The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

สรุปธัมมานุปัสสนา โดย สมเด็จพระญาณสังวร

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by ทีมงานกรุธรรม, 2022-02-07 19:38:12

สรุปธัมมานุปัสสนาโดย สมเด็จพระญาณสังวร

สรุปธัมมานุปัสสนา โดย สมเด็จพระญาณสังวร

Keywords: สรุปธัมมานุปัสสนา,สมเด็จพระญาณสังวร

สรุปธัมมานุปัสสนา
สมเด็จพระญาณสงั วร สกลมหาปรณิ ายก
บดั นี้ จกั แสดงธรรมะเป็นเครอ่ื งอบรมในการปฏิบตั อิ บรมจิต
ในเบอื้ งตน้ ก็ขอใหท้ กุ ๆ ทา่ นตงั้ ใจนอบนอ้ มนมสั การ พระผมู้ ี
พระภาคอรหนั ตสมั มาสมั พทุ ธเจา้ พระองคน์ นั้ ตงั้ ใจถงึ พระองค์
พรอ้ มทงั้ พระธรรมและพระสงฆเ์ ป็นสรณะ ตงั้ ใจสาํ รวมกาย
วาจาใจใหเ้ ป็นศลี ทาํ สมาธิในการฟัง เพ่ือใหไ้ ดป้ ัญญาในธรรม
ไดแ้ สดงสตปิ ัฏฐานมาโดยลาํ ดบั จบั แตห่ มวดกาย หมวด
เวทนา หมวดจติ มาถงึ หมวดธรรมะ อนั หมวดธรรมะซง่ึ เป็น
ท่ีตงั้ ของสตพิ จิ ารณา พระบรมศาสดาไดท้ รงสอนใหก้ าํ หนด
นิวรณใ์ นจิต พรอ้ มทงั้ การละนิวรณ์ อนั เป็นฝ่ายอกศุ ลธรรม
ธรรมะท่ีเป็นอกศุ ล จากนนั้ กไ็ ดท้ รงสอนใหต้ งั้ สตกิ าํ หนดขนั ธ์ ๕
กาํ หนดอายตนะภายในภายนอก กบั ทงั้ สงั โยชนค์ อื ความผกู
จติ ใจอยใู่ นอายตนะเหลา่ นี้
ขนั ธ์ ๕ และอายตนะภายในภายนอก เป็นหมวดอพั ยากต
ธรรม ธรรมะท่เี ป็นกลางๆ ไมเ่ ป็นกศุ ล ไม่เป็นอกศุ ล เป็นวบิ าก

1

ขันธ์ เป็นวิบากอายตนะ ซง่ึ บคุ คลไดม้ าจากชนกกรรม กรรมท่ี
ใหเ้ กิดมา และพระพทุ ธองคไ์ ดท้ รงสอนใหก้ าํ หนดพิจารณาขนั ธ์
๕ อายตนะภายในภายนอก อนั เป็นวบิ ากขนั ธ์ วบิ ากอายตนะ
เป็นอัพยากตธรรม ธรรมะท่ีเป็นกลางๆ และไดท้ รงสอนให้
กาํ หนดจบั สงั โยชนอ์ นั บงั เกิดขนึ้ ในจติ อาศยั อายตนะทงั้ สองนนั้
และสงั โยชนน์ ีก้ ็เป็นฝ่ายอกศุ ลธรรม ธรรมะท่ีเป็นอกศุ ล

อนั แสดงวา่ สงั โยชนซ์ ง่ึ เป็นอกศุ ลธรรมนีอ้ าศยั อายตนะนี้
เกิดขนึ้ ไม่ใชอ่ ่นื จงึ ไปตรสั สอนใหม้ ีสตกิ าํ หนดตวั สงั โยชนซ์ ง่ึ
เกิดขนึ้ ในจติ และกาํ หนดดบั สงั โยชนท์ ่ีบงั เกิดขนึ้ ในจติ จากนนั้ ก็
ตรสั สอนใหต้ งั้ สตกิ าํ หนดในโพชฌงคอ์ นั เป็นฝ่ายกศุ ลธรรม
ธรรมะท่ีเป็นกศุ ล และแมโ้ พชฌงคอ์ นั เป็นฝ่ายกศุ ลธรรมนี้ ก็
กลา่ วไดว้ า่ อาศยั อายตนะบงั เกิดขนึ้ อกี เหมือนกนั และก็กลา่ วได้
วา่ อาศยั ขนั ธ์ ๕ บงั เกิดขนึ้ ดว้ ย

