The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

การจัดการเรียนรู้ภาษาอังกฤษเพื่อพัฒนาทักษะการสื่อสารโดยใช้ Flip classroom ในรูปแบบ online
โดย ครูวัสยา จันทร์ดิษฐ โรงเรียนพระบางวิทยา

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by metta.tha, 2022-03-08 09:21:38

การจัดการเรียนรู้ภาษาอังกฤษเพื่อพัฒนาทักษะการสื่อสารโดยใช้ Flip classroom ในรูปแบบ online

การจัดการเรียนรู้ภาษาอังกฤษเพื่อพัฒนาทักษะการสื่อสารโดยใช้ Flip classroom ในรูปแบบ online
โดย ครูวัสยา จันทร์ดิษฐ โรงเรียนพระบางวิทยา

Keywords: Flip Classroom,PLC

แบบรายงานผลการดำเนินงานชุมชนการเรียนรทู้ างวชิ าชพี PLC
ปีการศึกษา 2564 กลุ่มสาระการเรียนรภู้ าษาต่างประเทศ
โรงเรยี นพระบางวทิ ยา

นางสาววสั ยา จันทรด์ ษิ ฐ

ครู คศ.1

กลุม่ สาระการเรยี นรภู้ าษาต่างประเทศ โรงเรียนพระบางวิทยา
สำนักงานเขตพืน้ ทกี่ ารศกึ ษามัธยมศกึ ษานครสวรรค์

แบบรายงานผลการดำเนนิ งานชมุ ชนการเรยี นรู้ทางวิชาชพี PLC ปกี ารศกึ ษา 2564
กลมุ่ สาระการเรียนรู้ภาษาตา่ งประเทศ โรงเรียนพระบางวิทยา
สำนกั งานเขตพ้ืนท่กี ารศึกษามัธยมศึกษานครสวรรค์

ชื่อผลงาน การจัดการเรียนรู้แบบ Flipped Classroom ที่ใช้ทักษะกระบวนการคิดผ่านการทำกิจกรรมในรายวิชา
ภาษาอังกฤษสำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2/4 โรงเรียนพระบางวิทยา ผ่านชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพ
(Professional Learning Community)

ชอ่ื -นามสกุล ผนู้ ำเสนอผลงาน นางสาววัสยา จนั ทร์ดิษฐ ตำแหน่ง ครู

Email Address [email protected] เบอรโ์ ทรศพั ท์ 064-416-4491

ระยะเวลาทดี่ ำเนนิ การ 1 พฤศจิกายน 2564 – 31 มกราคม 2565 จำนวน 16 ชั่วโมง

จำนวนสมาชิกในกลุ่ม 5 คน

รายชื่อสมาชกิ ในกลุ่ม PLC และบทบาทหนา้ ท่ี

ที่ ช่ือ - สกลุ บทบาท/หนา้ ที่ ตำแหน่ง
ผ้อู ำนวยการสถานศกึ ษา
1 นายอิทธริ ฐั นอ้ ยเกดิ ADMINISTRATOR หวั หนา้ กลุ่มสาระการเรียนรภู้ าษาต่างประเทศ

2 นางสาวณรรฐวรรณ วสยางกรู MENTOR ครชู ำนาญการพเิ ศษ
ครู
3 นางสาวกมลรัตน์ อนงคณะศักดิ์ EXPERT
ครผู ู้ช่วย
4 นางสาววัสยา จนั ทร์ดิษฐ MODEL TEACHER

5 นางสาวแกว้ กัลยา มณเฑียร BUDDY TEACHER

1.ข้อมูลพนื้ ฐาน

โรงเรียนพระบางวิทยา ตั้งอยู่เลขที่ 300 หมู่ 15 ตำบลหนองกระโดน อำเภอเมือง จังหวัดนครสวรรค์
สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษานครสวรรค์ เปิดสอนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1-6 มีข้าราชการครูและ
บุคลากรทางการศึกษาจำนวนทั้งสิ้น 47 คน นักเรียนจำนวน 622 คน โดยมี นายอิทธิรัฐ น้อยเกิด ดำรงตำแหน่ง
ผู้บรหิ ารสถานศึกษา

2. ประเดน็ ปญั หา

จากการวิเคราะห์ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนโรงเรียนพระบางวิทยาในรายวิชาภาษาต่างประเทศ
(ภาษาอังกฤษ) ปีการศึกษา 2563 ซึ่งมีค่าเฉลี่ยต่ำกว่าสถานศึกษากำหนด จึงมีความจำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องเร่ง
ดำเนนิ การสร้างชมุ ชนการเรยี นรทู้ างวิชาชีพ PLC เพื่อใหค้ วามชว่ ยเหลือครูไดเ้ ข้าใจและเข้าถงึ ปัญหาทางการเรียนรู้ของ
นักเรียนและแก้ไขปัญหาได้อย่างรวดเร็วผ่านกิจกรรมการเรียนรู้แบบ Active Learning ที่มีประสิทธิภาพควบคู่กับการ
นิเทศภายในสถานศกึ ษาผ่านกระบวนการ PHRABANG MODEL ในสถานการณก์ ารแพร่ระบาดของโรคตดิ เชื้อไวรสั โคโร
นา 2019 (Covid-19) ผู้สอนจงึ ดำเนินการจดั การเรียนรู้แบบ Flipped Classroom ที่ใชท้ กั ษะกระบวนการคิดผ่านการ
ท ำ ก ิ จ ก ร ร ม ใ น ร า ย ว ิ ช า ภ า ษ า อ ั ง ก ฤ ษ ส ำ ห ร ั บ น ั ก เ ร ี ย น ช ั ้ น มั ธ ย ม ศ ึ ก ษ า ป ี ท ี ่ 2 / 4
โรงเรยี นพระบางวทิ ยา ผ่านชมุ ชนแหง่ การเรียนรทู้ างวิชาชีพ (Professional Learning Community)

3. เป้าหมายท่ีกำหนดไว้

1. ผลสมั ฤทธทิ์ างการเรียนในรายวิชาภาษาต่างประเทศ(ภาษาอังกฤษ) ของนกั เรียนชนั้ มธั ยมศึกษาปีท่ี 2/4 ไม่
ตำ่ กวา่ เกณฑท์ ่ีสถานศึกษากำหนด

2. ครูสามารถจัดการเรยี นรูแ้ บบ Active Learning ใหก้ ับผูเ้ รยี นไดอ้ ย่างถูกต้องและเหมาะสมกบั ผูเ้ รียน
3. ศึกษาผลการใช้ PHRABANG MODEL สำหรับการนเิ ทศภายในและนำไปพฒั นาต่อยอด

