The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

เวรกรรมตัดได้จริงหรือ โดย หลวงพ่อพุธ

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by ทีมงานกรุธรรม, 2022-02-11 20:24:50

เวรกรรมตัดได้จริงหรือ โดย หลวงพ่อพุธ

เวรกรรมตัดได้จริงหรือ โดย หลวงพ่อพุธ

Keywords: เวรกรรมตัดได้จริงหรือ,หลวงพ่อพุธ

เวรกรรมตดั ได้จริงหรือ
หลวงพอ่ พธุ ฐานิโย

โอกาสนีเ้ ป็นวาระท่ีอาตมภาพจะไดแ้ สดงธรรม แสดงธรรม
อนั เป็นธรรมคาํ สอนของสมเดจ็ พระสมั มาสมั พทุ ธเจา้ ดงั นนั้
ขอใหท้ ่านทงั้ หลายจงกาํ หนดทาํ สติรูท้ ่ีจติ ของเราเอง แตล่ ะ
ทา่ นๆ ใหก้ าํ หนดรูท้ ่ีจิตของตนเอง แลว้ เม่ือเรากาํ หนดรูท้ ่ีจติ ของ
เราเอง เราจะรูไ้ ดท้ นั ทวี า่ ท่ีเราตงั้ ใจจะกาํ หนดรูจ้ ติ ของเราเองได้
ความตงั้ ใจเกดิ ขนึ้ ไดเ้ พราะอาศยั กายเป็นเครอ่ื งชว่ ย ดงั นนั้ ใน
เม่ือกายกบั จิตยงั มีความสมั พนั ธก์ นั อย่ตู ราบใด เราก็สามารถท่ี
จะนอ้ มจิตนอ้ มใจนกึ ถงึ โนน่ ถงึ น่ี โดยเจตนา

ธรรมะท่ีวา่ เป็นคาํ สอนของพระพทุ ธเจา้ นนั้ แบง่ ออกไดเ้ ป็น
สองประเภท ประเภทหนง่ึ ธรรมะอนั เป็นอารมณส์ ิ่งรูข้ องจติ ของ
พระพทุ ธเจา้ เป็นส่งิ ระลกึ ของสตขิ องพระพทุ ธเจา้ หมายถงึ
ธรรมะท่ีมีอยโู่ ดยธรรมชาตซิ ง่ึ เราเรยี กวา่ สภาวะธรรม
สภาวะธรรมเรากาํ หนดหมายเอาอะไร กายกบั ใจเป็น
สภาวะธรรม สถานการณแ์ ละสิง่ แวดลอ้ มก็เป็นสภาวะธรรม

1

รวมทงั้ วชิ าความรูท้ ่ีเราเรยี นมาทงั้ สายโลกสายธรรม รวม
เรยี กวา่ สภาวะธรรมทงั้ นนั้ สภาวะธรรมทงั้ หลายเหลา่ นเี้ ป็นสิ่งท่ี
มีอย่เู กา่ แกด่ งั้ เดิมตงั้ แตพ่ ระพทุ ธเจา้ ยงั ไมไ่ ดอ้ บุ ตั ขิ นึ้ ในโลก
เพราะวา่ กายกบั ใจของคนท่ีเกิดก่อนนนั้ มีกอ่ นพระพทุ ธเจา้ วิชา
ความรูใ้ นสงิ่ ตา่ งๆสถานการณแ์ วดลอ้ มมีกอ่ นพระพทุ ธเจา้ เกิด

ดงั นนั้ เม่ือพระพทุ ธเจา้ ท่านเกิดมาแลว้ ทา่ นก็มารูค้ วามจรงิ
ของสภาวะธรรมคอื ธรรมชาติทงั้ หลายเหลา่ นนั้ ในศาสนาพทุ ธ
พระพทุ ธเจา้ ไม่เคยประกาศทา้ ทายวา่ เราไดส้ รา้ งส่งิ โนน่ ส่ิงน่ี
ขนึ้ มาในโลก ฉนั เป็นคนสรา้ งโลก พระพทุ ธเจา้ ไม่เคยกลา่ ว ฉนั
เป็นคนสรา้ งมนษุ ย์ พระพทุ ธเจา้ ไม่เคยกลา่ ว ฉนั เป็นคนสรา้ งทกุ
สิง่ ทกุ อย่างในโลกนี้ พระพทุ ธเจา้ ไมเ่ คยกลา่ ว ไมเ่ คยจรงิ ๆ ไม่
เหมือนศาสนาอ่นื ศาสนาอ่นื เคา้ จะกลา่ วหรอื ไม่กลา่ ว เราไม่
สนใจ เพราะเวลานีเ้ ราเป็นชาวพทุ ธสนใจในเร่อื งพทุ ธศาสนา
ดงั นนั้ เรายอมรบั วา่ พระพทุ ธเจา้ ของเราเน่ยี ทา่ นไม่ไดส้ รา้ งอะไร
ขนึ้ ในโลกนี้ แตห่ ากท่านเป็นผสู้ ามารถสรา้ งความเป็นความ
พระพทุ ธเจา้ ขนึ้ ในโลกและพระองคเ์ คยประกาศกลา่ วทา้ ทายวา่

2

เราสามารถรูธ้ รรม รูธ้ รรมะของจรงิ ก็เรยี กวา่ สจั ธรรม คอื อริยสัจ
๔ ทุกข์ สมุทยั นิโรธ มรรค น่ีอนั นีพ้ ระพทุ ธเจา้ ท่านประกาศ
จรงิ ๆวา่ ทา่ นรู้

แตท่ า่ นก็รูธ้ รรมะท่ีมนั มีอยแู่ ลว้ ทกุ ขจ์ รงิ ๆก็เป็นสง่ิ ท่มี ีอยู่
แลว้ กอ่ นพระองคเ์ กิด เหตใุ หเ้ กิดทกุ ขค์ อื ความทะเยอทยานก็มี
ก่อนแลว้ แตท่ วา่ จะยงั มีไมส่ มบรู ณก์ ็คือการดบั ทกุ ขห์ รอื ความรู้
จรงิ ตามกฏธรรมชาตวิ า่ อะไรเป็นเหตใุ หท้ กุ ขเ์ กิด อะไรเป็นเหตุ
ใหท้ กุ ขด์ บั อนั นีค้ นอ่นื ยงั รูไ้ มช่ ดั เจน แตพ่ ระพทุ ธเจา้ ของเรานนั้
พระองคร์ ูแ้ จง้ ชดั เจน หายสงสยั ไมไ่ ดส้ กั แตว่ า่ รู้ รูแ้ ลว้ ก็คยุ กนั ได้
รูแ้ ลว้ สามารถท่ีจะหนที กุ ข์ ทาํ จิตทาํ ใจของพระองคใ์ หห้ นีทกุ ข์
หนีรอ้ น พน้ ทกุ ขพ์ น้ รอ้ น ท่ีเคยเวยี นวา่ ยตายเกิดทนทกุ ขท์ รมาน
อย่ใู นวฏั สงสารนี้ เพราะพระองคส์ ามารถสรา้ งคณุ ธรรมท่ที าํ คน
ใหเ้ ป็นพระพทุ ธเจา้ เกิดขนึ้ มาในจติ ในใจหรอื ในพระทยั พระองค์
ท่าน อนั นีเ้ ป็นธรรมะท่ีพระพทุ ธเจา้ ทรงทราบและทรงรู้

นอกจากจะรูจ้ รงิ วา่ น่ีทกุ ขจ์ รงิ ๆ น่ีเป็นเหตใุ หเ้ กิดทกุ ข์ แลว้
ยงั สามารถรูท้ างปฏบิ ตั ิเพ่ือความดบั ทกุ ข์ เราพากนั นบั ถือพทุ ธ

3

ศาสนา เราปฏิญาณตนถงึ พระพทุ ธเจา้ วา่ เป็นสรณะท่พี ่งึ ท่ี
ระลกึ หมายความวา่ เราจะรบั เอาพระองคเ์ ป็นพระบรมศาสดา
คือเป็นครูส่งั สอน เวลานีส้ มมตุ วิ า่ พวกท่านทงั้ หลายกาํ ลงั เดนิ
เขา้ มาสสู่ ถาบนั การศกึ ษาแห่งหนง่ึ จะพบวา่ ไปเขา้ โรงเรยี นแหง่
หนง่ึ ในเม่ือกา้ วเขา้ ไปสสู่ ถาบนั นนั้ ทา่ นจะตอ้ งดใู หร้ ูจ้ กั ระเบยี บ
ของสถาบนั นนั้ ๆ เรม่ิ ตน้ ตงั้ แตเ่ สียคา่ ธรรมเนียมเขา้ เรยี น และ
ระเบยี บการปฏิบตั ิภายในโรงเรยี น เม่ือทา่ นเขา้ ไปสสู่ ถาบนั นนั้
ท่านจะตอ้ งปฏบิ ตั ติ ามกฏระเบียบของสถาบนั ซง่ึ สดุ แทแ้ ต่
สถาบนั เคา้ จะตงั้ ขนึ้

