136
ภาคผนวก
ตะโป จะ พร๎ ห๎มะจะริยญั จะ มคี วามเพยี รเคร่อื งเผากเิ ลส,
การประพฤตพิ รหมจรรย์
การเหน็ อริยสจั ท้งั หลาย
อะริยะสจั จานะทสั สะนงั การทำ� พระนิพพานให้แจ้ง
นพิ านะสจั ฉิกิริยา จะ ๔ ข้อน้ี เป็นมงคลอนั สงู สดุ
เอตมั มงั คะละมุตตะมงั .
ผฏุ ฐสั สะ โลกะธมั เมหิ จิตตงั ยสั สะ นะ กมั ปะติ
จิตไม่หว่ันไหวในโลกธรรมท้งั แปด
อะโสกงั วิระชงั เขมงั
จติ ไม่เศร้าโศก, จติ หมดธลุ คี อื กเิ ลส, จติ ถงึ ความเกษม คอื ปลอดจากโยคะ
กเิ ลสทง้ั ปวง
เอตมั มงั คะละมุตตะมงั .
๔ ข้อน้ี เป็นมงคลอนั สงู สดุ
เอตาทิสานิ กตั ว๎ านะ สพั พตั ถะมะปะราชิตา สพั พตั ถะ โสตถงิ คจั ฉนั ติ
เทวดาและมนุษย์ท้งั หลาย พากันปฏบิ ัติมงคลธรรม เคร่ืองให้ถึงความ
เจริญเช่นน้ีแล้ว ย่อมเป็นผู้ไม่พ่ายแพ้ข้าศึกทุกหมู่เหล่า ย่อมถึงความ
สวัสดี ในท่ที ุกสถาน ในกาลทุกเม่อื
ตนั เตสงั มงั คะละมุตตะมนั ติ.
ข้อน้ันเป็นมงคลอนั สงู สดุ ของเทวดาและมนุษย์ท้งั หลายเหล่าน้ัน
ด้วยประการฉะน้ีแล.
..... ..... ..... ..... ..... ..... .....
ภา_ค__ศ__า__ส__น__พ_ ธิ ี 137 (๕๘)
นับเป็นข้ันตอนสำ� คัญของการเป็นพุทธศาสนิกชน แสดงเจตนาในการระลึก
และสำ� นึกในพระคุณต่อส่งิ ท่สี งู สดุ ในพระพุทธศาสนาท้งั ๓ แล้วปวารณาในการละส่งิ
ไม่ดีงามท้งั ปวง มาปรารภการปฏบิ ัติดีปฏบิ ัติชอบพร้อมกบั การขอข้อธรรมจากพระ
ภิกษุสงฆส์ าวกของพระพุทธองค์ผู้เป็นกลั ยาณมติ รเบ้อื งบน
ค�ำบชู าพระรัต__น_ต__ร_ยั __ก__อ่ _น_ อาราธนาศลี
อะระหงั , สมั มาสมั พุทโธ ภะคะวา,
พระผู้มพี ระภาคเจ้า, เป็นพระอรหันต,์ บริสทุ ธ์หิ มดจดจากกเิ ลส เคร่ือง
เศร้าหมองท้งั หลาย, ได้ตรัสร้ถู ูกถ้วนดแี ล้ว;
อิเมหิ สกั กาเรหิ, ตงั ภะคะวนั ตงั อะภิปูชะยามิ.
ข้าพเจ้าบูชา, ซ่ึงพระผู้มพี ระภาคเจ้าน้ัน, ด้วยเคร่ืองสกั การะเหล่าน้ี.
(กราบ)
สว๎ ากขาโต, ภะคะวะตา ธมั โม,
พระธรรมคอื ศาสนา, อนั พระผู้มีพระภาคเจ้า, แสดงไว้ดแี ล้ว;
อิเมหิ สกั กาเรหิ, ตงั ธมั มงั อะภิปูชะยามิ.
ข้าพเจ้าบูชา, ซ่ึงพระธรรมเจ้าน้ัน, ด้วยเคร่ืองสกั การะเหล่าน้ี.
(กราบ)
สุปะฏิปันโน, ภะคะวะโต สาวะกะสงั โฆ,
หมู่พระสงฆผ์ ู้เช่ือฟัง, ของพระผู้มีพระภาคเจ้า, ปฏบิ ตั ดิ แี ล้ว;
อิเมหิ สกั กาเรหิ, ตงั สงั ฆงั อะภิปูชะยามิ.
ข้าพเจ้าบูชา, ซ่ึงหมู่พระสงฆเจ้าน้ัน, ด้วยเคร่ืองสกั การะเหล่าน้ี.
(กราบ)
..... ..... ..... ..... ..... ..... .....
138
ภาคศาสนพธิ ี
เป็นการกล่าวทบทวนรำ� ลกึ ถงึ คณุ ปู การแห่งพระพทุ ธ พระธรรม และ พระสงฆ์
แก่มวลมนุษย์ท่คี วรแก่การศรัทธา เช่ือม่นั แล้วเรียนร้แู ละลงมอื ปฏบิ ตั ติ ามแบบอย่าง
หลกั การ และ คำ� สง่ั สอนทง้ั หลาย
พระพุทธคุณ ได้แก่ การเป็นผู้รู้ ผู้ต่ืน ผู้เบิกบาน ตรัสรู้และดับเพลิงกิเลส
เพลิงทุกขไ์ ด้ส้นิ เชิงโดยพระองค์เอง
พระธรรมคุณ ได้แก่ พระธรรมค�ำส่ังสอนของพระพุทธเจ้าท่ีควรถือและ
ปฏบิ ตั ติ ามเพ่ือการดบั ทุกขไ์ ด้
พระสงั ฆคุณ ได้แก่ สาวกผู้ปฏบิ ัติดีตามแบบและคำ� ส่งั สอนของพระพุทธเจ้า
แล้วคอยช่วยเหลือเอ้อื เฟ้ื อส่งั สอนแนะนำ� ต่อพวกเราท้งั หลาย
..... ..... ..... ..... ..... ..... .....
