมภาวนา บางท่านก็ใหน้ ่งั ลืมตาอย่เู ฉยๆ บาง

27

ท่านก็ใหน้ ่งั หลบั ตามองดคู วามคดิ ของตวั เอง บางทา่ นก็ให้
พิจารณาโนน่ น่ี ซง่ึ สารพดั แลว้ แตค่ วามเขา้ ใจ รวมความแลว้ วา่
เป็นวธิ ีทาํ สมาธิทงั้ นนั้ และการทาํ สมาธิน่ีเป็นหลกั กลางๆไม่
สงั กดั ในลทั ธิและศาสนาใด ถา้ เราจะทาํ สมาธิตามหลกั ของ
พระพทุ ธศาสนาตอ้ งมีศลี ๕ เป็นหลกั ประกนั ความปลอดภยั น่ี
ขอใหท้ าํ ความเขา้ ใจอย่างนี้

เป็นอนั วา่ การตอบปัญหานี้ ทงั้ สองขอ้ นีเ้ ป็นอนั เสรจ็ สนิ้ ลง
ไป เม่ือทา่ นไดน้ ่งั ฟังคาํ ตอบปัญหาสองขอ้ นี้ เราเรม่ิ กิจกรรมของ
เราตงั้ แต่ ๙ นาฬกิ า ก็บดั นีก้ ็ ๑๐ นาฬิกาแลว้ ตอบปัญหาสอง
ขอ้ ใชเ้ วลาหนง่ึ ช่วั โมง และทา่ นทงั้ หลายก็ไดน้ ่งั สมาธิ ๑ ช่วั โมง
เช่นเดียวกนั เสยี งท่ที า่ นไดย้ นิ ดว้ ยหู เม่ือทา่ นทาํ สตริ ูอ้ ยกู่ บั เสียง
นนั้ เสยี งเป็นอารมณจ์ ิต ทา่ นฝึกสมาธิเพราะอาศยั เสยี งดว้ ย
ความมีสติสมั ปะชญั ญะรูอ้ ยกู่ บั เสียงนนั้ เม่ือตาของทา่ นเหน็ รูป
ทา่ นมีสติรูอ้ ยกู่ บั การเห็นนนั้ ทา่ นฝึกสมาธิอยกู่ บั ตากบั รูป เม่ือ
จมกู ทา่ นไดก้ ลิ่นอะไร ทา่ นมีสติรูอ้ ยกู่ บั กบั กล่นิ นนั้ มีสติรูอ้ ย่กู บั
ส่งิ นนั้ ในปัจจบุ นั ทา่ นฝึกสมาธิเพราะอาศยั กล่นิ เป็นอารมณ์

28

ท่านรบั ทานอะไร รูส้ กึ รสในการสมั ผสั ลนิ้ ทา่ นมีสตริ ูอ้ ยกู่ บั ส่ิงนนั้
ฝึกสตกิ บั ส่ิงนนั้ เป็นการฝึกสมาธิกบั รสอาหาร กายทา่ นสมั ผสั
อนั ใดทา่ นมีสตริ ูอ้ ยกู่ บั สมั ผสั นนั้ หรอื ทา่ นอาจจะพจิ ารณาไปวา่
สมั ผสั เย็นรอ้ นออ่ นแข็งใดๆ ซง่ึ สดุ แทแ้ ตท่ า่ นจะพิจารณาดว้ ย
ความมีสติ ทา่ นก็ไดฝ้ ึกสมาธิอยกู่ บั สมั ผสั นนั้ ๆ ความคิดอนั ใดท่ี
เกิดดบั อย่กู บั จติ ท่านกาํ หนดจติ ทาํ สติตามรูค้ วามคิดท่ีเกิดดบั
อย่กู บั จติ ตลอดเวลา รูอ้ ยทู่ กุ ขณะจิต ทา่ นก็ไดท้ าํ สมาธิกบั
อารมณจ์ ติ ท่ีเกิดดบั อยใู่ นปัจจบุ นั และพรอ้ มๆกนั นนั้ จะไดช้ ่ือวา่
ท่านไดเ้ จรญิ วิปัสสนาไปพรอ้ มกนั

ก่อนท่ีจะจบนขี้ อยา้ํ อกี ทีหนง่ึ วา่ คาํ วา่ สมถะก็ดี วิปัสสนาก็ดี
เป็นแตว่ ิธีการปฏบิ ตั เิ ทา่ นนั้ การปฏบิ ตั ิดว้ ยการบรกิ รรมภาวนา
การเพง่ กสิณหรอื การพจิ ารณาอะไรใหร้ ูค้ วามเป็นจรงิ ของส่งิ นนั้
เพียงแตร่ ูว้ า่ สงิ่ นีเ้ ป็นสิ่งนีเ้ ทา่ นนั้ เชน่ พิจารณาวา่ ผม ขน เลบ็ ฟัน
หนงั เหน็ เป็นผม ขน เลบ็ ฟัน หนงั อนั นีเ้ ป็นการปฏิบตั ใิ นภมู ขิ นั้
แห่งสมถะ ถา้ การปฏบิ ตั ิตามแบบการใชค้ วามคิด พิจารณามี
จิต มีแนวโนม้ ไปสพู่ ระไตรลักษณค์ อื อนิจจัง ทุกขงั อนัตตา