ในทาํ นองเดียวกนั เม่ือเรามาสสู่ ถาบนั แหง่ พระพทุ ธศาสนา
และไดป้ ฏญิ าณตน รบั เอาพระพทุ ธเจา้ เป็นพระบรมครูผทู้ ่ีจะ
อบรมส่งั สอนเรา เม่ือเรากลา่ วคาํ ปฏญิ าณถงึ ทา่ นวา่ พทุ ธัง
สรณัง คจั ฉามิ ขา้ พเจา้ ถือพระพทุ ธเจา้ วา่ เป็นสรณะท่ีพง่ึ ท่ี
ระลกึ ถา้ หากวา่ พระองคน์ ่งั ประทบั อยหู่ นา้ เรา พระองคค์ งจะ
รบั ส่งั ถามวา่ เธอจะเอาจรงิ มยั้ ถา้ เราตอบวา่ จะเอาจรงิ หากเอา
จรงิ ฉนั จะใหข้ อ้ ปฏิบตั ิ ขอ้ ปฏิบตั ิเพียง ๕ ขอ้ ขอ้ ปฏบิ ตั ิ ๕ ขอ้ นนั้

4

คืออะไรพระเจา้ ขา้ ขอ้ ปฏบิ ตั ิ ๕ ขอ้ นนั้ คอื ศลี ๕ ขอ้ น่นั เอง ถา้
เราตอบท่านวา่ ไม่สามารถท่ีจะรบั ปฏิบตั ิได้ พระองคก์ ็คงจะบอก
วา่ เม่ือรบั ปฏบิ ตั ิไม่ไดก้ ็ชว่ ยไมไ่ ดจ้ รงิ ๆ เพราะอะไร เพราะขอ้
ปฏิบตั ิอนั เป็นจดุ เรม่ิ ตน้ ของบคุ คลผเู้ ขา้ มาสสู่ ถาบนั ของเรา
ตถาคต จะตอ้ งปฏิบตั ติ ามกฏ ๕ ขอ้ นี้

เพราะฉะนนั้ ตามขนบธรรมเนียม เราจะทาํ บญุ กศุ ลอะไรให้
ทาน หรอื จะฟังธรรม ฟังพระสวดมนต์ เราก็ตอ้ งปฏญิ าณตนตอ่
พระพทุ ธเจา้ และก็รบั เอาศีล ๕ เป็นหลกั ปฏบิ ตั ิ เพราะมนั เป็น
กฏเป็นระเบียบ เป็นขอ้ ปฏิบตั ิท่ีเราจะตอ้ งพยายามปฏบิ ตั ิใหไ้ ด้
ในฐานะท่ีเป็นอบุ าสกอบุ าสกิ า ภิกษุสามเณรในพทุ ธศาสนา
เพราะวา่ ศลี ๕ ประการนีม้ นั เป็นจดุ กาํ เนิดแห่งการทาํ ความดี
สพพฺ ปาปสสฺ อกรณํ (สพั พะปาปะสะ อะกะระณงั ) การไม่ทาํ
บาปทงั้ ปวง การไมท่ าํ บาปทงั้ ปวงก็คอื หมายถงึ วา่ การไม่
ประพฤติผดิ ศีล ๕ ถา้ ใครจะไม่ทาํ บาปทงั้ ปวง ตอ้ งยดึ เอาหลกั
๕ ขอ้ นีเ้ ป็นหลกั ปฏบิ ตั ิ ทาํ ไม เพราะศีล ๕ ประการนีเ้ ป็นบญั ญตั ิ
ท่ีอาศยั หลกั ความจรงิ โดยธรรมชาติ

5

ฆา่ สตั วเ์ ป็นบาป ไม่มีใครไปแตง่ ตงั้ หรอื สรา้ งตวั บาปขนึ้ มา
ตดั คนผฆู้ า่ สตั ว์ แตห่ ากมนั เป็นกฏความจรงิ ของธรรมชาตมิ าแต่
ดงั้ เดมิ อทนิ นาทาน การลกั ขโมย กาเมสมุ จิ ฉา มสุ าวาท สรุ า
ขอ้ ทงั้ หลายเหลา่ นี้ ใครละเมดิ ลว่ งเกนิ และปฏบิ ตั ผิ ดิ ลงไป บาป
กนั ทกุ คนไม่เลอื กหนา้ เพราะมนั เป็นบาปโดยกฏของธรรมชาติ
หลีกเล่ียงไมไ่ ด้ ใครทาํ ลงไปแลว้ จะนกึ วา่ ฉนั ทาํ เลน่ ๆ ฉนั ไม่
ตอ้ งการผล ก็หลีกเล่ยี งไม่ได้ เพราะเจตนาท่ีจะทาํ บาปตามศีล
๕ ขอ้ นนั้ ถา้ หากเป็นเจตนาสมบรู ณ์ ในเม่ือทาํ สาํ เรจ็ ลงไปดว้ ย
เจตนาคอื ความตงั้ ใจ ผลบาปยอ่ มบงั เกิดขนึ้ โดยกฏของ
ธรรมชาติ จติ จะบนั ทกึ เอาไว้ จติ ใตส้ าํ นกึ จะบนั ทกึ เอาผลงานคือ
การกระทาํ นนั้ ไวโ้ ดยอตั โนมตั ิ

เพราะฉะนนั้ เพราะศีล ๕ นเี้ ป็นกฏเกณฑท์ ่ีเราจะพงึ ปฏบิ ตั ิ
เพ่ือละเวน้ บาปกรรมโดยเจตนาตามกฏของธรรมชาติ อนั นีพ้ ดู
ถงึ วา่ เจตนาท่จี ะละความช่วั หรอื การไมท่ าํ บาปทงั้ ปวง ถา้ ใคร
สงสยั ก็ใหพ้ จิ ารณาดศู ลี ๕ ขอ้ นีเ้ ทา่ นนั้ ญาติโยม ผทู้ ่ียงั ไมไ่ ด้
สมาทานศีล ๘ รบั ทานขา้ วเย็นก็ไมบ่ าป ฟอ้ นราํ ขบั รอ้ งประโคม

6

ดนตรี ดกู ารเลน่ เป็นเสีย้ นหนามก็ไมบ่ าป ประดบั ตกแตง่ ดว้ ย
เคร่อื งของหอม เครอ่ื งยอ้ ม เคร่อื งทา ก็ไมบ่ าป ก็ไม่เหน็ มีคมั ภีร์
ใดท่ีพระพทุ ธเจา้ ทา่ นวา่ บาป แตถ่ า้ หากวา่ ใครไดต้ งั้ ใจสมาทาน
วา่ จะปฏบิ ตั ใิ นขอ้ ดงั ท่กี ลา่ วมาแลว้ นนั้ ปฏบิ ตั ไิ ม่ไดเ้ ป็นการ
โกหกตวั เอง เป็นการเสยี สจั จะ ถา้ ผทู้ รงเทศนเ์ ป็นการหลอกลวง
ชาวโลก มนั เป็นบาปเพราะการหลอกลวง แตโ่ ดยธรรมชาติถา้
เราไมม่ ีเจตนาท่ีจะไปรบั เอาศลี นนั้ ๆมาปฏบิ ตั ิ เราอยเู่ ป็น
ฆราวาสปฏิบตั ิศลี ๕ ใหบ้ รสิ ทุ ธิ์ บรบิ รู ณด์ ี และทาํ อยา่ งอ่ืน
บาปกรรมมนั ไม่มี รบั ทานขา้ วเยน็ ก็ไมบ่ าป หรอื ละเมดิ ลว่ งเกิน
ตงั้ แตข่ อ้ วิกาลโภชนาจนถงึ ขอ้ ชาตรูป (ชาตรูปรชตปฏคิ ฺคหณา)
ก็ไมบ่ าปสาํ หรบั คฤหสั ถโ์ ดยท่วั ๆไป

ดงั นนั้ ถา้ ทา่ นผใู้ ดขอ้ งใจสงสยั วา่ ท่ีพระพทุ ธเจา้ สอนใหล้ ะ
บาปทงั้ ปวงนนั้ เราจะละกนั ท่ีตรงไหน พงึ ทาํ ความเขา้ ใจวา่ การ
ละบาปโดยเจตนาหรอื ความตงั้ ใจคือศีล ๕ ขอ้ ถา้ เราทาํ ความ
เขา้ ใจใหช้ ดั เจนอยา่ งนี้ เราก็ไม่ตอ้ งไปไขวค่ วา้ วา่ เราจะไปละ

7

อะไรท่ีไหน เม่ือเรามีศีล ๕ บรสิ ทุ ธิ์บรบิ รู ณแ์ ลว้ ศีล ๕ ปฏิบตั ไิ ด้
เป็นอบุ ายบ่นั ทอน ตดั ทอน ผลเพ่มิ ของบาปกรรม

วนั นีญ้ าติโยมทกุ คนเป็นผมู้ ีศลี ๕ ตงั้ ศีล ๕ ขนึ้ ไป หรอื
จนกระท่งั ๒๒๗ ของพระภิกษุสงฆส์ ามเณร นบั ตามเตมิ แตเ่ รา
ตงั้ เจตนาละเวน้ โดยเดด็ ขาดแลว้ เป็นการตดั ผลเพ่ิมของ
บาปกรรม บาปกรรมท่ีมีอยู่ แตม่ ีอย่เู ม่ือกอ่ นนีจ้ าํ นวนเทา่ ไหร่ ก็
ยงั อย่เู พียงแคน่ นั้ เพราะเราไมไ่ ดท้ าํ เพ่มิ สตั วก์ ็ไมไ่ ดฆ้ า่ อทินนา
ก็ไม่ไดล้ กั ขโมย กาเมสมุ ิจฉาจารา ก็ไม่ไดข้ ่มเหงนา้ํ ใจ มสุ าวาท
ก็ไม่ไดโ้ กหกหลวงลวง สรุ าก็ไมไ่ ดม้ วั เมาในสิง่ ท่ีจะทาํ ใหเ้ ราเสีย
ผเู้ สยี คน มนั กห็ มดปัญหา ผลบาปไมเ่ พ่ิม ถา้ หากเรามีเจตนา
ตงั้ ใจจะปฏบิ ตั ติ อ่ เน่ืองกนั ไปจนช่วั ชีวิต ตงั้ แตว่ นั นีเ้ ป็นตน้ ไป
บาปมนั ไมไ่ ดเ้ พ่มิ มีแตค่ วามดี มนั จะเพม่ิ ขนึ้ ๆ ในเม่ือไมท่ าํ บาป
มนั ก็มีแตค่ วามดีท่ีจะเพ่ิมขนึ้ ทกุ ปี ทกุ ปี