139
ภาคศาสนพธิ ี
การอาราธนาศลี
นะโม ตสั สะ ภะคะวะโต อะระหะโต สมั มาสมั พุทธสั สะ
(วา่ ๓ จบ)
คำ� _อ_า_ร_า__ธ_น__า_ศ_ลี_ ๕
มะยงั ภนั เต, วิสงุ วิสงุ รกั ขะนตั ถายะ, ติสะระเณนะ สะหะ, ปัญจะ
สีลานิ ยาจามะ.๑
ทตุ ยิ มั ปิ มะยงั ภนั เต, วสิ งุ วสิ งุ รกั ขะนตั ถายะ, ตสิ ะระเณนะ สะหะ,
ปัญจะ สีลานิ ยาจามะ.
ตะตยิ มั ปิ มะยงั ภนั เต, วสิ งุ วสิ งุ รกั ขะนตั ถายะ, ตสิ ะระเณนะ สะหะ,
ปัญจะ สีลานิ ยาจามะ.
เป็ นการกล่าวอาราธนานิมนต์พระภิกษุให้ช่วยนำ� การกล่าวคำ� ปฏิญาณเพ่ือ
การน้อมรับศีลอันเป็ นข้อปฏิบัติพ้ืนฐานในการรักษากาย วาจาและใจให้สะอาด
บริสทุ ธ์ิ ปราศจากบาป อกุศลส่งิ เศร้าหมองมารบกวนนำ� พาไปในทางท่ไี ม่เหมาะไม่
ควรท้งั หลาย เพ่ือการนำ� ไปถอื ปฏบิ ัติในชีวิตจิตใจต่อๆ ไป ประกอบด้วย ศีล ๕, ศีล
๘ หรือ ย่ิงๆ ข้นึ ตามแต่บุคคล
..... ..... ..... ..... ..... ..... .....
_๑_ถ_้า_ว_่า_ผ_ู้เด__ยี _ว_เ_ป_ล_่ีย_น__ม_ะ_ย_ัง_เ_ป็_น_อ_ะ_ห__ัง_,_ย_า_จ_า_ม_ะ_เ_ป_็น__ย_าจ_า_ม_ิ
140
ภาคศาสนพธิ ี
ค�ำกล__า่ _ว_ไ_ต_ร__ส_ร_ณ__คมน์
นะโม ตสั สะ ภะคะวะโต อะระหะโต สมั มาสมั พุทธสั สะ
(วา่ ๓ จบ)
พุทธงั สะระณงั คจั ฉามิ,
ธมั มงั สะระณงั คจั ฉามิ,
สงั ฆงั สะระณงั คจั ฉามิ,
ข้าพเจ้าขอถอื เอาพระพุทธ พระธรรม พระสงฆ,์ เป็นท่พี ่ึงท่รี ะลึก,
ทุติยมั ปิ พุทธงั สะระณงั คจั ฉามิ,
ทุติยมั ปิ ธมั มงั สะระณงั คจั ฉามิ,
ทุติยมั ปิ สงั ฆงั สะระณงั คจั ฉามิ,
แม้คร้ังท่สี อง, ข้าพเจ้าขอถอื เอาพระพุทธ พระธรรม พระสงฆ,์ เป็นท่พี ่ึง
ท่รี ะลึก,
ตะติยมั ปิ พุทธงั สะระณงั คจั ฉามิ,
ตะติยมั ปิ ธมั มงั สะระณงั คจั ฉามิ,
ตะติยมั ปิ สงั ฆงั สะระณงั คจั ฉามิ,
แม้คร้ังท่สี าม, ข้าพเจ้าขอถอื เอาพระพุทธ พระธรรม พระสงฆ,์ เป็นท่พี ่ึง
ท่รี ะลึก,
(พระสงฆว์ ่า) ติสะระณะคะมะนงั นฏิ ฐิตงั
การถงึ ซ่ึงไตรสรณคมน์ สำ� เรจ็ แล้ว เสรจ็ ส้นิ แล้ว
(พึงรับพร้อมกนั ว่า) อามะ ภนั เต
..... ..... ..... ..... ..... ..... .....
141 (๕๗)
ภาคศาสนพธิ ี
ค�ำ_ส_ม__า_ท_า__น__ศ_ลี_ ๕
ปาณาติปาตา เวระมะณี สิกขาปะทงั สะมาทิยามิ,
อะทินนาทานา เวระมะณี สิกขาปะทงั สะมาทิยามิ,
กาเมสุมิจฉาจารา เวระมะณี สิกขาปะทงั สะมาทิยามิ,
มุสาวาทา เวระมะณี สิกขาปะทงั สะมาทิยามิ,
สุราเมระยะมชั ชะปะมาทฏั ฐานา เวระมะณี สิกขาปะทงั สะมาทิยามิ.
(พระสงฆว์ า่ ) อิมานิ ปัญจะ สิกขาปะทานิ สะมาทิยามิ (วา่ ตาม ๓ ครงั้ )
สีเลนะ สุคะติง ยนั ติ สีเลนะ โภคะสมั ปะทา
สีเลนะ นพิ พุติง ยนั ติ ตสั ม๎ า สีลงั วิโสธะเย.
(สาธุ)
คำ� อาราธนาศลี _๕___แ_ล__ะ_ศ_ลี___๘ คราวเดยี วกนั
มะยงั ภนั เต, วสิ งุ วสิ งุ รกั ขะนตั ถายะ, เอเก ติสะระเณนะ สะหะ,
ปัญจะ สีลานิ ยาจามะ, เอเก ติสะระเณนะ สะหะ, อฏั ฐะ สีลาน๑ิ ยาจามะ.
ทุติยมั ปิ มะยงั ภนั เต, วิสุง วิสุง รกั ขะนตั ถายะ, เอเก ติสะระเณนะ
สะหะ, ปัญจะ สีลานิ ยาจามะ, เอเก ติสะระเณนะ สะหะ, อฏั ฐะ สีลานิ
ยาจามะ.
ตะติยมั ปิ มะยงั ภนั เต, วสิ งุ วสิ งุ รกั ขะนตั ถายะ, เอเก ติสะระเณนะ
สะหะ, ปัญจะ สลี านิ ยาจามะ, เอเก ตสิ ะระเณนะ สะหะ, อฏั ฐะ สลี านิ ยาจามะ.
