The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

บทสวดชีวิตประจำวัน

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by ทีมงานกรุธรรม, 2022-03-04 23:12:11

บทสวดชีวิตประจำวัน

บทสวดชีวิตประจำวัน

Keywords: บทสวดชีวิตประจำวัน



บทสวดมนตร์

ในชีวิตประจาวนั



บาลมี งคลสูตรและคาแปล ๓

เอวมฺเม สตุ ํ ; ขา้ พเจา้ (พระอานนท์เถระ)ได้ฟังมาอยา่ งน้ี ;
เอกํ สมยํ ภควา สาวตฺถยิ ํ วิหรติ สมยั หน่งึ พระผมู้ พี ระภาคเจ้า

เชตวเน อนาถปณิ ฺฑกิ สฺส ประทับอยู่ในพระเชตะวนั วิหาร

อาราเม. อถ โข อญญฺ ตรา เทวตา อารามของทา่ นอนาถบณิ ฑกิ ะ

อภกิ กฺ นตฺ าย รตฺตยิ า อภกิ ฺกนตฺ วณฺณา, คหบดี ใกลก้ รงุ สาวัตถี คร้ังนัน้ แล

เกวลกปปฺ ํ เชตวนํ โอภาเสตฺวา, เม่อื ราตรี (ตอนปฐมยาม) ลว่ งแลว้

เยน ภควา เตนปุ สงฺกม,ิ เทวดาองค์หนึ่งมรี ัศมีงดงามยงิ่ นกั

อปุ สงกฺ มติ ฺวา ภควนตฺ ํ อภวิ าเทตวฺ า ทําพระเชตะวันให้สวา่ งไสวไปท่วั

เอกมนตฺ ํ อฏฺฐาส.ิ เอกมนตฺ ํ ฐติ า ทั้งพระวิหาร เข้าไปเฝ้าพระผูม้ ี

โข สา เทวตา ภควนตฺ ํ คาถาย พระภาคเจา้ ถวายอภวิ าทแลว้ ยนื

อชฺฌภาสฺ อยู่ ณ ทสี่ มควรส่วนข้างหนึ่ง ได้

๑. พหู เทวา มนสุ สฺ า จ กราบทลู พระผมู้ พี ระภาคเจา้ ดว้ ยคาถาวา่ :-
เทวดาและมนษุ ย์ทงั้ หลายเปน็ ันมาก

มงคฺ ลานิ อจินฺตยํ เม่ือปรารถนาความสวัสดี(แกต่ น)

อากงฺขมานา โสตฺถานํ ไดพ้ ากันคดิ ค้นหามงคลท้งั หลาย

พฺรหู ิ มงฺคลมุตฺตม.ํ ขอพระองคจ์ งตรัสบอกมงคลอันสงู สุดดว้ ยเถิด

(พระผูม้ พี ระภาคเจ้าทรงตรัสว่า)

๒. อเสวนา จ พาลาน,ํ ไม่คบคนพาลท้งั หลาย ๑

ปณฑฺ ติ านญจฺ เสวนา คบบณั ฑติ ทง้ั หลาย ๑ บชู าบคุ คล

ปชู า จ ปูชะนียานํ ผ้คู วรบูชาทัง้ หลาย ๑ (๓ อย่างนี้) นี้

เอตมมฺ งฺคลมุตฺตมํ . เป็นมงคลสงู สุด

๓. ปฏริ ูปเทสวาโส จ อยู่ในประเทศสมควร ๑ เป็น

ปุพเฺ พ จ กตปญุ ฺญตา ผูม้ ีบุญไดท้ ําไวใ้ นกาลก่อน ๑

อตฺตสมฺมาปณิธิ จ ตงั้ ตนไวโ้ ดยชอบ ๑( ๓ อยา่ ง)นี้

เอตมมฺ งคฺ ลมุตตฺ มํ . เปน็ มงคลสูงสุด

๔. พาหุสจฺจญจฺ สปิ ฺปญฺจ การได้ยินไดฟ้ ังมาก ๑ รู้ศลิ ปะ ๑

วนิ โย จ สุสกิ ขฺ ิโต ศึกษาวินัยเป็นอยา่ งดี ๑ กลา่ ว

สุภาสิตา จ ยา วาจา ถอ้ ยคําทด่ี ี ๑ (๔อย่าง)นเี้ ป็น

เอตมมฺ งฺคลมุตฺตมํ . มงคลสงู สุด

๕. มาตาปติ อุ ปุ ฏฐฺ านํ บาํ รงุ มารดาและบิดา ๑ สงเคราะห์
ปตุ ตฺ ทารสสฺ สงคฺ โห บตุ ร ๑ สงเคราะห์ภรรยา ๑ ทาํ

อนากุลา จ กม์มนฺตา การงานไม่อากลู ๑ ( ๔ อย่าง )น้ี ๔
เอตมฺมงฺคลมุตฺตม.ํ เปน็ มงคลสงู สดุ
๖. ทานญจฺ ธมมฺ จรยิ า จ ใหท้ าน ๑ ประพฤติธรรม ๑
ญาตกานญฺจ สงฺคโห สงเคราะห์ญาติท้ังหลาย ๑ ทาํ
อนวชฺชานิ กมมฺ านิ การงานไม่มีโทษ ๑ (๔อยา่ ง) น้ี
เอตมฺมงคฺ ลมุตตฺ ม.ํ เปน็ มงคลสูงสุด
๗. อารตี วรี ตี ปาปา งดเวน้ จากบาป ๑ เว้นจากด่มื น้าํ
มชชฺ ปานา จ สญฺญโม เมา ๑ ไม่ประมาทในธรรม
อปฺปมาโท จ ธมฺเมสุ ทั้งหลาย ๑ ( ๓ อย่าง)นี้
เอตมมฺ งคฺ ลมุตฺตมํ เป็นมงคลสงู สดุ
๘. คารโว จ นวิ าโต จ ความเคารพ ๑ อาการอ่อนน้อม
สนตฺ ฏุ ฐฺ ี จ กตญญฺ ตุ า ถ่อมตน ๑ สันโดษ (ความพอใจในของตน)
กาเลน ธมมฺ สฺสวนํ ๑ การรู้คุณที่คนอนื่ ทําไว้
เอตมฺมงฺคลมตุ ตฺ ม.ํ ๑ ฟงั ธรรมตามกาล๑(๕อย่าง)นเี้ ปน็ มงคลสูงสดุ
๙. ขนตฺ ี จ โสวจสฺสตา ความอดทน ๑ เปน็ คนว่างา่ ย๑
สมณานญจฺ ทสสฺ นํ พบเห็นคบหาสมณะทง้ั หลาย๑
กาเลน ธมฺมสากจฺฉา สนทนาธรรมตามกาล ๑ ( ๔ อยา่ ง )นี้
เอตมฺมงคฺ ลมุตฺตม.ํ เปน็ มงคลสงู สุด
๑๐. ตโป จ พรฺ หมฺ จรยิ ญจฺ บําเพญ็ ตบะ ๑ ประพฤติ
อริยสจฺจาน ทสฺสนํ พรหมจรรย์ ๑ เหน็ อรจิ สจั จ์
นิพฺพานสจฉฺ ิกิริยา จ ทง้ั หลาย ๑ เห็นแจง้ พระนิพพาน๑
เอตมฺมงฺคลมุตตฺ ม.ํ (๔อยา่ ง)น้เี ป็นมงคลสูงสุด
๑๑. ผฏุ ฐฺ สสฺ โลกธมฺเมหิ จติ ของผทู้ ถ่ี ูกโลกธรรมท้งั หลาย
จติ ตฺ ํ ยสฺส น กมปฺ ติ กระทบแล้วไม่หวั่นไหว ๑ จิตไม่
อโสกํ วริ ชํ เขมํ มคี วามเศรา้ โศก ๑ จติ ปราศจาก
เอตมมฺ งคฺ ลมตุ ฺตม.ํ กเิ ลศธุลี ๑ จติ มคี วามเกษม ๑ (๔อยา่ ง)นเ้ี ปน็

มงคลสงู สดุ

๑๒. เอตาทิสานิ กตวฺ าน เทวดาและมนษุ ย์ทัง้ หลายกระทํา
สพฺพตฺถมปราชิตา มงคลทงั้ หลาย(๓๘ ประการ)
สพฺพตถฺ โสตฺถึ คจฺฉนตฺ ิ เชน่ กล่าวนีแ้ ลว้ เป็นผไู้ มพ่ า่ ยแพ้
ตนฺเตสํ มงฺคลมุตตฺ มนตฺ .ิ ในที่ท้ังปวง ยอ่ มบรรลถุ ึงความสวสั ดีใน

ทท่ี กุ สถาน ขอ้ นน้ั เปน็ มงคลสงู สดุ ของเทวดา
และมนษุ ย์ทงั้ หลายเหล่าน้นั ฉะน้ีแล

คาอาราธนาต่างๆ ๕

คาอาราธนาพระปริตร

(มธี รรมเนยี มว่า ก่อนทจ่ี ะกล่าวคําอาราธนา, คาํ ถวาย, คาํ ภาวนาตอ้ งตั้งนะโม ๓ จบก่อน)

วิปัตติปะฏพิ าหายะ สัพพะสัมปตั ติสทิ ธยิ า,

สัพพะทกุ ขะวินาสายะ ปะริตตัง พรถู ะ* มังคะลัง.

วิปัตติปะฏพิ าหายะ สพั พะสัมปัตตสิ ิทธิยา,

สัพพะทกุ ขะวนิ าสายะ ปะริตตงั พรูถะ มงั คะลัง .

วปิ ตั ตปิ ะฏพิ าหายะ สัพพะสมั ปตั ตสิ ทิ ธิยา,

สพั พะโรคะวินาสายะ ปะรติ ตงั พรถู ะ มังคะลงั .



คาอาราธนาธรรม

พรัหมา** จะ โลกาธปิ ะตี สะหมั ปะติ,
กัตอัญชะลี อนั ธิวะรงั อะยาจะถะ,
สนั ตีธะ สัตตาปปะระชักขะชาตกิ า,
เทเสตุ ธัมมัง อะนุกมั ปิมัง ปะชัง

 * อ่านว่า พะ-ร-ู ถะ
 ** อ่านวา่ พรมั -มา



คาอาราธนาศลี ๕

มะยัง ภันเต (วสิ งุ วสิ งุ รักขะณัตถายะ ) ติสะระเณนะ สะหะ, ปัญจะ สีลานิ ยาจามะ ฯ
ทุตยิ มั ปิ มะยัง ภนั เต (วสิ ุง วิสุง รกั ขะณัตถายะ) ติสะระเณนะสะหะ, ปญั จะ สีลานิ ยาจามะ ฯ
ตะติยมั ปิ มะยงั ภันเต (วิสงุ วิสุง รกั ขะณัตถายะ) ตสิ ะระเณนะสะหะ, ปัญจะ สีลานิ ยาจามะ ฯ
หมายเหตุ
- ถา้ ผู้รับศีลมเี พยี งคนเดียวพงึ เปลย่ี น มะยัง เป็น อะหงั และเปล่ียน ยาจามะ เปน็ ยาจามิ
- ถ้าประสงคจ์ ะรบั ศีลแบบเคร่งครดั ไม่ให้ขาดตกบกพร่องเลยพงึ ตดั คาํ วา่

(วสิ งุ วิสงุ รกั ขะณัตถายะ) ภายในวงเล็บออก



คาอาราธนาศลี ๕ เป็นนิจศีล

มะยงั ภนั เต ติสะระเณนะ สะหะ,

ปญั จังคะสะมนั นาคะตงั นจิ จะสีลัง ยาจามะฯ

ทตุ ิยัมปิ มะยัง ภนั เต ติสะระเณนะ สะหะ,

ปจั จังคะสะมันนาคะตัง นิจจะสีลัง ยาจามะ ฯ

ตะตยิ ัมปิ มะยงั ภันเต ตสิ ะระเณนะ สะหะ,

ปญั จงั คะสะมันนาคะตงั นิจจะสีลัง ยาจามะฯ



อัฏฐะ สีลานิ คาอาราธนาศีล ๘
ทุติยัมปิ
อฏั ฐะ สีลานิ มะยงั ภันเต (วิสุง วิสุง รักขะณตั ถายะ) ติสะระเณนะ สะหะ,
ตะติยมั ปิ ยาจามะ ฯ
อฏั ฐะ สลี านิ มะยัง ภันเต (วิสงุ วสิ งุ รกั ขะณัตถายะ) ติสะระเณนะสะหะ,
ยาจามะ ฯ
มะยงั ภนั เต (วิสุง วิสุง รักขะณัตถายะ) ตสิ ะระเณนะ สะหะ,
ยาจามะ ฯ

๑๐

คาอาราธนาอโุ บสถศลี

มะยงั ภนั เต (วสิ ุง วิสงุ รักขะณตั ถายะ) ตสิ ะระเณนะ สะหะ ,
อฏั ฐังคะสะมนั นาคะตงั อุโปสะถัง ยาจามะ ฯ

(ว่า ๓ หน )
หมายเหตุ คําอาราธนาอโุ บสถศลี สว่ นใหญ่ตัดขอ้ วามในวงเล็บออก

๑๑

คาลากลับบา้ น

หันทะทานิ มะยัง ภันเต, อาปุจฉามะ

พะหกุ จิ จา มะยงั พะหกุ ะระณยี า.

พระสงฆ์ผรู้ บั ลากลา่ วคําวา่ “ยัสสะทานิ ตุมเห กาลัง มญั ญะถะ

ผูล้ าพงึ รบั พรอ้ มกนั วา่ “สาธุ ภันเต” แลว้ กราบ ๓ ครง้ั

๑๒

คาถวายต่างๆ

คาถวายสงั ฆทาน

(ประเภทสามญั )
อมิ านิ มะยัง ภนั เต, ภตั ตานิ, สะปะรวิ ารานิ,ภกิ ขสุ งั ฆัสสะ,
โอโณชะยามะ, สาธุ โน ภนั เต, ภิกขุสงั โฆ, อิมาน,ิ ภตั ตานิ, สะปะรวิ ารานิ,
ปะฏิคคัณหาต,ุ อัมหากงั , ทีฆะรตั ตัง, หติ ายะ, สุขายะ.

(คาแปล)
ขา้ แตพ่ ระสงฆผ์ ู้เจริญ, ขา้ พเจา้ ท้งั หลาย, ขอนอ้ มถวาย,ซึ่งภัตตาหาร,
กบั ท้งั บริวารเหลา่ น,้ี แกพ่ ระภิกษสุ งฆ์, ขอพระภกิ ษสุ งฆ,์ จงรับภัตตาหาร, กับทง้ั บรวิ าร
เหลา่ น้ี,ของข้าพเจ้าท้ังหลาย, เพอื่ ประโยชน์และความสุข,แก่ขา้ พเจ้าท้งั หลาย,สนิ้ กาลนาน เทอญ ฯ

หมายเหตุ ถ้ามีเครอื่ งบรวิ ารถวายพว่ งดว้ ย กต็ ดั คาํ วา่ “สะปะรวิ าราน”ิ และคาํ แปลวา่ “กับท้ัง
บริวาร” ออกเสยี งทุกแหง่

คาถวายสงั ฆทานอทุ ิศ

(ประเภทมตกภตั อทุ ิศผู้ตาย)
อมิ านิ มะยงั ภนั เต, มะตะกะภัตตานิ, สะปะรวิ ารานิ, ภกิ ขุสงั ฆสั สะ,
โอโณชะยามะ, สาธุ โน ภันเต, ภิกขสุ ังโฆ, อมิ าน,ิ มะตะกะภตั ตานิ,สะปะรวิ ารานิ,
ปะฏคิ ัณหาตุ, อัมหากญั เจวะ, มาตาปติ อุ าทนี งั , ญาตะกากัญจะ, ทฆี ะรตั ตัง, หติ ายะ,สุขายะ.

(คาแปล)
ข้าแตพ่ ระภกิ ษสุ งฆผ์ ูเ้ จรญิ , ข้าพเจา้ ท้ังหลาย, ขอนอ้ มถวาย
ซ่งึ มะตะกะภัต, กับท้งั บริวารเหล่าน,้ี แดพ่ ระภิกษสุ งฆ,์ ขอพระภกิ ษสุ งฆจ์ งรบั ,
ซงึ่ มะตะกะภัต, กับท้ังบริวารเหลา่ น,้ี ของขา้ พเจ้าทง้ั หลาย, เพอ่ื ประโยชนแ์ ละ
ความสขุ , แก่ข้าพเจ้าทั้งหลายดว้ ย แกญ่ าตทิ ั้งหลาย มบี ดิ า มารดา เป็นตน้ ด้วย, ตลอดกาลนาน
เทอญ.

คาถวายสลากภตั

เอตานิ มะยงั ภันเต, สะลากะภตั ตานิ, สะปะรวิ ารานิ, อะสกุ ฏั ฐาเน,
ฐะปติ านิ, ภิกขสุ งั ฆสั สะ, โอโณชะยามะ, สาธุ โน ภันเต, อมั หากงั , ทฆี ะรัตตัง,
หติ ายะ, สขุ ายะ.

๑๓

(คําแปล)

ข้าแต่พระสงฆ์ผ้เู จริญ, ขา้ พเจา้ ท้ังหลาย, ขอน้อมถวาย, ซึ่งสลากภตั , กบั
ทง้ั บรวิ ารทง้ั หลาย, ซ่ึงต้งั ไว้ ณ ที่โน้นน้ัน แกพ่ ระภิกษสุ งฆ์, ขอพระภิกษุสงฆจ์ งรับ, ซงึ่ สลากภตั ,
กบั ทง้ั บรวิ ารเหล่านัน้ , ของข้าพเจา้ ท้ังหลาย, เพือ่ ประโยชน์และความสุข, แกข่ ้าพเจา้ ทง้ั หลาย,สิน้
กาลนาน เทอญ ฯ

คาถวายข้าวสาร

อมิ านิ มะยงั ภนั เต, ตัณฑุลานิ, สะปะรวิ ารานิ, ภกิ ขสุ ังฆสั สะ, โอโณชะยามะ,
สาธุ โน ภันเต, ภกิ ขุสังโฆ, อมิ าน,ิ ตัณฑลุ านิ, สะปะริวารานิ, ปะฏคิ ัณหาตุ, อัมหากัง,
ทีฆะรัตตัง,หติ ายะ, สขุ ายะ.