ท่านผใู้ ดตอ้ งการจะตดั กรรม ตดั เวร กรรมเวรท่ีเราทาํ ไว้
ตงั้ แตเ่ ม่ือกอ่ นนนั้ เราจะไปทาํ พิธีตดั ดว้ ยการลดนา้ํ มนตพ์ ระ
หรอื ไปไหวว้ อนสิง่ ศกั ดิส์ ทิ ธิ์ หรอื จะไปทาํ พธิ ีการอนั ใดเพ่อื ตดั

8

กรรมตดั เวรท่ีเราทาํ ไปแลว้ นนั้ ไมม่ ีทาง ถา้ หากวา่ ตดั เหตนุ นั้
พอจะมที างบา้ ง เช่นสมมตุ วิ า่ เราขอ้ งใจสงสยั วา่ เราอาจจะเป็น
บาปเป็นกรรม หรอื จะมีใครจองกรรมจองเวรเรา คอยพยายามท่ี
จะแกแ้ คน้ เราอยู่ เรานกึ ได้ ทาํ บญุ กศุ ล อทุ ศิ สว่ นกศุ ลใหเ้ ขา
บางทีเขาไดร้ บั สว่ นบญุ สว่ นกศุ ลจากเราแลว้ เคา้ ไดม้ ีถงึ สขุ เคา้
อาจจะมีอโหสกิ รรมใหเ้ ราไดบ้ า้ ง ก็พอท่ีจะตดั ได้ แตเ่ ขาไม่
ยอมรบั อโหสกิ รรมก็จนใจเหมือนกนั

แตว่ า่ กรรมท่ีเราทาํ ลงไปดว้ ยกายดว้ ยวาจา ซง่ึ มีจิตใจเป็นผู้
ตงั้ ใจหรอื บงั คบั บงการโดยเจตนา ทาํ ไปแลว้ ใครตดั ไมไ่ ด้ จะตดั
ไดก้ ็ตอ่ เม่ือบาํ เพญ็ อรหตั ตมรรคใหเ้ กิดขนึ้ สาํ เรจ็ อรหนั ต์ ทงิ้
รา่ งกายสงั ขารนีไ้ ปแลว้ ไมก่ ลบั มาเกิดอีก น่นั แหละจงึ จะตดั
กรรมไดเ้ ด็ดขาด แตว่ า่ วธิ ีการตดั กรรมท่ีเรามองเหน็ ไดช้ ดั ๆ ทงั้
ตดั กรรมดว้ ย ทงั้ ตดั เวรดว้ ยก็คอื ยตุ ิ หยดุ การทาํ บาปทาํ กรรม
ตงั้ แตบ่ ดั นีเ้ ป็นตน้ ไป ในเม่ือเราหยดุ โดยเดด็ ขาดแลว้ ก็ไดช้ ่ือวา่
เป็นการตดั กรรมตดั เวร

9

สงสยั มยั้ ทาํ ไมพระพทุ ธเจา้ จงึ สอนใหเ้ รารกั ษาศลี ๕ มาทาํ
ความเขา้ ใจผลประโยชนข์ องการรกั ษาศลี ๕ ในปัจจบุ นั นีใ้ หม้ นั
ชดั ๆซกั หนอ่ ย เราจะไมต่ อ้ งเกิดความทอ้ แทท้ ่ีจะรกั ษาศลี ๕
พระพทุ ธเจา้ พระองคม์ ีความปรารถนาท่ีจะปอ้ งกนั ไมใ่ หม้ นษุ ย์
เกิดมีการฆา่ กนั คนไมม่ ีศลี ๕ เป็นเหตใุ หฆ้ า่ กนั เราฆา่ เขา เขา
ตอ้ งพยายามฆา่ เรา เราลกั ของเขา ขโมยของเขา เขาก็พยายาม
โตต้ อบเรา เราขม่ เหงนา้ํ ใจเขา กาเมสมุ จิ ฉาจาร เคา้ พยาบาท
เคียดแคน้ เคา้ ก็ฆา่ เอา เราไปโกหกหลอกลวงเคา้ ใหเ้ คา้ เสีย
ทรพั ยส์ มบตั เิ กียรตยิ ศช่ือเสยี ง เคา้ โกรธ เคา้ ก็ฆา่ เอา สรุ าเมาลง
ไปแลว้ คมุ สตไิ ม่อยู่ ประเด๋ยี วพาลพาโลทะเลาะกนั เด๋ยี วก็ไดฆ้ า่
กนั น่ีเรอ่ื งของเร่อื งเป็นอยา่ งนี้ อนั นีเ้ ป็นผลประโยชนท์ ่ีเราจะ
มองเหน็ ไดใ้ นปัจจบุ นั

เม่ือเรามีศีล ๕ เราไม่ฆา่ ข่มเหงเบยี ดเบยี นซง่ึ กนั และกนั มนั
ก็มีแตค่ วามรกั พระพทุ ธเจา้ ตอ้ งการใหม้ นษุ ยม์ ีความรกั กนั และ
อกี อย่างหนง่ึ เพ่ือจะใหม้ นษุ ยท์ งั้ หลายเน่ีย ยดึ เอาธรรม ๕ ขอ้ นี้

10

เป็นขอบเขตของการใชก้ ิเลสใหเ้ กิดประโยชนโ์ ดยความเป็น
ธรรม

ญาตโิ ยมพากนั มารกั ษาศลี ฟังธรรม อะไรพามา ความอยาก
ใชไ่ หม อยากไดค้ ณุ ธรรม อยากไดด้ ิบไดด้ ี อยากไดส้ วรรค์ อยาก
ไดน้ ิพพาน อยากไดบ้ ตุ ร ความอยากตวั นคี้ อื ความโลภ มนั คอย
กระตนุ้ เตอื นใจของเราใหเ้ กดิ ความอยากไดอ้ ยากดอี ยากมี
อยากเป็น กิเลสตวั เป็นเคา้ มลู ในจติ ในใจของเราน่ีคือโลภโกรธ
หลง เช่ือวา่ ทกุ คนไดฟ้ ังเทศนพ์ ระท่ที า่ นแนะนาํ ใหล้ ะโลภโกรธ
หลงกนั มา และเราเช่ือม่นั วา่ เราพยายามท่ีจะละโลภ โกรธ หลง
ใหไ้ ด้ แตเ่ สรจ็ แลว้ มนั ก็ไมม่ ีทาง มนั คลา้ ยๆกบั วา่ เป็นภาระจาํ
ยอมท่ีจะอย่ดู ว้ ยกนั จนช่วั ชีวิต ถา้ หากเราละไดต้ ามคาํ แนะนาํ
ของพระ โอ มนั ก็ดวี เิ ศษนกั หนา อาตมาเองก็อยากละเตม็
ประดา แตบ่ างครงั้ มนั ก็ยงั ฟงุ้ ขนึ้ มาอย่เู หมอื นกนั ก็แสดงวา่ มนั
ยงั ละไมไ่ ด้

ทีนีเ้ รามาปรกึ ษาหารอื กนั ลองดวู า่ ในเม่ือกิเลส โลภ โกรธ
หลง มนั มีอย่ใู นใจเราละไม่ได้ เราจะทาํ อยา่ งไรตอ่ ไป เอา้

11

อาตมาก็โลภ ก็โกรธ ก็หลง ญาติโยมกโ็ ลภ ก็โกรธ ก็หลง พากนั
โลภ โกรธ หลง เวียนวา่ ยตายเกิดในวฏั สงสาร อนั นีห้ ละนบั ไม่
ถว้ นไมร่ ูก้ ่ีภพก่ีชาติกนั มาแลว้ แลว้ มาปัจจบุ นั นเี้ รากพ็ ยายามท่ี
จะละกิเลสโลภ โกรธ หลงกนั แตเ่ สรจ็ แลว้ มนั กย็ งั ละไมไ่ ด้ อา้ ว
ถา้ เราละไม่ได้ เราจะหาประโยชนจ์ ากมนั พอมีทางมยั้ เอาอยา่ ง
นีด้ มี ยั้ ช่างมนั เหอะ มนั มีอยใู่ นจติ ในใจ เอาไวน้ นั้ แตว่ า่ เรา
พยายามหาทางท่ีจะใชม้ นั ใหเ้ กิดประโยชนโ์ ดยความเป็นธรรม
โลภ โกรธ หลงมีอยู่ เอาไวใ้ หม้ นั กระตนุ้ เตอื นความรูส้ กึ ของเรา
ใหเ้ กิดความทะเยอทยานในความอยากได้ อยากดี อยากมี
อยากเป็น คนเราทกุ คนมีสทิ ธิเสรภี าพในการท่ีจะแสวงหาลาภ
ยศ สรรเสรญิ สขุ และอาํ นาจดว้ ยกนั ทงั้ นนั้ ความอยากความ
ตอ้ งการเหลา่ นนั้ มนั ก็อาศยั ความโลภเป็นสิง่ กระตนุ้ เตอื นใหเ้ รา
เกิดมีความอยากเป็นเช่นนนั้