และตอ่ จากนนั้ พระพทุ ธองคจ์ งึ ไดท้ รงแสดงสจั จะธรรมคือ
อริยสัจทงั้ ๔ อนั เป็นท่ีตงั้ แห่งญาณคอื ความหย่งั รู้ ซง่ึ ผปู้ ฏบิ ตั ิ
ในสตปิ ัฏฐานเม่ือตงั้ สติกาํ หนดมาโดยลาํ ดบั สตปิ ัฏฐานเล่อื น

2

ขนึ้ เป็นโพชฌงคก์ ็ย่อมจะไดว้ ิชชาหรอื ญาณคือความหย่งั รูใ้ น
อรยิ สจั จท์ งั้ ๔ อนั ไดแ้ ก่ทุกข์ ทกุ ขสมุทยั เหตใุ หเ้ กิดทกุ ข์ ทกุ ขนิ
โรธความดบั ทกุ ข์ และทุกขนิโรธคามนิ ีปฏปิ ทา ขอ้ ปฏบิ ตั ิให้
ถึงความดบั ทกุ ข์

อนั การปฏิบตั ธิ รรมะของพระพทุ ธเจา้ นนั้ ยอ่ มปฏบิ ตั ไิ ดเ้ ป็น
อนุปุพพปฏปิ ทา คือขอ้ ปฏบิ ตั ิโดยลาํ ดบั แมว้ า่ จะจบั ปฏิบตั ใิ น
ลมหายใจเขา้ ลมหายใจออก ทาํ สติในลมหายใจเขา้ ลมหายใจ
ออก อนั เรยี กวา่ อานาปานสติ อนั นบั เขา้ ในหมวดกาย เม่ือได้
สติเป็นสตปิ ัฏฐานขนึ้ ก็จะไดส้ ตทิ ่ีเล่อื นขนึ้ มาโดยลาํ ดบั เอง คือ
ธรรมปฏิบตั จิ ะเล่อื นชนั้ ขนึ้ ไปเอง โดยผปู้ ฏิบตั เิ ป็นผปู้ ระคองสติ
แมใ้ นลมหายใจเขา้ ลมหายใจออกนี้

เม่ือสตติ งั้ เป็นสตปิ ัฏฐาน กายก็จะปรากฏคือตวั ลมหายใจ
เขา้ ลมหายใจออกเอง เวทนาก็จะปรากฏคือตวั ความรูใ้ นลม
หายใจเขา้ ในลมหายใจออก อนั เป็นความรูเ้ สวย จิตก็จะปรากฏ
คอื จติ ท่ีมีสตติ งั้ อยใู่ นตวั ลมหายใจเขา้ ลมหายใจออก และใน
ความรู้ รูล้ มหายใจเขา้ ลมหายใจออกท่ีเป็นความรูเ้ สวย ธรรมะก็

3

จะปรากฏ หากเป็นนิวรณซ์ ง่ึ เป็นอกศุ ลธรรม นิวรณน์ กี้ จ็ ะ
ปรากฏ และเม่ือสตติ งั้ กาํ หนดอยนู่ วิ รณก์ จ็ ะดบั