(คําแปล)
ขา้ แต่พระสงฆ์ผเู้ จริญ, ขา้ พเจ้าทั้งหลาย, ขอนอ้ มถวายซ่ึงขา้ วสาร,
กบั ทง้ั บรวิ ารเหลา่ น,ี้ แกพ่ ระภิกษุสงฆ์ ขอพระภิกษุสงฆจ์ งรบั , ซึ่งข้าวสาร
กบั ทงั้ บรวิ ารเหล่าน,ี้ ของขา้ พเจา้ ท้ังหลาย, เพ่ือประโยชนแ์ ละความสุข, ของขา้ พเจา้
ทัง้ หลาย, ส้นิ กาลนาน เทอญ ฯ

คาถวายเภสชั ทาน

(มีนํา้ ผงึ้ เปน็ ต้น)
สะระโท นามายงั , ภันเต, กาโล สัมปตั โต, ยัตถะ ตะถาคะโต,
อะระหงั สมั มาสัมพทุ โธ, สาระทิกากาเธนะ, อาพาธกิ านัง, ภิกขนู งั ,
ปัญจะ เภสัชชาน,ิ อะนญุ ญาส,ิ สัปปงิ นะวะนตี งั , เตลัง, มะธุง, ผาณิตงั ,
มะยันทานิ, ตกั กาละสะทิสงั , สมั ปตั ตา, ตสั สะ ภะคะวะโต,
ปัญญัตตานุคัง, ทานงั , ทาตุกามา, เตสุ ปะรยิ าปนั นงั , มะธุง จะ, เตลงั จะ,
ผาณติ ัง จะ, ภกิ ขูนญั เจวะ, สามะเณรานัญจะ, โอโณชะยามะ, สาธโุ น ภันเต,
อัยยา, ยะถาวภิ ตั ตัง, มะธุทานัง จะ, เตลัง จะ,ผาณิตังจะ, ปะฏิคคณั หันตุ, อัมหากัง,
ทฆี ะรัตตัง, หติ ายะ, สขุ ายะ.

(คําแปล)
ขา้ แต่พระสงฆผ์ ู้เจริญ, บดั นส้ี ารทกาลมาถึงแลว้ , ในกาลใดเล่า,
พระตถาคตอรหันตสมั มาสมั พทุ ธเจา้ , ทรงอนญุ าตเภสัช ๕ อยา่ ง คอื , เนยใส เนยข้น,

น้าํ มัน นาํ้ ผึง้ นํา้ อ้อย, แก่ภิกษทุ งั้ หลาย, ผอู้ าพาธด้วยโรค, เกิดในสาทรกาล, บดั น้ี ๑๔

ข้าพเจ้าท้ังหลาย, มาถึงกาลเชน่ นี้แล้ว, ปรารถนาจะถวายทาน, ตามพระพทุ ธานุญาต, ของพระผูม้ ี

พระภาคเจา้ นนั้ , จงึ ถวายน้าํ ผง้ึ , กบั นํ้ามนั และน้ําออ้ ย, อนั นับเขา้ ในเภสัช ๕ อยา่ งนัน้ , แกพ่ ระภกิ ษุ

และสามเณรทงั้ หลาย, ขอพระผู้เปน็ เจา้ ทั้งหลายจงรบั , ซ่งึ มธทุ าน, เตลทาน, และผาณิตทาน, ของ

ข้าพเจา้ ทงั้ หลาย, ตามทีแ่ จกถวายแลว้ นน้ั ๆ , เพ่อื ประโยชน์และความสขุ , แกข่ ้าพเจา้ ทั้งหลาย, สิ้น

กาลนาน เทอญ ฯ

คาถวายเสนาสะ กุฏิ วิหาร

อมิ านิ มะยัง ภนั เต, เสนาสะนาน,ิ อาคะตานาคะตสั สะ,

จาตทุ ทิสัสสะ, ภิกขสุ ังสั สะ, นิยยาเทมะ, สาธุ โน ภนั เต, ภิกขุสงั โฆ,

อมิ าน,ิ เสานาสะนานิ, ปะฏิคัณหาตุ, อมั หากัง, ทีฆะรตั ตัง, หิตายะ, สขุ ายะ.

(คําแปล)

ข้าแต่พระสงฆผ์ ู้เจรญิ , ข้าพเจา้ ทัง้ หลายขอมอบถวาย, ซ่งึ เสนาสนะเหล่าน้ี,

แก่พระภิกษสุ งฆ,์ ผู้มใี นทิศทง้ั ๔, ท่ีมาแล้วก็ดี, ยังไมม่ าก็ดี, ขอพระภกิ ษุสงฆ์จงรบั ,

ซ่งึ เสนาสนะเหลา่ นี้, ของข้าพเจ้าทง้ั หลายเพือ่ ประโยชน์และความสุข, แก่ข้าพเจา้ ทั้งหลาย,

ส้ินกาลนาน เทอญ ฯ

คาถวายศาลาโรงธรรม

มะยงั ภันเต, อิมัง สาลงั , ธัมมะสะภายะ, อุททิสสะ, จาตุททิสสะ, ภิกขสุ ังฆัสสะ,

นิยยาเทมะ, สาธุ โน ภันเต, ภิกขสุ ังโฆ, อิมงั สาล,ี ปะฏคิ ัณหาตุ, อมั หากงั ,ทฆี ะรัตตัง,หติ า

ยะ, สุขายะ.

(คาํ แปล)

ขา้ แต่พระสงฆผ์ เู้ จรญิ , ข้าพเจา้ ทั้งหลาย, ขอมอบถวาย, ซง่ึ ศาลาหลังน้ี,แกพ่ ระภกิ ษุ

สงฆ,์ ผู้มใี นทศิ ทง้ั ๔ , อทุ ิศเพอ่ื เปน็ สถานท่ีแสดงธรรม, ขอพระภกิ ษุสงฆจ์ งรับ, ซง่ึ ศาลาหลังนี้,

ของขา้ พเจ้าทงั้ หลาย, เพ่อื ประโยชนแ์ ละความสขุ , แกข่ ้าพเจา้ ทง้ั หลาย, สิ้นกาลนานเทอญ ฯ

คาถวายผา้ วสั สกิ าสาฎก(ผ้าอาบน้าฝน)

อิมานิ มะยัง ภันเต, วัสสิกะสาฏิกานิ, สะปะริวารานิ, ภิกขุสังฆสั สะ, โอโณชะยา
มะ, สาธุ โน ภันเต, ภิกขสุ ังโฆ, อมิ านิ, วสั สกิ ะสาฏกิ านิ, สะปะริวารานิ, ปะฏคิ คณั หาตุ, อัมหากงั ,
ทฆี ะรัตตัง, หิตายะ, สุขายะ.

(คําแปล)
ข้าแตพ่ ระสงฆ์ผูเ้ จรญิ , ขา้ พเจา้ ท้งั หลาย,ขอน้อมถวาย, ซ่งึ ผา้ อาบนํ้าฝน,กับท้ัง
บริวารเหล่าน,้ี แกพ่ ระภิกษสุ งฆ์, ขอพระภกิ ษุสงฆจ์ งรับ, ซง่ึ ผา้ อาบนํ้าฝน, กับทง้ั บรวิ ารเหลา่ น,้ี
ของขา้ พเจา้ ท้งั หลาย, เพ่อื ประโยชน์และความสุข,แก่ขา้ พเจา้ ทั้งหลาย,ส้นิ กาลนานเทอญ ฯ

คาถวายผา้ จานาพรรษา ๑๕

อมิ านิ มะยงั ภันเต, วัสสาวาสกิ ะจวี รานิ, สะปะริวารานิ, ภกิ ขสุ งั ฆสั สะ, โอโณชะยามะ,

สาธุ โน ภนั เต, ภิกขุสงั โฆ, อิมาน,ิ วัสสาวาสิกะจวี ะรานิ, สะปะรวิ ารานิ, ปะฏคิ คัณหาตุ, อัมหากัง,

ทีฆะรตั ตัง, หติ ายะ, สขุ ายะ.

(คาํ แปล)

ข้าแต่พระสงฆผ์ ูเ้ จรญิ , ขา้ พเจ้าทง้ั หลาย, ขอน้อมถวาย, ซ่งึ ผ้าจํานาํ พรรษา,

กับทัง้ บรวิ ารเหล่าน,้ี แก่พระภกิ ษสุ งฆ์, ขอพระภกิ ษุสงฆจ์ งรับ, ซ่ึงผ้าจํานาํ พรรษา,

กบั ทัง้ บริวารเหล่าน,ี้ ของข้าพเจา้ ทั้งหลาย, เพ่ือประโยชนแ์ ละความสขุ , แกข่ า้ พเจา้ ทง้ั หลาย

ส้ินกาลนานเทอญ ฯ

คาถวายผา้ อัจเจกจีวร*

อิมานิ มะยัง ภนั เต, อจั เจกะจีวรานิ, สะปะริวารานิ, ภกิ ขสุ งั ฆสั สะ, โอโณชะยามะ, สาธุ โน

ภัณเต, ภกิ ขสุ ังโฆ, อมิ าน,ิ อจั เจกะจีวะรานิ, สะปะรวิ ารานิ, ปะฏคิ คณั หาต,ุ อมั หากงั , ทีฆะรตั ตัง,

หิตายะ, สขุ ายะ.

(คําแปล)

ขา้ แตพ่ ระสงฆผ์ เู้ จริญ, ข้าพเจ้าทง้ั หลาย, ขอน้อมถวาย,ผ้าอัจเจกจวี ร, กับทั้งบรวิ าร

เหลา่ น้ี,แกพ่ ระภกิ ษสุ งฆ์, ขอพระภิกษุสงฆจ์ งรบั , ผา้ อจั เจกจีวร, กับทง้ั บริวารเหล่าน,ี้ ของข้าพเจ้า

ทงั้ หลาย, เพ่ือประโยชน์และความสุข,แกข่ า้ พเจา้ ท้ังหลาย, สนิ้ กาลนานเทอญ ฯ

คาถวายผ้าปา่

อมิ านิ มะยงั ภันเต, ปงั สกุ ลู ะจีวะรานิ, สะปะริวารานิ, ภิกขุสังฆัสสะ, โอโณชะยามะ,
สาธุ โน ภันเต, ภิกขุสงั โฆ, อิมาน,ิ ปงั สุกูลจีวะรานิ, สะปะรวิ ารานิ, ปะฏิคคัณหาตุ, อมั หากัง,
ทฆี ะรัตตงั , หติ ายะ, สุขายะ.

(คําแปล)
ข้าแต่พระสงฆ์ผู้เจรญิ , ข้าพเจา้ ทัง้ หลาย, ขอน้อมถวาย, ผ้าบังสกุ ลุ จีวร, กบั ทั้งบรวิ ารเหล่าน,้ี
ของขา้ พเจา้ ท้งั หลาย,จงรับ, ผา้ บงั สุกลุ จีวร, กบั ทัง้ บรวิ ารเหล่าน,ี้ ของขา้ พเจ้าท้งั หลาย,เพื่อ
ประโยชนแ์ ละความสขุ ,แกข่ ้าพเจ้าทงั้ หลาย,สิน้ กาลนานเทอญ ฯ

คาถวายผ้ากฐิน

อมิ งั , สะปะริวารงั กะฐนิ ะจีวะระทสุ สงั , สงั ฆัสสะ, โอโณชะยามะ
( ว่า 3 จบ )

คาแปล

ข้าพเจา้ ท้ังหลาย, ขอน้อมถวาย, ผา้ กฐินจวี ร, กับทัง้ บรวิ ารน้ีแก่พระสงฯ

๑๖

คาถวายผ้ากฐิน( แบบที่ 2 )

อิมงั ภนั เต, สะปะรวิ ารัง, กะฐินะจวี ะระทสุ สัง, สังฆัสสะ, โอโณชะยามะ, สาธุ โน ภนั เต, สงั โฆ,
อิมัง, สะปะรวิ ารงั , กะฐนิ ะจีวะระทสุ สงั , ปะฏิคคณั หาต,ุ ปะฏิคเหตะวาจะ, อิมนิ า ทสุ เสนะ, กะฐนิ งั ,

อัตถะระต,ุ อมั หากัง, ฑีฆะรตั ตงั , หิตายะ, สขุ ายะ

คาแปล

ขา้ แตพ่ ระสงฆผ์ ้เู จรญิ ขา้ พเจา้ ทัง้ หลาย ขอน้อมถวาย ผา่ กฐินจีวร กับทงั้ บริวารนี้ แกพ่ ระสงฆ์ ขอ
พระสงฆ์จงรับ ผา้ กฐินจวี รกับทัง้ บรวิ าร นี้ของขา้ พเจา้ ท้ังหลาย คร้ันรบั แล้ว จงกรานกฐินดว้ ยผ้าน้ี

เพอ่ื ประโยชน์และความสขุ แกข่ า้ พเจ้าท้งั หลาย สน้ิ กาลนานเทอญฯ

คาถวายธปู เทยี นดอกไม้เพ่ือบูชา

อมิ านิ มะยัง ภนั เต, ทีปะธปู ะปปุ ผะวะรานิ,ระตะนัตตะยัสเสวะ,อะภิปเู ชมะ,อมั หากงั ,ระตะนัต
ตะยสั สะปูชา,ฑีฆะรัตตงั ,หติ ะสขุ าวะหา,โหต,ุ อาสะวักขะยัปปตั ตยิ า

คาํ แปล
ขา้ แต่พระคณุ เจา้ ทงั้ หลายผู้เจริญ ข้าพเจา้ ทัง้ หลาย ขอบูชาธปู เทียนและดอกไม้ อันประเสรฐิ เหล่านี้

แก่พระรัตนตรยั กริ ิยาท่ีบูชาแกพ่ ระรตั นตรัยนี้ จงเป็นผลนํามา ซ่ึงประโยชน์และความสุข แก่
ข้าพเจา้ ทง้ั หลาย สิ้นกาลนาน จงเป็นไปเพอื่ ให้ถึงซึ่งพระนิพาน เป็นท่ีสิ้นไปแห่งอาสวกเิ ลสเทอญฯ

คาถวายกระทงสาหรับลอยประทีป

มะยัง, อิมานิ ปะทีเปนะ, อะสกุ ายะ, นัมมะทายะ, นะทยิ า, ปลุ เิ น, ฐิตัง, มนุ ิโน, ปา
ทะวะลญั ชงั , อะภปิ ูเชมะ, อะภิปเู ชมะ, อะยัง, ปะทเี ปนะ, มุนโิ น, ปาทะวะลญั ชสั สะ, ปชู า, อมั หากงั ,
ทีฆะรตั ตัง, หิตายะ, สุขายะ, สงั วัตตะตุ.

(คาํ แปล)
ข้าพเจ้าทั้งหลาย, ขอบชู า, ซ่ึงรอยพระพุทธบาท,ทต่ี ง้ั อยเู่ หนอื หาดทราย, ในแม่นา้ํ ,
ชื่อนมั ทานทีโนน้ , ด้วยประทีปน้ี, กริ ิยาท่บี ูชา, รอยพระพทุ ธบาท, ด้วยประทปี นี้, ขอจงเปน็ ไป,เพื่อ
ประโยชน์และความสขุ , แก่ขา้ พเจ้าท้งั หลาย, สิ้นกาลนาน เทอญ ฯ

คาถวายธงเพือ่ บชู า

มะยงั , อมิ นิ า ธะชะปะฏาเกนะ, ระตะนตั ตะยงั , อะภิปูเชมะ,อะยัง,ธะชะปะฏาเกนะ
ระตะนัตตะยะปชู า, อัมหากัง, ทีฆะรตั ตัง, หิตายะ, สขุ ายะ, สงั วัตตะตุ.

๑๗

(คาํ แปล)
ขา้ พเจา้ ทัง้ หลาย, ขอบชู า, ซ่งึ พระรัตนตรยั ,ดว้ ยธงแผ่นน้ี, กิรยิ าทีบ่ ูชาพระรัตนตรยั

ด้วยธงแผน่ ผ้าน้ี, ขอจงเปน็ ไป,เพอื่ ประโยชนแ์ ละความสขุ แก่ขา้ พเจา้ ทั้งหลาย,
สิ้นกาลนาน เทอญ ฯ

คาถวายเวจกุฎี

มะยัง ภนั เต, อิมัง, วัจจะกุฏงิ , อาคะตานาคะตัสสะ, จาตุททสิ สสั สะ, ภิกขสุ งั ฆัสสะ
นยิ ยาเทมะ, สาธุ โน ภนั เต, ภกิ ขุสังโฆ, อิมัง, วัจจะกุฏงิ , ปะฏคิ คณั หาตุ, อัมหากงั , ทฆี ะรัต
ตงั , หติ ายะ, สขุ ายะ.