ถา้ หากวา่ เราใชค้ วามอยาก หรอื ความโลภโดยไม่ผดิ
ศลี ธรรม โดยไม่ผิดกฏหมาย โดยไม่ทาํ ใหใ้ ครเดือดรอ้ น ในท่ีสดุ
ตวั เองก็ไม่เดือดรอ้ นเพราะการใชค้ วามโลภนนั้ เพราะเราใช้

12

อย่างมีขอบเขต ขอบเขตท่ีจะพงึ ใชใ้ หเ้ กิดประโยชนโ์ ดยความ
เป็นธรรมก็คอื ศลี ๕ อีกน่นั แหละ เพราะฉะนนั้ เป็นอนั ไดใ้ จความ
วา่ กิเลสมีปลอ่ ยใหม้ นั มีไป ในขณะท่ีเรายงั ละไมไ่ ด้ แตเ่ ราตอ้ ง
พยายามดู ดใู หม้ นั รูว้ า่ เรามีกิเลสตวั นีจ้ รงิ หรอื เปลา่ โลภ โกรธ
หลงยงั มีอยใู่ นจิตในใจของเราหรอื เปลา่ ในเม่ือรูว้ า่ มี ก็ลอง
ละๆๆดู ลองทาํ ทีจะขบั ไลม่ นั ลองไปดู ถา้ เห็นวา่ มนั ไลไ่ มไ่ ด้ ขบั
ออกไปไม่ได้ ละไมไ่ ด้ ก็ตอ้ งพยายามหาทางใชม้ นั ใหถ้ กู ทาง

กฏเกณฑท์ ่ีเราจะใชก้ ิเลสอยา่ งนีไ้ มใ่ หเ้ กิดโทษก็คอื ศลี ๕
น่นั เอง แนะ่ พดู ไปพดู มาก็ไมห่ นีศลี ๕ อกี ประเด๋ยี วผฟู้ ังก็จะมา
คดิ วา่ “พระองคน์ ีเ้ อาแตเ่ รอ่ื งศลี ๕ มาเทศน์ ศีล ๕ นะ่ มนั เร่อื ง
ภมู ติ ่าํ ๆ” ประเด๋ียวจะเขา้ ใจกนั อยา่ งนนั้ ท่ีพดู เชน่ นีก้ ็เพราะบาง
ทีญาติโยมก็อาจจะพยายามท่ีจะละความโลภ ความโกรธ ความ
หลงอยา่ งเตม็ ประดา แตเ่ สรจ็ แลว้ ทาํ ไมยงั ละไมไ่ ด้ บางทีบาง
ท่านเพ่ือนฝงู ชวนเขา้ วดั เขา้ วา ก็บอกวา่ ฉนั ยงั เขา้ ไม่ได้ เพราะยงั
โลภ ยงั โกรธ ยงั หลง คอื คนท่ียงั โลภ ยงั โกรธ ยงั หลงน่นั แหละ
ย่ิงเขา้ วดั ดี ถา้ หมดโลภ โกรธ หลงแลว้ เขา้ ไปเสียเวลาทาํ ไม๊

13

เพราะเรายงั ไม่หมดโลภ โกรธ หลง เราจงึ พยายามท่ีจะเขา้ วดั
เขา้ วดั เพ่ือหาหลกั ธรรม มาเป็นหลกั ปฏบิ ตั ิ เพ่ือเป็นการบ่นั ทอน
กาํ ลงั ของกิเลสโลภ โกรธ หลง ใหน้ อ้ ยลง

เพราะฉะนนั้ ผทู้ ่ียงั มีโลภ มีโกรธ มีหลงอยู่ แตพ่ ยายามใช้
โลภ โกรธ หลง ใหเ้ กิดประโยชนโ์ ดยไมใ่ หผ้ ดิ ศลี ๕ ขอ้ ใดขอ้ หน่งึ
ผนู้ นั้ ไดช้ ่ือวา่ เป็นผไู้ ดป้ ฏิบตั เิ พ่ือบ่นั ทอนกาํ ลงั ของกิเลสให้
นอ้ ยลง เพราะฉะนนั้ จงึ เป็นอนั ไดใ้ จความวา่ ศีล ๕ เน่ยี นอกจาก
จะเป็นอบุ ายตดั ทอนผลเพ่มิ ของบาปกรรม ยงั เป็นอบุ ายบ่นั ทอน
กาํ ลงั ของกิเลส และเป็นขอบเขตของการใชก้ ิเลสใหเ้ กิด
ประโยชนโ์ ดยความเป็นธรรม

และอีกอย่างหน่งึ ศีล ๕ น่ีจะเป็นคณุ ธรรมปรบั พืน้ ฐาน
ความเป็นมนษุ ยใ์ หส้ มบรู ณ์ เคยคิด เคยพจิ ารณาดจู ติ ใจตวั เอง
บา้ งมยั้ อาตมาเคยดตู วั เอง เคยพจิ ารณาดตู วั เอง ในบางครงั้ ก็
รูส้ กึ วา่ ตวั เองเน่ียกลายเป็นสตั วเ์ ดรจั ฉาน บางครงั้ กเ็ หน็ วา่
ตวั เองเป็นเปรต บางครงั้ ก็เหน็ วา่ ตวั เองเป็นเทวดา บางครงั้ ก็เหน็
ตวั เองวา่ เป็นมนษุ ย์ อนั นีเ้ พราะอาศยั หลกั มาพจิ ารณาดวู า่ ขณะ

14

ใดท่ีจิตใจของเราเกิดความโหดเหยี้ มเพราะอาํ นาจแหง่ ความ
โกรธ ความโลภ ความหลง แลว้ ก็คดิ แตจ่ ะทาํ อะไรลงไปโดย
ไม่ไดค้ าํ นงึ ถงึ ศีลธรรมและกฏหมายปกครองบา้ นเมือง อยากจะ
ทาํ อะไรก็นกึ ทาํ ลงไป ถงึ แมไ้ มท่ าํ แตใ่ จกน็ กึ อยากจะทาํ ส่ิงท่ีนกึ
อยากจะทาํ นนั้ มนั ไม่มีศีลมีธรรมในขณะนนั้ ในขณะนนั้ จงึ รูส้ กึ
วา่ ออ้ เราน่ีแหละ จิตใจของเราบางครงั้ มนั ยงั เป็นสตั วเ์ ดรจั ฉาน
อยนู่ ่ี

อนั นีเ้ ป็นการพิจารณาตวั เอง เรอ่ื งของอาตมาเองนะ ไมไ่ ด้
แกลง้ วา่ โยม ในบางครงั้ จิตใจมนั รูส้ กึ วา่ มี หริ ิ ความละอายบาป
มีโอตตัปปะ ความสะดงุ้ กลวั ตอ่ บาป แมแ้ ตค่ ิดจะบาปในท่ีลบั ท่ี
แจง้ มนั ก็ไมค่ ดิ มนั มีคณุ ธรรมอนั นีอ้ ย่ใู นใจ ในขณะนนั้ ก็รูส้ กึ วา่
เออ หริ โิ อตตปั ปะมนั เป็นคณุ ธรรมท่ีทาํ คนใหเ้ ป็นเทวดา กร็ ูส้ กึ
วา่ ออ้ เวลานีเ้ ราเป็นเทวดา

บางทีมนั เกิดขีเ้ กียจขีค้ รา้ นขนึ้ มา เวลาไหวพ้ ระสวดมนต์
มนั ก็ไมอ่ ยากทาํ น่งั สมาธิ มนั ก็ไม่อยากทาํ มนั ไม่เอาไหน
ประโยชนต์ นไม่คาํ นงึ ประโยชนท์ า่ นไมเ่ หลยี วแล ทอดอาลยั

15

ตายอยากในชวี ิต ในชว่ งนนั้ ก็รูส้ กึ ตวั วา่ ออ้ ตอนนีเ้ รากาํ ลงั เป็น
เปรต เพราะเปรตแปลวา่ ผลู้ ะไปแลว้

บางทีจิตใจมนั ก็รูส้ กึ วา่ เออ มีความเมตตา มีความ
เออื้ เฟื้อเผ่ือแผ่ มีความรกั ความสงสารในเพ่ือนมนษุ ยแ์ ละสตั ว์
เดรจั ฉานดว้ ยกนั ไม่คิดท่ีจะทาํ อะไร ในขณะนนั้ ก็รูส้ กึ วา่ ตวั เอง
เป็นมนษุ ยโ์ ดยสมบรู ณ์

อนั นีค้ อื พืน้ ฐานท่ีเป็นหลกั ใหเ้ ราพจิ ารณาตวั เองวา่ เราเป็น
อะไร เราจะไดร้ ูข้ อ้ บกพรอ่ งของตวั เอง เราจะไดร้ ูข้ อ้ บกพรอ่ งของ
ตวั เองแลว้ จะไดเ้ พ่มิ เตมิ ใหอ้ ยใู่ นระดบั พอดบิ พอดี สว่ นไหนขาด
ก็จะไดเ้ พ่ิมขนึ้ สว่ นไหนเกินก็จะไดต้ ดั ทอนลงใหพ้ อดี ใหร้ ูว้ า่
จิตใจของเราน่ีมนั มีอะไรเป็นอะไรอยู่ เราจะไดร้ ูจ้ กั จดุ สาํ หรบั แก้
จติ ใจของเรา ถา้ เรามองไม่เหน็ ตวั ของเราเอง เห็นใจของเราเอง
เราก็ไมม่ ีทางแก้