_________________________________________________________________________________________________
๑.ในกรณที ่ขี อศลี อโุ บสถ คำ� ว่า “อฏั ฐะ สลี านิ” เปล่ียนเป็นว่า “อฏั ฐังคะสะมนั นาคะตงั อโุ ปสะถงั ” แปลว่า
อโุ บสถ อนั ประกอบด้วยองค์ ๘ ประการ.
142 (๕๗)
ภาคศาสนพิธี
คำ� แปล :-
ข้าแต่ท่านผู้เจริญ! ข้าพเจ้าท้ังหลาย, พวกหน่ึง ขอศีล ๕ พร้อมท้ังไตร-
สรณคมน์, พวกหน่ึง ขอศลี ๘ พร้อมท้งั ไตรสรณคมน์, เพ่ือการรักษาแยกกนั ๆ ของ
แต่ละคนๆ.
แม้คร้ังท่ี สอง ...ฯลฯ ...
แม้คร้ังท่ี สาม ...ฯลฯ ...
ค�ำอ__า_ร_า__ธ_น__า_ศ_ลี_ ๘
มะยงั ภนั เต, วิสุง วิสุง รกั ขะนตั ถายะ, ติสะระเณนะ สะหะ, อฏั ฐะ
สีลานิ ยาจามะ.
ทุติยมั ปิ มะยงั ภนั เต, วิสุง วิสุง รกั ขะนตั ถายะ, ติสะระเณนะ
สะหะ, อฏั ฐะ สีลานิ ยาจามะ.
ตะติยมั ปิ มะยงั ภนั เต, วิสุง วิสุง รกั ขะนตั ถายะ, ติสะระเณนะ
สะหะ, อฏั ฐะ สีลานิ ยาจามะ.
ค�ำ_ส_ม__า_ท__า_น_ศ__ลี _ ๘
ปาณาติปาตา เวระมะณี สิกขาปะทงั สะมาทิยามิ,
อะทินนาทานา เวระมะณี สิกขาปะทงั สะมาทิยามิ,
อะพร๎ ห๎มะจะริยา เวระมะณี สิกขาปะทงั สะมาทิยามิ,
มุสาวาทา เวระมะณี สิกขาปะทงั สะมาทิยามิ,
143
ภาคศาสนพิธี
สุราเมระยะมชั ชะปะมาทฏั ฐานา เวระมะณี สิกขาปะทงั สะมาทิยามิ,
วิกาละโภชนา เวระมะณี สิกขาปะทงั สะมาทิยามิ,
นจั จะ คตี ะ วาทติ ะ วสิ กู ะ ทสั สะนะ มาลา คนั ธะ วเิ ลปะนะ
ธาระณะ มณั ฑะนะ วภิ สู ะนฏั ฐานา เวระมะณี สิกขาปะทงั สะมาทิยามิ,
อจุ จาสะยะนะ มะหาสะยะนา เวระมะณี สิกขาปะทงั สะมาทิยามิ.
คำ� อ__า_ร_า__ธ_น__า_ธ_ร_รม
พร๎ ห๎มา จะ โลกาธิปะตี สะหมั ปะติ
กตั อญั ชะลี อนั ธิวะรงั อะยาจะถะ
สนั ตีธะ สตั ตาปปะระชกั ขะชาติกา
เทเสตุ ธมั มงั อะนุกมั ปิ มงั ปะชงั
เป็นการกล่าวอาราธนานิมนต์พระภิกษุให้แสดงพระธรรมคำ� ส่งั สอนขององค์
พระสัมมาสัมพุทธเจ้า ตามอย่างคร้ังท่ีท้าวสหัมบดีพรหมทูลขอหลังจากทรงตรัสรู้
แล้วปรารภว่าพระธรรมท่ีทรงตรัสรู้น้ันยากแก่การเข้าใจของคนท่ัวไป คร้ันท้าว
สหัมบดพี รหมจำ� แนกว่าหมู่คนน้นั เปรียบเสมอื นบวั ๔ เหล่า ท่มี ดี อกซ่งึ พร้อมบานรับ
พระธรรมแล้วโผล่พ้นนำ�้ ได้ จึงทรงแสดงและสอนส่งั เป็นพระพุทธศาสนาสบื มา
144
ภาคศาสนพธิ ี
ค�ำอา_ร_า_ธ__น_า__พ_ร__ะ_ปรติ ร
วิปัตติปะฏิพาหายะ, สพั พะสมั ปัตติสิทธิยา,
สพั พะ ทุกขะ วินาสายะ, ปะริตตงั พร๎ ูถะ มงั คะลงั
วิปัตติปะฏิพาหายะ, สพั พะสมั ปัตติสิทธิยา,
สพั พะ ภะยะ วินาสายะ, ปะริตตงั พร๎ ูถะ มงั คะลงั
วิปัตติปะฏิพาหายะ, สพั พะสมั ปัตติสิทธิยา,
สพั พะ โรคะ วินาสายะ, ปะริตตงั พร๎ ูถะ มงั คะลงั
คำ� แปล :-
ขอพระคุณเจ้าโปรดสวดพระปริตรอันเป็นมงคล เพ่ือป้ องกันความวิบัติ
เพ่อื ความสำ� เรจ็ ในสมบตั ทิ กุ ประการ เพ่อื ให้ ทกุ ข์ ภยั โรค อนั ตรายใดๆ ทกุ ชนดิ
จงพินาศสญู ไป
..... ..... ..... ..... ..... ..... .....
145 (๕๙)
ภาคศาสนพธิ ี
ค�ำถวายภ_ัต_ต__า_ห__า_ร___แ_ดพ่ ระสงฆ์
นะโม ตสั สะ ภะคะวะโต อะระหะโต สมั มาสมั พุทธสั สะ
(วา่ ๓ จบ)
(วา่ พรอ้ มกนั )
อิมานิ มะยงั ภนั เต, ภตั ตาน๑ิ , สะปะริวาราน,ิ ภิกขุสงั ฆสั สะ, โอโณ-
ชะยามะ. สาธุ โน ภนั เต, ภิกขุสงั โฆ, อิมาน,ิ ภตั ตาน๑ิ , สะปะริวาราน,ิ
ปะฏคิ คณั หาต,ุ อมั หากญั เจวะ, มาตาปิ ตอุ าทนี ญั จะ, ญาตะกานญั จะ, กาละ-
กะตานงั , ทฆี ะรตั ตงั , หติ ายะ สขุ ายะ.