(คาํ แปล)
ขแตพ่ ระสงฆ์ผเู้ จรญิ , ข้าพเจา้ ทัง้ หลาย, ขอมอบถวาย,เวจกุฏหิ ลงั นี้, แกพ่ ระภกิ ษุ
สงฆ,์ ผู้มใี นทศิ ทง้ั ๔, ท่ีมาแลว้ กด็ ี, ยังไมม่ าก็ดี, ขอพระภิกษุสงฆจ์ งรับ, เวจกฏุ ิหลังน้ี, ของ
ขา้ พเจ้าทง้ั หลาย, เพือ่ ประโยชนแ์ ละความสขุ , แกข่ ้าพเจ้าทงั้ หลาย,ส้นิ กาลนาน เทอญ ฯ

คาถวายสะพาน

มะยงั ภันเต,อมิ งั ,เสตุง, มะหาชะนานงั , สาธารณัตถายะ, นยิ ยาเทมะ, สาธุ โน ภันเต
สังโฆ, อมิ ัสมงิ * เสตมุ ห,ิ นิยาทเิ ต, สกั ขิโก โหตุ, อิทงั , เสตุทานงั , อมั หากัง,ทีฆะรัตตัง, หิ
ตายะ, สขุ ายะ, สังวตั ตะตุ.

(คําแปล)
ขา้ แตพ่ ระสงฆผ์ ู้เจริญ, ข้าพเจา้ ทัง้ หลาย, ขอน้อมถวาย, ซงึ่ สะพานน้ี,เพื่อประโยชน์
ทัว่ ไป, แก่มหาชนทั้งหลาย, ขอพระสงฆจ์ งเปน็ พยาน, แกข่ า้ พเจ้าทง้ั หลาย, ในสะพานท่ี
ขา้ พเจ้าทงั้ หลาย,ไดม้ อบใหแ้ ล้วนี้, ขอเสตทุ านน้ี, จงเป็นไปเพอื่ ประโยชนแ์ ละความสุข, แก่
ข้าพเจา้ ทง้ั หลาย, สิ้นกาลนาน เทอญ ฯ

คาถวายปราสาทผง้ึ

มะยงั ภันเต,อมิ ัง, สะปะริวารัง, มะธุปุปผะปาสาทัง, อิมสั มงิ วิหาเร, ภิกขสุ ังฆัสสะ,
โอโณชะยามะ, สาธุ โน ภันเต, ภกิ ขุสงั โฆ, อิมัง สะปะรวิ ารัง, มะธุปปุ ผุปาสาทัง, ปะฏิคคณั
หาตุ, อัมหากัง,ทีฆะรตั ตัง, หิตายะ, สขุ ายะ.

(คําแปล)
ขา้ แต่พระสงฆผ์ ้เู จรญิ , ข้าพเจ้าทั้งหลาย, ขอน้อมถวายปราสาทผึ้งน้ี, กับทั้งบรวิ าร,
แก่พระภกิ ษสุ งฆ์, ในวหิ ารวัดน้ี, ขอพระภิกษสุ งฆจ์ งรับ, ปรามาสผึ้งนี้, กับท้งั บรวิ าร,ของ
ขา้ พเจ้าทั้งหลาย,เพื่อประโยชนแ์ ละความสุข, แก่ข้าพเจา้ ท้งั หลาย, ส้นิ กาลนาน เทอญ ฯ

๑๘

คาถวายโรงอุโบสถ

มะยงั ภนั เต,อมิ ัง อุโปสะถาคารงั , สังฆสั สะ,นิยยาเทมะ, สาธุ โนภันเต, สงั โฆ,
อิมงั , อโุ ปสะถาคารงั , ปะฏคิ คณั หาตุ, อัมหากงั , ทฆี ะรตั ตัง, หิตายะ, สขุ ายะ.

(คําแปล)
ข้าแต่พระสงฆผ์ ูเ้ จริญ, ข้าพเจ้าทั้งหลาย,ขอน้อมถวาย, ซง่ึ โรงอุโบสถหลังน,้ี
แก่พระสงฆ์, ขอพระสงฆ์จงรับ, ซึ่งโรงอโุ บสถหลงั น,ี้ ของขา้ พเจา้ ทง้ั หลาย, เพือ่ ประโยชน์
และความสุข, แก่ข้าพเจ้าท้ังหลาย, สน้ิ กาลนานเทอญ ฯ

คาถวายยานพาหนะ

มะยัง ภันเต, อิมัง ยานัง, ภิกขุสังฆัสสะ, นิยยาเทมะ, สาธุ โน ภันเต, ภิกขุสังโฆ,
อมิ งั ยานัง ปะฏคิ คณั หาตุ, อมั หากงั , ทีฆะรตั ตงั , หิตายะ, สขุ ายะ.

(คาํ แปล)
ขา้ แตพ่ ระสงฆผ์ เู้ จรญิ , ขา้ พเจ้าทัง้ หลาย, ขอมอบถวาย, ซ่งึ ยานพาหนะนี้, แก่
พระภิกษุสงฆ,์ ขอพระภกิ ษสุ งฆ์จงรบั , ซึ่งยานพาหนะน้ี, ของขา้ พเจา้ ทั้งหลาย, เพื่อ
ประโยชนแ์ ละความสขุ , แก่ข้าพเจา้ ท้งั หลาย, ส้ินกาลนาน เทอญ ฯ

คาถวายคมั ภีร์พระไตรปิฎก

มะยงั ภนั เต,อมิ งั สะปะรวิ ารัง, เตปฏิ ะกะคันถงั , สาตถงั สะพะยัญชะนัง, เกวะละ
ปะรปิ ณุ ณัง, ปะริสุทธัง, จาตทุ ทสิ ัสสะ, ภิกขุสงั ฆัสสะ, โอโณชะยามะ, สาธุ โน ภันเต, ภิกขุ
สังโฆ, อมิ งั สะปะรวิ ารัง, เตปิฏะกะคนั ถัง, สาตถงั สะพะยัญชะนงั , เกวะละปะริปุณณัง,
ปะริสุทธงั , ปะฏิคคณั หาต,ุ อมั หากงั , ทีฆะรตั ตงั , หติ ายะ, สขุ ายะ.

(คาํ แปล)
ขา้ แต่พระสงฆผ์ ู้เจรญิ , ข้าพเจา้ ทั้งหลาย, ขอน้อมถวาย, ซ่ึงคมั ภีรพ์ ระไตรปฎิ ก,
อนั มีอรรถะและพยัญชนะ, ครบถ้วนกระบวนความ, บรสิ ุทธ์บิ รบิ รู ณส์ ้นิ เชิง, กบั ท้งั บรวิ าร
นี้,แกพ่ ระภิกษุสงฆ์,ผ้มู ีในทิศทั้งส่ี, ขอพระภกิ ษสุ งฆจ์ งรับ, ซึงคมั ภรี พ์ ระไตรปฎิ กอันมี
อรรถและพยญั ชนะ,ครบถ้วนกระบวนความ, บริสุทธิบ์ รบิ รู ณ์ส้นิ เชิง,กบั ท้ังบรวิ ารน,ี้ ของ
ข้าพเจ้าทั้งหลาย, เพ่ือประโยชนแ์ ละความสขุ ,แก่ข้าพเจ้าทั้งหลาย, สิน้ กาลนาน เทอญ ฯ

คาถวายคมั ภรี ์พระธรรม

มะยัง ภนั เต, อมิ งั สะปะรวิ ารัง, โปฏฐะกะคนั ถงั , พะหชุ ะนะหติ ายะ, พะหชุ ะนะ
สขุ ายะ, มะหาเถเรหิ, ยุตตปั ปะยุตตัง, ธัมมิกงั , ธัมมะลัทธัง, จาตุททสิ สั สะ, ภกิ ขุสงั ฆัสสะ,
โอโณชะยามะ, สาธุ โน ภันเต, ภกิ ขสุ ังโฆ, อมิ ัง สะปะรวิ ารงั , โปฏฐะกะคนั ถัง, พะหชุ ะ
นะหติ ายะ, พะหุชะนะสุขายะ, มะหาเถเรหิ, ยุตตปั ปะยตุ ตงั , ธัมมกิ งั , ธัมมะลัทธัง,
ปะฏิคคัณหาต,ุ อมั หากัง, ทฆี ะรัตตงั , หิตายะ, สุขายะ.

๑๙

(คาํ แปล)
ข้าแตพ่ ระสงฆผ์ เู้ จรญิ , ข้าพเจ้าท้งั หลาย, ขอน้อมถวาย, ซ่งึ คัมภีร์พระธรรม, อนั
พระมหาเถระทัง้ หลาย, ชาํ รพสอบทานแลว้ , เพ่ือประโยชน์,แก่มหาชน, อนั เกดิ ขนึ้ โดยชอบ
ธรรม, อันไดม้ าโดยชอบธรรม, กับทัง้ บริวารน,ี้ แก่พระภกิ ษสุ งฆ์,ผู้มีในทิศทัง้ ส่ี, ขอ
พระภิกษสุ งฆจ์ งรับ,ซึ่งคัมภรี ์พระธรรม, อนั พระมหาเถระทั้งหลาย, ชําระสอบทานแล้ว,
เพ่อื ประโยชนส์ ขุ ,แก่มหาชน, อันเกดิ ขน้ึ แลว้ โดยชอบธรรม, อันไดม้ าโดยธรรม, กับทงั้
บรวิ ารน,ี้ ของข้าพเจา้ ท้ังหลาย,เพ่ือประโยชน์และความสขุ , แก่ข้าพเจ้าทงั้ หลาย,ส้นิ กาล
นาน เทอญ ฯ

คาภาวนาต่างๆ

คาภาวนาเม่ือยกมือไหวพ้ ระ
(ยกมอื ไหวพ้ ระพทุ ธ) ว่า สาธุ พทุ ธัง วนั ทามิ
(ยกมอื ไหว้พระธรรม)ว่า สาธุ ธมั มงั วนั ทามิ
(ยกมือไหวพ้ ระสงฆ์)ว่า สาธุ สังฆัง วันาทมิ

คาภาวนาเวลาเวยี นเทียนรอบพระอโุ บสถ

(จะเป็นเวลาแห่นาค, เวียนเทียนวนั วิสาขบูชา วันมาฆบูชา วันอาสาฬหบชู า ก็ตาม)
รอบ ๑ สวดบทพุทธคุณวา่ อิตปิ โิ ส ภะคะวา ฯลฯ พุทโธ ภะคะวาตฯิ หรือ ภาวนาวา่
“ พุทโธ” จนครบรอบที่ ๑
รอบ ๒ สวดบทธรมคุณว่า สวากขาโต* ภะคะวะตาธมั โมฯลฯ เวทติ พั โพ วญิ ญูหีติ ฯ หรอื
ภาวนาว่า “ธัมโม” จนจบ รอบท่ี ๒
รอบที่ ๓ สวดบทสงั โฆคณุ ว่า สปุ ะฏิปนั โน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ ฯลฯ ปญุ ญกั เขตตัง
โลกสั สาติฯ หรอื ภาวนาว่า “สังโฆ” จนครบรอบที่ ๓

คาภาวนาเวลากอ่ พระเจดยี ท์ ราย

อิมงั วาลุกัง เจติยงั อะธิฏฐาม.ิ
ข้าพเจ้าขออธฐิ าน ให้ทรายกองน้ีเปน็ พระเจดีย์( ภาวนาเรอ่ื ยไปจนกวา่ จะก่อเสรจ็ )

คาบูชาข้าวพระพุทธ

อมิ งั สปู ะพยญั ชะนะสมั ปนั นงั * สาลนี ัง โอทะนงั อุทะกงั วะรัง พุทธสั สะ ปเู ชมิ.
ขา้ พเจา้ ขอบชู าขา้ วสาลี พร้อมด้วยกบั แกง นา้ํ อันประเสริฐนแ้ี กพ่ ระพทุ ธเจา้ ( ข้าพเจ้าขอ
บูชาพระพทุ ธเจา้ ด้วยนาํ้ ข้าวสาลี พรอ้ มดว้ ยกับแกงอันประเสรฐิ น้ี)

๒๐

คาลาขา้ วพระพทุ ธ

เสสงั มงั คะลัง ยาจามิ.
ขา้ พเจา้ ขอส่วนทเ่ี หลอื อนั เป็นมงคล
หมายเหตุ * อา่ นว่า ส-ู ปะ-พะ-ยัน-ชะ-นะ-สัม-ปนั -นัง

คาอธิฐานก่อนใสบ่ าตร

ขา้ วของข้าพเจ้า ขาวเหมอื นดอกบวั
ยกขน้ึ ทนู หวั ตัง้ จิตจาํ นง
ใส่บาตรพ์ ระสงฆ์ มุง่ ตรงพระศรีอาริย์
ขอให้พบดวงแก้ว ขอให้แคลว้ บ่วงมาร
ขอใหถ้ งึ พระนพิ พาน ในอนาคตกาลเทอญ ฯ

คาบูชาเจดยี ์

อมิ นิ า สกั กาเรนะ เจตยิ งั ปเู ชมิ.
ข้าพเจา้ ขอบูชาเจดยี ์ ด้วยเครื่องสกั การะนี้

คาภาวนาเวลาไปเย่ียมศพ

อะวัสสงั มะยา มะรติ ัพพัง
เราต้องตายแน่นอน

คาภาวนาเวลารดน้าศพ

อทิ งั มะตะกะสะรรี งั อทุ ะกงั สญิ จติ งั อโหสกิ มั มงั .
ขอใหร้ ่างกายของผตู้ ายนี้ จงให้อโหสกิ รรมเหมือนน้ําทร่ี ดแลว้

คาภาวนาเวลาทอดผา้ บังสกุ ลุ

นามะรูปัง อะนจิ จัง นามะรปู งั ทุกขัง นามะรปู ัง อะนัตตา
นามรูปไมเ่ ทย่ี ง นามรูปเปน็ ทกุ ข์ นามรูปไม่ใชต่ ัวตน

คาภาวนาเวลาเผาศพ

อะยัมปิ โข เม กาโย เอวงั ภาวี เอวงั ธมั โม เอวังอะนะตีโต
แม้รา่ งกายของเรานีแ้ ล ก็จะตอ้ งเป็นเช่นนี้ จะต้องมอี ย่างน้ีเปน็ ธรรมดา จะไมล่ ว่ ง
พน้ ความตายอย่างนีไ้ ปได้

๒๑

คากรวดน้าแบบย่อ

อทิ งั เม ญาตนิ งั * โหตุ, สขุ ิตา โหนตุ ญาตะโย
ขอบญุ น้ี จงสาํ เร็จแกญ่ าติท้งั หลายของข้าพเจา้ , บอใหญ้ าตทิ งั้ หลาย จง
เปน็ ผู้มคี วามสุข ฯ
หมายเหตุ * ใชต้ ามทีป่ รากฏใน ติโรกุฑฑสตู ร

คาสาธุการเมอื่ พระเทศน์จบ

เมือ่ พระแสดงธรรมจบ ให้รับสาธกุ ารพรอ้ มกนั ด้วยถ้อยคําต่อไปน้ี
สาธุ พุทธะสุโพธิตา สาธุ ความเป็นผตู้ รสั รูด้ ีจริงของพระพุทธเจา้
สาธุ ธมั มะสุธมั มะตา สาธุ ความเป็นธรรมดีจรงิ ของพระธรรม
สาธุ สังฆะสุปะฏปิ ัตติ สาธุ ความเป็นผูป้ ฏบิ ัติดีจรงิ ของพระสงฆ์
อะโห พทุ โธ พระพทุ ธเจา้ นา่ อศั จรรย์จรงิ
อะโห ธัมโม พระธรรมเจา้ นา่ อศั จรรย์จริง
อะโห สงั โฆ พระสงฆเจ้า นา่ อัศจรรย์จรงิ
อะหัง พุทธญั จะ ธมั มญั จะ ขา้ พเจา้ ถงึ แล้ว ซึง่ พระพทุ ธเจ้า
สังฆัญจะ สะระณัง พระธรรม พระสงฆ์ วา่ เปน็ ท่พี งึ่
คะโต(คะตา)* ท่ีระลึกถึง ขา้ พเจา้ ขอแสดงตน,
อปุ าสะกัตตัง(อปุ าสกิ ัตตงั )** วา่ เปน็ อบุ าสก(อุบาสิกา)ในที่
เทเสสิง ภกิ ขสุ ังฆสั สะ สัมมุขา จาํ เพาะหนา้ พระภกิ ษุสงฆ์,
เอตัง เมสะระณงั เขมงั , เอตัง พระรตั นตรยั น,้ี เปน็ ที่พ่งึ อนั เกษม
สะระณะมตุ ตะมงั . ของข้าพเจา้ ,พระรตั นตรัยน้ี,เป็นท่ีพึง่ อนั สงู สดุ
เอตงั สะระณะมาคัมมะ, เพราะอาศยั พระรัตนตรยั น้เี ปน็ ท่พี ง่ึ ,
สพั พะทุกขา ปะมุจจะเย. ขา้ พเจา้ พงึ พ้นจากทกุ ขท์ ้งั ปวง
ยะถาพะลงั จะเรยยาหงั ขา้ พเจา้ จกั ประพฤติ,ซงึ่ พระธรรม
สมั มาสมั พุทธะสาสะนัง. คําสั่งสอน,ของพระสมั มา สัมพทุ ธเจา้ , โดย

สมควรแกก่ ําลงั .
ทกุ ขะนิสสะระณสั เสวะ ขอข้าพเจ้าพึงมีส่วนแห่งพระ
ภาคี อัสสัง(ภาคนิ สิ สัง)* นพิ พาน, อันเปน็ แดนออกจาก
อะนาคะเต. ทกุ ขใ์ นอนาคตกาล เบ้อื งหน้าโน้นเทอญ.
หมายเหตุ * ชายว่า “ภาคี อัสสงั ” หญงิ วา่ “ ภาคนิ ิสสงั ”

๒๒

บทถวายพรพระ

นโม ตสฺส ภควโต อรหโต สมฺมาสมฺพุทธฺ สสฺ ( ๓ หน)
อติ ปิ ิ โส ภควา อรํ สมมฺ าสมพฺ ทุ โฺ ธ วชิ ชฺ าจรณสมปฺ นโฺ น สคุ โต โลกวทิ ู อนตุ ตฺ โร ปรุ สิ ทมมฺ สารถิ