แตอ่ ีกอยา่ งหน่งึ ประการสดุ ทา้ ย ศลี ๕ ประการนีเ้ ป็น
คณุ ธรรมท่ีเป็นมลู ฐานใหเ้ กิดการปกครองแบบประชาธิปไตย
เพราะการไมฆ่ า่ หลกั ประชาธิปไตยตอ้ งเคารพสทิ ธิมนษุ ยชน

16

การไม่ฆา่ ก็เคารพชีวติ ความเป็นอยู่ การไมล่ กั ขโมยจีป้ ลน้ ฉอ้ โกง
ก็เคารพสทิ ธิความมีสมบตั ิของคนอ่ืน การไมป่ ระพฤติผดิ
กาเมสมุ จิ ฉาจาร การไม่โกหกหลอกลวง การไมม่ วั เมาในส่ิงท่ีจะ
ทาํ ใหเ้ ราเสียผเู้ สียคน ก็เป็นการเคารพสทิ ธิของคนอ่ืนและตวั เอง
ดว้ ย ดงั นนั้ ศลี ๕ ประการนี้ ไม่เฉพาะแตช่ าวพทุ ธเทา่ นนั้ จะมี
ความเขา้ ใจถงึ ประโยชน์ ชางตา่ งประเทศเคา้ ก็เขา้ ใจดี อย่างเช่น
องคก์ ารสหประชาชาตปิ ระกาศออกมาเป็นหลกั ปฏิบตั ิวา่ ดว้ ย
การเคารพสทิ ธิมนษุ ยชน พจิ ารณาดแู ลว้ ก็คอื ศลี ๕ เราดๆี น่ีเอง

อา้ ว บดั นีพ้ ดู ถึงเรอ่ื ศีล ๕ น่ีเหน็ จะพอสมควรแก่กาลเวลา ที
นีถ้ า้ หากสมมตุ ิวา่ เราจะมายดึ เอาแตศ่ ลี ๕ น่ีหละมาเป็นหลกั
ปฏบิ ตั ิ ญาตโิ ยมบางคนโดยเฉพาะโยมผหู้ ญิง เราเป็นผหู้ ญิงไม่
มีโอกาสท่ีจะบวชเป็นพระเป็นเณร ไม่มีโอกาสท่ีจะหม่ ผา้ กาสาว
พกั ตร์ กลวั วา่ ปฏิบตั ิแลว้ ไมถ่ ึงมรรคผลนิพพาน อย่าไปเขา้ ใจผดิ
ไดก้ ลา่ วแลว้ วา่ ศีล ๕ เป็นพืน้ ฐานใหเ้ กิดคณุ งามความดี เม่ือเรา
รกั ษาศลี ๕ ใหบ้ รสิ ทุ ธิ์บรบิ รู ณด์ ี ศีลอ่ืนๆมนั จะเพ่ิมขนึ้ มาเอง

17

อย่าวา่ แตศ่ ลี ๑๐ ๒๒๗ มนั จะเพ่ิมขนึ้ มาเป็นหม่ืนๆศีล ลา้ นๆศีล
เพราะทกุ สงิ่ ทกุ อย่างมนั เป็นปกตดิ ีแลว้ กายก็สงบ วาจาก็สงบ

เพราะปราศจากโทษนนั้ ๆ เม่ือเราปราศจากโทษนนั้ ๆก็เป็น
เหตเุ ป็นปัจจยั ใหใ้ จมีความสงบดว้ ย ใจสงบเพราะเกิดจากศีล
เน่ีย เกิดจากการรกั ษาศีลใหบ้ รสิ ทุ ธิ์เน่ียมนั คืออะไร เพราะเรา
ไม่ไดก้ ่อกรรมทาํ เขญ็ ใหใ้ ครเดอื ดรอ้ น ความหวาดระแวงวา่ ใคร
จะมาประทษุ รา้ ยเรายอ่ มไมม่ ี จะหลบั ก็สบาย จะต่นื ก็สบาย จะ
ไปไหนมาไหนก็ไม่ตอ้ งมีมือปืนคอยคมุ้ กนั เพราะเรามีศลี ๕
บรสิ ทุ ธิ์บรบิ รู ณด์ แี ลว้ แลว้ มนั ก็เป็นเหตใุ หเ้ กิดมีใจสงบ เรยี กวา่
ใจสงบดีไม่หวาดระแวงตอ่ พษิ ภยั ตา่ งๆ มนั ก็เป็นจดุ เรม่ิ ของ
สมาธิ ศีลอบรมสมาธิ บดั นีท้ า่ นทงั้ หลายมีศีลบรสิ ทุ ธิ์บรบิ รู ณ์
ตามขนั้ ตามภมู ิของตนแลว้ เรามาคยุ กนั เรอ่ื งสมาธิ ลองดบู า้ ง
เผ่ือจะเป็นประโยชนแ์ กท่ า่ นผฟู้ ังบา้ ง

ถา้ หากเขา้ ใจวา่ เรอ่ื งของสมาธิน่ี เขา้ ใจวา่ ทา่ นทงั้ หลายคง
ไดย้ ินไดฟ้ ังและฝึกปฏิบตั ิมาจนคลอ่ งตวั จนชาํ นิชาํ นาญ บาง
ท่านอาจจะมีจติ สงบรูธ้ รรมเห็นธรรม หรอื ขจดั กิเลสออกไปจาก

18

จิตของตนเองไดม้ ากเป็นกอบเป็นกองแลว้ หลกั และวิธีการทาํ
สมาธินนั้ เขา้ ใจวา่ ท่านไดฟ้ ังและก็ไดร้ บั การอบรมจากครูบา
อาจารยม์ าแลว้ แตข่ อสรุปสนั้ ๆวา่ วิธีการทาํ สมาธินนั้ คอื การทาํ
จิตใหม้ ีสงิ่ รู้ ทาํ สติใหม้ ีส่ิงระลกึ อนั นีเ้ ป็นหลกั กลางๆ

เม่ือเราทาํ อะไร นกึ ถงึ อะไรใหม้ ีสตสิ มั ปะชญั ญะ หลกั
บรกิ รรมภาวนาหรอื หลกั พิจารณาอะไรตา่ งๆ ซง่ึ เราไดย้ นิ ไดฟ้ ัง
กนั วา่ การปฏบิ ตั สิ มาธิคอื การปฏบิ ตั ิสมถกรรมฐาน วิปัสสนา
กรรมฐาน เราไดย้ ินไดฟ้ ังกนั มาแลว้ ทีนีบ้ างทา่ นฝึกสมาธิหรอื
สอนสมาธิก็ไปตดิ วิธีการมากเกินไป คาํ วา่ สมถะ เป็นช่ือของ
วิธีการ วปิ ัสสนาเป็นช่ือของวธิ ีการ แตก่ ารทาํ สมาธิคือทาํ จิตให้
มีสิ่งรู้ ทาํ สติใหม้ ีสิ่งระลกึ เม่ือเราบรกิ รรมภาวนาพทุ โธก็ดี ยบุ
หนอพองหนอก็ดี สมั มาอรหงั ก็ดี สง่ิ ดงั กลา่ วนนั้ เป็นอารมณส์ ่งิ รู้
ของจิต ถา้ เรามีสตสิ าํ ทบั เขา้ ไป สิ่งนนั้ ก็เป็นท่ีตงั้ ของสติ

เพราะฉะนนั้ การปฏบิ ตั ิแบบสมถะก็ทาํ จติ ใหม้ ีส่ิงรู้ ทาํ สตใิ ห้
มีสง่ิ ระลกึ เป็นช่ือของวธิ ีการบรกิ รรมภาวนาปฏบิ ตั ิดว้ ยวธิ ีของ
สมถะ เพง่ กสณิ ปฏบิ ตั ดิ ว้ ยวิธีของสมถะ หรอื การเจรญิ อารมณ์

19

สมถกรรมฐาน ๔๐ ประการนนั้ ปฏิบตั ติ ามวิธีการของสมถะ แต่
ถา้ เรากาํ หนดจิตพิจารณาโน่นน่ี พิจารณารูปนาม รูปนามๆ
อยา่ งท่ีทา่ นพระคณุ เจา้ เทศนไ์ ปกอ่ นนนั้ เรยี กวา่ ปฏบิ ตั ติ าม
วิธีการของวปิ ัสสนา ทงั้ สองอย่างนีเ้ ป็นอบุ ายวธิ ีปฏิบตั ิ เพ่ือทาํ
จิตใหส้ งบเป็นสมาธิมีปีติ มีวติ ก วิจาร ปีติ สขุ เอกคั คตา เพ่ือจะ
ใหเ้ กิดสตปิ ัญญารูแ้ จง้ เหน็ จรงิ ในธรรมตามความเป็นจรงิ
เพราะฉะนนั้ นกั ปฏิบตั ิอยา่ ไปติดวธิ ีการ