คำ� แปล :-
ข้าแต่พระภิกษุสงฆ์ผู้เจริญ, ข้าพเจ้าท้ังหลาย, ขอน้อมถวาย, ซ่ึง
ภตั ตาหาร๒, พร้อมกบั ท้งั บริวารท้งั หลายเหล่าน้ี, แด่พระภิกษุสงฆ์
ขอพระภกิ ษุสงฆจ์ งโปรดรับ, ซ่ึงภตั ตาหาร๒, พร้อมกบั ท้งั บริวารท้งั หลาย
เหล่าน้,ี ของข้าพเจ้าท้งั หลาย, เพ่ือประโยชน์, เพ่ือความสขุ , แก่ข้าพเจ้าท้งั หลาย,
แก่ญาติท้งั หลาย, มีมารดาบิดาเป็นต้น, และผู้ท่ลี ่วงลับไปแล้วด้วย, (คือ...)*
ตลอดกาลนานเทอญ.
_________________________________________________________________________________________________
๑-๑. ถ้าถวายภัตตาหารอทุ ศิ ให้ผู้ตาย แก้เป็น “มะตะกะภัตตานิ” ท้งั ๒ แห่ง
๒* -ข้๒อค. วถา้ามถใวนายวงภเัตลตบ็ า,หกาลร่าอวทุ เฉศิ พใหาะ้ผเู้ตมา่อื ยถวแากย้เภป็ตันต“ามหตารกอภทุ ัตศิ ตใาหห้ผาู้ตร”ายทท้งั ่ปี ๒ระแสหง่งค์ระบุช่ือ, โดยใส่ช่ือผู้ตายลงท่.ี ..น้ันด้วย
146
ภาคศาสนพิธี
คำ� ถวายส__งั _ฆ_ท__า_น__(_แ__บบทว่ั ไป)
อิมานิ มะยงั ภนั เต, ภตั ตาน,ิ **สะปะริวาราน,ิ ภิกขุสงั ฆสั สะ, โอโณ-
ชะยามะ, สาธุ โน ภนั เต, ภิกขุสงั โฆ, อิมาน,ิ ภตั ตาน,ิ **สะปะริวาราน,ิ
ปะฏิคคณั ห๎ าตุ, อมั ห๎ ากงั , ทีฆะรตั ตงั , หิตายะ สุขายะ.
คำ� แปล :-
ข้าแต่พระสงฆผ์ ู้เจริญ, ข้าพเจ้าท้งั หลาย, ขอน้อมถวาย, ซ่งึ ภตั ตาหาร,**กบั
ท้งั บริวารท้งั หลายเหล่าน้ี, แด่พระภิกษุสงฆ.์
ขอพระภิกษุสงฆ์จงรับ, ซ่ึงภัตตาหาร,** กับท้ังบริวารท้ังหลายเหล่าน้ี,
ของข้าพเจ้าทง้ั หลาย, เพ่อื ประโยชนแ์ ละความสขุ , แกข่ ้าพเจ้าทง้ั หลาย, ส้นิ กาลนาน
เ_ท___อ_ญ___._________________________________________________________________________________________
** ถ้าสงั ฆทานน้ันไม่มอี าหารและถวายหลังเท่ยี งไปแล้ว เปล่ียนคำ� ว่า ภตั ตานิ เป็น กปั ปิ ยะภัณฑานิ และ
เปล่ียนคำ� ว่า ภัตตาหาร เป็น กปั ปิ ยภณั ฑ์
บ__ท_พ__ร_ะ_ใ_ห__พ้ __ร
(กรวดน�ำ้ )
ยะถา วาริวะหา ปูรา ปะริปูเรนติ สาคะรงั
ห้วงนำ�้ ท่เี ตม็ ย่อมยังสมุทรสาครให้บริบูรณไ์ ด้ ฉันใด
เอวะเมวะ อิโต ทินนงั เปตานงั อุปะกปั ปะติ
ทานทท่ี า่ นอทุ ศิ ให้แล้วแตโ่ ลกน้,ี ย่อมสำ� เรจ็ ประโยชนแ์ กผ่ ้ทู ล่ี ะโลกน้ไี ปแล้ว
ได้ ฉนั น้นั .
147
ภาคศาสนพธิ ี
อิจฉิตงั ปัตถติ งั ตุมหงั
ขออฏิ ฐผลท่ที า่ นปรารถนาแล้วต้งั ใจแล้ว
ขิปปะเมวะ สะมิชฌะตุ
จงสำ� เรจ็ โดยฉับพลัน
สพั เพ ปูเรนตุ สงั กปั ปา
ขอความดำ� ริท้งั ปวงจงเตม็ ท่ี
จนั โท ปัณณะระโส ยะถา
เหมอื นพระจันทร์วันเพญ็
มะณิ โชติระโส ยะถา
เหมอื นแก้วมณอี นั สว่างไสวควรยินดฯี
(ประนมมือรบั พร)
สพั พตี ิโย วิวชั ชนั ตุ
ความจัญไรท้งั ปวง จงบำ� ราศไป
สพั พะโรโค วินสั สะตุ
โรคท้งั ปวง (ของทา่ น) จงหาย
มา เต ภะวตั วนั ตะราโย
อนั ตรายอย่ามแี ก่ทา่ น
สุขี ทีฆายโุ ก ภะวะ
ทา่ นจงเป็นผู้มคี วามสขุ มอี ายุยืน
อะภิวาทะนะสีลิสสะ นิจจงั วุฑฒาปะจายิโน, จตั ตาโร ธมั มาวฑั ฒนั ติ,
อายุ วณั โณ สุขงั พะลงั
ธรรมส่ปี ระการ คอื อายุ วรรณะ สขุ ะ พละ, ย่อมเจริญแกบ่ คุ คล ผู้มปี รกต ิ
ไหว้กราบ, มปี รกตอิ ่อนน้อม (ต่อผู้ใหญ่) เป็นนิตย์ฯ
148
ภาคศาสนพธิ ี
คำ� อธษิ ฐานเข_า้ _พ__ร_ร_ษ_า__(_ส_ำ�_หรับฆราวาส)
นะโม ตสั สะ ภะคะวะโต อะระหะโต สมั มาสมั พุทธสั สะ
(วา่ ๓ จบ)
อมิ งั เตมาสงั วสั สงั , อทิ งั กจิ จงั , อตุ ตะโรตตะรงั , กะรสิ สามตี ิ อะธษิ ฐาม.ิ
ทตุ ยิ มั ปิ , อมิ งั เตมาสงั วสั สงั , อทิ งั กจิ จงั , อตุ ตะโรตตะรงั , กะรสิ สามตี ิ อะธษิ ฐาม.ิ
ตะตยิ มั ปิ , อมิ งั เตมาสงั วสั สงั , อทิ งั กจิ จงั , อตุ ตะโรตตะรงั , กะรสิ สามตี ิ อะธษิ ฐาม.ิ
ค�ำแปล :-
ตลอดพรรษา ๓ เดอื น ในฤดูฝนน้ี ข้าพเจ้า ขอต้งั จิตอธษิ ฐานว่าจะบำ� เพญ็
กรณยี กจิ ดงั น้ีให้ย่ิงๆ ข้นึ คือ...........................................................................