4. การวางแผนการดำเนินงาน

ชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ PLC เป็นกระบวนการที่สำคัญในการพัฒนาการเรียนการสอนหรือ
การพัฒนาการเรียนรู้ของผู้เรียนให้มีประสิทธิภาพและเกิดประสิทธิผลทั้งครูผู้สอนและนักเรียน
ผู้บริหารสถานศึกษาจึงได้มีแนวทางในการพัฒนาคุณภาพการจัดการเรียนการสอนเพื่อยกระดับผลสัมฤทธ์ิ
ทางการเรียนในรายวิชาภาษาต่างประเทศ(ภาษาอังกฤษ) ปีการศึกษา 2564 ให้สูงขึ้น จึงได้จัดการประชุม
เชิงปฏิบัติการปฏิบัติการเพือ่ ดำเนินการสร้างชุมชนการเรยี นรู้ทางวชิ าชพี PLC ร่วมกับกระบวนการนิเทศการสอนแบบ
PRABANG MODEL เพื่อยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผู้เรียนโรงเรียนพระบางวิทยา จังหวัดนครสวรรค์ และ
เพื่อให้ครูได้รับการพัฒนากระบวนการจัดการเรียนรู้ของตนเองในการจัดการเรียนรู้ การดำเนินการชุมชน
การเรียนรู้ทางวิชาชีพ PLC ในกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศจะเป็นการให้คำแนะนำช่วยเหลือ
การให้คำปรึกษาเพื่อการปรับปรุงและการพัฒนาแบบกัลยาณมิตร และให้ครูผู้สอนเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม
การจัดการเรียนรู้โดยเน้นกิจกรรมและสอดแทรกเทคนิควิธีการหรือกลวิธีการสอน เพื่อให้ผู้เรียนมีผลสัมฤทธ์ิ
ตามทักษะในศตวรรษท่ี 21 และสร้างบรรยากาศการเรยี นรู้

P

Prabang gathering

G R
Goal achieving
Real planning

N A
Non-stop delving Active Doing

A B
Assessing Bridling

กระบวนการนเิ ทศภายในสถานศึกษาโดยใช้ PRABANG MODEL เพ่ือยกระดบั ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
ของผ้เู รยี นโรงเรยี นพระบางวิทยา สังกัดสำนกั งานเขตพ้ืนท่ีการศึกษามธั ยมศึกษานครสวรรค์

5. วิธกี าร/ข้นั ตอนการดำเนนิ งาน/กระบวนการทำงาน

การการจัดการเรียนรู้แบบ Flipped Classroom ที่ใช้ทักษะกระบวนการคิดผ่านการทำกิจกรรมในรายวิชา
ภาษาอังกฤษสำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2/4 โรงเรียนพระบางวิทยา ผ่านชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพ
(Professional Learning Community) มีข้นั ตอนการดำเนินงาน ดังนี้

ผลการทดสอบก่อนเรยี น เน้ือหาวิชา ผูเ้ รียน

วิเคราะหผ์ ูเ้ รยี นรายบคุ คล

กำหนดปัญหาการเรยี นรู้
วตั ถุประสงค์ของการเรยี นการสอน

วิเคราะหป์ ัญหา
การจัดการเรยี นการสอน

คัดเลือกการออกแบบการแก้ปญั หา
การวางแผนการสอนโดยใช้ Flipped Classroom

การนำไปใชแ้ ละทดสอบ
ผลการเรยี นรู้และการตอบสนอง

การประเมินและปรบั ปรุง
ระบบการสอน

การนำไปใช้

แ ผน ภ าพที่ 2 แสดงกระบวนการจัดการเรียนรู้ ผ่านช ุมชน แห่ง การเรียนรู้ทางวิชาชีพ PLC
ในกลมุ่ สาระการเรียนรภู้ าษาต่างประเทศ

6. ผลการดำเนินงาน/ผลลพั ธท์ เ่ี กดิ ข้นึ จริง
สรปุ ผลการดำเนินการจดั การเรยี นรู้ 3 วงรอบ ผ่านกระบวนการ PLC

จากการวิเคราะห์ผลการประเมินจากแบบทดสอบก่อนเรียนในรายวิชาภาษาอังกฤษ 4 (อ22102)
เรื่อง My Healthy Meal, My Dream House และ Natural Disasters และพฤติกรรมการเรียนรู้ของนักเรียน
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2/4 โรงเรียนพระบางวิทยา จำนวน 37 คน พบว่าในด้านการท่องจำคำศัพท์ นักเรียน
ไม่สามารถจดจำคำศัพท์ได้ และในด้านการทำงานร่วมกัน นักเรียนยังไม่สามารถแบ่งหน้าที่ตามความสามารถ
ของสมาชิกในกลุ่ม ไม่มีการแลกเปลี่ยนความรู้ความเข้าใจร่วมกัน ไม่กล้าเสนอความคิดเห็นของตนเอง
และยังไม่ตระหนักถึงความสำคัญของการร่วมมือกัน ส่งผลให้ไม่สามารถทำชิ้นงานเสร็จสมบูรณ์ภายในระยะเวลา
ท่ีกำหนด โดยจากผลการวิเคราะหผ์ ู้เรียน ผู้สอนจงึ ได้นำปญั หาดังกล่าวมากำหนดปัญหาเพ่อื ดำเนินการจัดทำแผนการ
จดั การเรียนรู้

ในวงรอบที่ 1 ผ้สู อนไดจ้ ัดทำแผนการเรยี นรู้เพื่อสร้างองค์ความรเู้ ร่ือง My Healthy Meal ให้กบั นักเรียน โดย
ไ ด ้ จ ั ด ท ำ แ ผ น ก า ร เ ร ี ย น ร ู ้ ท ั ้ ง ห ม ด จ ำ น ว น 3 แ ผ น ด ้ ว ย ก า ร จ ั ด ก า ร เ ร ี ย น ก า ร ส อ น ก า ร เ ร ี ย น รู้
เชิงประสบการณ์ Experiential Learning จากการจัดการเรียนรู้ พบว่า นักเรียนจำนวน 26 คน มีผลการเรียนอยู่ใน
ระดับ ดีมาก โดยนักเรียนมีความรู้ความเขา้ ใจเร่ืองคำนามนับได้กบั คำนามนับไม่ได้ และสามารถประยุกตใ์ ช้ความรู้ใน
การจำแนกอาหารและบรรยายตามหลักโภชนาได้ รวมถึงมีนักเรียนจำนวน 6 คน มีผลการเรียนอยู่ในระดับ ดี ซ่ึง
นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจเรื่อง คำศัพท์ สามารถจำแนกอาหารได้แต่ยังไม่สามารถบรรยาย
ตามหลักโภชนาได้ นอกจากนี้ยังมีนักเรียนจำนวน 5 คน มีผลการเรียนอยู่ในระดับ พอใช้ คือ นักเรียนมีความรู้ความ
เข้าใจเรื่องเข้าใจเรื่อง คำศัพท์ แต่ยังไม่สามารถจำแนกอาหารและบรรยายตามหลักโภชนา ได้
จากการวิเคราะหผ์ ลการจัดการเรียนรู้ในวงรอบท่ี 1 พบว่า การจดั การเรียนรู้เป็นการจัดเรยี นรู้เปน็ กระบวนการกลุ่มที่
ไม่ได้มีการแบ่งภาระหน้าที่ ๆ หลากหลายทำให้มีนักเรียนบางคนที่ไม่สนใจในกิจกกรม นอกจากนี้พบว่านักเรียนที่มี
ความสามารถโดดเด่นที่มีผลการเรียนอยู่ในระดับ ดีมาก สามารถอธิบายเพื่อนในชั้นเรียนให้มีความรู้ ความเข้าใจ ได้
จากผลการจัดการเรียนรู้ในวงรอบที่ 1 ผู้สอนได้นำผลการสะท้อนการจัดการเรียนรู้และปัญหาที่พบจากการวิเคราะห์
ผูเ้ รียนมาวเิ คราะหเ์ พ่อื จัดการทำแผนการเรียนรู้ในวงรอบท่ี 2