และเม่ือนิวรณด์ บั ขนั ธ์ ๕ อนั เป็นท่ีตงั้ ของทงั้ สตแิ ละทงั้
นิวรณ์ และทงั้ เป็นสว่ นประกอบในการปฏบิ ตั กิ ็จะปรากฏ เป็น
รูป เป็นเวทนา เป็นสญั ญา เป็นสงั ขาร เป็นวญิ ญาณ รวมเขา้ ก็
เป็นนามรูปดงั ท่ีเรยี กวา่ กายใจ รูปก็เป็นกาย นามกเ็ ป็นใจ กาย
ใจก็จะปรากฏ และอายตนะก็จะปรากฏ อายตนะก็คอื ตากบั รูป
ท่ีประจวบกนั อยู่ หกู บั เสียงท่ีประจวบกนั อยู่ จมกู กบั กลิ่นท่ี
ประจวบกนั อยู่ ลิน้ กบั รสท่ีประจวบกนั อยู่ กายและโผฏฐัพพะสงิ่
ท่ีกายถกู ตอ้ งท่ีประจวบกนั อยู่ มโนคอื ใจและธรรมะคือเรอ่ื งราว
ท่ีประจวบกนั อยู่ ก็จะปรากฏ

และตวั สงั โยชนก์ ็จะปรากฏขนึ้ แกค่ วามรู้ ในขณะท่ีอายตนะ
ภายในอายตนะภายนอกเหลา่ นีป้ ระจวบกนั สงั โยชนท์ ่ีปรากฏ
ขนึ้ แกค่ วามรูน้ ี้ ตา่ งจากสงั โยชนท์ ่ีบงั เกิดขนึ้ แตไ่ มป่ รากฏแก่
ความรู้ ผทู้ ่ียงั มิไดป้ ฏิบตั ิใหไ้ ดส้ ตนิ นั้ เม่ืออายตนะภายใน
อายตนะภายนอกประจวบกนั ยอ่ มเกิดสงั โยชนค์ อื ความผกู อยู่

4

เสมอ แตไ่ มป่ รากฏแกค่ วามรู้ สงั โยชนจ์ งึ ครอบงาํ ได้ เม่ือ
สังโยชนค์ รอบงาํ ได้ อายตนะเองก็เป็ นสังโยชน์ ขนั ธ์ ๕
เองหรือนามรูปกเ็ ป็ นสังโยชนไ์ ปหมด ซบั ซอ้ นกนั และก็
ปรากฏสบื เน่ืองไปเป็นนิวรณไ์ ดท้ กุ ขอ้

แตผ่ ปู้ ฏบิ ตั ิทาํ สติปัฏฐานนนั้ เม่ือไดส้ ติปัฏฐาน สงั โยชน์
ยอ่ มปรากฏแก่ความรูว้ า่ สงั โยชนเ์ กิด และเม่ือปรากฏแกค่ วามรู้
สงั โยชนก์ ็ดบั จงึ เหน็ เกิดดบั ของทงั้ อายตนะภายในภายนอก กบั
ทงั้ ของสงั โยชน์ เพราะปรากฏแก่สตทิ ่ีกาํ หนดอยู่ และเม่ือเป็นด่งั
นี้ สติท่กี าํ หนดดอู ย่ดู ่งั นีก้ ็เลอ่ื นขนึ้ เป็นสตสิ ัมโพชฌงค์ เป็นสติ
ท่ีประกอบดว้ ยปัญญา คกู่ นั ไปกบั ปัญญา

และก็เล่ือนขนึ้ เป็นธัมมวิจยสัมโพชฌงค์ วจิ ยั ธรรมเลือก
เฟ้นธรรม ก็คอื อายตนะภายในภายนอกท่ีประจวบกนั ปรากฏ
สงั โยชนท์ ่ีเกิดขนึ้ ปรากฏ สงั โยชนท์ ่ีดบั ไปปรากฏ รูว้ า่ น่ีเป็น
อายตนะภายใน ภายนอก น่ีเป็นสงั โยชนเ์ กดิ น่ีเป็นสงั โยชนด์ บั
ธรรมวจิ ยั เลือกเฟน้ ธรรม ก็คือมองเหน็ ธรรมะท่ีบงั เกิดขนึ้ ในจิตนี้
เอง รูจ้ กั วา่ น่ีเป็นกศุ ล น่ีเป็นอกศุ ล น่ีเป็นอพั ยากตธรรมกลางๆ