.................................................................................................................
แม้คร้ังท่สี อง ...ฯลฯ ...
แม้คร้ังท่สี าม ...ฯลฯ ...
..... ..... ..... ..... ..... ..... .....
_บ_ท__แ_ผ_่เ_ม_ต__ต_า_
สพั เพ สตั ตา
สตั ว์ท้งั หลายท่เี ป็นเพ่ือนทุกข,์ เกดิ แก่ เจบ็ ตาย, ด้วยกนั ท้งั หมดท้งั ส้นิ
อะเวรา โหนตุ
จงเป็นสขุ เป็นสขุ เถดิ , อย่าได้มเี วรซ่ึงกนั และกนั เลย,
อพั ย๎ าปัชฌา โหนตุ
จงเป็นสขุ เป็นสขุ เถดิ , อย่าได้พยาบาทเบยี ดเบยี นซ่ึงกนั และกนั เลย,
อะนฆี า โหนตุ
จงเป็นสขุ เป็นสขุ เถดิ , อย่าได้มคี วามทุกขก์ าย ทุกขใ์ จเลย,
สุขี อตั ตานงั ปะริหะรนั ตุ.
จงมคี วามสขุ กาย สขุ ใจ รักษาตนให้พ้นจากทุกขภ์ ยั , ท้งั ส้นิ เทอญ.
..... ..... ..... ..... ..... ..... .....
149
อธิบายศัพท์บทสวดมนต์
ก) อปุ กเิ ลส [รตนตั ตยปั ปณามคาถา น.13(๖-๗)] หรอื จติ ตอปุ กเิ ลส ๑๖ หมายถงึ
ธรรมเคร่ืองเศร้าหมอง, สง่ิ ทท่ี ำ� ให้จติ ขนุ่ มวั รบั คณุ ธรรมได้ยาก ดจุ ผ้าเปรอะเป้ือนสกปรก
ย้อมไมไ่ ด้ดี ประกอบด้วย
๑. อภชิ ฌาวสิ มโลภะ คดิ เพ่งเลง็ อยากได้ โลภไมส่ มควร, โลภกล้า จ้องจะเอา
ไมเ่ ลอื กควรไมค่ วร
๒. พยาบาท คิดร้ายเขา
๓. โกธะ ความโกรธ
๔. อุปนาหะ ความผูกโกรธ
๕. มกั ขะ ความลบหลู่คุณทา่ น, ความหลู่ความดขี องผู้อ่นื , การลบล้าง
ปิ ดซ่อนคุณค่าความดขี องผู้อ่นื
๖. ปลาสะ ความตเี สมอ, ยกตวั เทยี มทา่ น, เอาตวั ข้นึ ต้งั ขวางไว้
ไม่ยอมยกให้ใครดกี ว่าตน
๗. อิสสา ความริษยา
๘. มจั ฉริยะ ความตระหน่ี
๙. มายา มารยา
๑๐. สาเถยยะ ความโอ้อวดหลอกเขา, หลอกด้วยคำ� โอ้อวด
๑๑. ถมั ภะ ความหัวด้อื , กระด้าง
๑๒. สารมั ภะ ความแข่งด,ี ไม่ยอมลดละ มุ่งแต่จะเอาชนะกนั
๑๓. มานะ ความถอื ตวั , ทะนงตน
๑๔. อติมานะ ความถอื ตวั ว่าย่ิงกว่าเขา, ดูหม่นิ เขา
๑๕. มทะ ความมัวเมา
150
๑๖. ปมาทะ ความประมาท, ละเลย, เลินเล่อ
ข้อ ๒ มตี า่ งออกไป คอื ในธมั มทายาทสตู ร เป็น โทสะ ความคดิ ประทษุ ร้ายเขา
(ม.ม.ู ๑๒/๒๖/๒๖)
ข) โลกตุ ตระ [รตนตั ตยปั ณามคาถา น.13(๖-๗)] หมายถงึ พ้นจากโลก, เหนือ
โลก, พ้นวิสยั ของโลก, ไม่เน่ืองในภพท้งั ๓
ค) พระสทั ธรรม [สงั ฆาภิคีติ น.32(๑๙)] หมายถงึ ธรรมท่ดี ,ี ธรรมท่แี ท้, ธรรม
ของคนด,ี ธรรมของสตั บุรษุ มี สทั ธรรม ๓ อย่าง คอื
๑. ปริยัตสิ ทั ธรรม สทั ธรรมคอื ส่งิ ท่พี ึงเล่าเรียน ได้แก่ พุทธพจน์
๒. ปฏบิ ตั สิ ทั ธรรม สทั ธรรมคือส่งิ พึงปฏบิ ตั ิ ได้แก่ ไตรสกิ ขา
๓. ปฏเิ วธสทั ธรรม สทั ธรรมคอื ผลทพ่ี งึ บรรลุ ได้แก่ มรรคผล และนพิ พาน ;
สทั ธรรม ๗ คือ
๑. ศรัทธา ๒. หิริ ๓. โอตตปั ปะ ๔. พาหุสจั จะ ๕. วิริยารัมภะ ๖. สติ
๗. ปัญญา
ฆ) ธรรมดำ� [ติลกั ขณาทิคาถา น.51(๒๖)] หมายถงึ ทุจริต ความประพฤตชิ ่ัว
ประพฤตไิ ม่ดี มีท้งั ทางกาย วาจา ใจ
ธรรมขาว หมายถงึ สจุ ริต ความประพฤตดิ ี ประพฤตชิ อบ มที ้งั ทางกาย วาจา ใจ