วงรอบที่ 2 ผู้สอนได้จัดทำแผนการเรียนรู้เรื่อง My Dream House และออกแบบกิจกรรมผ่านกระบวนการ
กลมุ่ และเพือ่ นสอนเพ่ือน โดยไดจ้ ดั ทำแผนการเรยี นรทู้ ั้งหมดจำนวน 3 แผน ดว้ ยการจดั กิจกรรมการเรียนรู้การเรียนรู้
เชิงประสบการณ์ Experiential Learning จากการจัดการเรียนรู้ พบว่า นักเรียนจำนวน 27 คน มีผลการเรียนอยู่ใน
ระดับ ดีมาก โดยร่วมกันสามารถจดจำคำศัพท์และประยุกต์ใช้ในการแต่งประโยคเพื่อบรรยายบ้านในฝันได้ รวมถึง
นักเรียนยังสามารถแบ่งหน้าที่ตามความสามารถของสมาชิกในกลุ่มและยังสามารถทำการแลกเปลี่ยนความรู้คว าม
เขา้ ใจร่วมกัน และพบว่านักเรียนจำนวน 10 คน มผี ลการเรียนอยใู่ นระดบั ดี สามารถจดจำคำศัพทแ์ ละประยุกต์ใช้ใน
การแต่งประโยคเพื่อบรรยายบ้านในฝันได้ สามารถทำการแลกเปลี่ยนความรู้ความเข้าใจร่วมกัน แต่ยังไม่สามารถแบ่ง
หน้าที่ตามความสามารถของสมาชิกในกลุ่ม จึงทำให้ชิ้นงานไม่เสร็จภายในเวลาที่กำหนดได้ จากการวิเคราะห์ผลการ
จดั การเรียนรใู้ นวงรอบที่ 2 พบว่า การจดั การเรยี นรู้ยงั ขาดขั้นตอนการสะท้อนผลการดำเนนิ กจิ กรรมเพื่อใหน้ ักเรียนได้
มองเห็นถึงสิ่งที่กลุ่มของตนเองทำได้ดี และสิ่งที่สามารถนำไปปรับปรุงแก้ไขได้ รวมถึงได้สะท้อนถึงส่ิงที่ไดร้ ับจากการ
ทำกจิ กรรม สง่ ผลใหน้ กั เรียนยังไม่มีความตระหนักและไมเ่ ห็นถึงความสำคัญของการทำงานร่วมกัน จากผลการจัดการ
เรียนรูใ้ นวงรอบท่ี 2 ผู้สอนได้นำผลการสะท้อนการจัดการเรียนรูแ้ ละปัญหาที่พบจากการวิเคราะห์ผู้เรียนมาวิเคราะห์
เพ่อื จดั การทำแผนการเรยี นรู้ในวงรอบท่ี 3

วงรอบที่ 3 ผู้สอนได้จัดทำแผนการเรียนรู้เรื่อง The Natural Disasters เพื่อให้ผู้เรียนได้ประยุกต์ใช้องค์
ความรู้ในสถานการณ์จากประสบการณ์ให้ผ่านการลงมือปฏิบัติจริงด้วยการทำงานเป็นกลุ่ม โดยได้จัดทำแผนการ

เรียนรู้ท้งั หมดจำนวน 3 แผน ดว้ ยการจดั กิจกรรมการเรียนรู้การเรยี นรเู้ ชงิ ประสบการณ์ Experiential Learning จาก
การจัดการเรียนรู้ พบว่า นักเรียนจำนวน 37 คน มีผลการเรียนอยู่ในระดับ ดีมาก โดยร่วมกันสามารถศึกษาค้นคว้า
ข้อมูลเกี่ยวกับ Natural Disasters ที่กลุ่มของตนเองได้เลือก และฝึกคิดและแก้ปัญหาเกี่ยวกับสถานการณ์ใน
ชีวิตประจำวันที่เกี่ยวกับภัยธรรมชาติที่กำหนดให้ได้ สามารถแบ่งหน้าที่ตามความสามารถของสมาชิกในกลุ่มและ
ดำเนินกจิ กรรมตามหน้าท่ีที่ได้รบั มอบหมายได้ รวมถึงสามารถทำการแลกเปลีย่ นความรู้ความเข้าใจรว่ มกัน กล้าเสนอ
ความคิดเห็นของตนเอง นอกจากนี้ยังสามารถสะท้อนผลการทำกิจกรรมของกลุ่มตัวเองได้ ตระหนักและเห็นถึง
ความสำคญั ของการทำงานร่วมกนั

จากการจัดการเรยี นรูท้ งั้ 3 วงรอบ มขี อ้ ค้นพบว่า
1) การจัดการเรียนรู้ต้องมีการสร้างองค์ความรู้พื้นฐานให้กับนักเรียนเป็นอันดับแรก โดยในการสร้างองค์

ความรู้ผู้สอนควรใช้สื่อการเรียนรู้ท่ีสามารถกระตุ้นความสนใจของนักเรียน เพื่อให้นักเรียนสามารถที่จะนำความรู้ที่มี
มาประยกุ ตใ์ ช้ในกจิ กรรมได้อย่างมีประสิทธิภาพ และการจัดการเรียนรู้แบบการเรียนรเู้ ชิงประสบการณ์ Experiential
Learning สามารถทำให้ผู้เรียนดึงความรู้พื้นฐานของตนเองออกมาถ่ายทอดด้วยการใช้ภาษาอังกฤษได้อย่างมี
ประสิทธิภาพ

2) การใชก้ ระบวนการกล่มุ มสี ่วนสำคญั ท่สี ่งเสรมิ ให้นักเรยี นกลุ่ม ปานกลาง และกลมุ่ ออ่ น สามารถเรียนรู้ได้
ดีมากขนึ้ และมบี ทบาทในการเรยี นร้มู ากยิ่งขน้ึ

3) กิจกรรมการเรียนรู้ควรจะเปิดโอกาสให้นักเรียนได้ดำเนินการแก้ปัญหาด้วยการปฏิบัติจริง เนื่องจากจะ
ทำใหน้ กั เรียนให้ความสำคัญกับการวางแผนมากขึ้น รวมถงึ มองเห็นขอ้ ผดิ พลาดในการทำงานและนำมาสะท้อนผลการ
ทำกจิ กรรมและทำการปรบั ปรุงตวั เองจากข้อผดิ พลาดทเ่ี กิดข้นึ ได้