สตถฺ าเทวมนสุ สฺ านํ พุทโฺ ธ ภควาติ ฯ สวฺ ากฺขาโต ภควตา ธมฺโม สนฺทฏิ ฐิโก อกาลโิ ก เอหิปสฺสิโก โอ
ปนยโิ ก ปจฺจตตฺ ํ เวทติ พโฺ พ วญิ ฺญู หีตี ฯ สปุ ฏปิ นฺ โน ภควโต สาวกสงฺโฆ อุชปุ ฏิปนั ฺโน ภควโต
สาวกสงฺโฆ ญายปฏปิ นฺโน ภควโต สาวกสงฺโฆ สามีจิปฏิปนฺโน ภควโต สาวกสงโฺ ฆ ยททิ ํ จตฺตา
ริ ปรุ สิ ยานิ อฏฐ ปรุ ิสปุคคฺ ลา เอสภควโต สาวกสงฺโฆ อาหกเุ นยฺโย ปาหุเนยโฺ ย ทกฺขเิ ณยโฺ ย อญฺ
ชลี กรณีโย อนตุ ตฺ รํ ปุญฺญกฺเขตตฺ ํ โลกสฺสาติฯ
๑. พาหํ สหสสฺ มภนิ ิมฺมติ สาวธุ นตฺ ํ คฺรีเมขลํ อทุ ติ โฆรสเสนมารํ

ทานาทธิ มมฺ วธิ นิ า ชติ วฺ า มนุ นิ โฺ ท ตนเฺ ตชสา ภวตเุ ต (เม) ชยมงคฺ ลานิ
๒. มาราติเรกมภิยชุ ฌฺ ติ สพพฺ รตฺตึ โฆรมฺปนาฬวกฺขมถทธฺ ยกฺขํ

ขนตฺ สี ทุ นตฺ วธิ นิ า ชติ วฺ า มนุ นิ โฺ ท ตนเฺ ตชสา ภวตุ เต (เม) ชยมงฺคลานิ
๓. นาฬาคริ ึ คชวรํ อติมตตฺ ภตู ํ ทาวคคฺ จิ กกฺ มสนวี สทุ ารุณนฺตํ

เมตตฺ มพฺ เุ สวกวธิ นิ า ชติ วฺ า มนุ นิ โฺ ท ตนเฺ ตชสา ภวตุ เต (เม) ชยมงฺคลาน.ิ
๔. อุกฺขิตตฺ คคฺ มติหตฺถสุทารณุ นตฺ ํ ธาวนฺตโิ ย ชนปถงฺคุลิมาลวนฺตํ

อทิ ธฺ ภี สิ งขฺ ตมโน ชติ วฺ า มนุ นิ โฺ ท ตนเฺ ตชสา ภวตุ เต (เม) ชยมงคฺ ลาน.ิ
๕ . กตวฺ าน กฏฐมทุ รํ อิว คพฺภินยี า จญิ จฺ ายทฏุ ฐวจนํ ชนกายมชเฺ ฌ

สนเฺ ตน โสมวธิ นิ า ชติ วฺ า มนุ นิ โฺ ท ตนเฺ ตชสา ภวตุ เต (เม) ชยมงคฺ ลาน.ิ
๖. สจฺจํ วหิ าย มติ สงฺจกวาทเกตุ งํ วาทาภิโรปิตมนํ อติอนธฺ ภูตํ

ปญญฺ าปทปี ชลโิ ต ชติ วฺ า มนุ นิ โฺ ท ตนเฺ ตชสา ภวตุ เต (เม) ชยมงฺคลาน.ิ
๗. นนฺโทปนนทฺ ภชุ คํ วิพุธํ มหิทฺธํ ปุตฺเตน เถรภชุ เคน ทมาปยนฺโต

อทิ ธฺ ปู เทสวธิ นิ า ชติ วฺ า มนุ นิ โฺ ท ตนเฺ ตชสา ภวตุ เต(เม) ชยมงคฺ ลาน.ิ
๘. ทคุ ฺคาหทิฏฐิภุชเคน สุทฏฐหตฺถํ พฺรหฺมํ วิสุทฺธชิ ุตมิ ทิ ธฺ พิ กาภิธานํ

ญาณาคเทน วิธนิ า ชติ ฺวา มนุ นิ ฺโท ตนฺเตชสา ภวตุ เต (เม) ชยมงฺคลานิ
เอตาปิ พุทฺธชยมงฺคลอฏฐคาถา โย วาจโน ทินทเิ น สรเต มตฺนฺที
หิตวฺ าน เนกวิธิธานิ จุปทฺทวานิ โมกขฺ ํ สขุ ํ อธิคเมยฺย นโร สปญฺโญ
มหาการุณิโก นาโถ หิตาย สพพฺ ปาณนิ ํ
ปูเรตวฺ า ปารมี สพพฺ า ปตโฺ ต สมฺโพธิมุตฺตมํ
เอเตน สจฺจวชฺเชน โหตุ เต (เม) ชยมงฺคเล

อปราชิตปลฺลงเฺ ก สีเส ปฐวโิ ปกขฺ เร ๒๓

อภิเสเก สพพฺ พทุ ฺธานํ อคคฺ ปฺปตโฺ ต ปโมทติ

สุนกฺขตฺตํ สุมงฺคลํ สปุ ภาตํ สุหุฏฐิตํ

สุขโณ สุมหุ ุโต จ สยุ ิฏฐํ พรฺ หฺมจารีสุ

ปทกขฺ ณิ ํ กายกมฺมํ วาจากมฺมํ ปทกขณิ ํ

ปทกขฺ ิณํ มโนกมมฺ ํ ปณิธเี ต ปทกฺขณิ า

ปทกขฺ ณิ านิ กตฺวาน ลภนตฺ ตเฺ ถ ปทกขฺ เิ ณ ฯ

ภวตุ สพพฺ มงคฺ ลํ รกขฺ นตฺ ุ สพพฺ เทวตา

สพฺพพทฺธานุภาเวน สทา โสตถฺ ี ภวนฺตุ เต (เม)

ภวตุ สพฺพมงฺคลํ รกขฺ นฺตุ สพฺพเทวตา

สพพฺ ธมฺมานุภาเวน สทา โสตฺถี ภวนฺตุ เต (เม)

ภวตุ สพพฺ มงคลํ รกขฺ นตฺ ุ สพฺพเทวตา

สพฺพสงฆานภุ าเวน สทา โสตถฺ ี ภวนฺตุ เต (เม)

หมายเหตุ ถ้าจะสวดให้แกต่ ังเองในทุกๆบทสวด ใหเ้ ปล่ียน จาก เต เปน็ “เม ”

ทาวัตรเช้า

เมอื่ จดุ เทยี นบูชาพระเสร็จแลว้ พึงนั่งประนมมอื สงบใจระลึกถึงคณุ พระรัตนตรยั หัวหนา้
ว่านาํ แลว้ ว่าตามหวั หน้าดงั น้ี

“อรหํ สมฺมาสมพฺ ทุ ฺโธ ภควา พทุ ฺธํ ภควนฺตํ อภวิ าเทม”ิ (กราบลงหนหนง่ึ )
“สฺวากขฺ าโต ภควตา ธมฺมํ นมสฺสาม”ิ (กราบลงหนหน่ึง)
“ สปุ ฏปิ นฺโน ภควโต สาวกสงฺโฆ สงฺฆํ นมาม”ิ ( กราบลงหนหนง่ึ )
หัวหน้าวา่ นา หนฺท มยํ พุทฺธสฺส ภควโต ปุพพฺ ภาคนมการํ กโม เส.
รับพรอ้ มกัน นโม ตสฺส ภควโต อรหโต สมมฺ าสมฺพุทฺธสฺส ว่า ๓ จบ
หัวหนา้ วา่ นา หนทฺ มยํ พุทฺธาภถิ ตุ ึ กโรมเส.
รบั พร้อมกัน โย โส ตถาคโต อรหํ สมมฺ าสมพฺ ทุ โฺ ธ วิชชาจรณสมปฺ นฺโน สคุ โต
โลกวทิ ุ อนตุ ตฺ โร ปรุ สิ ทมมฺ สารถิ สตถฺ า เทวมนุสสฺ านํ พทุ โฺ ธ ภควาติ
โย อมิ ํ โลกํ สเทวกํ สมารกํ สพรฺ หทฺ กํ สสสฺ มณพรฺ าหมฺ ณึ ปชํ
สเทวมนสุ สฺ ํ สยํ อภญิ ญฺ า สจฉฺ กิ ตวฺ า ปเวเทสิ โย ธมมฺ ํ เทเสสิ
อาทกิ ลฺยาณํ มชเฺ ฌกลยฺ าณํ ปริโย สานกลยฺ าณํ สาตถฺ ํ สพยฺ ญฺชนํ
เกวลปรปิ ุณฺณํ ปริสุทธฺ ํ พฺรหทจฺ รยิ ํ ปกาเสติ ตมหํ ภควนตฺ ํ
อภปิ ชู ยามิ ตมหํ ภควนฺตํ สิรสา นมามิ.( กราบ)
หัวหนา้ วา่ นา หนฺท มยํ ธมมฺ าภถิ ตุ ึ กโรม เส
รับพรอ้ มกัน โย โส สวฺ ากฺขาโต ภควตา ธมโฺ ม สนทฺ ิฏฐิโก อกาลิโก เอหปิ สสฺ ิโก

โอปนยโิ ก ปจจฺ ตฺตํ เวทติ พฺโพ วิญญหู ิ ตมหํ ธมมฺ ํ อภิปชู ยามิ ตมหํ ธมํ สริ สา ๒๔
นมามิ (กราบ)
หัวหนา้ วา่ นา หนฺท มยํ สงฺฆาภิถตุ ึ กโรม เส
รบั พร้อมกนั โย โส สปุ ฏิปนโฺ น ภควโต สาวกสงฺโฆ อุชปุ ฏิปนฺโน ภควโต สาวกสงฺโฆ
ญายปฏิปนฺโน ภควโต สาวกสงโฺ ฆ สามีจปิ ฏิปนฺโน ภควโต สาวกสงฺโฆ
ยททิ ํ จตตฺ าริ ปุริสยุคานิ อฏฐ ปุรสิ ปุคคฺ ลา เอส ภควโต สาวกสงโฺ ฆ
อาหเุ นยโฺ ย ปาหุเนยฺโย ทกฺขเิ ณยโย อญฺชลกี รณีโย อนตุ ตฺ รํ ปญุ ญฺ กเฺ ขตฺตํ
โลกสฺส ตมหํ สงฆฺ ํ อภิปูชยามิ ตมหํ สงฺฆํ สิรยา นมามิ.(กราบ)
หวั หนา้ วา่ นา หนฺท มยํ รตนตตฺ ยปปฺ ณามคาถาโย เจว สงฺเวคปรกิ ิตฺตนปาฐญฺจ ภณาม เส.
รบั พร้อมกนั พุทฺโธ สุสทุ โฺ ธ กรณุ ามหณณฺ โว โยจจฺ นตฺ สทุ ธฺ พพฺ รญาณโลจโน
โลกสฺส ปาปูปกเิ ลสฆาตโก วนทฺ ามิ พุทธฺ ํ อหมาทเรน ต.ํ
ธมโฺ ม ปทีโป วิย ตสสฺ สตฺถโุ น โย มคคฺ ปากามตเภทภินนฺ โก
โลกตุ ฺตโร โย จ ตทตถฺ ทปี โน วนทฺ ามิ ธมมฺ ํ อหมาทเรน ต.ํ
สงฺโฆ สเุ ขตฺตาภยตเิ ขตตฺ สญฺญโิ ต โย ทิฏฐสนฺโต สุคตานโุ พธโก
โลลปฺปหโี น อริโย สุเมธโส วนทฺ ามิ สงฺฆํ อหมทเรน ต.ํ
อจิ ฺเจวเมกนตฺ ภิปชู เนยฺยกํ วตฺถุตฺตยํ วนทฺ ยตาภสิ งขฺ ตํ
ปุญญฺ ํ มยา ยํ มมสพฺพุปทฺทวา มา โหนตฺ ุ เว ตสฺส ปภาวสิทฺธยิ า
อธิ ตถาคโต โลเก อุปฺปนโฺ น อรหํ สมฺมาสมพฺ ทุ ฺโธ, ธมฺโม จ เทสโิ ต
นิยยฺ านิโก อุปสมโิ ก ปรินิพฺพานิโก สมฺโพธคามี สุคตปฺปเวทโิ ต มยนฺตํ
ธมฺมํ สตุ วฺ า เอวํ ชานาม, ชาตปิ ิ ทกุ ขฺ า ชราปิ ทกุ ฺขา มรณมปฺ ิ
ทกุ ขฺ ํ โสกปริเทวทุกฺข โทมนสฺสุปายาสาปิ ทุกฺขา. อปฺปเิ ยหิ สมปฺ โยโค
ทกุ ฺโข ปเิ ยหิ วปิ ปฺ โยโค ทกุ ฺโข ยมปฺ จิ ฉฺ ํ น ลภติ ตมฺปิ ทุกฺขํ.
สงขฺ ติ ฺเตน ปญฺจุปาทานกขฺ นธฺ า ทุกฺขา เสยยฺ ถที ํ รปู ูปาทานกขฺ นฺโธ
เวทนปู าทานกฺขนฺโธ สญฺญูปาทานกขฺ นฺ โธ สงขฺ ารูปาทานกขฺ นโฺ ธ
วิญฺญามณูปาทา นกฺขนฺโธ เยสํ ปริญฺญาย ธรมา โน โส ภควา.
เอวํ พหุลํ สาวเก วเิ นติ, เอวํ ภาคา จ ปนสสฺ ภควโต สาวเกสุ

อนสุ าน,ี พหลุ า ปวตฺตติ, รปู ํ อนิจจฺ ,ํ เวทนา อนจิ จฺ า, สญฺญา อนจิ ฺจา
สงขฺ ารา อนจิ จฺ า, วิญฺญานํ อนจิ จฺ ํ, รูปํ อนตตฺ า, เวทนา อนตฺตา สญฺญา
อนตตฺ า สงฺขารา อนตฺตา, วิญฺญาณํ อนตตฺ า สพฺเพ สงขฺ ารา อนิจฺจา,
สพเฺ พ ธมมฺ า อนตตฺ าต,ิ เต มยํ โอติณณฺ ามห ชาตยิ า ชรามรเณน,
โสเกหิ ปริเทเวหิ ทุกฺเขหิ โทมนสฺเสหิ อปุ ายาเสหิ ทุกฺโขติณฺณา
ทกุ ฺขปเรตา, อปเฺ ปว นามิสฺส เกวลสฺส ทุกขฺ กฺขนธฺ สสฺ อนฺตกริ ิยา
ปญฺญาเยถาต,ิ จิรปรนิ ิพฺพุฒมปฺ ิ ตํ ภควนฺตํ อทุ สิ สฺ อรหนตฺ ํ สมฺมาสมพฺ ทุ ธํ

สทฺธา อคารสมฺ า อนคารยิ ํ ปพพฺ ชติ า ตสมฺ ึ ภควติ พฺรหฺมจริยํ จราม, ๒๕

ภิกฺขนู ํ สกิ ฺขาสา ชีวสมาปนฺนา ตโํ น พรฺ หมฺ จริยํ, อิมสฺส เกวลสสฺ

ทกุ ฺขกขฺ นธฺ สสฺ อนตฺ กริ ยิ าย สวํ ตฺตตุ ฯ

สามเณร ถ้าสวดพรอ้ มกบั ภกิ ษุ เม่ือสวดถึงคาํ วา่ “ภกิ ขฺ นู ํ สิกขฺ าสาชีวสมาปนฺนา”

ให้นงิ่ เสยี พน้ บทนแ้ี ลว้ ให้สวดต่อไป คฤหัสถ์ เมอื่ สวดมาถงึ “ทุกขฺ กขฺ นุธสสฺ อนฺตกิริย ปญญฺ าเยถา

ติ”

แล้วสวดตอ่ ดังน้ี “จริ ปรนิ ิพฺพทุ ตปํ ิ ตํ ภควนฺตํ สรณํ คตา, ธมฺมญฺจ ภกิ ฺขุสงฺฆญฺจ ตสฺส ภควโต สาสนํ,

ยถาพลํ

มนสกิ โรม, อนุปฏิปชฺชาม, สา สา โน ปฏปิ ตตฺ ิ, อมิ สสฺ เกวลสฺส ทกุ ขฺ กฺขนธฺ สสฺ อนฺตกริ ิยาย สวํ ตฺตต”ุ

บทว่า “ เต มยํ” ถา้ สตรสี วดให้เปลยี่ นเป็น “ตา มย”ํ

ทาวตั รคา่ -เย็น

เมอื่ จดุ ธูปเทยี นบชู าพระเสร็จแลว้ พงึ นง่ั ประณมมอื สงบใจระลึกถงึ คณุ พระรัตนตรยั

หวั หน้าว่านาํ แลว้ ว่าตามหวั หนา้ ดงั น้ี

“อรหํ สมมฺ าสมพฺ ุทฺโธ ภควา พทุ ธฺ ํ ภควนฺตํ อภิวาเทม”ิ (กราบลงหนหนงึ่ )

“ สวฺ ากฺขาโต ภควตา ธมฺโม นมสสฺ าม”ิ (กราบลงหนหนึ่ง)

“ สปุ ฏิปนฺโนอภควโต สาวกสงโฺ ฆ สงฆฺ ํ นมาม”ิ (กราบลงหนหน่งึ )

หวั หนา้ วา่ นา “ยมมหฺ โข มยํ ภควนฺตํ สรณํ คตา อรหนตฺ ํ สมมฺ าสมฺพุทธ,ํ ยํ ภควนฺตํ

อทุ ทฺ สิ สฺ ปพพฺ ชติ ่, ยสฺมึ ภควติ พรฺ หฺมจริยํ จราม, ตมมฺ ยํ ภควนฺตํ

สธมมฺ ํ สสงฆฺ ํ ยถารหํ อาโรปเิ ตหิ สกฺกาเรหิ อภปิ ูชยิตฺวา อภวิ าทนํ

กรมิ ฺหาฯ หนฺททานิ มยํ ตํ ภควนฺตํ วาจาย อภิคายิตงุ . ปพุ พฺ ภาคนมการญฺเจว

พุทธฺ านุสสฺ ตนิ ยญฺจ กโม เส ฯ” แลว้ สวด นโม พรอ้ มกนั สามจบแลว้

หัวหนา้ ว่านา “หนฺท มยํ พทุ ธฺ านสุ สฺ ตินยญจฺ กโรม เส” แล้วสวดพร้อมกัน

ตํ โข ปน ภควฺตํ เอวํ กลฺยาโณ กิตฺตสิ ทโฺ ท อพภฺ ุคคฺ โต “ อติ ปิ โิ ส

ภควา อรหํ สมฺมาสมฺพุทฺโธ วิชชฺ าจรณสมฺปนโฺ น สคุ โต โลกวทิ ู อนตุ ตฺ โร

ปุรสิ ทมมฺ สารถิ สตถฺ า เทวมนสุ สานํ พทุ ฺโธ ภควาติ ”.