ง) สงั ขาร [บทพจิ ารณาสงั ขาร น.69(๓๔)] หมายถงึ สภาพท่ปี ัจจัยท้งั หลายปรงุ
แต่งข้นึ , ส่งิ ท่เี กดิ จากเหตปุ ัจจัย
๑. อปุ าทนิ นกสงั ขาร สงั ขารทก่ี รรมยดึ ครองหรอื เกาะกมุ ได้แก่ อปุ าทนิ นธรรม
๒. อนปุ าทนิ นกสงั ขาร สงั ขารทก่ี รรมไมย่ ดึ ครองหรอื เกาะกมุ ได้แก่ อนปุ าทนิ น-
ธรรมท้งั หมด เว้นแต่อสงั ขตธาตุ คือนิพพาน
151
จ) ภูมิท้งั สาม [สพั พปัตติทานคาถา น.72(๓๖)]
ภมู ิ มคี วามหมาย ๒ ประการ คือ (๑) พ้ืนเพ, พ้ืน, ช้ัน, ท่ดี นิ , แผ่นดนิ
(๒) ช้ันแห่งจิต, ระดบั จิตใจ, ระดบั ชีวิต ภมู ทิ ้งั สาม ได้แก่
- กามาวจรภมู ิ คอื ช้นั ทย่ี งั ทอ่ งเทย่ี วอยใู่ นกามภพหรอื ภมู ขิ องจติ ทต่ี ดิ อยใู่ นกาม
- รปู าวจรภมู ิ คอื ช้นั ทท่ี อ่ งเทย่ี วอยู่ในรปู ภพหรอื ภมู ขิ องจติ ทต่ี ดิ อยู่ในรปู ฌาน
- อรปู าวจรภมู ิ คอื ชน้ั ทท่ี อ่ งเทย่ี วอยใู่ นอรปู ภพหรอื ภมู ขิ องจติ ทต่ี ดิ อยใู่ นอรปู ฌาน
ฉ) กำ� เนดิ ท้งั สี่ [สพั พปัตติทานคาถา น.72(๓๖)]
๑. ชลาพุชะ เกดิ ในครรภ์ ได้แก่ สตั ว์ท่เี กดิ ในมดลูก คือ มนุษย์และสตั ว์
เดรัจฉานท่คี ลอดออกมาเป็นตวั และเล้ียงลูกด้วยนม เช่น โค กระบอื แมว เป็นต้น
๒. อณั ฑชะ เกดิ ในไข่ ได้แก่ สตั ว์เดรัจฉานท่อี อกมาเป็นไข่ แล้วจึงฟักไข่ออก
มาเป็นตวั เช่น เป็ด ไก่ นก ปลา เป็นต้น
๓. สงั เสทชะ เกดิ ในเถ้าไคล ได้แก่ สตั ว์ท้งั หลายท่เี กดิ โดยไม่อาศยั ท้องพ่อแม่
แต่อาศยั เกดิ จากต้นไม้ ผลไม้ ดอกไม้ หรือ ของโสโครก หรือ ท่ชี ุ่มช้นื เช่น เช้อื โรคและ
สตั วเ์ ซลลเ์ ดยี ว มอี ะมบี าพลามเิ ซียม เป็นต้น
๔. โอปปาติกะ เกดิ ผุดข้นึ มา ได้แก่ สตั ว์โลกท่เี กดิ มาโดยไม่ได้อาศยั พ่อแม่แต่
อาศยั กรรมอย่างเดยี ว และเม่อื เกดิ กเ็ ตบิ โตข้นึ ทนั ทที นั ใด เวลาตายกไ็ ม่ต้องท้งิ ร่าง
เอาไว้ เช่น พวกสตั ว์นรก เปรต เทวดา พรหม มนุษย์โลกสมยั ต้นกปั เป็นต้น พวกน้ี
ล่องลอยได้คล่องไม่ต้องอาศยั ยานพาหนะเป็นไปด้วยอำ� นาจกรรมของเขา
ช) สตั วท์ ีม่ ีหา้ ขนั ธ์ [สพั พปัตติทานคาถา น.72(๓๖)] ได้แก่ สตั ว์ในกามภพ เช่น
มนุษย์ สตั ว์ เทวดา จะมกี ายกบั จิต หรือมีขนั ธ์ ๕ ครบ, กายคอื รปู ขนั ธ์ จิต คอื นาม
ขนั ธ์ ๔ ได้แก่ เวทนา สญั ญา สงั ขาร วิญญาณ
สตั วท์ ีม่ ีหนงึ่ ขนั ธ์ คอื ผู้ท่เี กดิ มามขี นั ธเ์ ดยี ว ได้แก่ อสญั ญีพรหม หรือท่เี รียกว่า
152
พรหมลูกฟัก เพราะเกดิ มามแี ต่รปู ขนั ธอ์ ย่างเดยี วไม่มีจิตมาเกดิ ด้วย
สตั วท์ ีม่ ีสีข่ นั ธ์ คือ อรปู พรหมท้งั หลาย เน่ืองจากพรหมเหล่าน้ีเกดิ มาไม่มรี ปู มา
เกดิ มแี ต่จิตมาเกดิ คอื มนี ามขนั ธ์ ๔ เท่าน้ัน คือ เวทนา สญั ญา สงั ขาร วิญญาณ
ซ) โลกตุ ตรธรรมเกา้ [ปัฏฐนปนคาถา น.74(๓๗-๓๘)] หมายถงึ ธรรมอนั มใิ ช่
วิสยั ของโลก, สภาวะพ้นโลก (+ โพธปิ ักขยิ ธรรม ๓๗ = ๔๖ : ข.ุ ปฏ.ิ ๓๑/๖๒๐/๕๓๕; Ps.II.๑๖๖)
ประกอบด้วย
มรรค ๔