4) ในการเลือกสถานการณ์ปัญหาที่จะใช้ในกิจกรรม ผู้สอนควรจะเลือกสถานการณ์ที่มีความสอดคล้องกับ
บทเรียน และเป็นสถานการณ์ที่พบเจอได้ในชีวิตจริงมาประยุกต์ใช้ ซึ่งผู้สอนจำเป็นต้องกำหนดเงื่อนไข
ในสถานการณ์ปัญหาเพิ่มเติม เช่น การนำประสบการณ์จริงและสถานการณ์สมมติมาเป็นประเด็นที่จะแก้ปัญหา การ
เปิดโอกาสให้นักเรียนได้เลือกใช้วัสดุอุปกรณ์ที่จะนำมาใช้ในการแก้ไขปัญหาที่หลากหลาย และทักษะความสามารถ
ของสมาชิกทุกคนในกลุ่มเพื่อดำเนนิ การแก้ไขปัญหาตามเงื่อนไขได้สำเรจ็ นอกจากนี้สถานการณป์ ัญหาจะต้องช่วยให้
น ั ก เ ร ี ย น ม อ ง เ ห ็ น ถ ึ ง ค ว า ม ส ำ ค ั ญ ข อ ง ก า ร ใ ช ้ ค ว า ม ร ู ้ จ า ก ท ุ ก ส า ข า ว ิ ช า ต ล อ ด จ น ต ร ะ ห นั ก
ถงึ ความสำคญั ของการยอมรับในความสามารถของกนั และกนั ในทสี่ ดุ

7. ปัจจัยที่ส่งผลให้การดำเนินงานประสบความสำเรจ็
1) ผู้บริหารสถานศึกษาที่ตระหนักและเห็นความสำคัญของผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียน
โรงเรยี นพระบางวทิ ยา
2) สมาชิกในทีมชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ PLC ที่ให้ความร่วมมือ นิเทศการจัดการเรียนรู้โดยใช้กระบวนการ
PHRABANG MODEL และประเมินผลการจดั การเรยี นรู้อย่างซ่ือสัตย์ เพือ่ ใหเ้ กิดการพัฒนาการจัดการเรียนรู้
ใหม้ ีประสิทธภิ าพและประสทิ ธิผลในการแกไ้ ขปัญการการเรยี นรู้ของนักเรียน
3) ครูผู้สอนที่เปิดเผยและเปิดใจรบั ฟังและยอมรับข้อเสนอแนะและความคิดเห็นของสมาชิกในทีม และพร้อมที่
จะนำไปพฒั นาต่อยอด

8. อุปสรรค/ข้อจำกัด/ข้อขัดข้อง ที่พบในการดำเนนิ งาน
1) สถานการณ์การแพรระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ที่ส่งผลกระทบให้
ในภาคเรียนที่ 1/2564 การจัดการเรียนการสอนถูกจำกัดอยู่ในรูปแบบ online และ on demand จึงทำให้
คอ่ นขา้ งมอี ุปสรรคในการจัดกิจกรรมตา่ งๆในคาบเรียน
2) ความไม่เสถียรของระบบ internet ของนักเรียนและครูผู้สอน ส่งผลให้เกิดผลกระกับการจัดการเรียนรู้
เกดิ ความติดขัด บางครัง้ ไมต่ อ่ เนอ่ื ง และนักเรียนบางคนไม่สามารถเขา้ ชน้ั เรียนเนอ่ื งจาก internet หมด

9. ประเด็นท่ีได้เรยี นรู้
1) ครูเกิดสิ่งท่ีเรียกวา่ พลังการเรียนรู้ (Power of Learning) ส่งผลใหก้ ารปฏิบัติการสอนในช้ันเรียนของตนเองมี
ผลดยี ง่ิ ขนึ้ และมีความรับผดิ ชอบต่อพฒั นาการโดยรวมของผูเ้ รยี นและร่วมกนั รบั ผิดชอบ
2) ครูรับทราบข้อมูลสารสนเทศต่างๆ ที่จำเป็นต่อวิชาชีพได้อย่างกว้างขวางและรวดเร็วขึ้น ส่งผลดีต่อการ
ปรับปรุงพัฒนางานวชิ าชีพของตนได้ตลอดเวลา เกิดแรงแนวทางที่จะสร้างแรงบันดาลใจต่อการเรียนรู้ให้ผู้เรยี น
ต่อไป
3) ครูสามารถสร้างกจิ กรรมการเรยี นรู้ผา่ นชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ (Professional Learning Community)
ที่ใช้ทักษะกระบวนการคดิ ผ่านกิจกรรม Active Learning เพื่อพัฒนาทักษะภาษาอังกฤษของนกั เรียน ควบคู่กบั
การรับการนิเทศโดยใช้กระบวนการ PHRABANG MODEL โดยทีม PLC ได้อย่างมีประสิทธิภาพและเกิดการ
พัฒนาตลอดเวลา

10. ขอ้ เสนอแนะในการดำเนนิ งานครง้ั ตอ่ ไป
การกำหนดปฏทิ ินการดำเนินกิจกรรมควรมีความยดื หยุน่ เพื่อเตรยี มรับมือกับความเปลี่ยนแปลงของสถานการณ์

การแพรระบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ในอนาคต

11. นวัตกรรมทเ่ี กิดขึ้น
วิจยั เชิงปฏบิ ตั กิ ารในชนั้ เรียนเรอ่ื ง “การจดั การเรยี นรแู้ บบ Flipped Classroom ทีใ่ ช้ทกั ษะกระบวนการคิดผ่าน

การทำกิจกรรมในรายวิชาภาษาอังกฤษสำหรับนักเรยี นชัน้ มธั ยมศึกษาปีท่ี 2/4 โรงเรยี นพระบางวทิ ยา ผ่านชมุ ชนแหง่ การ
เรียนรูท้ างวิชาชีพ (Professional Learning Community)”

12. ภาพถา่ ย/รอ่ งรอย/หลักฐานอนื่ ๆ
1. ใบกจิ กรรมที่ 0-7
2. ตัวอย่างแผนการจดั การเรียนรู้
3. รปู ภาพผลงานนักเรยี น

ใบกจิ กรรมที่ 0

แบบบันทกึ ผลการวเิ คราะหน์ ักเรียน

ชอื่ -สกุล นางสาววัสยา จันทรด์ ษิ ฐ โรงเรยี น พระบางวทิ ยา

สาระการเรียนรู้ ภาษาตา่ งประเทศ ชน้ั ม.2/4 จำนวน 37 คน

****************************

1.ลักษณะของนกั เรียนในช้นั เรยี นของทา่ นตามเอกลกั ษณข์ องสาระการเรียนรู้ท่ตี อ้ งการพัฒนา