แมว้ า่ ทา่ นผใู้ ดอาจจะคิดวา่ เราไมม่ ีเวลาท่ีจะมาน่งั สมาธิ
บรกิ รรมภาวนาพทุ โธ สมั มาอรหงั ยบุ หนอพองหนอ ลองปฏบิ ตั ิ
อย่างนีด้ ู ยนื เดนิ น่งั นอน รบั ทาน ด่มื ทาํ พดู คิด เป็นอารมณ์
จิต เม่ือเราเดนิ มีสติรู้ ยืนมีสติรู้ น่งั มีสติรู้ นอนมีสติรู้ รบั ทาน ด่มื
ทาํ พดู คดิ มสี ตริ ู้ เพราะสงิ่ เหลา่ นีเ้ ป็นอารมณจ์ ติ ทาํ ไมจงึ วา่
เป็นอารมณจ์ ติ เรายืนไดเ้ พราะจติ ส่งั น่งั ไดเ้ พราะจติ ส่งั นอนได้
เพราะจิตส่งั เดนิ ไดเ้ พราะจติ ส่งั รบั ทาน ด่มื ทาํ พดู คดิ ไดเ้ พราะ
จิตส่งั เพราะฉะนนั้ เรามาฝึกสตสิ มั ปะชญั ญะของเราใหร้ ูอ้ ย่ทู ่ียืน
เดนิ น่งั นอน พดู คิด อนั เป็นเรอ่ื งชีวติ ประจาํ วนั เป็นอารมณ์

20

ปัจจบุ นั เป็นปัจจบุ นั ธรรม จติ รูส้ ิ่งใดสง่ิ นนั้ เป็นอารมณส์ งิ่ รูข้ อง
จติ เม่ือมีสติสาํ ทบั เขา้ ไปสง่ิ นนั้ เป็นท่ีตงั้ ของสติ น่ยี ดึ เอากนั
อย่างนี้ มนั จงึ จะไม่สบั สน

แตห่ ากวา่ ทา่ นผใู้ ดมีเวลาพอท่ีจะไปน่งั สมาธิบรกิ รรม
ภาวนาดงั ท่ีกลา่ วแลว้ นนั้ ก็ทาํ ถา้ หากวา่ ไมม่ ีเวลาทาํ กพ็ ยายาม
ฝึกสติ ฝึกสติอยา่ งเดียวเทา่ นนั้ ถา้ ทา่ นจะสงสยั ขอ้ งใจวา่ ถา้ จะ
ไมน่ ่งั สมาธิ เพยี งแตฝ่ ึกสตอิ ย่กู บั การยืน เดิน น่งั นอน รบั ทาน
ด่ืม ทาํ พดู คดิ เทา่ นนั้ จิตจะสงบเป็นสมาธิไดไ้ หม ขอตอบ
ยืนยนั วา่ ได้ ขอใหท้ าํ จรงิ

ท่านอาจารยเ์ สารซ์ ง่ึ เป็นอาจารยใ์ หญ่ของพระธุดงค์
กรรมฐานในสายตะวนั ออกเฉียงเหนือ ทา่ นบอกวา่ เวลานีจ้ ติ ขา้
มนั ไม่สงบ มีแตค่ วามคิด พอถามวา่ “จติ เส่อื มหรอื เป็นอยา่ งไร
ทา่ นอาจารย”์ เอา้ ถา้ มนั เอาแตส่ งบอยา่ งเดียว มนั ก็ไมก่ า้ วหนา้
เพราะฉะนนั้ อยา่ ลมื นกึ ถงึ หลกั ท่ีวา่

สีลปรภิ าวโิ ต สมาธิ มหปผฺ โล โหติ มหานิสโํ ส
สมาธปิ ริภาวติ า ป�ญฺ า มหปผฺ ลา โหติ มหานิสสํ า

21

ป�ญฺ าปริภาวิตํ จติ ตฺ ํ สมมฺ เทว อาสเวหิ วมิ ุจจฺ ติ
ศลี อบรมสมาธิ สมาธิอบรมปัญญา ปัญญาอบรมจติ
เพราะฉะนนั้ ในเม่ือเรามีศีลบรสิ ทุ ธิ์สะอาดดแี ลว้ สมาธิก็คือการ
ฝึกสติ ผทู้ ่ีเคยทาํ สมาธิภาวนาจติ สงบจนกระท่งั ตวั หาย จนรูส้ กึ
วา่ มีแตจ่ ติ ดวงเดยี วใสสวา่ งอยู่ ในเม่ือจิตถอนออกมาจากสมาธิ
หรอื ทาํ หนกั ๆเขา้ จติ มนั จะไมเ่ ขา้ ไปสคู่ วามสงบเชน่ นนั้ เม่ือ
สมาธิมีพลงั แก่กลา้ ดีแลว้ ทาํ ใหส้ ติสมั ปะชญั ญะดีขนึ้ แลว้ มนั จะ
ออกมากาํ หนดอยกู่ บั การยืน เดนิ น่งั นอน รบั ทาน ด่มื ทาํ พดู
คิด ตลอดเวลา ไม่วา่ เราจะขยบั ไปทางไหน สติจะมาทาํ หนา้ ท่ี
เวลาทาํ งานสติอยกู่ บั งาน เวลาเดนิ สติอยกู่ บั เดนิ เวลาน่งั สตอิ ยู่
กบั น่งั รบั ทาน ด่มื ทาํ พดู คดิ สติอยกู่ บั สิง่ นนั้ ๆอยตู่ ลอดเวลา
พอเสรจ็ แลว้ เรามีสตอิ ยตู่ ลอดเวลา เราก็มีความรูส้ กึ สาํ นกึ
ผดิ ชอบช่วั ดี บคุ คลผทู้ ่ีมีความรูส้ กึ สาํ นกึ ผดิ ชอบช่วั ดี เคา้ จะมี
ความตงั้ ใจอยเู่ สมอวา่ ฉนั จะละช่วั ประพฤติดี ทาํ จิตใจให้
บรสิ ทุ ธิ์ ทีนีศ้ ีลท่ีเรามีแลว้ บรสิ ทุ ธส์ ะอาดดีแลว้ หมดปัญหา
ตอ่ ไปทาํ ใจใหม้ นั มีความม่นั คงตอ่ การกาํ หนดรูอ้ ารมณจ์ ิตใน

22

ปัจจบุ นั ใหม้ ากๆ ยืน เดิน น่งั นอน รบั ทาน ด่ืม ทาํ พดู คดิ เป็น
อารมณป์ ัจจบุ นั เม่ือเรามีสตริ ูพ้ รอ้ มอย่กู บั อารมณป์ ัจจบุ นั น่ี จิต
มีสงิ่ รู้ สติมีสิง่ ระลกึ กาํ หนดก็รูก้ นั อย่ตู ลอดเวลาย่อมไดพ้ ลงั งาน
ทางสติ

เม่ือสติมีพลงั แก่กลา้ ขนึ้ จะกลายเป็นปัญญา แลว้ สามารถท่ี
จะกาํ หนดหมายรูก้ ารยนื เดิน น่งั นอน รบั ทาน ด่มื ทาํ พดู คิด
วา่ ไมเ่ ทยี่ ง เป็ นทุกข์ เป็ นอนัตตา เพราะเรามีเปล่ยี นแปลงอยู่
เสมอน่ี ทนี ีถ้ า้ หากวา่ สง่ิ ใดมนั มาขดั ใจ เกิดความยนิ ดี เกิดความ
ยินรา้ ย แลว้ กเ็ กิดความดีใจเสียใจ ความดใี จเสียใจนนั้ คอื การ
แสดงออกซง่ึ ความทกุ ขใ์ จ ทกุ ขใ์ จปรากฏขนึ้ ผมู้ ีสติสมั ปะ
ชญั ญะมีปัญญาสามารถกาํ หนดรูต้ วั ทกุ ขน์ นั้ น่ีคือทกุ ขอริยสจั
ท่ีพระพทุ ธเจา้ ตรสั รู้

ทีนีถ้ า้ เราฝึกหดั มีสติสมั ปะชญั ญะ ทกุ ขเ์ กิดขนึ้ สขุ เกิดขนึ้
ทกุ ขด์ บั ไป สขุ ดบั ไป ทกุ ขเ์ กิดขนึ้ หรอื สขุ ทกุ ขเ์ กิดสลบั กนั ไปอยู่
ตลอดเวลา ผมู้ ีสตปิ ัญญาจะกาํ หนดรูว้ า่ นอกจากทกุ ขไ์ ม่มีอะไร
เกิด นอกจากทกุ ขไ์ ม่มีอะไรดบั แลว้ ก็จะเกิดความรูจ้ รงิ เห็นแจง้

23

วา่ ยํ ก�ิ จฺ ิ สมุทยธมมฺ ํ สพพฺ นฺตํ นิโรธธมมฺ นนฺติ (ยงั กิญจิ
สมทุ ยธมั มงั สพั พนั ตงั นิโรธะธมั มนั ติ) ส่ิงใดส่ิงหนง่ึ เกิดขนึ้ เป็น
ธรรมดา ส่ิงนนั้ ดบั ไปเป็นธรรมดา ยํ ก�ิ จฺ ิ สมุทยธมฺมํ น่นั จดุ
สดุ ยอดของการรูธ้ รรมเห็นธรรมอนั ละเอยี ดในจิต มีแตเ่ กิดดบั
เกิดดบั เกิดดบั อยนู่ ่นั แหละ