มรรค ๔ ทางเข้าถงึ ความเป็นอริยบุคคล, ญาณท่ที ำ� ให้ละสงั โยชน์ได้ขาด
๑. โสดาปัตติมรรค มรรคอนั ให้ถงึ กระแสท่นี ำ� ไปส่พู ระนิพพานทแี รก, มรรค
อนั ให้ถงึ ความเป็นพระโสดาบัน เป็นเหตุละสงั โยชน์ได้ ๓ คือ สกั กายทฏิ ฐิ วิจิกจิ ฉา
สลี ัพพตปรามาส
๒. สกทาคามิมรรค มรรคอนั ให้ถงึ ความเป็นพระสกทาคามี เป็นเหตลุ ะ
สงั โยชน์ได้ ๓ ข้อต้น กบั ทำ� ราคะ โทสะ โมหะ ให้เบาบางลง
๓. อนาคามิมรรค มรรคอนั ให้ถงึ ความเป็นพระอนาคามี เป็นเหตลุ ะสงั โยชน์
เบ้อื งต่ำ� ได้ท้งั ๕
๔. อรหตั ตมรรค มรรคอนั ให้ถงึ ความเป็นพระอรหันต์ เป็นเหตลุ ะสงั โยชน์ได้
หมดท้งั ๑๐
ผล ๔
ผล ๔ ผลท่ีเกิดสืบเน่ืองจากการละกิเลสได้ด้วยมรรค, ธรรมารมณ์อันพระ
อริยะพึงเสวย ท่เี ป็นผลเกดิ เองในเม่อื กเิ ลสส้นิ ไปด้วยอำ� นาจมรรคน้ันๆ
๑. โสดาปัตติผล ผลแห่งการเข้าถงึ กระแสท่นี ำ� ไปส่พู ระนิพพาน, ผลอนั พระ
โสดาบนั พึงเสวย
๒. สกทาคามิผล ผลอนั พระสกทาคามพี ึงเสวย
153
๓. อนาคามิผล ผลอนั พระอนาคามพี ึงเสวย
๔. อรหตั ตผล ผลคอื ความเป็นพระอรหันต,์ ผลอนั พระอรหันตพ์ ึงเสวย
ผล ๔ น้ี บางทเี รียกว่า สามญั ญผล ผลของความเป็นสมณะ, ผลแห่งการ
บำ� เพญ็ สมณธรรม
นพิ พาน หรือ อสงั ขตธาตุ ๑
นิพพาน สภาพท่ดี บั กเิ ลสและกองทุกขแ์ ล้ว, ภาวะท่เี ป็นสขุ สงู สดุ เพราะไร้
กเิ ลสไร้ทุกข์ เป็นอสิ รภาพสมบูรณ์
๑. สอุปาทิเสสนิพพาน นิพพานยังมอี ปุ าทเิ หลือ
๒. อนุปาทิเสสนิพพาน นิพพานไม่อปุ าทเิ หลือ
หมายเหต:ุ ตามคำ� อธบิ ายนัยหน่ึงว่า
๑. = ดบั กเิ ลส ยังมเี บญจขนั ธเ์ หลือ (= กเิ ลสปรินิพพาน)
๒. = ดบั กเิ ลส ไม่มเี บญจขนั ธเ์ หลือ (= ขนั ธปรินิพพาน)
หรือ
๑. = นิพพานของพระอรหันตผ์ ู้ยังเสวยอารมณท์ ่นี ่าชอบใจและไม่น่าชอบใจ
ทางอนิ ทรีย์ ๕ รับร้สู ขุ ทุกขอ์ ยู่
๒. = นิพพานของพระอรหันตผ์ ู้ระงบั การเสวยอารมณท์ ้งั ปวงแล้ว
ฌ) ฐานะแห่งความอาภพั ๑๘ อย่าง [ปัฏฐนปนคาถา น.74(๓๗-๓๘)] [ตามคำ�
อธบิ ายของพระอรรถกถาจารย์ในอรรถกถาขคั ควิสาณสตู ร]
๑. ไม่เป็นคนบอดแต่กำ� เนิด
๒. ไม่เป็นคนหนวกแต่กำ� เนิด
๓. ไม่เป็นคนบ้า
๔. ไม่เป็นคนใบ้
๕. ไม่เป็นคนแคระ
154
๖. ไม่เกดิ ในชนชาตมิ ลิ ักขะ
๗. ไม่เกดิ ในท้องของนางทาสี
๘. ไม่เป็นคนนิยตมจิ ฉาทฏิ ฐิ
๙. ไม่เป็นคนกลับเพศ
๑๐. ไม่ทำ� อนันตริยกรรมห้าอย่าง
๑๑. ไม่เป็นคนโรคเร้ือน
๑๒. อตั ตภาพสดุ ท้ายไม่เวียนมาในกำ� เนิดดริ ัจฉาน
๑๓. ไม่มอี ตั ตภาพใหญ่กว่าช้าง
๑๔. ไม่เกดิ ในขปุ ปิ ปาสกิ เปรตและนิชฌามตณั หิกเปรต
๑๕. ไม่เกดิ ในจำ� พวกกาลกญั ชิกาสรู ท้งั หลาย
๑๖. ไม่เกดิ ในอเวจีนรก
๑๗. ไม่เกดิ ในโลกนั ตริกนรก
๑๘. ไม่เป็นมารในสวรรค์ช้ันกามาวจร ไม่เกดิ ในอสญั ญีภพในรปู าวจรภมู ิ
ไม่เกดิ ในภพสทุ ธาวาส ไม่เกดิ ในอนั ตมิ ภพ ไม่ก้าวไปส่จู ักรวาลอ่นื
ญ) เวรท้งั ๕ [ปัฏฐนปนคาถา น.74(๓๗-๓๘)] หมายถงึ เวรภัยจากการล่วง
ละเมดิ ศลี ๕
ฎ) กามคุณหา้ [ปัฏฐนปนคาถา น.74(๓๗-๓๘)] หมายถงึ ส่วนท่นี ่าใคร่น่า