หวั หนา้ ว่านา “หนฺท มยํ พทุ ฺธาภิคีตึ กโรม เส” แล้วสวดพร้อมกนั

พุทธฺ วารหนตฺ วรตาทคิ ุณาภิยุตฺโต สทุ ธฺ าภิญาณกรุณาหิ สมาคตตโฺ ต

โพเธสิ โย สชุ นตํ กมลํ ว สูโร, วนฺทามหํ ตมรณํ สริ สา ชิเนนฺทํ.

พทุ โฺ ธ โย สพฺพปาณีนํ สรณํ เขมมุตฺตมํ

ปฐมานุสฺสติฏฐฺ านํ วนฺทามติ ํ สิเรนหํ

พุทฺธสาหสมฺ ิ ทาโส ว พุทโฺ ธ เม สามกิ สิ สฺ โร

พทุ โฺ ธ ทุกขฺ สสฺ ฆาตา จ วธิ าตา จ หติ สฺส เม ๒๖
พทุ ฺธสฺสาหํ นิยยฺ าเทมิ สรีรญฺชวี ิตญจฺ ทิ ํ

วนทฺ นฺโตหํ จรสิ ฺสามิ พทุ ฺธสฺเสว สุโพธิตํ
นตถิ เม สรณํ อญญฺ ํ พุทโฺ ธ เม สรณํ วรํ
เอเตน สจฺจวชเฺ ชน วฑเฺ ฒยฺยํ สตถฺ ุ สาสเน
พทุ ธฺ ํ เม วนทฺ มาเนน ยํ ปุญฺญํ ปสุตํ อธิ
สพฺเพปิ อนตฺ รายา เม มาเหสุง ตสสฺ เตชสา

กราบลงหน ๑ หมอบลงว่า
กาเยน วาจาย ว เจตสา วา พทุ เฺ ธ กกุ มฺมํ ปกตํ มยา ยํ

พุทฺโธ ปฏิคคฺ ณฺหตุ อจจฺ ยนฺตํ กาลนฺตเร สวํ ริตงุ ว พุทฺเธ.
หวั หนา้ วา่ นา “หนทฺ มยํ ธมมฺ านุสสฺ ตินยญจฺ กโรม เส”
สวฺ ากขฺ าโต ภควตา ธมโฺ ม, สนฺทิฏฐิโก อกาลิโก, เอหปิ สฺสิโก, โอปนยโิ ก
ปจจฺ ตตฺ ํ เวทติ พฺโพ วิญญหู ีติ ฯ
หวั หน้าว่านา “หนทฺ มยํ ธมฺมาภิคีตึ กโรม เส”
รบั พรอ้ มกัน สฺวากฺขาตตาทคิ ณุ โยควเสน เสยโฺ ย โย มคฺคปากปรยิ ตฺติวิโมกขฺ เภโท
ธมฺโม กุโลกปตนา ตทธาริธารี วนทฺ ามหํ ตมหรํ วรธมฺมเมตฯํ
ธมโฺ ม โย สพพฺ ปาณีนํ สรณํ เขมมตุ ตฺ มํ
ทุตยิ านุสสฺ ตฏิ ฐานํ วนทฺ ามิ ตํ สิเรนหํ
ธมฺมสฺสาหํ นยิ ฺยาเทมิ, สรีรญฺชีวิตญจฺ ิทํ,
วนฺทนโฺ ตหํ จริสสฺ ามิ ธมฺมสเฺ สว สธุ มมฺ ตํ

นตถฺ ิ เม สรณํ อญญฺ ํ ธมโฺ ม เม สรณํ วรํ,
เอเตน สจจฺ วชเฺ ชน วฑฺเฒยยฺ ํ สตถฺ ุ สาสเนล
ธมมฺ ํ เม วนทฺ มาเนน, ยํ ปุญญฺ ํ ปสตุ ํ อิธ.
สพฺเพปิ อนตฺ รายา เม, มาเหสงุ ตสสฺ เตชสา.
กราบลงหมอบว่า
“กาเยน วาจาย ว เจตสาวา, ธมฺเม กุกมฺมํ ปกตํ มยา ยํ.
ธมฺโม ปฏิคคฺ ณฺหตุ อจฺจยนตฺ ํ กาลนฺเตเร สํวริตงุ ว ธมฺเม,
หัวหน้าว่านา “หนฺท มยํ สงฆฺ านุสสฺ ตนิ ยญฺจ กโรม เส”
รับพร้อมกนั สุปฏปิ นโฺ น ภควโต สาวกสงฺโฆ, อชุ ปุ ฏิปนโฺ น ภควโต สาวกสงโฺ ฆ
ญายปฏิปนโฺ น ภควโต สาวกสงโฺ ฆ สามีจปิ ฏิปนโฺ น ภควโต สาวกสงฺโฆ
ยทิทํ จตฺตาริ ปุริสยุคานิ อฏฺฐ ปุริสปุคคฺ ลา เอส ภควโต สาวกสงโฺ ฆ

อาหุเนยฺโย ปาหุเนยโฺ ย ทกฺขิเณยฺโย อญชฺ ลกี รณโี ย อนตุ ตฺ รํ ปญุ ฺญกฺเขตตฺ ํ ๒๗
โลกสสฺ าต.ิ
หัวหนา้ วา่ นา “หนทฺ มยํ สงฆฺ าภิคตี ึ กโรม เส”
รบั พรอ้ มกัน สทฺธมมฺ โช สุปฏิปตตฺ ิคณุ าทยิ ตุ ฺโต โยฏฐพฺพิโธอริยปุคคฺ ลางฺฆเสฏโฐ
สลี าทธิ มฺมปวราสยกายจิตฺโต วววนทฺ ามหํ ตมริยาน คณํ สุสทุ ฺธํ
สงโฺ ฆ โย สพฺพปาณนี ํ สรณํ เขมมุตตฺ มํ
ตติยานุสฺสติฏฐานํ วนฺทามิ ตํ สเิ รนหํ
สงโฺ ฆ ทุกฺขสสฺ ฆาตา จ วธิ าตา จ หิตสสฺ เม.
สงฆฺ สสฺ าหํ นิยยฺ าเทมิ สีรรญฺชีวติ ญจฺ ทิ ํ
วนฺทนโฺ ตหํ จริสฺสาม,ิ สงฆฺ สฺโสปฏิปนนฺ ตํ
นตถฺ ิ เม สรณํ อยญฺ ํ สงโฺ ฆ เม สรณํ วรํ
เอเตน สจฺจวชฺเชน วฑฺเฒยยฺ ํ สตถฺ ุ สาสเน.
สงฺฆํ เม วนทฺ มาเนน ยํ ปุญฺญํ ปสุตํ อิธ.
สพฺเพปิ อนฺตรายา เม มาเหสงุ ตสสฺ เตชสา ฯ
กราบหมอบลงว่า
กาเยน วาจาย ว เจตสา วาสงเฺ ฆ กกุ มมฺ ํ ปกตํ มยา ยํ
สงฺโฆ ปฏิคคฺ ณหฺ ตุ อจฺจยนฺตํ กาลนตฺ เร สวํ ริตงุ ว สงฺเฆ

ทาวัตรพระ

นโม ตสสฺ ภควโต อรหโต สมฺมาสมฺพุทธฺ สฺส (๓จบ)
โย สนฺนิสนิ ฺโน วรโพธมฺ ูเล มารํ สเสนํ มหตึ วเิ ชยฺโญ
สมฺโพธมิ าคจฺฉิ อนนฺตญาโณ โลกตุ ตฺ โม ตํ ปณมามิ พุทธฺ ํ
เย จ พุทธฺ า อตี ิตา จ เย จ พทุ ธฺ า อนาคตา
ปจจฺ ปุ ปฺ นฺนา จ เย พทุ ฺธา อหํ วนฺทามิ สพพฺ ทา.ฯ
อติ ปิ ิ โส ภควา อรหํ สมมฺ าสมพฺ โฺ ธ วชิ ชฺ าจรณสมปฺ นโฺ น สคุ โต โลกวทิ ู อนตุ ตฺ โร ปรุ สิ ทมฺ
มสารถิ สตฺถา เทวมนุสสฺ านํ พทุ ฺโธ ภควติ ฯ
พทุ ธฺ ํ ชีวิตํ ยาว นิพฺพานํ สรณํ คจฉฺ ามิ.
นตฺถิ เม สรณํ อญญฺ ํ พทุ ฺโธ เม สรณํ วรํ
เอเตน สจจฺ วชเฺ ชน โหตุ เม ชยมงฺคลํ
อตุ ตฺ มงเฺ คน วนเฺ ทหํ ปาทปสํ งุ วรตุ ตฺ มํ
พุทฺเธ โย ขลโิ ต โทโส พุทโฺ ธ ขมตุ ตํ มมํ ฯ
กราบลงหนหน่งึ

อฏฐงคฺ ิโก อริยปโถ ชนานํ โมกขฺ ปเฺ วสาย อชุ ู จ มคฺโค
ธมโฺ ม อยํ สนตฺ ิกโร ปณโี ต นยิ ยฺ านิโก ตํ ปณมานิ ธมฺมํ

เย จ ธมมฺ า อตตี า จ เย จ ธมมฺ า อนาคตา ๒๘

ปจฺจปุ ฺนนฺ า จ เย ธมมฺ า อหํ วนทฺ ามิ สพพฺ ทาฯ

สวฺ ากขฺ าโต ภควตา ธมโฺ ม สนฺทิฏฐโิ ก อกาลโิ ก เอหิปสโฺ ก โอปนยโิ ก

ปจจฺ ตตฺ ํ เวทิตพฺโพ วิญญูหตี ฯิ

ธมฺมํ ชวี ติ ํ ยาว นิพฺพานํ สรณํ คจฺฉาม.ิ

นตฺถิ เม สรณํ อญฺญํ ธมฺโม เม สรณํ วรํ

เอเตน สจฺจวชเฺ ชน โหตุ เม ชยมงคฺ ลํ

อตุ ตฺ มงเฺ คน วนเฺ ทหํ ธมมฺ ญจฺ ทวุ ิธํ วรํ

ธมฺเม โยขลิโต โทโส ธมโฺ ม ขมตุ ตํ มมํฯ

กราบลงหนหน่งึ

สงฺโฆ วิสุทโฺ ธ วรทกฺขิเณยฺโย สนตฺ ินฺทฺริโย สพพฺ มลปปฺ หโี น

คุเณหิ เนเกหิ สมิทธฺ ิปตฺโต อนาสโว ตํ ปณมามิ สงฆฺ ํ

เย จ สงฆฺ า อตีตา จ เย จ สงฺฆา อนาคตา.

ปจจฺ ปุ ฺปนนฺ า จ เย สงฺฆา อหํ วนทิ ามิ สพพฺ ทา ฯ

สุปฏปิ นฺโน ภควโต สาวกสงโฺ ฆ อุชุปฏปิ นโฺ น ภควโต สาวกสงฺโฆ, ญายปฏปิ นฺ

โน

ภควโต สาวกสงฺโฆ สามจี ิปฏิปนฺโน ภควโต สาวกสงโฺ ฆ ยทิทํ จตตฺ าริ ปรุ สิ ยคุ านิ

อฏฺฐปุริสปคุ คลา เอส ภควโต สาวกสงโฺ ฆ อาหเุ นยโฺ ย ปาหุเนยโย ทกขฺ ิเณยโฺ ย อญชฺ ลี

กรณีโย, อนุตฺตรํ ปญุ ญฺ กเฺ ขตตฺ ํ โลกสสฺ าตฯิ

สงฆฺ ํ ชวี ติ ํ ยาวนพิ ฺพานํ สรณํ คจฉฺ ามิ .

นตถฺ ิ เม สรณํ อญฺญํ สงโฺ ฆ เม สรณํ วรํ.

เอเตน สจจฺ วชเฺ ชน, โหตุ เม ชยมงฺคลํ.ฯ

อตุ ตฺ มงเฺ คน วนเฺ ทหํ สงฆฺ ญจฺ ทวุ ธิ ตุ ตฺ มํ

สงฺเฆ โย ขลิโต โทโส สงฺโฆ ขมตุ ตํ มมํ

กราบลงหนหนึ่ง

คาถวายข้าวพระพทุ ธเจา้

อิมํ สปู พยญฺชนสมฺปนนฺ ํ สาลีนํ โภชนํ อุทกํ วรํ พทุ ฺธสฺส ปูเชมิ ฯ

คาลาข้าวพระพทุ ธ หรอื ลาเครอ่ื งสงั เวย

เสสํ มงคฺ ลํ ยาจามิ ฯ

๒๙

คาถวายสงั ฆทาน

อมิ านิ มยํ ภนฺเต ภตตฺ านิ สปริวารานิ ภกิ ฺขสุ งฆฺ สสฺ โอโณชยาม สาธุ โน
ภนเฺ ต ภกิ ขุสงโฺ ฆ อมิ านิ ภตตฺ านิ สปริวารานิ ปฏคิ ฺคณฺหาตุ อมหฺ ากํ ทฆี รตฺตํ
หิตายะ สขุ ายะ.

คาถวายผา้ กฐิน

๑. อิมํ สปรวิ ารํ กฐนิ จีวรทุสสฺ ํ สงฺฆสฺส โอโณชยาม ทุติยมฺปิ อิมํ สปริวารํ
กฐนิ จีวรทุสฺสํ สงฺฆสสฺ โอโณชยาม ตตยิ มปฺ ิ อิมํ สปริวารํ กฐนิ จวี รทุสสฺ ํ สงฺฆสฺส โอโณชยาม
๒. มยํ ภนฺเต อิมํ สปริวารํ กฐนิ จีวรทสุ สฺ สงฺฆสฺส นยิ ฺยาเทม สาธุ โน ภนฺเต
สงโฺ ฆ อมิ ํ สปริวารํ กฐนิ จวี รทสุ ฺสํ ปฏิคคฺ ณฺหาตุ อมหฺ ากํ ทีฆรตตฺ ํ หิตาย.

คาถวายผ้าป่า

อิมานิ มยํ ภนฺเต ปํสกุ ลุ จวี รานิ สปรวิ ารานิ ภิกขฺ สุ งฆฺ สฺส โอโณชยาม สาธุ โน ภนฺเต
ภิกขฺ สุ งฺโฆ อิมานิ ปํสกุ ลุ จวี รานิ สปรวิ ารานิ ปฏิคคฺ ณฺหาตุ อมหฺ ากํ ทฆี รตฺตํ หติ ายม สขุ าย ฯ

กรวดน้า

กรวดน้าอย่างย่อ- อทิ ํ เม ญาตนี ํ โหตุ สขุ ิตา โหนตุ ญาตโย .แปลวา่ ขอผลทานน้ี

จง
สําเร็จแกญ่ าตทิ ั้งหลายของขา้ พเจา้ ขอให้ญาติทัง้ หลายจงมแี ต่
ความสุขทวั่ กัน เทอญ ฯ

กรวดน้ายงั กญิ จ-ิ ยงกฺ ิญฺจิ กุสสํกมมฺ ํ กตฺตพฺพํ กิรยิ ํ มม

กาเยน วาจามนสา ติทเส สุคตํ กตํ

เย สตฺตา สญญฺ โิ น อตถฺ ิ เย จ สตตฺ า อสญญฺ ิโน

กตํ ปญุ ฺญผลํ มยหฺ ํ สพฺพเพ ภาคี ภวนตฺ ํ เต

เย ตํ กตํ สวุ ทิ ิตํ สพฺเพ ภาคี ภวนฺตุ เต

เย เจ ตตฺถ น ชานนฺติ เทวา คนฺตวฺ า นเิ วทยํ

สพเฺ พ โลกมฺหิ เย สตฺตา ชวี นตฺ าหารเหตกุ า

มนญุ ญฺ ํ โภชนํ สพเฺ พ ลภนฺตุ มม เจตสา.ฯ

คากรวดนา้ อมิ ินา- อมิ นิ า ปุญฺญกมฺเมน อปุ ชฺฌายา คณุ ตุ ฺตรา อาจรยิ ปู การา

จ มาตา ปติ า จญาตกา ปิยา มมํ สรุ โิ ย จนทฺ ิมาราชา คุณวนฺตา นราปิ

จ พฺรหมฺ มฺ ารา จ อนิ ทฺ า จ โลกปาลา จ เทวตา ยโม มติ ตฺ า มนสุ สฺ า จ ๓๐

มชฌฺ ตตฺ า

เวริกาปิ จ สพฺเพ สตฺตา สขุ ี โหนฺตุ ปญุ ญฺ านิ ปกตานิ เม สขุ ญจฺ ติ

วิธํ เทนตุ

ขปิ ฺปํ ปาเปถ โว มตํ ฯ อมิ ินา ปุญฺญกมเฺ มน อมิ นิ า อทุ ฺทิสฺเสน จ ขปิ ฺปาหํ

สลุ เภ เจว

ตณหฺ ปุ าทาน เฉทนํ เย สนฺตาเน หนิ า ธมฺมา ยาว นิพพฺ านโต มมํ นสสฺ นฺตุ

สพฺพทาเยว

ยตฺถ ชาโต ภเว ภเว อุชุ จติ ตฺ ํ สตปิ ญญฺ า สลเลโข วริ ิยมหฺ ินา มารา ลภนตฺ ุ

โน กาสํ

กาตุญจฺ วริ เิ ยสุ เม พุทฺธาทปิ วโร นาโถ ธมฺโม นาโถ วรุตฺตโม นาโถ ปจเฺ จก

พุทฺโธ

จ สงฺโฆ นาโถตฺตโร มมํ เตโสตฺตมานุภาเวน มาโรกาสํ ลภนตฺ ุ มา ฯ

คาบูชาพระรตั นตรัยในพิธีตา่ งๆ

อมิ ินา สกกฺ าเรน พทุ ธํ อภปิ ชู ยามิ.