กลมุ่ เก่ง หมายถึง นกั เรยี นทมี่ ผี ลการทดสอบก่อนเรยี นอยู่ในระดับดีมาก 25/30 คะแนน มีความรู้พื้นฐานพร้อม

ในการพฒั นาการเรยี นรายวิชานี้อยา่ งเตม็ ความสามารถ

กลุ่มปานกลาง หมายถึง นักเรียนที่มีผลการทดสอบก่อนเรียนอยู่ในระดับผ่านเกณฑ์ 15/30 คะแนน มีความรู้

พื้นฐานในระดับหนึ่ง พร้อมในการพัฒนาในการเรยี นรายวชิ านี้

กลุ่มอ่อน หมายถึง กลุ่มเน้นการพัฒนา นักเรียนที่มีผลการทดสอบก่อนเรียนอยู่ในระดับปรับปรุง น้อยกว่า10

คะแนน มีความรพู้ น้ื ฐานไม่ถึงเกณฑท์ ีก่ ำหนด ตอ้ งเน้นพฒั นาในการเรยี นรายวิชานี้

2.ความสามารถ (จุดเด่น) ของนักเรยี นแต่ละกลุม่ ตามทักษะยอ่ ย

2.1 ความสามารถของนกั เรยี นกลมุ่ เก่งดงั น้ี

1)ทกั ษะย่อยด้าน ความรู้ความสามารถและประสบการณ์ จำนวน 8 คน

ระบคุ วามสามารถ (จุดเดน่ ) ความร้พู ืน้ ฐาน นักเรยี นมีความรพู้ น้ื ฐานเป็นอยา่ งดี

2)ทกั ษะย่อยดา้ น ความพรอ้ มด้านสติปญั ญา จำนวน 8 คน

ระบคุ วามสามารถ (จุดเดน่ ) ความสามารถในการเรียนรู้ นกั เรียนมคี วามสามารถ เขา้ ใจง่ายและทำงานทส่ี ่งั ได้

3)ทักษะยอ่ ยด้าน ความพรอ้ มดา้ นพฤติกรรม จำนวน 8 คน

ระบุความสามารถ (จดุ เด่น) ความรับผดิ ชอบ ความมงุ่ มัน่ อดทน ขยนั หมั่นเพยี ร

4)ทกั ษะยอ่ ยดา้ น ความพรอ้ มดา้ นรา่ งกายและจิตใจ จำนวน 8 คน

ระบุความสามารถ (จุดเด่น) ความสมบูรณ์ทางด้านสุขภาพจิต นักเรียนมีความพร้อมทางด้านจิตใจพร้อมที่จะ

เรยี นรู้

2.2 ความสามารถของนกั เรยี นกลุ่มปานกลาง ดังนี้

1)ทกั ษะยอ่ ยดา้ น ความร้คู วามสามารถและประสบการณ์ จำนวน 23 คน

ระบุความสามารถ (จุดเด่น) ความรพู้ ื้นฐาน นักเรียนมีความรูพ้ ื้นฐานมากพอสมควรแต่ไม่ถงึ กบั เกง่ แต่ก็พอได้

2)ทักษะยอ่ ยด้าน ความพรอ้ มดา้ นสตปิ ญั ญา จำนวน 23 คน

ระบุความสามารถ (จุดเด่น) ความสามารถในการเรียนรู้ นักเรียนสามารถเรียนรู้ได้ในระดับหนึ่งแต่ต้องได้รับการ

กระตุน้ ในบางครง้ั

3)ทักษะย่อยด้าน ความพรอ้ มดา้ นพฤตกิ รรม จำนวน 23 คน

ระบุความสามารถ (จุดเด่น) ความรับผิดชอบ ความมุ่งมั่น อดทน นักเรียนมีความรับผิดชอบต่องานที่ทำบ้างใน

บางงาน

4)ทกั ษะยอ่ ยด้าน ความพร้อมดา้ นรา่ งกายและจติ ใจ จำนวน 23 คน

ระบุความสามารถ (จดุ เดน่ ) ความสมบูรณท์ างดา้ นสุขภาพจิต มีความพร้อมท่ีจะเรยี นแต่ยังไมม่ ากเทา่ ที่ควร

2.3 ความสามารถของนกั เรยี นกลุ่มออ่ น ดังนี้
1)ทกั ษะย่อยด้าน ความรู้ความสามารถและประสบการณ์ จำนวน 6 คน
ระบคุ วามสามารถ (จุดเดน่ ) ประสบการณ์ เรื่องอืน่ ๆเยอะแต่เรือ่ งภาษาองั กฤษมีความรู้นอ้ ย
2)ทกั ษะยอ่ ยด้าน ความพร้อมด้านสตปิ ญั ญา จำนวน 6 คน
ระบคุ วามสามารถ (จดุ เด่น) ความมเี หตผุ ล นกั เรยี นมีเหตผุ ลในดา้ นอื่น ๆ
3)ทักษะย่อยด้าน ความพร้อมดา้ นพฤติกรรม จำนวน 6 คน
ระบคุ วามสามารถ (จุดเด่น) การแสดงออก นกั เรียนมีความกล้าแสดงออกในเร่อื งต่าง ๆ
4)ทกั ษะยอ่ ยดา้ น ความพร้อมด้านร่างกายและจิตใจ จำนวน 6 คน
ระบคุ วามสามารถ (จุดเดน่ ) ความสมบูรณท์ างด้านสุขภาพจติ นักเรยี นมีจติ ใจร่าเริงยิ้มแย้มแจม๋ ใส

ใบกจิ กรรมท่ี 1

แบบรายการแกป้ ญั หาการเรียนร้ขู องนกั เรยี น
1. ชอื่ /นามสกุล Model Teacher

นางสาววัสยา จนั ทรด์ ิษฐ
2. กลุ่มสาระการเรียนรู้

ภาษาต่างประเทศ
3. ช่ือโรงเรียน

โรงเรียนพระบางวิทยา
4. รอบของการแก้ปญั หา

รอบที่ 1 วนั ที่ 11 – 25 พฤศจกิ ายน 2564
5. เกย่ี วขอ้ งกับสาระ

สาระที่ 1 ภาษาเพอ่ื การส่ือสาร
6. นักเรียนระดบั ชน้ั

มธั ยมศกึ ษาช้นั ปที ี่ 2/4
7. สรุปปัญหาการเรยี นรู้ของนักเรียน

นกั เรยี นไมส่ ามารถแยกแยะประเภทของคำนามนับไดแ้ ละคำนามนับไม่ได้เกีย่ วกับอาหารได้
8. ตัวช้ีวดั ความสำเรจ็ ของการแกป้ ญั หา

นักเรยี นทกุ คนสามารถสื่อสารโดยการประยุกตใ์ ช้คำนามนับไดแ้ ละคำนามนับไม่ไดเ้ กี่ยวกับอาหารได้
ระดบั คุณภาพ 2 ผา่ นเกณฑ์