29

คดิ วา่ ทกุ สงิ่ ทกุ อย่างในโลกนีเ้ ป็นอนิจจงั ทกุ ขงั อนตั ตา ซง่ึ เราใช้
ความคดิ พิจารณาตามสติพลงั ความสามารถท่ีเราจะคิดมาก
นอ้ ยเพียงใด เป็นการปฏิบตั ติ ามแบบวปิ ัสสนา

แตจ่ ดุ มงุ่ หมายของทงั้ สองอย่างนีเ้ พ่ือฝึกหดั จิตใหเ้ กิดมี
ความสงบ มีปีติ มีความสขุ และมีความเป็นหนง่ึ ใหจ้ ิตมีสมาธิ มี
สติปัญญาสามารถพิจารณาสภาวะธรรมใหร้ ูแ้ จง้ เหน็ จรงิ ตาม
กฏของธรรมชาติคอื อนิจจงั ทกุ ขงั อนตั ตา เป็นอบุ ายวธิ ีใหเ้ รา
สามารถมองเหน็ ทกุ ข์ สมทุ ยั นโิ รธ มรรคภายในจิตของเรา
ในขณะจิตเดียวพรอ้ มกบั ความรูเ้ หน็ อนิจจงั ทกุ ขงั อนตั ตานนั้ ๆ
อนั นีค้ อื ความประสงค์ ความแตกตา่ งก็เพยี งแตว่ ธิ ีการ เม่ือ
ความเป็นแลว้ มนั เป็นอย่างเดยี วกนั

ทีนถี้ า้ หากวา่ สมาธิอนั ใดไปสงบน่งิ อยู่ ไมม่ ีความรูค้ วามเห็น
อนั ใดเกิดขนึ้ สมาธิอนั นนั้ เป็นสมาธิในฌาณ ทางดาํ เนนิ ของ
ฌาณก็ไปแบบฤาษี ๑ ๒ ๓ ๔ อากาศ (อากาสนัญจายตนะ)
วญิ ญาณ (วญิ ญาณัญจายตนะ) อากญิ จัญญายตนะ เนว
สัญญานาสญั ญายตนะ ว่ิงไปตามวถิ ีแหง่ สมาบตั ิ ๘ ทีนถี้ า้ หา

30

กวา่ วถิ ีจิตดวงใดท่ีสามารถทาํ สมาธิดว้ ยวธิ ีอบุ ายอยา่ งใดอย่าง
หนง่ึ เกิดขนึ้ แลว้ จติ ประกอบดว้ ยวติ ก วจิ าร ปีติ สขุ เอกคั คตา มี
การคน้ ควา้ พจิ ารณาอารมณจ์ ติ อยตู่ ลอดเวลา จิตดวงนีก้ ็เป็นจติ
ท่ีดาํ เนินไปสทู่ างแหง่ วปิ ัสสนากรรมฐาน เม่อื จติ ยงั มีวติ กวิจาร
อยู่ จิตเดนิ วิปัสสนา ถา้ จติ หยดุ วติ กวิจาร ไปสงบน่ิงเป็นจติ
สมถะ

ทีนีเ้ ม่ือจติ เดนิ ทางวิปัสสนากาํ หนดรูส้ ่งิ ท่ีเกิดดบั ภายในจติ
ตลอดเวลา เม่อื จิตรูแ้ จง้ เห็นจรงิ วา่ สงิ่ นีเ้ ป็นอย่างนี้ พจิ ารณา
อนิจจงั ก็รูอ้ นิจจงั พิจารณาทกุ ขงั รูท้ กุ ขงั พจิ ารณาอนตั ตา รู้
อนตั ตา ในเม่อื รูแ้ จง้ เห็นจรงิ แลว้ จิตตดั กระแสไปสงบน่ิง มีปีติ มี
ความสขุ บงั เกิดขนึ้ บางทกี ็สงบละเอยี ดลงไปจนวติ กวจิ ารหาย
ปีตสิ ขุ หาย แลว้ ก็ยงั เหลือแตเ่ อกคั คตาและอเุ บกขา แลว้ ก็เขา้ ๆ
ออกๆอยู่ ประเด๋ยี วก็เขา้ ไปสคู่ วามสงบน่ิง ประเด๋ียวก็โผลม่ ารบั
อารมณพ์ ิจารณา อนิจจงั ทกุ ขงั อนตั ตา พอไดค้ วามแลว้ ก็ว่งิ เขา้
ไปสคู่ วามสงบ เม่ือจิตพจิ ารณาอนิจจงั ทกุ ขงั อนตั ตาอยู่ ยงั คดิ
ไดอ้ ย่นู ่นั เป็นภาคปฏิบตั ิ ถา้ จิตตดั สนิ ลงไปวา่ น่ีคืออนิจจงั ไม่

31

เท่ียง น่นั เป็นวปิ ัสสนา แตจ่ ติ กาํ ลงั คดิ วา่ น่ีอนิจจงั ทกุ ขงั อนตั ตา
ดว้ ยความตงั้ ใจ อนั นนั้ น่นั เป็นภาคปฏบิ ตั ิ (เทปจบ)

ท่ีมา: https://youtu.be/9bt58hABI8w

32


Click to View FlipBook Version