ปรารถนา, ส่วนท่ดี หี รือส่วนอร่อยของกาม
๑. รปู ะ รปู
๒. สทั ทะ เสยี ง
๓. คันธะ กล่ิน
๔. รสะ รส
155
๕. โผฏฐัพพะ สมั ผสั ทางกาย
ห้าอย่างน้ี เฉพาะส่วนท่นี ่าปรารถนา น่าใคร่ น่าพอใจ เรียกว่า กามคุณ
ฏ) สุขสามอย่าง [อุททิสสนาธิฏฐานคาถา น.78(๔๐-๔๑) ] หมายถงึ สขุ ใน
กามภพ รปู ภพ และอรปู ภพ
ฐ) บุญท้งั สิบ [อุททิสสนาธิฏฐานคาถา น.81(๔๓-๔๔)] หมายถงึ บุญกริ ิยาวัตถุ
๑๐ ท่ตี ้งั แห่งการทำ� บุญ, ทางทำ� ความดี
๑. ทานมยั ทำ� บุญด้วยการให้ปันส่งิ ของ
๒. สีลมยั ทำ� บุญด้วยการรักษาศลี หรือประพฤตดิ ี
๓. ภาวนามยั ทำ� บุญด้วยการเจริญภาวนาคือฝึกอบรมจิตใจ
๔. อปจายนมยั ทำ� บุญด้วยการประพฤตอิ ่อนน้อม
๕. เวยยาวจั จมยั ทำ� บุญด้วยการช่วยขวนขวายรับใช้
๖. ปัตติทานมยั ทำ� บุญด้วยการเฉล่ียส่วนแห่งความดใี ห้แก่ผู้อ่นื
๗. ปัตตานุโมทนามยั ทำ� บุญด้วยการยินดใี นความดขี องผู้อ่นื
๘. ธมั มสั สวนมยั ทำ� บุญด้วยการฟังธรรมศกึ ษาหาความรู้
๙. ธมั มเทสนามยั ทำ� บุญด้วยการส่งั สอนธรรมให้ความรู้
๑๐. ทิฏฐุชกุ มั ม์ ทำ� บุญด้วยการทำ� ความเหน็ ให้ตรง
..... ..... ..... ..... ..... ..... .....
หนงั สอื ประกอบการเรยี บเรยี ง
ทยยฺ รฏฺสฺส เตปิ ฎกํ ๒๕๔๙ พุทธฺ วสเฺ ส ภมู พิ ลสสฺ ปรมนิ ทฺ รมหาราชวรสสฺ ปริปุณณฺ สฏฺวสเฺ ส
สริ ิรชชฺ มงคฺ ล มหกมมฺ กาเล ทยยฺ สงฆฺ มหาเถรสมาคเมน มุททฺ าปิ ตา
พระไตรปิ ฎกภาษาไทย ฉบบั เฉลิมพระเกียรติ พระบาทสมเด็จพระเจา้ อยู่หวั เนอื่ งในการจดั
งานฉลองสิริราชสมบตั ิครบ ๖๐ ปี พุทธศกั ราช ๒๕๔๙ มหาเถรสมาคมจัดพิมพ์.
ธรรมทานมลู นธิ .ิ คู่มอื อบุ าสกอบุ าสกิ า ภาค ๑-๒ ทำ� วตั ร เชา้ -เยน็ และสวดมนตพ์ เิ ศษบางบท
แปลไทย ของ สำ� นักสวนโมกขพลาราม ไชยา. พิมพ์คร้ังท่ี ๙๓. กรงุ เทพฯ : ธรรมสภา,
๒๕๕๕.
ธรรมทานมูลนิธ.ิ สวดมนตแ์ ปล บทพเิ ศษต่างๆ ทีใ่ ชใ้ นสวนโมกขพลาราม. พิมพ์คร้ังท่ี ๒๖.
กรงุ เทพฯ : ธรรมทานมูลนิธ,ิ ๒๕๕๓.
พระพรหมคณุ าภรณ์ (ป. อ. ปยตุ โฺ ต). พจนานุกรมพทุ ธศาสตร์ ฉบบั ประมวลธรรม. พมิ พค์ ร้งั ท่ี ๑๖.
๒๕๕๑.
พระพรหมคณุ าภรณ์ (ป. อ. ปยตุ โฺ ต). พจนานุกรมพทุ ธศาสน์ ฉบบั ประมวลศพั ท.์ พมิ พค์ ร้งั ท่ี ๑๑.
๒๕๕๑.
วศนิ อนิ ทสระ. ธรรมบท ทางแห่งความดี เล่ม ๑. พิมพ์คร้ังท่ี ๘. กรงุ เทพฯ : ธรรมดา, ๒๕๕๕.
วศนิ อนิ ทสระ. ธรรมบท ทางแห่งความดี เล่ม ๒. พิมพ์คร้ังท่ี ๗. กรงุ เทพฯ : ธรรมดา, ๒๕๕๕.
วศนิ อนิ ทสระ. ธรรมบท ทางแห่งความดี เล่ม ๓. พิมพ์คร้ังท่ี ๔. กรงุ เทพฯ : ธรรมดา, ๒๕๔๘.
วศนิ อนิ ทสระ. ธรรมบท ทางแห่งความดี เล่ม ๔. พิมพ์คร้ังท่ี ๕. กรงุ เทพฯ : ธรรมดา, ๒๕๕๓.
สมเดจ็ พระสงั ฆราช (ปสุ สฺ เทว). สวดมนตฉ์ บบั หลวง. พมิ พค์ ร้งั ท่ี ๑๖. กรงุ เทพฯ : มหามกฏุ ราช-
วิทยาลัย, ๒๕๓๘.
สชุ ีพ ปุญญานุภาพ. พระไตรปิ ฎก ฉบบั สำ� หรบั ประชาชน. พิมพ์คร้ังท่ี ๑๗. กรงุ เทพฯ :
มหามกุฏราชวิทยาลัย, ๒๕๕๐.
5500001017984