9. วิธกี ารวดั ความสำเรจ็ ของการแกป้ ญั หา

รายการวดั วิธวี ดั เครือ่ งมอื เกณฑ์การประเมิน
- แบบทดสอบก่อนเรียน ประเมินตามสภาพจริง
9.1 การประเมินก่อนเรียน

- แบบทดสอบก่อนเรียน หนว่ ย - ตรวจแบบทดสอบ

การเรียนรู้ท่ี 2 เรื่อง My ก่อนเรียน

Healthy Meal

9.2 การประเมินระหว่างการจดั

กจิ กรรม

1) พฤตกิ รรมการทำงาน - สงั เกตพฤติกรรมการ - แบบสงั เกตพฤตกิ รรม ระดบั คุณภาพ 2
การทำงานรายบุคคล ผ่านเกณฑ์
รายบคุ คลใบงาน food ทำงานรายบคุ คล
- แบบประเมนิ ระดับคุณภาพ 2
pyramid การนำเสนอผลงาน ผ่านเกณฑ์

2) การนำเสนอผลงานการเลอื ก - ประเมินการนำเสนอ - แบบสังเกตพฤตกิ รรม ระดบั คุณภาพ 2
การทำงานกลุ่ม ผ่านเกณฑ์
เมนสู ขุ ภาพ ใบงาน My ผลงาน

Healthy Meal

3) พฤติกรรมการทำงานกลมุ่ - สงั เกตพฤติกรรมการ

ใบงาน Healthy or ทำงานกลมุ่

Unhealthy

4) คณุ ลกั ษณะอนั พึงประสงค์ - สงั เกตความมวี นิ ัย ความ - แบบประเมิน ระดับคุณภาพ 2

รบั ผดิ ชอบ ใฝ่เรยี นรู้ และ คณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ ผา่ นเกณฑ์

ม่งุ มัน่ ในการทำงาน

9.3 การประเมินก่อนเรียน

- แบบทดสอบหลังเรียน - ตรวจแบบทดสอบ - แบบทดสอบหลังเรยี น ประเมินตามสภาพจรงิ

หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 เรื่อง หลังเรยี น

My Healthy Meal

10. โปรดระบุวธิ ีการจดั กจิ กรรมการเรียนสอนทีท่ ่านเลือกใช้

วธิ กี ารสอนโดยเนน้ รูปแบบการสอนแบบการเรยี นรู้เชิงประสบการณ์ Experiential Learning ส่งเสรมิ ให้

ผเู้ รยี นเกิดการเรียนรู้จากประสบการณ์ท่ีเปน็ รูปธรรมเพื่อนำไปสู่ความรู้ความเข้าใจเชงิ นามธรรมซ่ึงเป็นการเรียนจาก

ประสบการณ์ตรงและคน้ พบความรู้ดว้ ยตนเอง

11. สรุปลำดับขนั้ ตอนการออกแบบการจดั การเรียนการสอน เขียนเป็นข้นั ตอน เปน็ ขอ้ ๆ

Warm- up

1. ครูนำเสนอบทเรยี นโดยใช้กิจกรรม Hot cabbage! โดยมี target language คือ

“A: What food do you like?

B: I like ….(name of student’s favorite food)……”

2. ครูกระตนุ้ ผู้เรียนโดยโยน hot cabbage จำลองท่ีทำจากกระดาษขยำเป็นก้อนแลว้ โยนไปรอบๆอย่างมี

อิสระ โดยผู้ที่อยู่ในวงจะต้องถามคำถามพร้อมๆกันว่า What food do you like? และผู้ที่ได้รับ hot

cabbage จะต้องตอบว่า I like ….(name of student’s favorite food)… เมื่อนักเรียนได้พูดชื่ออาหาร

ทต่ี นชื่นชอบจนครบทุกคน ครูกลา่ วคำชมเชยแกน่ ักเรยี น

3. ครูนำเข้าสู่บทเรียนโดยพูดว่า “Okay, guys. Today we’re going to apply what we have

learned at home via the Youtube link about countable and uncountable nouns (food) to

make your own healthy meal”

Presentation

4. ครูสอนเนื้อหาโดยเริ่มจากการนำเสนอ Food Pyramid บนกระดานโดยวาดรูปสามเหลี่ยมและ

แบ่งเป็นช่องต่างๆตามสารอาหาร จากนั้นตรวจสอบ background knowledge โดยให้นักเรียนตอบช่ือ

สารอาหารประจำช่อง โดยครกู ล่าวคำชมเชยเมื่อตอบถูก

5. ครูผู้สอนกระตุ้นการเรียนรู้คำศัพท์โดยครูยกตัวอย่างชื่ออาหารแต่ละหมู่และระบุว่าเป็น countable

noun หรือ uncountable noun ให้ผู้เรียนบอกชื่ออาหารทั้งประจำหมู่อาหารต่างๆและระบุว่าเป็น

countable noun หรือ uncountable noun ครูเขียนตามคำตอบของนักเรียน จากนั้นครูกล่าวคำ

ชมเชย

6. ครกู ระตนุ้ การเรยี นรู้ โดยเขยี นประโยค “Healthy or Unhealthy?” และอธิบายเพ่ิมเติมว่า Healthy

food หมายถงึ อาหารสขุ ภาพ และ Unhealthy food คือ อาหารทไ่ี มด่ ตี อ่ สขุ ภาพพรอ้ มยกตัวอย่าง

Practice

7. ครูแจกใบงาน The Food Pyramid แก่นักเรียนทุกคนเพื่อฝึกแยกอาหารเข้าหมู่พร้อมทั้งให้นักเรียน

ระบุว่าเป็น countable noun หรอื uncountable noun

8. ครูแบ่งนักเรียนเป็น 7 กลุ่มๆละ 5 คน (จะมี 2 กลุ่มที่มี 6 คน) เพื่อทำกิจกรรม Healthy or

Unhealthy โดยมีครูคอยควบคุมดูแลและให้ความช่วยเหลือพร้อมทั้งให้ feedback ตลอดการทำ

กจิ กรรม
Production

9. ครูให้สถานการณส์ มมุติ หากนักเรียนจะเลอื กเมนูอาหารให้คนทีเ่ รารักไม่ว่าจะเป็นคณุ พ่อ-คุณแม่ คุณ
ตา-คุณยาย หรือคนอื่นๆทีเ่ ราให้ความปรารถนาดี นกั เรียนจะเลือกเมนูอะไร ประกอบดว้ ยอาหารประเภท
ใดบ้าง และมีคณุ ค่าทางโภชนาการอยา่ งไร

ใบกจิ กรรมที่ 2

แบบรายงานแผนการจดั การเรยี นการสอน

1. ช่อื /นามสกลุ Model Teacher
นางสาววัสยา จันทรด์ ิษฐ

2. กลมุ่ สาระการเรยี นรู้
ภาษาตา่ งประเทศ

3. ชอ่ื โรงเรียน
โรงเรียนพระบางวิทยา

4. รอบของการแก้ปญั หา
รอบท่ี 1 วนั ที่ 11 – 25 พฤศจกิ ายน 2564

5.เกยี่ วข้องกบั สาระ
สาระท่ี 1 ภาษาเพื่อการสอื่ สาร

มาตรฐาน ต 1.1 เขา้ ใจและตีความเร่ืองทฟี่ ังและอา่ นจากสื่อประเภทตา่ ง ๆ และแสดงความคดิ เห็นอย่าง
มีเหตผุ ล