ทีนีใ้ นขณะใดจิตมีความสมั พนั ธก์ บั กายอยู่ เคา้ ก็จะมองเห็น
สขุ ทกุ ขค์ อื สขุ เวทนา ทกุ ขเวทนาท่ีเกิดกบั กาย ชว่ งใดท่ีจิตไป
กาํ หนดดแู ตจ่ ติ อย่างเดยี ว ไมเ่ ก่ียวพนั กบั รา่ งกายก็เป็นการ
กาํ หนดรูจ้ ิต เรยี กวา่ จติ ตานุปัสสนา ถา้ จติ ไปกาํ หนดรูธ้ รรมท่ี
เป็นนิวรณห์ รอื กศุ ลและอกศุ ล หรอื กาํ หนดรู้ ปีติ สขุ เอกคั คตา
ซง่ึ เกิดขนึ้ ภายในจติ ก็เรยี กวา่ ธัมมานุปัสสนา สตปิ ัฏฐาน

ดงั นนั้ ผทู้ ่ีมาบรกิ รรมภาวนาพทุ โธๆๆ หรอื ทาํ สตติ ามรู้
อารมณจ์ ิตของตนก็ดี หรอื บรกิ รรมภาวนาอย่างอ่นื พจิ ารณา
อยา่ งอ่นื ก็ดี ในเม่ือพจิ ารณาหนกั ๆเขา้ ก็ไดก้ ลา่ วแลว้ วา่
ธรรมชาติของจิต ถา้ จิตมีสงิ่ รู้ สตมิ ีส่ิงระลกึ ก็จะเพ่มิ พลงั งานขนึ้
ทกุ ที ในเม่ือเพ่มิ พลงั งานหนกั ขนึ้ ๆ สตสิ มั ปะชญั ญะก็ดี จิตก็มี

24

ความม่นั คง วา่ ทกุ สง่ิ ทกุ อยา่ งพรอ้ ม จติ กจ็ ะมีการสงบวบู ลงไป
น่ิง สวา่ ง มีปีติ มีความสขุ มีความเป็นหนง่ึ สบาย จกขฺ ุํ อุทปาทิ
(จกั ขงุ อทุ ะปาทิ) จิตสงบน่ิงสวา่ งไสว จกั ษุบงั เกิดขนึ้ แลว้
ขณะนีจ้ ติ อยใู่ นฌาณท่ี ๑ ยงั มีวิตก วิจาร จติ ไหวเกิดความรู้
ความคดิ อา่ นขนึ้ มา มีสติกาํ หนดรู้ ญาณํ อุทปาทิ (ญาณงั อุ
ทะปาท)ิ ความคิดความอา่ นความรูธ้ รรมะท่ีผดุ ขนึ้ เรยี กวา่ อทุ าน
ธรรม เป็นป�ญฺ า อุทปาทิ (ปัญญา อทุ ะปาท)ิ ทีนีส้ ติสมั ปะ
ชญั ญะท่ีรูพ้ รอ้ มอย่โู ดยอตั โนมตั ิ อะไรเกิดขนึ้ ดบั ไปก็รูห้ มด
ความรูแ้ จง้ เหน็ จรงิ เรยี กวา่ วิชชฺ า อุทปาทิ ในเม่ือวิชชา อทุ
ปาทิ บงั เกิดขนึ้ รูแ้ จง้ เหน็ จรงิ หายสงสยั ขอ้ งใจ จิตตดั กระแส
แหง่ วิตก วจิ าร ว่งิ เขา้ ไปสู่ เอกคั คตา จิตสงบละเอยี ด กาย
หายไปหมด ยงั เหลือแตจ่ ิตดวงเดียวลอยเดน่ อยู่

ในชว่ งนีจ้ ิตมีแต่ รู้ ต่ืน เบกิ บาน ความรูน้ ่ีไดต้ ดั ขาดไป
หมดแลว้ จิตว่งิ เขา้ ไปสสู่ มาธิขนั้ ละเอยี ด ถา้ จะวา่ โดยจติ ก็
เรยี กวา่ อัปปนาจติ วา่ โดยสมาธิเรยี กวา่ อปั ปนาสมาธิ วา่
โดยฌาณ เรยี กวา่ อปั ปนาฌาณ หรอื จะเรยี กวา่ ฌาณท่ี ๔

25

เพราะฉะนนั้ การบรกิ รรมภาวนาก็ดี การพจิ ารณาอะไรกด็ ี ใน
เม่ือจติ มนั ตดั ขอ้ สงสยั ขอ้ ขอ้ งใจ ปลอ่ ยวางวติ ก วจิ าร ปีติ สขุ
แลว้ ว่งิ ไปสเู่ อกคั คตา มนั ก็จะมีสภาวะเป็นอย่างนี้

เพราะฉะนนั้ อนั นีอ้ ีกอนั หนง่ึ ทา่ นทงั้ หลายผภู้ าวนาน่ี สิง่ ท่ี
ควรจะระมดั ระวงั สาํ หรบั เรอ่ื งความเป็นไปของสมาธิตาม
ขนั้ ตอนนนั้ ๆ ทา่ นทงั้ หลายฟังมามากแลว้ จะไมก่ ลา่ วถึง จะขอ
เตอื นส่งิ ท่ีอาจจะทาํ ใหเ้ ราเขา้ ใจผดิ ความเขา้ ใจผดิ อนั นนั้ บางที
ก็เป็นพิษเป็นภยั หรอื เป็นภยั อยา่ งรา้ ยแรง เชน่ อยา่ งในขณะท่ี
เราภาวนาแลว้ จิตของเราสงบน่ิงเป็นสมาธิ มีปีติ มีความสขุ
สบาย แตม่ าภายหลงั น่ี จติ มนั ไม่คอ่ ยสงบเสยี แลว้ จะกาํ หนด
หรอื ไมก่ าํ หนด มนั ก็มีสมาธิออ่ นๆอยู่ แตม่ นั ก็มีความรู้ ความคดิ
ผดุ ออกมาไมห่ ยดุ หย่อย ยนื เดนิ น่งั นอน รบั ทาน ด่ืม ทาํ พดู
คิด มนั มีสตอิ ยู่ รูอ้ ยู่ เหน็ อยู่ มีอยู่ เป็นอยตู่ ลอดเวลา เม่ือกอ่ นนี้
จิตสงบดจี นกระท่งั ตวั หาย แตเ่ วลานีไ้ ม่คอ่ ยสงบ แตค่ วามคดิ
มนั เกิดขนึ้ อยเู่ รอ่ื ย คิดแลว้ ก็ทาํ ใหส้ มองปลอดโปรง่ มีสตสิ มั ปะ

26

ชญั ญะ ย่งิ คิดจติ ย่ิงสบาย ย่งิ คิดจติ ย่งิ ผอ่ งสบาย ย่ิงคดิ ยง่ิ มีปีติ
และความสขุ

บางทีอาจจะไปถามใครซกั คนหน่งึ ทาํ ไมหนอ เม่ือกอ่ นนี้
สมาธิจติ สงบสวา่ งไสวดี แตเ่ วลานีม้ ีแตส่ งบนิดหน่อย มแี ต่
ความคิดฟงุ้ ๆๆขนึ้ มา ไปถามคนไมร่ ูเ้ ร่อื ง ประเด๋ียววา่ เด๋ยี วคณุ
เป็นโรคประสาทตาย อยา่ ลมื วา่ สมาธิอบรมปัญญา ในเม่ือมี
สมาธิแลว้ มีสติสมั ปะชญั ญะสมบรู ณแ์ ลว้ สมาธิกบั ตวั สตนิ ่นั
แหละมนั บนั ดาลใหเ้ กิดปัญญา ปัญญากค็ ือความคิด ความคิด
ท่ีมีสติรูท้ นั อยทู่ กุ ขณะจติ เรยี กวา่ ปัญญาในสมาธิ อนั นีข้ อทาํ
ความเขา้ ใจไวก้ อ่ น ถา้ ใครเป็นอย่างนีแ้ ลว้ อยา่ ไปสงสยั
เพราะฉะนนั้ ในชว่ งแหง่ การปฏิบตั เิ ราจงึ ถือคติ ถือเคลด็ อยา่ งนี้
ขณะท่ีบรกิ รรมภาวนาพทุ โธๆๆๆ อยู่ ถา้ จติ ทิง้ พทุ โธป๊ับ ไปคิด
อยา่ งอ่นื ปลอ่ ยใหม้ นั คิดไปเถอะ แตใ่ หม้ ีสติตามรูไ้ ป และในช่วง
ใดท่ีจติ มนั คดิ ขนึ้ มาเอง คิดอยา่ งรงั้ ไมอ่ ยู่ ก็ปลอ่ ยใหม้ นั คดิ ไป
อยา่ ไปเขา้ ใจวา่ จติ ฟงุ้ ซา่ น

27

ความสงบของจติ มีอยสู่ องอย่าง อยา่ งหนง่ึ สงบน่ิงโดยไมม่ ี
อะไร อีกอย่างหนง่ึ น่ีความคดิ มนั ฟงุ้ ๆๆขนึ้ มาอยเู่ สมอ แตว่ า่ จติ
เป็นกลางโดยเท่ียงธรรม อยา่ งดีก็ทาํ ใหม้ ีปีติ มีความสขุ เพราะ
ความคิดนนั้ ในลกั ษณะอย่างนีก้ ็ควรปลอ่ ยใหม้ นั คดิ ไป อย่าไป
หา้ ม อย่าใหแ้ ตม่ นั หยดุ น่ิงอยา่ งเดียว อนั นีพ้ งึ สงั เกตไวอ้ ยา่ งนี้