5

ตวั อายตนะภายในภายนอกน่ีเป็นอพั ยากตธรรมกลางๆ
สงั โยชนท์ ่ีบงั เกิดขนึ้ เป็นอกศุ ล สบื ไปเป็นนิวรณก์ ็เป็นอกศุ ล และ
ตวั สตปิ ัฏฐานท่ีดอู ย่มู องเหน็ อย่เู ลอื กเฟน้ อยู่ น่ีเป็นตวั กศุ ล..กศุ ล
ธรรม กศุ ลธรรมก็ตดั อกศุ ลธรรม สงั โยชนก์ ด็ บั ไป

ธมั มวิจยสมั โพชฌงคจ์ งึ มองเหน็ ธรรมทงั้ หลายท่ีบงั เกิดขนึ้
และท่ีดบั ไปในจติ และเม่ือเป็นด่งั นีจ้ งึ ไดม้ ีวริ ิยะสัมโพชฌงคซ์ ง่ึ
เป็นตวั ความคมกลา้ ของปัญญาของสติ

ซง่ึ ตดั อกศุ ลไดฉ้ บั พลนั ย่งิ ขนึ้ และทาํ ใหส้ ตปิ ัญญาคมกลา้
ย่งิ ขนึ้ ปรากฏขนึ้ เป็นไปเอง จนถงึ ปัญญาท่ีคมกลา้ นีเ้ ป็นเคร่อื ง
หา้ มมใิ หส้ งั โยชนบ์ งั เกิดขนึ้ ซง่ึ จะตอ้ งตดั คือวา่ สงั โยชนเ์ ป็นฝ่าย
พา่ ยแพไ้ มก่ ลา้ โผลข่ นึ้ มา ขนั ธ์ ๕ ก็เป็นไป อายตนะภายใน
ภายนอกก็เป็นไป ไมต่ อ้ งหลบั ตาหลบั หเู ป็นตน้ ก็คงลมื ตาดู
อะไร หไู ดย้ นิ อะไร แตว่ า่ สงั โยชนไ์ มเ่ กิด ดว้ ยกาํ ลงั ของปัญญา
พรอ้ มทงั้ สตทิ ่ีคมกลา้ แปลวา่ ไม่กลา้ โผลห่ นา้ ขนึ้ มา ด่งั นเี้ ป็น
ลกั ษณะของวริ ยิ ะสมั โพชฌงค์

6

และเม่ือเป็นด่งั นีจ้ ิตก็ไดร้ บั การชาํ ระฟอกลา้ งขดั เกลาให้
บรสิ ทุ ธิ์ผดุ ผอ่ ง จงึ ไดค้ วามเบิกบานอนั เกดิ จากความบรสิ ทุ ธิ์ผดุ
ผอ่ ง ปรากฏเป็นสติสมั โพชฌงค์ อนั มีลกั ษณะท่ีอ่ิมใจ เบกิ บาน
ใจ ผอ่ งใสใจ เพราะเหตวุ า่ บรรดาเคร่อื งเศรา้ หมองตกลงไปจาก
จติ ไมท่ าํ ใหจ้ ติ เศรา้ หมอง จติ ก็ผอ่ งใส เบกิ บาน อ่ิมเอิบ ดดู ด่มื
อย่ใู นธรรมปฏบิ ตั ิย่ิงขนึ้ ไป เป็นปีตสิ มั โพชฌงค์ และเม่ือเป็นด่งั นี้
ก็เล่ือนขนึ้ เป็นปัสสัทธสิ ัมโพชฌงค์ คอื สงบ มีสขุ ทงั้ ทางใจทงั้
ทางกาย