ม.2/3. อธิบายและเขียนประโยคและข้อความให้สัมพันธ์กับส่ือที่ไม่ใช่ความเรียง รูปแบบต่าง ๆ
ที่อ่าน รวมทั้งระบุและเขียนสื่อที่ไม่ใช่ความเรียงรูปแบบต่างๆ ให้สัมพันธ์กับประโยคและ
ข้อความทฟี่ งั หรืออา่ น
ม.2/4 จับใจความสำคัญ วิเคราะห์ความ สรุปความ ตีความ และแสดงความคิดเห็นจากการฟัง
และอ่านเร่อื งที่เปน็ สารคดแี ละบันเทิงคดี พร้อมทงั้ ใหเ้ หตผุ ลและยกตวั อย่างประกอบ
มาตรฐาน ต 1.2 มีทักษะการสื่อสารทางภาษาในการแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสาร แสดงความรู้สึก และ
ความคิดเห็นอยา่ ง มปี ระสิทธภิ าพ
ม. 2/3 พูดและเขียนแสดงความต้องการ เสนอตอบรับและปฏิเสธการให้ความช่วยเหลือใน
สถานการณ์จำลองหรอื สถานการณจ์ รงิ อยา่ งเหมาะสม
มาตรฐาน ต 1.3 นำเสนอขอ้ มลู ขา่ วสาร ความคดิ รวบยอด และความคดิ เหน็ ในเร่ืองต่างๆ โดย การพูด
และการเขียน
ม. 2/2 พูดและเขียนสรุปใจความสำคัญ/แก่นสาระที่ได้จากการวิเคราะห์เรื่อง กิจกรรม ข่าว
เหตกุ ารณ์ และสถานการณ์ตามความสนใจ
สาระท่ี 4 ภาษากับความสมั พันธ์กับชุมชนและโลก
มาตรฐาน ต 4.1 ใช้ภาษาต่างประเทศในสถานการณ์ตา่ ง ๆ ทงั้ ในสถานศกึ ษา ชุมชน และสังคม
ม. 2/1 ใช้ภาษาสื่อสารในสถานการณ์จริง/สถานการณ์จำลองที่เกิดขึ้นในห้องเรียนสถานศึกษา
และชุมชน
6.นกั เรียนระดับชนั้

ชนั้ มัธยมศกึ ษาปที ่ี 2/4 ภาคเรยี นท่ี 2 ปีการศึกษา 2564

7.แผนการจดั การเรยี นการสอน (เอกสารแนบ)

เอกสารดงั แนบ

8.บนั ทกึ เพ่ิมเตมิ เกย่ี วกับแผนการจัดการเรียนการสอน

-

สาระการเรียนรภู าษาตา่ งประเทศ รายวชิ า อ22102 ช้ันมธั ยมศึกษาปที ี่ 2

ภาคเรยี นที่ 2 ปีการศกึ ษา 2564 ผสู้ อนนางสาววัสยา จนั ทร์ดษิ ฐ

หน่วยการเรยี นรู้ท่ี 2 เรอื่ ง My Healthy Meal เวลา 6 ชัว่ โมง

1. มาตรฐานการเรยี นร/ู้ ตวั ช้วี ดั
สาระที่ 1 ภาษาเพอ่ื การสื่อสาร

มาตรฐาน ต 1.1 เขา้ ใจและตคี วามเรื่องที่ฟังและอา่ นจากส่ือประเภทต่าง ๆ และแสดงความคิดเห็นอย่าง
มเี หตผุ ล

ม. 2/3. อธิบายและเขียนประโยคและข้อความให้สัมพนั ธ์กับสอ่ื ท่ีไมใ่ ชค่ วามเรียง รปู แบบต่าง ๆ
ท่อี ่าน รวมทง้ั ระบแุ ละเขยี นส่ือท่ีไม่ใชค่ วามเรียงรูปแบบตา่ งๆ ให้สัมพนั ธก์ บั ประโยคและขอ้ ความท่ีฟัง
หรอื อ่าน

ม.2/4 จบั ใจความสำคัญ วิเคราะหค์ วาม สรุปความ ตคี วาม และแสดงความคิดเหน็ จากการฟงั
และอา่ นเร่ืองทเ่ี ป็นสารคดีและบันเทิงคดี พร้อมทัง้ ให้เหตุผลและยกตวั อย่างประกอบ
มาตรฐาน ต 1.2 มีทักษะการสื่อสารทางภาษาในการแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสาร แสดงความรู้สึก และ
ความคดิ เห็นอย่าง มปี ระสิทธภิ าพ

ม. 2/3 พูดและเขยี นแสดงความต้องการ เสนอตอบรบั และปฏิเสธการใหค้ วามช่วยเหลือใน
สถานการณ์จำลองหรอื สถานการณ์จรงิ อยา่ งเหมาะสม
มาตรฐาน ต 1.3 นำเสนอขอ้ มลู ขา่ วสาร ความคิดรวบยอด และความคดิ เห็นในเรื่องต่างๆ โดย การพูด
และการเขียน

ม. 2/2 พูดและเขียนสรุปใจความสำคัญ/แก่นสาระที่ได้จากการวิเคราะห์เรื่อง กิจกรรม ข่าว
เหตกุ ารณ์ และสถานการณ์ตามความสนใจ

สาระที่ 2 ภาษาและวัฒนธรรม
มาตรฐาน ต 2.1 เขา้ ใจความสัมพนั ธร์ ะหว่างภาษากับวฒั นธรรมของเจา้ ของภาษา และนำไปใช้ ได้อย่าง
เหมาะสมกบั กาลเทศะ

ม.2/2 อธิบาย/อภิปรายวถิ ชี ีวติ ความคิด ความเชื่อ และท่ีมาของขนบธรรมเนียม และประเพณี
ของเจ้าของภาษา
มาตรฐาน ต 2.2 เข้าใจความเหมือนและความแตกตา่ งระหวา่ งภาษาและวฒั นธรรมของเจ้าของภาษากับ
ภาษาและวัฒนธรรมไทย และนำมาใชอ้ ย่างถกู ตอ้ งและเหมาะสม
ม.2/2 วเิ คราะห์/อภิปราย ความเหมอื นและความแตกต่างระหวา่ งวถิ ีชวี ติ ความเชือ่ และ
วฒั นธรรมของเจ้าของภาษากับของไทยและนำไปใช้อยา่ งมีเหตุผล

สาระที่ 4 ภาษากบั ความสัมพนั ธ์กบั ชุมชนและโลก
มาตรฐาน ต 4.1 ใช้ภาษาตา่ งประเทศในสถานการณ์ตา่ ง ๆ ทัง้ ในสถานศกึ ษา ชมุ ชน และสังคม