อิมนิ า สกฺกาเรน ธมมฺ ํ อภิปชู ยามิ.

อมิ นิ า สกฺกาเรน สงฆฺ ํ อภปิ ชู ยาม.ิ

ข้าพระพุทธเจ้า ขอเคารพบูชาพระพุทธเจา้ ผู้เป็นสรณะที่พ่ึงทีร่ ะลึกอยา่ งสูงและ

ศกั ด์สิ ทิ ธิ์ ด้วยสักการะน้ี

ข้าพระพุทธเจา้ ขอเคารพบูชาพระธรรมคอื คาํ สง่ั สอนของพระองค์ ซ่ึงเป็นสรณะที่

พง่ึ ท่รี ะลกึ อย่างสงู และศักดส์ิ ิทธ์ิ ดว้ ยสักการะนี้ อน่ึง ข้าพระพทุ ธเจ้า ขอเคารพบูชาพระสงฆ์ คือ

สาวกของพระองค์ผู้เป็นสรณะที่พึ่งทร่ี ะลึกอยา่ งสูงและศักดสิ์ ทิ ธ์ิ ด้วยสกั การะนี้ ฯ

บดั น้ี ขา้ พระพทุ ธเจ้า ไดอ้ าราธนาพระภิกษมุ าทําพธิ .ี ..........อนั เปน็ มงคลในวนั น้ี

ขอเดชะพระบารมีแหง่ พระรตั นตรัยซึง่ เปน็ สรณะทพ่ี ึ่งทีร่ ะลึกอย่างสูงและศกั ดิส์ ิทธ์ิ ไดโ้ ปรด

บนั ดาลใหข้ า้ พระพทุ ธเจา้ (พรอ้ มดว้ ยครอบครัว) มคี วามเจริญงเรื่องท้งั ในดา้ นการงานและการเงนิ

มีความผาสกุ ทง้ั กายและใจ หากปรารถนาสิง่ ใด สงิ่ นั้น จงสาํ เร็จทกุ ประการ เทอญฯ

หมายเหตุ คําอธษิ ฐานที่เขียนไวน้ ้ี เขียนไวพ้ อเปน็ เคา้ หากปรารถนาสงิ่ ใดอกี กพ็ งึ อธิษฐานตาม

อัธยาศยั

คาชุมนมุ เทวดา

สคฺเค กาเม จ รูเป คริ สิ ขิ รตเฏ จนฺตลิกเฺ ข วมิ าเน ทเี ป รฏเฐ จ คาเม

ตรวุ นคหเณ เคหวตฺถมุ ฺหิ เขตฺเต ภมมฺ า จายนตฺ ุ เทวา ชลถลวิสเม ยกขฺ คนฺธพพฺ นาคา

ตฏิ ฺฐนตฺ า สนตฺ ิเก ยํ มนุ วิ รวจนํ สาธโว เม สุณนตฺ ุ ธมฺมสฺสวนกาโล อยมฺภทนตฺ า

ธมมฺ สฺสวนกาโล อยมฺภทนฺตา ธมฺมสสฺ วนกาโล อยมฺภทนตฺ า ฯ

๓๑

คาสงั เวยเทวดา

พุทฺโธ โย มงคฺ ลตฺถีนํ มงคฺ ลํ อิติ วสิ สฺ โต
เทสโก มงฺคลตถฺ านํ มงฺคลนตฺ ํ นมามิหํ
ธมโฺ ม โย มงคฺ ลตถฺ นี ํ มงคฺ ลํ อิติ วสิ สฺ โุ ต
โชตโก มงฺคลตถฺ านํ มงฺคลนฺตํ นมามิหํ
สงโฺ ฆ โย มงฺคลตฺถนี ํ มงคฺ ลํ อติ ิ วิสสฺ โุ ต
การโก มงฺคลตถฺ านํ มงฺคลตฺ ํ นมามหิ ํ ฯ
ขา้ พเจา้ เป็นพุทธศาสนิกชนผู้นับถือพระศาสนา ขอเคารพบชู าพระพุทธเจา้ ผู้เป็น
ปรากฏวา่ เปน็ มงคลแกเ่ ทวดาและมนุษย์ท้งั หลาย ผตู้ อ้ งการมงคล ผ้แู สดงประโยชนอ์ ันเป็นมงคล
ขอเคารพบชู า
พระธรรม ซง่ึ ปรากฏว่า เปน็ มงคลแกเ่ ทวดาและมนุษยท์ ัง้ หลายผู้ต้องการมงคล ทั้งเปน็ สภาพส่อง
ประโยชนอ์ นั เป็นมงคล ขอเคารพบชู าพระสงฆ์ผูป้ รากฏว่าเปน็ มงคลแก่เทวดาและมนุษย์ทงั้ หลาย ผู้
ต้องการมงคล และผู้กระทําประโยชน์อนั เป็นมงคล
บัดน้ขี า้ พเจา้ ได้กระทาํ พิธ.ี .....(หรือได้อาราธนาพระภิกษุมาทาํ พธิ ี) ในวนั น้ีและใน
พิธนี ขี้ ้าพเจา้ ไดจ้ ดั เครอ่ื งสงั เวยเปน็ เทวดาพลี ฉะน้นั ขา้ พเจ้าขออัญเชญิ เทวดาท้งั หลายใรหมื่น
จักรวาล เป็นต้นวา่ พระสยามเทวาธิราช พระเสอื้ เมือง พระทรงเมอื งพระหลักเมอื ง พระภมู ิเจา้ ท่ี
เจ้ากรงุ พลี ได้โปรดเสด็จมารบั เครื่องสงั เวย และอนุโมทนา ในพธิ อี นั เป็นมงคลนี้
ดว้ ยเดชานภุ าพแห่งพระรัตนตรัยอันเป็นมงิ่ มงคลน้ี และด้วยอานภุ าพแห่งเทวดา
เหล่าน้ี ขอให้พธิ นี ด้ี ําเนนิ ไปด้วยความเรยี บรอ้ ยเปน็ ผลดี และขอใหข้ ้าพเจา้ ....(หรอื กจิ การของ
ขา้ พเจ้า....) เจริญรุ่งเรื่อง ปราศจากอุปสรรคอนั ตราย ทกุ ขโ์ ศกโรคภัยทง้ั หลายเทอญ ฯ

คาบชู าพระภูมิ

ภวตุ สพพฺ มงคฺ ลํ รกฺขนตฺ ุ สพพฺ เทวตา สพพฺ พทุ ฺธานภุ าเวน สพพฺ ธมฺมานุภาเวน สพฺพสงฺ
ฆานุภาเวน สทา โสตฺถี ภวนตฺ ุ เม ฯ

เครอ่ื งสังเวย

๑.หวั หมู๑หัว ๒. เป็ด ๑ ตวั ๓. ไก่ ๓ ตัว ๔.บายศรีปากชาม ๑ ท่ี ๕.กลว้ ยนา้ํ ๑ หวี
๖. มะพร้าวอ่อน ๑ ผล ๗. ขนมต้มแดง ๑ ท่ี ๘. ขนมตม้ ขาว ๑ ท่ี ๙. เทียนหนัก ๖ สลงึ ไส๙้ เสน้ ๒เล่ม
ธูปจนี ๘ ดอก

เคร่อื งทานา้ มนต์

๑.มะกรูด ๙ ผล (ลงด้วย อ สํ วิ สุ โล ปุ ส พุ ภ)
๒.ใบทอง ๙ ผล (ลงด้วย สํ วิ ธา ปุ กะ ยะ ปะ)

๓. ใบเงนิ ๙ ใบ (ลงด้วย สะ ธะ วิ ปิ ปะ สะ อุ) ๓๒

๔. ดอกบวั ๕ ดอก (ลงดว้ ย นะโม พุทฺธายะ)

๕. ฝักสม้ ปอ่ ย ๓ฝัก (ลงดว้ ย มะ อะ อุ)

๖. เทยี นหนกั ๖ สลงึ ไส้ ๙ เส้น ๑ เลม่

ทีพ่ รหมน้ามนต์

๑. มัดหญา้ คา (ตามหลักเดิม) หรอื ๒. กิ่งทบั ทิม (แบบจีน) หรือ ๓. กา้ นมะยม (แบบไทย)

คากรวดน้า(ภาษาไทย)

ข้าพเจ้าเปน็ ผูน้ ับถือพระพทุ ธศาสนาอย่างแท้จริง ไดบ้ ําเพญ็ กุศลมาแล้ว

ตามกําลงั ศรทั ธาและความสามารถในโอกาศตา่ งๆ และจะได้บําเพ็ญในโอกาส

ตอ่ ไปอกี บัดน้ี ข้าพเจ้าครั้งนี้แก่ บรรพบรุ ุษบรรพสตรที ั้งหลาย เป็นต้นวา่ ปู่ ย่า ตา

ยาย และบดิ ามารดาและแก่เทวดาทั้งหลาย มรภมุ มเทวดา และอารกั ขเทวดา เป็น

ตน้ ขอกุศลนี้ จงเป็นไปเพอ่ื ความเจริญรงุ่ เรอื ง ความสมบูรณพ์ ูนสุข และความมั่งมี

ศรีสุขแก่ขา้ พเจ้า ชวั่ นิรนั ดร.

ตัวอย่างฎีกาอาราธนาพระ

ฎกี า.............(ออกช่อื เจา้ ภาพ) ขออาราธนา พระคณุ เจา้

..................................................................

(เจรญิ พระพทุ ธมนต,์ สวดพระพุทธมนต์, แสดงพระธรรมเทศนา................)

เนือ่ งในงาน..........................ที่บ้านหรอื ท.่ี ............ณ วนั ท่ี.........เดือน.........พ.ศ.........เวลา...........น.

หมายเหตุ..........................................

ตัวอย่างใบปวารณา

๑.ขอถวายปจั จยั ๔ อนั ควรแก่สมณบรโิ ภค เปน็ มลู ค่า เทา่ ราคา...........บาท.......

สตางค์

ไดม้ อบไว้แกไ่ วยาจักรของพระคุณเจ้าแลว้ ถ้าพระคณุ เจ้าประสงค์ส่ิงหนึง่ สิ่งในเท่าในกาํ หนดนี้

โปรดเรยี กจากไวยาวัจกรรู้รับมอบน้นั ตามประสงค์ เทอญ

๒. วัตถุเปน็ มลู คา่ แหง่ จตุปัจจยั ราคา.........บาท......สตางค์ไดม้ อบไวแ้ กก่ บั ปิยการ

เพื่อพระคุณเจ้าแล้ว โปรดเรยี กจตุปัจจยั ภายในราคานน้ั ตามประสงค์ เทอญ ฯ

คาอาราธนาศีล ๕

มะยงั ภนั เต วิสุง วสิ งุ รักขณัตถายะ, ติสะระเณนะ สะหะ,ปัญจะ สีลานิ ยาจามะ

ทตุ ิยมั ปิ มะยงั ภนั เต วสิ งุ วิสุง รักขณัตถายะ, ตสิ ะระเณนะสะหะ,ปัญจะสลี านิ ยา

จามะ

ตะติยมั ปิ มะยงั ภนั เต วสิ งุ วิสงุ รักขณัตถายะ, ตสิ ะระเณนะสะหะ,ปัญจะ สีลานิ

ยาจามะ

๓๓

คาสมาทานศลี ๕
(กล่าวตามพระผู้ใหศ้ ีล)

นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสมั พทุ ธสั สะ ( ๓จบ)
พทุ ธัง สะระณงั คจั ฉาม,ิ
ธัมมงั สะระณงั คจั ฉาม,ิ
สงั ฆัง สะระณัง คัจฉามิ
ทตุ ิยัมปิ พุทธงั สะระณงั คจั ฉาม,ิ
ทุติยมั ปิ ธมั มัง สะระณัง คจั ฉาม,ิ
ทตุ ยิ มั ปิ สงั ฆัง สะระณัง คัจฉาม,ิ
ตะตยิ ัมปิ พุทธงั สะระณงั คัจฉาม,ิ
ตะตยิ ัมปิ ธัมมงั สะระณงั คัจฉาม,ิ
ตะติยัมปิ สงั ฆัง สะระณงั คัจฉาม,ิ
ปาณาตปิ าตา เวระมะณีสิกขาปะทงั สะมาทยิ ามิ
อะทินนาทานา เวระณสี กิ ขาปะทงั สะมาทยิ ทมิ
กาเมสุมิจฉาวาจา เวระณสี กิ ขาปะทัง สะมาทิยทมิ
มุสาวาทา เวระมะณสี ิกขาปะทงั สะมาทยิ ามิ
สรุ าเมระยะมชั ชะปะมาทฏิ ฐานา เวระณีสิกขาปะทงั สะมาทิยทมิ

คานมัสการพระรัตนตรยั

อะระหงั สมั มาสัมพุทโธ พระผมู้ พี ระภาคเจา้
ภะคะวา, เป็นพระอรหันต์ ดบั เพลงิ กเิ ลส

เพลิงทุกขส์ นิ้ เชงิ , ตรสั รูช้ อบได้โดยพระองคเ์ อง
พุทธงั ภะคะวนั ตงั ข้าพจ้าขออภวิ าท
อะภวิ าเทมิ, พระผู้มีพระภาคเจา้ ผรู้ ู้ ผู้ต่ืน ผู้เบกิ บาน.

(กราบ ๑ คร้งั )
สวากขาโต ภะคะวะตา พระธรรมอันพระผูม้ พี ระภาคเจ้า
ธมั โม, ตรสั ไวด้ แี ล้ว
ธมั มัง นะมสั สาม,ิ ข้าพเจ้าขอนมัสการพระธรรม.

(กราบ ๑ ครั้ง)
สปุ ะฏิปนั โน ภะคะวะโต พระสงฆส์ าวกของ
สาวะกะสงั โฆ, พระผู้มพี ระภาคเจ้า ปฏิบัตดิ ีแล้ว,
สังฆงั นะมาม.ิ ข้าพเจ้าขอนอบนอ้ มพระสงฆ์

( กราบ ๑ ครง้ั ) ๓๔

(๒)
พุทธชยั มงคลคาถา (ถวายพรพระ)

นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สมั มาสมั พุทธสั สะ.
นะโม ตสั สะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสมั พทุ ธัสสะ.
นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สมั มาสมั พุทธสั สะ.

(คําแปล)
ขอนอบน้อมแด่พระผมู้ ีพระภาคเจ้าพระองคน์ ั้น
ซง่ึ เป็นผู้ไกลจากกเิ ลส ตรัสรูช้ อบไดโ้ ดยพระองคเ์ อง

พทุ ธัง สะระณงั คจั ฉาม,ิ
ธัมมงั สะระณงั คจั ฉาม,ิ
สังฆัง สะระณงั คจั ฉามิ
ทุติยัมปิ พุทธัง สะระณัง คจั ฉาม,ิ
ทตุ ยิ มั ปิ ธมั มัง สะระณงั คัจฉาม,ิ
ทตุ ิยัมปิ สงั ฆัง สะระณัง คัจฉาม,ิ
ตะติยมั ปิ พทุ ธัง สะระณงั คจั ฉาม,ิ
ตะติยัมปิ ธมั มัง สะระณงั คัจฉาม,ิ
ตะติยมั ปิ สงั ฆัง สะระณัง คจั ฉาม,ิ

(คําแปล)
ขา้ พเจ้าขอถงึ พระพุทธเจา้ ว่าเป็นท่พี ง่ึ ทร่ี ะลึก
ขา้ พเจา้ ขอถงึ พระธรรมวา่ เปน็ ท่พี ึง่ ท่รี ะลึก
ขา้ พเจ้าขอถงึ พระสงฆ์วา่ เป็นท่พี ึ่งท่รี ะลึก
แม้ครั้งที่สองขา้ พเจ้าขอถึงพระพทุ ธเจ้าวา่ เปน็ ท่พี ่งึ ทีร่ ะลึก
แมค้ รงั ที่สองขา้ พเจ้าขอถงึ พระธรรมวา่ เป็นทพี่ ่ึงท่รี ะลกึ
แมค้ รั้งทสี่ องขา้ พเจ้าขอถึงพระสงฆเ์ ปน็ ท่พี งึ่ ทีระลึก
แมค้ รัง้ ทสี่ ามข้าพเจา้ ขอถึงพระพุทธเจา้ เปน็ ทพี่ ึง่ ทีร่ ะลกึ
แมค้ รง้ั ท่ีสามข้าพเจ้าขอถึงพระธรรมวา่ เป็นที่พึ่งท่รี ะลกึ
แมค้ รั้งที่สามข้าพเจา้ ขอถงึ พระสงฆว์ ่าเป็นท่ีพง่ึ ท่ีระลึก

อติ ปิ ิ โส ภะคะวา, อะระหัง สมั มาสัมพทุ ธโธฅ
วิชชาจะระณะสมั ปันโน, สุคะโต,โลกะวทิ ู,
อะนตุ ตะโร ปุริสะทมั มะสาริถิ,

สัตถา เทวะมสุ สานงั , พุทโธ, ภะคะวาติ. ๓๕

(คําแปล)

พระผมู้ ีพระภาคเจ้พระองค์นน้ั เปน็ ผ้ไู กลจากกเิ ลส เป็นผตู้ รัสรูช้ อบไดโ้ ดยพระองค์เอง

เปน็ ผู้ถึงพร้อมด้วยวชิ ชาและจรณะ เป็นผเู้ สดจ็ ไปแล้วด้วยดี เปน็ ผ้รู โู้ ลกอยา่ งแจ่มแจง้ เป็นผู้สามารถ

ฝกึ บุรุษทีค่ วรฝึกได้อย่างไมม่ ีใคยง่ิ กวา่ เป็นครผู สู้ อนของเทวดา และมนุษยท์ ้ังหลาย เป็นผรู้ ู้ ผตู้ น่ื ผู้

เบกิ บานดว้ ยธรรม เป็นผ้มู ีความจรญิ จาํ แนกธรรมสงั่ สอนสัตว์ ดงั นี้

สวากขาโต ภะคะวะตา ธมั โม, สันทิฏฐโิ ก,
อะกาลิโก, เอหิปสั สโิ ก, โอปะนะยโิ ก,
ปจั จตั ตงั เวทติ พั โพ วิญญหู ิติ.