สมาธิสัมโพชฌงคค์ อื ตวั สมาธิเองก็ตงั้ ม่นั แนว่ แนย่ ่ิงขนึ้
ประกอบดว้ ยความท่ีจิตสงบบรสิ ทุ ธิ์ ไมฟ่ งุ้ ซา่ นไปไหน ตงั้ สงบ
อยู่ และเม่ือเป็นด่งั นีจ้ ิตก็เพง่ กาํ หนดอยใู่ นภายใน ไม่ออกไป
ภายนอก รูอ้ ยใู่ นภายใน จิตท่ีตงั้ สงบอยใู่ นภายใน รูอ้ ยใู่ นภายใน
นีเ้ ป็นอุเบกขาสัมโพชฌงค์ เป็นจติ ท่วี างคอื ไม่วนุ่ วายจบั โนน่
จบั น่ี เป็นจติ ท่เี ฉยคือไมก่ าํ เรบิ ฟงุ้ ซา่ น สงบอยใู่ นภายใน แตว่ า่
รูอ้ ยเู่ ห็นอยู่ รูอ้ ยเู่ หน็ อย่ใู นภายใน รูอ้ ยเู่ หน็ อยู่ สงบอยู่ บรสิ ทุ ธิ์
ผดุ ผอ่ งอนั เป็นลกั ษณะของอเุ บกขาสมั โพชฌงค์

7

ฉะนนั้ อเุ บกขาคือความท่ีรูอ้ ย่ดู อู ยใู่ นภายในนี้ จงึ ดรู ูอ้ ยใู่ น
ตวั สมาธิของจติ เอง ดรู ูอ้ ยใู่ นความตงั้ ม่นั ของจิต ในสมาธิของจิต
จงึ ดจู งึ รูท้ งั้ ตวั สมาธิคอื ตวั ความตงั้ ม่นั ของจติ ทงั้ อารมณข์ อง
สมาธิ สมาธิตงั้ อย่ใู นอะไรก็รู้ ตวั สมาธิคอื ตวั ตงั้ อย่กู ็รู้ เป็นความ
ท่ีรวมพลงั ของความรูอ้ ย่ใู นจดุ อนั เดียว ซง่ึ มองเหน็ ทงั้ หมด
เหมือนอย่างวา่ ตารวมอย่ใู นหนา้ ปัทมข์ องนาฬกิ า ทกุ ๆ อยา่ งท่ี
อย่ทู ่ีหนา้ ปัทมข์ องนาฬกิ าก็มองเหน็ หมด เข็มนาฬิกาก็มองเหน็
ตวั เลขท่ีเป็นวงสาํ หรบั บอกเวลากม็ องเหน็

ทกุ ๆ อยา่ งในจติ ก็ปรากฏอย่ใู นความรูค้ วามเหน็ ทงั้ หมด
เม่ือเป็นด่งั นี้ เม่ือนอ้ มจติ ท่ีประกอบดว้ ยอเุ บกขาไปเพ่ือรูใ้ นสง่ิ ท่ี
ปรากฏอยใู่ นจติ นนั้ จงึ ย่อมจะเหน็ อรยิ สจั ได้ จะเหน็ ทกุ ข์ จะเหน็
สมทุ ยั จะเห็นนิโรธ จะเหน็ มรรค ก็เพราะวา่ เม่ือปฏบิ ตั ิไดส้ ติปัฏ
ฐานไดโ้ พชฌงคม์ าโดยลาํ ดบั จนถงึ อเุ บกขาสมั โพชฌงคด์ ่งั นี้
ตวั สมาธินนั้ เองนอกจากเป็นตวั ท่ีเป็นความต่งั ม่นั แนว่ แนข่ องจิต
แลว้ ยงั เป็นตวั รวมแหง่ ท่ีตงั้ ของปัญญาทงั้ หมด เม่ือสรุปลงแลว้

8

ขนั ธ์ ๕ นามรูป ก็อย่ใู นสมาธินี้ เพราะฉะนนั้ เม่ือนอ้ มจิตไปเพ่ือรู้
จงึ มองเหน็ นามรูปอนั เป็นตวั วิปัสสนาถกู