และอีกประการหนง่ึ สว่ นใหญ่คนท่ีภาวนาแลว้ จติ สงบสวา่ ง
กระแสจิตสง่ ออกไปขา้ งนอก บางทีก็ไปเหน็ ภาพนิมติ ตา่ งๆ ภาพ
นิมิตเป็นคนเป็นสตั ว์ เทวดา อนิ ทร์ พรหม ยม ยกั ษ์ บางทีก็เหน็
พระพทุ ธเจา้ เสดจ็ มา อืม ดีใจ เพราะพระพทุ ธเจา้ เสด็จมาแลว้
พระองคจ์ ะมาโปรดเราแลว้ ๆ จิตสาํ นกึ มนั รายงานออกมาอยา่ ง
นนั้ บางทกี ็เผลอไปนอ้ มจิตนอ้ มใจเอาพระพทุ ธเจา้ เขา้ มา บางที
อาจจะนกึ วา่ อมื ใหพ้ ระพทุ ธเจา้ มาเหยียบบนบา่ เบอื้ งขวา พอ
นกึ อยา่ งนนั้ จะปรากฏวา่ พระพทุ ธเจา้ กา้ วเขา้ มาเหยียบบา่ เบือ้ ง
ขวา แลว้ ผอู้ าราธนาพระพทุ ธเจา้ มาน่นั บา่ ขวาจะเอียงเทเ่ ลล่ ง
ไปหนกั พระพทุ ธเจา้ ทีนี้ เอา้ อาราธนาพระพทุ ธเจา้ เหยยี บบา่
เบือ้ งซา้ ย ประเด๋ียวกห็ ลงั ขดลงไป หนกั พระพทุ ธเจา้ ทีนีเ้ ม่ือ

28

พระพทุ ธเจา้ เขา้ มาถงึ จติ ถงึ ใจแลว้ ทีนีส้ ภาพจติ ท่ีสงบมปี ีติ มี
ความสขุ สบายปลอดโปรง่ จะเปล่ียนทนั ที เปล่ียนเป็นอยา่ งใด
เปล่ียนเป็นเหมือนหนง่ึ วา่ หวั ใจถกู บบี อดึ อดั แนน่ ไปหมด สมาธิ
ท่ีปลอดโปรง่ เป็นอิสระแก่ตวั เอง ตกอย่ใู นอาํ นาจท่ีเขา้ มาแทรก
สงิ นนั้ แสดงวา่ พระพทุ ธเจา้ ปลอม เราเขา้ ใจผิดจงึ ไปนอ้ มเอา
ภาพนมิ ติ เขา้ มาในตวั กลายเป็นการทรงวิญญาณ โดยลกั ษณะ
อยา่ งนี้ ชาวพทุ ธเปล่ียนศาสนาพทุ ธใหเ้ ป็นศาสนาอ่ืนโดยไม่ได้
ตงั้ ใจ

น่ีนกั ภาวนาทงั้ หลายน่ีขอใหร้ ะมดั ระวงั ท่ีตรงนี้ เราภาวนา
เพ่ือจะทาํ จิตของเราใหส้ งบเป็นสมาธิ เป็นอสิ ระแกต่ วั อย่าง
สมมตุ ิวา่ เราภาวนายบุ หนอพองหนอๆ พอจติ สงบวบู น่ิง สวา่ ง รู้
ต่นื เบิกบาน บางทีจิตไปน่ิงรูต้ ่นื เบิกบานอยเู่ สมอ ไมม่ ีความรูส้ กึ
นกึ คิดอะไรอ่นื มีแตค่ วามสวา่ ง ผรู้ ู้ ผตู้ ่นื ผเู้ บกิ บาน ในชว่ งนีจ้ ติ
เป็น อตตฺ ทปี า มีตนเป็นเกาะ อตตฺ สรณา มีตนเป็นท่ีระลกึ อตฺ
ตา หิ อตตฺ โน นาโถ ตนเป็นท่พี ง่ึ ของตน

29

ถา้ ใครภาวนาใหถ้ งึ จดุ นี้ จะรูส้ กึ วา่ มีความสบายเบา รูต้ ่ืน
เบิกบาน ปลอดโปรง่ ถา้ หากวา่ กายยงั มีอยู่ ก็จะมีปีตแิ ละ
ความสขุ ปรากฏขนึ้ ถา้ กายหายไปจะยงั เหลอื แตค่ วามเป็นกลาง
ของจิต จะวา่ สขุ ก็ไม่ใช่ จะวา่ ทกุ ขก์ ็ไมใ่ ช่ มีแตค่ วามเป็นกลางซง่ึ
เรยี กวา่ อุเบกขา กบั เอกคั คตา จดุ นีจ้ ติ เป็นตวั ของตวั โดย
เด็ดขาด ไมม่ ีอาํ นาจส่งิ ใดจะมาแทรกสงิ แตใ่ นช่วงท่ีจติ ยงั ไม่
เขา้ ถงึ จดุ นี้ พอจิตสวา่ งแลว้ กายยงั ปรากฏอยู่ เราไปหลงนอ้ ม
เอาสิง่ อ่นื เขา้ มาในจิตในใจของเราเนยี้ เสรจ็ แลว้ เราจะกลายเป็น
คนทรงเจา้ เขา้ ผี เพราะฉะนนั้ อนั นีค้ วรระมดั ระวงั ใหต้ รงหนกั

เอาละวนั นีไ้ ดบ้ รรยายธรรมะพอเป็นคติเตือนใจของบรรดา
ท่านทงั้ หลาย ขอสรุปลงการปฏิบตั ธิ รรม สาํ คญั อยทู่ ่ีทาํ ตนให้
เป็นผมู้ ีศลี ศลี ๕ เป็นพนื้ ฐานใหเ้ กิดคณุ งามความดี เป็นอบุ าย
ตดั ทอนผลเพ่มิ ของบาปกรรม เป็นอบุ ายบ่นั ทอนกาํ ลงั ของกิเลส
เป็นอบุ ายปอ้ งกนั ไมใ่ หม้ นษุ ยเ์ กิดมีการฆา่ กนั เป็นคณุ ธรรมปรบั
พืน้ ฐานความเป็นมนษุ ยใ์ หส้ มบรู ณ์ เป็นคณุ ธรรมขอบเขตของ
การใชก้ ิเลสใหเ้ กิดประโยชนโ์ ดยความเป็นธรรม

30

สาํ หรบั การทาํ สมาธิหลกั โดยท่วั ไปก็คอื ทาํ จิตใหม้ ีสงิ่ รู้ ทาํ
สติใหม้ ีสิง่ ระลกึ จติ รูอ้ ะไรก็ใหม้ ีสติ บรกิ รรมภาวนาก็ใหม้ ีสติ จะ
พจิ ารณาก็ใหม้ ีสติ จิตเกิดปัญญาขนึ้ มาก็ใหม้ ีสติ ทีนีใ้ นขณะใด
จิตตอ้ งการจะสงบน่ิงวา่ งก็ปลอ่ ยใหว้ า่ ง ขณะใดจิตตอ้ งการคดิ
ปลอ่ ยใหค้ ดิ แตใ่ หม้ ีสตติ ามรูไ้ ป สรุปลงแลว้ แผนของการปฏิบตั ิ
สมาธิอย่ตู ลอดเวลาโดยไม่เลอื กกาลไมเ่ ลอื กเวลา ใหถ้ ือเอาการ
ยืน เดนิ น่งั นอน รบั ทาน ด่มื ทาํ พดู คดิ เป็นอารมณจ์ ติ ใหม้ ี
สติรูพ้ รอ้ มกบั สิง่ เหลา่ นี้ อยา่ ไปถือวา่ ทาํ สมาธิคอื น่งั ขดั สมาธิ
หลบั ตาเพียงอยา่ งเดียว สมาธิเราตอ้ งทาํ ทกุ ขณะจิต ทกุ ลม
หายใจ จะไปเอาเฉพาะเวลาน่งั หลบั ตา มนั ไม่เพียงพอ เวลามนั
นอ้ ย ดงั นนั้ ถา้ หากวา่ เราฝึกสติใหม้ นั รูพ้ รอ้ มอยทู่ ่ีการยนื เดนิ น่งั
นอน รบั ทาน ด่มื ทาํ พดู คดิ เราจะไดส้ มาธิ ไดพ้ ลงั สตสิ นบั สนนุ
กิจการอนั เป็นเรอ่ื งชีวติ ประจาํ วนั เราสามารถท่ีจะนาํ ธรรมะไป
ใชเ้ พ่ือประโยชนแ์ กช่ ีวติ ประจาํ วนั ไดต้ ลอดกาล ในทา้ ยท่ีสดุ นี้
ดว้ ยอาํ นาจแหง่ คณุ พระศรรี ตั นตรยั จงดลบนั ดาลใหท้ า่ น

31

ทงั้ หลายมีจิตใจ มีแนวโนม้ เขา้ ไปสสู่ ภาวะรู้ ต่นื เบกิ บาน อนั
เป็นคณุ ธรรมท่ีทาํ คนใหเ้ ป็นพระพทุ ธเจา้

แลว้ ก็ปรารถนามรรคผลนิพพานก็ใหส้ าํ เรจ็ ตามปณิธาน
ความปรารถนาโดยท่วั กนั มาทกุ ทา่ นเทอญ โดยบรรยายมา ก็
สมควรแกเ่ วลา เอวงั ก็มีดว้ ยประการฉะนี้

ท่ีมา: https://youtu.be/9pGCGYjgSg0

32


Click to View FlipBook Version