(คาํ แปล)
พระธรรม เปน็ ธรรมท่ีพระผูม้ พี ระภาคเจา้ ตรสั ไว้ดีแล้ว เปน็ ธรรมท่ีพงึ เห็นไดด้ ว้ ยตนเอง
เป็นธรรมทใ่ี ห้ผลได้ไม่จํากดั กาล เป็นธรรมทค่ี วรกลา่ ววา่ ทา่ นจงมาดเู ถดิ เปน็ ธรรมท่ีควรนอ้ มเขา้ มา
ใส่ตัว เป็นธรรมท่ีผรู้ ู้พึงรไู้ ดเ้ ฉพาะตน ดังนี้

สปุ ะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ,
อชุ ปุ ะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสงั โฆ,
ญายะปะฏปิ ันโน ภะคะวะโต สาวะกะสงั โฆ,
สามีจปิ ะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ,
ยะททิ งั จัตตาริ ปุริสะยุคานิ อัฏฐะ ปุริสะปคุ คะลา,
เอสะ ภะคะวะโต สาวะกะสงั โฆ.
อาหุเนยโย, ปาหเุ นยโย, ทกั ขิเณยโย, อัญชะลกี ะระณโี ย,
อะนุตตะรัง ปญุ ญักเขตตงั โลกสั สาติ.

(คําแปล)
พระสงฆ์สาวกของพระผมู้ พี ระภาคเจา้ ปฏบิ ตั ิดแี ล้ว
พระสงฆ์สาวกของพระผูม้ ีพระภาคเจ้าปฏิบัตติ รงแล้ว พระสงฆส์ าวกของพระผูม้ พี ระภาคเจ้าปฏบิ ัติ
เพื่อรธู้ รรมเปน็ เครอื่ งออกจากทุกขแ์ ล้ว พระสงฆส์ าวกของพระผู้มีพระภาคเจ้าปฏิบตั ิสมควรแล้ว
ไดแ้ ก่บุคคลเหลา่ น้ี คือ คู่แห่งบุรุษสี่คู่ นบั เป็นรายบุคคลไดแ้ ปดบรุ ุษ น่ันแหละสาวกของระผูม้ พี ระ
ภาคเจ้าเปน็ ผสู้ มควรแกส่ ักการะท่เี ขานาํ มาบูชา เป็นผูส้ มควรสกั การะท่เี ขาจดั ไวต้ อ้ นรบั เปน็ ผคู้ วร
รับทักษณิ าทาน เปน็ ผคู้ วรทาํ อญั ชลี เป็นเน้อื นาบญุ ของโลก ไมม่ นี าบญุ อ่ืนย่งิ กวา่ ดงั นี้

พาหงุ สะหัสสะมะภินิมมิตะสาวธุ นั ตงั

ครีเมบะลงั อุทติ ะโฆระสะเสนะมารัง ๓๖
ทานาทิธมั มะวิธนิ า ชติ ะวา มุนนิ โท
ตนั เตชะสา ภะคะตุ เต ชะยะมงั คะลานิ
มาราติเรกะมะภิยุชฌิตะสพั พะรตั ตงิ
โฆรัมปะนาฬะวะกะมักขะมะถทั ธะยกั ขัง
ขนั ตี สุทนั ตะวิธินา ชิตะวา มุนินโท
ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคะลานิ.
นาฬาคริ ิง คะชะวะรงั อะติมตั ตะภตู งั
ทาวัคคจิ กั กะมะสะนีวะ สทุ ารุณนั ตัง
เมตตัมพเุ สกะวิธนิ า ชิตะวา มนุ นิ โท
ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมงั คะลานิ.
อกุ ขิตตะขัคคะมะติหตั ถะสทุ ารุณันตัง
ธาวนั ตโิ ยชะนะปะถังคุลิมาละวนั ตัง
อทิ ธภี สิ ังขะตะมะโน ชติ ะวา มนุ ินโท
ตนั เตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคะลานิ.
กตั วานะ กฏั ฐะมทุ ะรัง อวิ ะ คัพภนิ ยี า
จญิ จายะ ทฏุ ฐะวะจะนงั ชะนะกายะมัชเฌ
สันเตนะ โสมะวิธนิ า ชิตะวา มุนินโท
ตนั เตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคะลานิ.
สัจจงั วิหายะ มะตสิ ัจจะกะวาทะเกตุง
วาทาภโิ รปติ ะมะนัง อะตอิ นั ธะภตู งั
ปญั ญาปะทปี ะชะลโิ ต ชติ ะวา มนุ ินโท
ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคะลานิ.
นนั โทปะนนั ทะภชุ ะคงั วิพธุ ัง มะหิทธงิ
ปตุ เตนะ เถระภุชะเคนะ ทะมาปะยันโต
อิทธูปะเทสะวธิ ินา ชิตะวา มนุ นิ โท
ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคะลานิ.
ทคุ คาหะทิฏฐิภุชะเคนะ สุทฏั ฐะหัตถงั
พรัหมมงั วิสทุ ธิชุตมิ ทิ ธพื ะกาภิธานัง
ญาณาคะเทนะ วิธนิ า ชติ ะวา มนุ นิ โท
ตนั เตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมงั คะลานิ.
เอตาปิ พุทธะชะยะมงั คลละอฏั ฐะคาถา
โย วาจะโน ทนิ ะทิเน สะระเต มะตนั ที

หติ วานะเนกะวิวิธานิ จปุ ัททะวานิ ๓๗

โมงขัง สขุ งั อะธิคะเมยยะ นะโร สะปญั โญ

(คาแปล)

ด้วยเดชานภุ าพของพระสัมมาสัมพุทธเจา้ ผเู้ ปน็ จอมมนุ ีไดท้ รงชาํ นะพญามาร ซง่ึ ไดน้ ริ มติ

แขนตงั้ พัน ถอื อาวุธครบมือขี่ชา้ งพลายครี เี มขลพ์ ร้อมดว้ ยเสนามารโห่ร้องกึกกอ้ งดว้ ยธรรมวธิ มี ี

ทานบารมีเป็นตน้ นนั้ ขอชัยมงคลทั้งหลายจงมีแก่ทา่ น

ด้วยเดชานภุ าพของพระสมั มาสมั พทุ ธเจ้า ผเู้ ป็นจอมมนุ ไี ดท้ รงชาํ นพอาฬวกะยกั ษด์ ุร้าย ผู้มี

จิตกระด้างลําพอง หยาบชา้ ยิง่ กว่าพญามาร เข้ามารกุ รานราวตี ลอดร่งุ ราตรี ดว้ ยวิธที รมานเปน็ อนั ดี

คอื ขนั ติธรรมนั้น ขอชัยมงคลทง้ั หลายจงมีแกท่ า่ น

ด้วยเดชานภุ าพของพระสมั มาสัมพุทธเจ้า ผเู้ ปน็ จอมมนุ ีได้ทรงชํานะพญาช้างนาฬาคีรีซง่ึ

กําลงั เมามัน ร้ายแรงเหมอื นไฟปา่ ลกุ ลาม รอ้ งโกญจนาทเหมือนฟา้ ฟาด ด้วยวิธรี ดลงด้ยนา้ํ คือพระ

เมตตานั้น ขอชยั มงคลทงั้ หลายจงมีแก่ทา่ น

ด้วยเดชานภุ าพของพระสัมมาสัมพทุ ธเจา้ ผู้เป็นจอมมุนไี ดท้ รงชาํ นะองคุลิมาลโจร ทารณุ

รา้ ยกาจนัก ทงั้ ฝมี ือเยีย่ ม ควงดาบไลต่ ามพระองค์ไปตลอดทาง ๓ โยชน์ ด้วยอิทธปิ าฏิหารยิ ์นัน้ ขอ

ชยั มงคลทั้งหลายจงมีแกท่ า่ น

ด้วยเดชานภุ าพของพระสัมมาสมั พุทธเจา้ ผเู้ ปน็ จอมมนุ ไี ด้ทรงชํานะนางเจญิ จะมาณะวิกา

ทท่ี าํ มารยาเสแสรง้ กลา่ วทาพระองค์ โดยผกู ทอ่ นไม้กลมแนบเขา้ กบั เขกับทอ้ ง ทาํ เป็นทอ้ งมคี รรภ์

แก่ด้วยสมาธิวธิ ี ในทา่ มกลางประชุมชนน้นั ขอชยั มงคลทั้งหลายจงมแี กท่ ่าน

ด้วยเดชานุภาพของพระสัมมาสมั พทุ ธเจา้ ผเู้ ป็นจอมมนุ ผี ู้รุ่งเรือง ด้วยดวงประทปี คอื พระ

ปญั ญาได้พบทางชาํ นะสัจจกะนคิ รนถ์ ผู้มีนสิ ยั ตลบตะแลง มสี นั ดานโออ้ วดมดื มนด้วยเทศนาญาณ

วิธิแสดงอุปเท่ห์แห่งฤทธ์ิน้นั ขอชยั มงคลทัง้ หลายจงมีแกท่ ่าน

ดว้ ยเดชานภุ าพของพระสัมมาสัมพุทธเจ้า ผเู้ ป็นจอมมนุ ีโปรดให้พระโมคคลั ลานะเถระ

พทุ ธชโิ นรส นริ มิตกายเป็นนาคราชไปทรมานนันโทปะ นันทะนสคราช ผูม้ ฤี ทธมิ์ าก แต่มคี วามรู้

ผดิ ด้วยวธิ แี สดงอุปเท่หแ์ ห่งฤทธนิ์ น้ั ขอชยั มงคลทงั้ หลายจงมีแก่ทา่ น

ด้วยเดชานภุ าพของพระสัมมาสมั พทุ ธเจ้า ผู้เป็นจอมมนุ ีไดท้ รงชาํ นะทา้ วพกาพรหมผู้มี

ฤทธิ์ความสาํ คญั ตนผดิ ว่าเป็นผมู้ ฤี ทธร์ิ ุ่งเรืองดว้ ยวิสุทธิคณุ ถอื ม่นั ดว้ ยมิจฉาทฏิ ฐิ เหมือนดงั ถกู งู

ร้ายกําลงั ตรงึ รดั ไว้แนน่ แฟน้ ดว้ ยวิธแประทานยาพิษคือเทศนาญาณนั้น ขอชยั มงคลท้ังหลายจงมี

แกท่ า่ น

นรชนใดไมเ่ กยี จครา้ น สวดกด็ ี ระลึกก็ดี ซง่ึ พระพทุ ธชัยมงคล ๘ คาถาแม้เหลา่ นที้ กุ ๆวนั

นรชนน้ันจะพึงละเสียได้ซึง่ อุปทั วันตรายทัง้ หลายมีประการต่างๆเปน็ อเนกถึงซง่ึ วโิ มกข์สิวาลัยอัน

เป็นบรมสขุ แล.

มะหาการณุ โิ ก นาโถ หติ ายะ สพั พะปาณนิ งั

ปูเรตวา ปาระมี สัพพา ปตั โต สัมโพธมิ ุตตะมัง ๓๘

เอเตนะ สจั จะวชั เชนะ โหตุ เต ชะยะมงั คะลัง

ชะยันโต โพธิยา มูเล สักยานัง นนั ทิวฑั ฒะโน

เอวัง ตะวงั วิชะโย โหหิ ชะยัสสุ ชะยะมงั คะเล

อะปะราชิตะปลั ลังเก สีเส ปะฐะวโิ ปกขะเร

อะภิเสเก สพั พะพุทธานัง อัคคปั ปตั โต ปะโมทะติ

สนุ กั ขัตตงั สุมังคะลัง สุปะภาตัง สุหุฏฐิตัง

สุขะโณ สมุ หุ ุตโต จะ สยุ ิฏฐัง พรัหมะจารสิ ุ

ปะทกั ขิณัง กายะกมั มัง วาจากัมมงั ปะทักขิณงั

ปะทักขิณัง มะโนกมั มัง ปะณิธี เต ปะทกั ขิณา

ปะทกั ขณิ านิ กัตวานะ ละภนั ตตั เถ ปะทกั ขเิ ณ.

(คำแปล)

พระผู้มพี ระภาคเจา้ ผู้เปน็ ทีพ่ ง่ึ ของสัตว์ ประกอบดว้ ย พระมหากรุณา ยังบารมที ั้งหลายทัง้

ปวงใหเ้ ตม็ เพ่ือประโยชนแ์ ก่สรรพสัตว์ท้ังหลาย ถงึ แล้วซึง่ ความตรัสรูอ้ ันอุดม ดว้ ยการกล่าวคาํ

สัตยน์ ี้

ขอชยั มงคลจงมแี ก่ทา่ น ขอทา่ นจงมีชยั ชนะ ในมงคลพธิ ีเหมือนพระจอมมุนที รงชนะมาร

ทโ่ี ค่นโพธพิ ฤกษ์ ถึงความเปน็ เลิศในสรรพพทุ ธาภิเษก ทรงปราโมทย์อย่บู นอปราชิตบลั ลงั กอ์ นั สูง

เป็นจอมมหาปฐพี ทรงเพ่ิมพูนความยินดแี กเ่ หลา่ ประยรู ญาตศิ ากยวงศฉ์ ะน้นั

เวลาทส่ี ตั ว์ประพฤตชิ อบ ชอ่ื วา่ ฤกษด์ ี มงคลดี สว่างดี รุ่งดแี ละขณะดี ครู่ดี บชู าดแี ล้ว

ในพรหมจารบี คุ คลทั้งหลาย กายกรรมเปน็ ประทกั ษณิ สว่ นเบ้ืองขวา วจกี รรม เปน็ ประทกั ษณิ

ส่วนเบอ้ื งขวา มโนกรรม เป็นประทักษณิ สว่ นเบอ้ื งขวา ความปรารถนาของทา่ น เปน็ ประทักษิณ

สว่ นเบ้ืองขวา สัตว์ทั้งหลายทํากรรมอนั เป็นประทักษณิ สว่ นเบอื้ งขวาแล้ว ย่อมได้ประโยชน์

ทัง้ หลายอันเปน็ ประทกั ษณิ ส่วนเบื้องขวา

ภะวะตุ สัพพะมงั คะลงั รกั ขันตุ สัพพะเทวะตา

สพั พะพุทธานภุ าเวนะ สะทา โสตถี ภะวันตุ เต.

ภะวะตุ สัพพะมงั คะลงั รกั ขันตุ สพั พะเทวตา

สพั พะธมั มานภุ าเวนะ สะทา โสตถี ภะวันตุ เต.

ภะวะตุ สัพพะมังคะลัง รักขันตุ สัพพะเทวตา

สัพพะสังฆานภุ าเวนะ สะทา โสตถี ภะวนั ตุ เต.

(คำแปล)

ขอสรรพมงคลมีแกท่ ่าน ขอเหลา่ เทวดาทง้ั ปวงจงรักษาทา่ นดว้ ยอานุภาพแหง่ ๓๙

พระพทุ ธเจา้ ท้ังปวง ขอความสวสั ดที ้งั หลาย จงมีแก่ท่านทกุ เม่ือ

ขอสรรพมงคลมีแกท่ ่าน ขอเหลา่ เทวดาทงั้ ปวงจงรักษาทา่ นดว้ ยอานภุ าพแหง่ พระธรรมทัง้

ปวง ขอความสวสั ดีทัง้ หลาย จงมีแก่ทา่ นทกุ เมอ่ื

ขอสรรพมงคลมีแก่ท่าน ขอเหล่าเทวดาท้ังปวงจงรกั ษาทา่ นดว้ ยอานภุ าพแห่งพระสงฆ์ทง้ั

ปวง ขอความสวัสดที ั้งหลาย จงมแี กท่ า่ นทกุ เมือ่

คาข้นึ กัมมฏั ฐาน

(ตั้งนะโม ๓ จบ)

อิมาหัง ภันเต ภะคะวา อัตตะภาวัง ตุมหากัง ปรจิ จะชามิ

คาถวายพระราชกุศล

อทิ งั มะหาราชะภมู พิ ะลสั สะ โหตุ สขุ โิ ต อะโรโค โหตุ ทฆี ายโุ ก โหตุ มะหาราชะ

ภมู ิพะโล ฯ

ขา้ พระพุทธเจา้ ทั้งหลาย ขอถวายอานิสงส์แห่งความดที ไี่ ด้บาํ เพ็ญเหลา่ นเ้ี ปน็ พระ

ราชกุศล แด่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั ภมู พิ ลอดลุ ยเดชมหาราช ขอใหพ้ ระบาทสมเดจ็ พระ

เจา้ อยูห่ ัวภูมิพลอดุลยเดชมหาราช จงทรงพระเกษมสําราญ ทรงมีพลานามัยสมบูรณ์ มพี ระชนมย์ ่งิ

ยนื นาน ตลอดกาลเป็นนจิ เทอญ

( ๓)

บทแผ่เมตตา

สพั เพ สัตตา, สตั วท์ ้ังหลาย,ทีเ่ ปน็ เพื่อนทุกข์

เกดิ แกเ่ จบ็ ตาย,ด้วยกันทัง้ หมดทงั้ สิ้น

อะเวรา จงเปน็ สขุ เปน็ สุขเถดิ

อยา่ ได้มีเวรแก่กันและกนั เลย

อัพะยาปัชฌา จงเป็นสุขเปน็ สุขเถดิ

อยา่ ไดพ้ ยาบาทเบยี ดเบียน

ซ่งึ กนั และกนั เลย

อะนฆี า จงเปน็ สุขเปน็ สุขเถิด

อย่าได้มีความทกุ ขก์ ายทุกขใ์ จเลย

สุขี อตั ตานัง ปะรหิ ะรันตุ จงมีความสขุ กายสุขใจ

รักษาตนให้พ้นจากทุกข์ภัยทง้ั ส้นิ เถดิ .