ทกุ ขสจั จะสภาพท่ีจรงิ คือทกุ ขก์ ็ยอ่ มปรากฏขนึ้ สภาวะทกุ ข์
ก็ย่อมจะปรากฏ ชาติ ชรา มรณะ ปกิณกะทกุ ขก์ ย็ ่อมจะปรากฏ
โสกะ ปรเิ ทวะ เป็นตน้ และทกุ ขสจั จะสภาพท่ีจรงิ คอื ทกุ ขป์ รากฏ
ขนึ้ ด่งั นี้ ธรรมดาท่ีปรากฏขนึ้ อนั เป็น ทกุ ขตา อนิจจตา อนตั ตา ก็
จะปรากฏขนึ้ ตณั หาท่ีซอ่ นอย่กู ็จะปรากฏขนึ้ เป็นตวั ทกุ ขสมทุ ยั
การปฏบิ ตั มิ าท่ีเป็นตวั ทกุ ขนิโรธก็จะปรากฏขนึ้ ขอ้ ปฏิบตั ิท่ี
ปฏิบตั มิ ารวมเขา้ เป็นมรรคสจั จะก็จะปรากฏขนึ้

เพราะฉะนนั้ พระพทุ ธองคจ์ งึ ไดท้ รงแสดงญาณในอรยิ สจั สบื
ตอ่ และเม่ือเหน็ ทกุ ขก์ ็คือดวงตาเหน็ ธรรมดงั ท่ีพระพทุ ธองคท์ รง
แสดงไว้ วา่ สิง่ ใดส่ิงหนง่ึ มีความเกิดขนึ้ เป็นธรรมดา ส่ิงนนั้
ทงั้ หมดมีความดบั ไปเป็นธรรมดา เม่ือเหน็ ทกุ ขด์ ่งั นีส้ มทุ ยั ก็จะ
ยอ่ มดบั ไปตามกาํ ลงั ของปัญญา ปรากฏเป็นทกุ ขน์ ิโรธความดบั
ทกุ ข์ ขอ้ ปฏิบตั ิมาก็เป็นมรรค

9

และพระพทุ ธองคไ์ ดท้ รงแสดงชีแ้ จงวา่ อะไรคือทกุ ข์ อะไร
คอื ทกุ ขสมทุ ยั อะไรคอื ทกุ ขนิโรธ อะไรคือมรรค ทงั้ ทกุ ข์ ทงั้ ทกุ ข
สมทุ ยั ทงั้ ทกุ ขนิโรธนนั้ ก็ตรสั แสดงยกเอาอายตนะภายใน
ภายนอกนีแ้ หละขนึ้ เป็นท่ีตงั้ มาโดยลาํ ดบั ตวั อายตนะภายใน
ภายนอกเองนนั้ เป็นตวั ทกุ ขสจั จะ และก็อาศยั อายตนะภายใน
ภายนอกน่ีแหละเป็นท่ีเกิดขนึ้ ตงั้ อย่ขู องสมทุ ยั สมทุ ยั ก็เกิดขนึ้
ท่ีน่ี และเม่ือสมทุ ยั ดบั เป็นนิโรธ นิโรธก็บงั เกิดขนึ้ ท่นี ่ีอกี
เหมือนกนั ไมใ่ ช่ท่ีไหน ทงั้ หมดนีก้ ็รวมอยใู่ นตวั สมาธิซง่ึ ประมวล
ไวใ้ นจติ นีเ้ อง ซง่ึ อาศยั อเุ บกขาคอื ความเขา้ ไปเพง่ ดเู พง่ ใหร้ ูใ้ ห้
เห็นอยภู่ ายในนี้ ก็จะปรากฏตวั ขนึ้ มาวา่ อะไรเป็นทกุ ข์ อะไรเป็น
สมทุ ยั อะไรเป็นนิโรธ อะไรเป็นมรรค โดยลาํ ดบั

ตอ่ ไปนีก้ ็ขอใหต้ งั้ ใจฟังสวดและตงั้ ใจทาํ ความสงบสืบตอ่ ไป
(ถอดเสียงธรรมโดย คณุ อณิศร โพธิทองคาํ )
ท่ีมา: https://youtu.be/MtPmCwRSa6E

10


Click to View FlipBook Version