( กราบ ๓ คร้งั )

๔๐

ชนิ บญั ชรคาถา

๑. ชะยาสะนากะตา พทุ ธา เชตวา มารงั สะวาหะนัง

จะตสุ ัจจาสะภงั ระสัง เย ปวิ งิ สุ นะราสะภา.

๒. ตันหงั กะราทะโย พุทธา อฏั ฐะวีสะติ นายะกา

สพั เพ ปะติฏฐิตา มัยหัง มัตถะเก เต มนุ สิ สะรา.

๓. สเี ส ปตฏิ ฐิโต มัยหัง พุทโธ ธัมโม ทะวโิ ลจะเน

สงั โฆ ปติฏฐิโต มัยหัง อุเร สัพพะคุณากะโร.

๔. หะทะเย เม อะนุรทุ โธ สารีปุตโต จะ ทักขิเณ

โกณทัญโญ ปฏิ ฐคิ าคัสมิง โมคคัลลาโน จะ วามะเก.

๕. ทกั ขิเน สะวะเน มัยหงั อาสงุ อานันทะราหุลา

กสั สะโป จะ มะหานาโม อภุ าสงุ วามะโสตะเก.

๖. เกสโต ปฏิ ฐภิ าคสั มงิ สุริโย วะ ปะภงั กะโร

นสิ ินโน สริ ิสมั ปนั โน โสภโิ ต มนุ ิปุงคะโว”

๗. กมุ าระสสั สโป เถโร มเหสี จิตตะวาทะโก

โส มยั หัง วะทะเน นจิ จัง ปติฏฐาสิ คณุ ากะโร.

๘. ปณุ โณ อังคลุ ิมาโล จะ อปุ าลี นนั ทะสีวะลี

เถรา ปญั จะ อิเม ชาตา นะลาเต ตลิ ะกา มะมะ.

๙. เสสาสีติ มะหาเถรา วิชิตา ชินะสาวะกา

เอเตสีติ มะหาเถรา ชิตะวันโต ชิโนระสา

ชะลนั ตา สลี ะเตเชนะ อังคะมงั เคสุ สัณฐิตา.

๑๐. ระตะนัง ปรุ ะโต อาสิ ทักขเิ ณ เมตตะสุตตะกัง

ธะชัคคงั ปัจฉะโต อาสิ วาเม อังคลุ มิ าละกงั

๑๑. ขนั ธะโมระปะริตตญั จะ อาฏานาถิยะสตุ ตะกัง

อากาเส ฉันทะนงั อาสิ เสสา ปาการะสัณฐิตา

๑๒. ชินา นานาวะระสังยุตตา สัตตัปปาการะลงั กะตา

วาตะปิตตาทสิ ญั ชาตา พาหริ ัชฌัตตุปทั ทะวา

๑๓. อะเสสา วินะยงั ยันตุ อะนันตะชนิ ะเตชะสา

วะสะโต เม สะกิจเจนะ สะทา สมั พุทธะปัญชะเร

๑๔. ชนิ ะปัญชะระมัชฌัมหิ วิหะรนั ตัง มะหที ะเล

สะทา ปาเบนตุ มงั สัพเพ เต มะหาปุริสาสะภา

๑๕. อจิ เจวะมนั โต สคุ ุตโต สุรักโข

ชนิ านภุ าเวนะ ชติ ปู ทั ทะโว

ธัมมานุภาเวนะ ชติ ารสิ ังโฆ ๔๑

สังฆานภุ าเวนะ ชิตันตะราโย

๑๖. สทั ธัมมานภุ าวะปาลโิ ต จะรามิ ชนิ ะปัญชะเรติฯ

ชินะปญั ชะระคาถา นฏิ ฐิตา

แปล

๑. สมเดจ็ พระ นราสัมภสมั มาสมั พุทธเจ้าเหล่าใด ขณะเมอ่ื ประทับ อยู่ ณ พระแทน่ พุทธชัย

อาสน์ ทรงได้ชยั ชนะแก่พระมาราธริ าชกับท้ังหมบู ริพารแล้ว ไดต้ รัสรดู้ ่มื รสพระจตุรารยิ สัจอัน

ประเสริฐสมดงั พระพทุ ธประสงค์

๒. ขออญั เชญิ สมเดจ็ พระบรมนายกสมั มาสมั พทุ ธเจา้ ซึ่งลว้ นแตเ่ ปน็ ผู้ยิ่งใหญ่กวา่ มุนทิ ั้ง

ปวง มจี าํ นวนรวมกนั ๒๘ พระองค์ มีสมเดจ็ พระตณั หงั กรสัมมาสัมพุทธเจา้ เปน็ ต้น จงเสดจ็ มาอยู่

ณ เบอ้ื งบนกระหม่อมจอมขวัญ ของขา้ พพระพุทธเจา้

๓. ขออัญเชิญสมเด็จพระสัมมาสมั พุทธเจ้าเหลา่ น้นั จงเสดจ็ มาสถิตอยู่เบ้อื งบนศรษี าของ

ขา้ พระพทุ ธเจา้ ขออญั เชญิ พระธรรม จงมาสถติ อยใู่ นดวงเนตรของข้าพระพทุ ธเจา้ ขออัญเชญิ พระ

อริยสงฆผ์ ู้เปน็ บ่อเกิดแห่งคณุ งามความดที ้งั ปวง จงมาสถิตอยู่ ณ อุระประเทศของข้าพระพุทธเจ้า

๔. ขออาราธนาระอนุรทุ ธเถรเจ้า จงมาสถติ อยใู่ นด้วงหฤทัยของข้าพเจา้ พระสาลีปุตเถรเจา้

จงมาสถติ อยู่ ณ ส่วนเบ้ืองขวา พระอญั ญาโกณฑญั ญเถรเจ้า จงมาสถติ อยู่ ณ สว่ นเบ้ืองหลัง พระ

มหาโมคคลั ลานเถรเจา้ จงมาสถิตอยู่ ณ ส่วนเบ้อื งซา้ ย

๕. ขออาราธนาพระอานนทเถรเจ้ากับพระราหลุ เถรเจ้า จงเสดจ็ มาสถติ อยู่ ณ โสตเบื้องขวา

พระมหากสั สปเถรเจ้ากบั พระมหานามเถรเจา้ จงมาสถติ อยู่ ณ โสตเบื้องซ้าย

๖. ขออญั เชญิ สมเด็จพระโสภิตสัมมาสัมพทุ ธเจา้ ผู้เป็นมหามนุ ชิ ้นั ยอดเย่ยี มทรงเตม็ เปยี่ ม

ดว้ ยพทุ ธสริ ิ ทรงมีรัศมแี จม่ จา้ ดจุ ดวงพระอาทิตย์ จงเสดจ็ มาประทบั น่ังสถติ อยูแ่ ตเ่ ส้นผม ส่วน

เบ้อื งหลังของข้าพระพุทธเจ้า

๗. ขออาราธนาพระกมุ ารกสั สปเถรเจ้า ซึ่งเป็นผู้แสวงหาคณุ อนั ยง่ิ ใหญ่ มวี าจาอนั ไพเราะ

เปน็ บอ่ เกิดแห่งคณุ งามความดี จงมาสถิตอย่ทู ่ปี าก ของข้าพเจา้ นิรนั ดร์

๘. ขออาราธนาพระมหาเถรเจ้า ทั้งห้าพระองคเ์ หลา่ นค้ี อื พระปุณณเถรเจ้า พระองคลุ มิ าล

เถรเจ้า พระอุบาลเี ถรเจ้า พระนันทเถรเจา้ และพระสวี ลเี ถรเจ้า จงมาบงั เกดิ รอยริ้วอยู่ ณ ท่ีตรงหนา้

ผากของข้าพเจ้า

๙. ขออาราธนาหมู่พระพทุ ธชิโนรส ช้นั พระมหาเถระท้ังหลาย ๘๐ องค์ ซ่ึงล้วนแตเ่ ป็นผู้

ชนะข้าศกึ คอื กิเลส รุง่ เรอื งงามอยู่ดว้ ยเดชแห่งศีล จงมาสถิตอยทู่ ว่ั องคอ์ วัยวะน้อยใหญ่

๑๐ ขอพระรตั นสตู ร จงมาอยู่สว่ นเบอ้ื งหน้าของข้าพเจ้า พระเมตตาสูตรจงมาอยู่ ณ สว่ น

เบอ้ื งขวา พระธชคั คสตู ร จงมาอยู่ ณ สว่ นเบือ้ งหลงั พระองคุลิมาลสูตรจงมาอยู่ ณ ส่วนเบ้ืงซา้ ย

๑๑. ขอพระขันธปริต พระโมรปรติ ร และพระอาฎานาฎิยสตู ร จงสาํ เรจ็ เปน็ หลังคากางก้ัน

อยู่เบอื้ งบนอากาศ พระปรติ รและพระสูตรท่เี หลอื เศษจากนี้ จงสําเรจ็ เปน็ กําแพงลอ้ มรอบ

๑๒. พระผู้ชนะทัง้ หลาย (ทา่ น) ประกอบดว้ ยความประเสรฐิ ความดงี ามตา่ งๆ อนั มัง่ ๔๒

คง ซง่ึ ล้อมรอบด้วยกาํ แพง 7 ชั้น ขอใหอ้ ปุ ทั วันตรายทง้ั หลาย ท้งั ภายนอกและภายในอนั เกดิ แต่เหตุ

ตา่ งๆ มลี มกําเริบและดซี า่ นเปน็ ตน้

๑๓. จนถงึ ซ่ึงความพนิ าศดบั สูญไปโดยไมม่ ีเหลือ ด้วยเดชอานภุ าพของพระชินสัมมาสัม

พุทธเจา้ ผู้ทรงพระคุณอันย่งิ ใหญ่ ไม่มีทสี่ ิ้นสุด เม่อื ขา้ พระพทุ ธเจ้า ประกอบการงานของตน อยใู่ น

ขอบเขตกรงกรรม สมเด็จพระชินสัมมาสัมพุทธเจ้า ในกาลทุกเมอื่ เช่นน้ี

๑๔. ขอสมเดจ็ พระสัมมาสัมพทุ ธเจา้ และหมู่พระอรยิ สาวกทั้งหลาย ซงึ่ ลว้ นแต่เป็นช้นั มหา

บุรุษอย่างประเสรฐิ ทกุ ๆ พระองคเ์ หลา่ นั้น จงชว่ ยรกั ษาข้าพระพุทธเจา้ ผู้อยู่ ณ ภาคพ้ืนดินภายในใจ

กลางกรงกรรมของสมเด็จพระชนิ สมั มาสมั พทุ ธเจา้ ตลอดกาลทุกเมือ่ เทอญ

๑๕. ดว้ ยประการฉะน้ี เป็นอนั ข้าพเจ้าได้คุ้มครองรักษาตนไว้ด้วยดแี ลว้ และดว้ ยอานุภาพ

ของสมเดจ็ พระชินสมั มาสมั พทุ ะเจ้า ขอให้ข้าพเจา้ จงมีชยั ชนะแกห่ มู่อรศุ ัตรูทงั้ ปวง ดว้ ยอานุภาพ

ของพระอรยิ สงฆ์ ขอใหข้ ้าพเจา้ จงมชี ัยชนะแกอ่ นั ตรายทั้งปวง

๑๖. ข้าพเจา้ เปน็ ผู้อันมีอานภุ าพแห่ง พระสัทธรรมคมุ้ ครอง แลว้ จะประพฤติตนอยูใ่ น

ขอบเขตกรงธรรมของสมเด็จพระชินสัมมาสัมพทุ ธเจ้า ตลอดไป ฉะน้แี ล

บทสวดระลกึ ถึงพระพุทธคณุ

(นาํ ) องคใ์ ดพระสัมพุทธ
(รับ) สุวิสทุ ธสนั ดาน
ตัดมลู กเิ ลสมาร บมหิ มน่ มหิ มองมัว
หนงึ่ ในพระทัยทา่ น กเ็ บิกบานคือดอกบัว
ราคบี พันพัว สุวคนธกาํ จร
องค์ใดประกอบดว้ ย พะรกรณุ าดงั สาคร
โปรดหม่ปู ระชากร มละโอฆะกนั ดาร
ชท้ี างบรรเทาทกุ ข์ และชีส้ ขุ เกษมศานต์
ช้ีทางพระนฤพาน อันพอ้ โศกวิโยคภยั
พรอ้ มเบญจพธิ จัก- ษุจรัสวิมลใส
เห็นเหตุที่ใกลไ้ กล ก็เจนจบประจักษ์จริง
กําจดั น้าํ ใจหยาบ สนั ดาลบาปแหง่ ชายหญงิ
สตั วโ์ ลกได้พึง่ พงิ มละบาปบําเพ็ญบุญ
ข้าขอประณตน้อม ศริ ะเกล้าบงั คมคุณ
สัมพทุ ธการุณ- ยภาพนน้ั นริ ันดร

(กราบ)

๔๓

บทสวดระลึกถงึ พระธรรมคุณ

(นํา) ธรรมะคอื คุณากร
(รบั ) สว่ นชอบสาธร
ดจุ ดวงประทปี ชชั วาล
แหง่ องคพ์ ระศาสดาจารย์ ส่องสัตว์สันดาน
สวา่ งกระจา่ งใจมล
ธรรมใดนับโดยมรรคผล เปน็ แปดพึงยล
และเกา้ กับทง้ั นฤพาน
สมญาโลกอุดรพสิ ดาร อันลึกโอฬาร
พิสทุ ธิพ์ ิเศษสกุ ใส
อีกธรรมตน้ ทางครรไล นามขนานขานไข
ปฏิบัตปิ รยิ ตั ิเป็นสอง
คอื ทางดําเนินดจุ คลอง ให้ลว่ งลุปอง
ยงั โลกอุดรโดยตรง
ข้าขอโอนอ่อนอตุ มงค์ นบธรรมจํานง
ด้วยจติ และกายวาจา

(กราบ)

บทสวดระลกึ ถึงพระสังฆคุณ

(นาํ ) สงฆ์ใดสาวกศาสดา
(รับ) รบั ปฏิบัติมา

แต่องคส์ มเดจ็ ภควนั ต์
เหน็ แจง้ จตุสจั เสร็จบรร- ลุทางที่อนั
ระงับและดบั ทกุ ขภ์ ัย
โดยเสด็จพระผู้ตรสั ไตร ปัญญาผ่องใส
สะอาดและปราศมัวหมอง
เหินห่างทางข้าศกึ ปอง บมิลําพอง
ด้วยกายและวาจาใจ
เป็นเน้ือนาบุญอันไพ- ศาลแดโ่ ลกัย
และเกิดพบิ ุลย์พูนผล
สมญาเอารสทศพล มคี ณุ อนนต์

อเนกจะนบั เหลอื ตา ๔๔
ข้าขอนบหมูพ่ ระศรา- พกทรงคณุ า
นคุ ุณประดจุ รําพนั
ด้วยเดชบุญข้าอภิวันท์ พระไตรรัตน์อนั
อดุ มดิเรกนริ ัติสัย
จงช่วยขจดั โพยภัย อนั ตรายใดใด
จงดบั และกลับเสอ่ื มสญู ...

(กราบ)

บทสวดชยสิทธิคาถา

(นาํ ) ปางเมอ่ื พระองคป์ ะระมะพทุ
(รบั ) ธะวสิ ทุ ธศาสดา

ตรัสรู อะนตุ ะระสะมา ธิ ณ โพธิบัลลงั ก์
ขนุ มารสหัสสะพหพุ า หวุ ิชาวิชิตขลงั
ขคี่ ีรีเมขละประทงั คชะเหี้มกระเหมิ หาญ
แสรง้ เสรสะราวุธะประดิษฐ์ กละคิดจะรอนราน
รมุ พลพหลพยหุ ะปาน พระสมุททะนองมา
หัวเพอ่ื ผะจญวะระมนุ ิน ทะสชุ ินนะราชา
พระปราบพหลพยุหะมา- ระมะเลืองมะลายสูญ
ดว้ ยเดชะองค์พระทศพล สุวิมลละไพบลู บ์
ทานาทธิ รรมะวธิ กิ ลู ชนะน้อมมะโนตาม
ด้วยเดชะสัจจะวจนา และนะมามิองคส์ าม
ขอจงนิกรพละสยาม ชยะสิทธทิ ุกวาร
ถึงแมจ้ ะมอี รวิ เิ ศษ พละเดชะเทยี มมาร
ขอไทยผะจญพิชติ ตะผลาญ อริแมน้ มนุ ินทร...

(กราบ)


Click to View FlipBook Version