ม. 2/1 ใช้ภาษาสื่อสารในสถานการณ์จริง/สถานการณ์จำลองที่เกิดขึ้นในห้องเรียนสถานศึกษา
และชุมชน

2. สาระสำคัญ

นักเรียนทกุ คนสามารถสื่อสารโดยการประยุกตใ์ ช้คำนามนับไดแ้ ละคำนามนบั ไม่ไดเ้ กีย่ วกับอาหารได้อย่าง

ถกู ต้องและเหมาะสม

3. สมรรถนะสำคัญของผเู้ รียน

 ความสามารถในการส่ือสาร

 ความสามารถในการคิด

 ความสามารถในการแก้ปัญหา

 ความสามารถในการใชท้ ักษะชีวิต

4. สาระการเรยี นรู้

4.1 ความรู้ (K)

คำศัพท์และสำนวนภาษา

1. Countable and uncountable nouns

2. Food vocabulary

หนา้ ที่ภาษา

Choosing ingredients to make healthy meal for family

ไวยากรณโ์ ครงสรา้ งประโยค

-

ความพอประมาณ ความมเี หตุมผี ล ความมีภูมิคุ้มกัน

ผู้เรียนสามารถแยกแยะประเภท (1) เข้าใจและสามารถแยกแยะ ผู้เรียนสามารถเลอื กอาหารสุขภาพ

ของคำนาม และระบุประเภทของ ประเภทของอาหารได้อยา่ งถูกต้อง รับประทานและสามารถบอกต่อได้
(2) พดู และเขยี นขอ้ มูลบรรยายและ อยา่ งเหมาะสม
อาหารไดอ้ ย่างเหมาะสม แสดง ความคิดเห็น ได้อย่าง

สมเหตุสมผล

การใช้ชวี ิตท่สี มดุลและพร้อมรับการเปลยี่ นแปลง 4 มิติตามหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง

ดา้ น สมดุลและพร้อมรับการเปล่ียนแปลง 4 มิติ

องคป์ ระกอบ วตั ถุ สังคม สงิ่ แวดล้อม วฒั นธรรม

ความรู้ (K) - ผู้เรียนสามารถ - ผ ู ้ เ ร ี ย น เ ห็ น

สื่อสารกับผู้คนใน ความแตกต่าง

สังคมได้อย่าง ของวัฒนธรรม

เหมาะสม ข อ ง ไ ท ย กั บ

ตา่ งชาติ

ทกั ษะ (P) - ผู้เรียนสามารถ - ผู้เรียนสื่อสาร

ป ร ั บ ใ ช ้ ใ น เกี่ยวกับอาหาร

ชวี ติ ประจำวันได้ สุขภาพกับผู้อื่น

ได้

ค่านิยม/คณุ ลักษณะ (A) - ผู้เรียนสามารถ

ค ้ น ค ว ้ า แ ล ะ มี

ความพยายาม
ท ำ ง า น เ ส ร็ จ
ทนั เวลา
4.2 ทักษะ/กระบวนการ/กระบวนการคิด (P)
4.2.1 อ่านและแยกแยะคำนามนบั ไดแ้ ละคำนามนับไม่ไดไ้ ด้อย่างถกู ต้อง
ผู้เรยี นสามารถอ่านและนำไปถ่ายทอดให้ผ้อู ื่นฟังได้
4.2.2 จดั ประเภทของอาหารกบั สารอาหารไดถ้ กู ต้อง
ผู้เรยี นสามารถเลอื กอาหารสขุ ภาพไดอ้ ย่างถกู ต้อง
4.3 คุณลกั ษณะอันพึงประสงค์ (A)/เศรษฐกิจพอเพยี ง-คณุ ธรรม
4.3.1 มุ่งมั่นในการทำงาน
ผู้เรียนทุ่มเททำงาน อดทน ไม่ย่อท้อต่อปัญหาและอุปสรรคในการทำงาน พยายาม
แก้ปญั หาและอปุ สรรคในการทำงานใหส้ ำเรจ็ และชื่นชมผลงานดว้ ยความภาคภมู ิใจ
4.3.3 มีความรแู้ ละทักษะพืน้ ฐานในการดำเนินชีวิต (เศรษฐกจิ พอเพยี ง)
ผเู้ รยี นมคี วามรแู้ ละทกั ษะในการเลอื กบรโิ ภคอาหาร
5. จุดเน้นสูก่ ารพฒั นาคุณภาพผเู้ รยี น
5.1 ความสามารถและทกั ษะ
 ทักษะการสอื่ สารอยา่ งสรา้ งสรรค์ตามช่วงวยั
ผเู้ รียนสามารถพดู และเขียนข้อมูลบรรยายและแสดงความคิดเห็นของตนเองและบุคคลอืน่
5.2 คุณลักษณะท่ชี ่วยเสริมผ้เู รียนตามช่วงวัย
 มุ่งมน่ั ในการทำงาน
ผู้เรียนตั้งใจเรียน เอาใจใส่และมีความเพียรพยายามในการเรียนรู้ และสนใจเข้าร่วม
กิจกรรมการเรยี นรูต้ ่าง ๆ
5.3 พัฒนาคุณภาพผู้เรยี นตามศาสตรพ์ ระราชา
 ขอ้ ท่ี 1 จะทำอะไรตอ้ งศกึ ษาข้อมูลใหเ้ ปน็ ระบบ (กิจกรรมสรปุ ประเภทของคำนาม)
 ข้อท่ี 4 ทำตามลำดบั ขั้น (กจิ กรรม Food Pyramid)
 ขอ้ ที่ 6 ทำงานแบบองค์รวม (กจิ กรรม Healthy or Unhealthy?)
 ข้อที่ 7 ไม่ติดตำรา (นักเรียนใช้สถานการณ์ที่ครูผู้สอนเตรยี มให้และศึกษาข้อมูลจากสื่อใน
อินเตอรเ์ น็ตเพอ่ื สอ่ื สารกบั ผู้อ่ืนโดยไม่ใช้หนังสอื )
 ขอ้ ท่ี 10 การมสี ่วนรว่ ม (กิจกรรม Healthy or Unhealthy?)
 ขอ้ ที่ 21 ทำงานอย่างมีความสุข (กจิ กรรม Healthy or Unhealthy?)

6. การบูรณาการหลักสตู รต้านทุจริตศึกษา
-

หนว่ ยการเรยี นรทู้ ่ี 2 My Healthy Meal

แผนการจดั การเรียนร้ทู ี่ 2 เรอื่ ง Healthy or Unhealthy? คาบที่ 3 จำนวน 2 ช่วั โมง

1. จุดประสงค์การเรยี นร้สู ู่ตวั ช้วี ัด

1.1 ความรู้ (K)

2.1.1 เข้าใจโครงสร้างประโยค will + V1 (for offering help and making promises)
2.1.2 เขา้ ใจและตคี วามเรอ่ื งท่ีอา่ นได้

1.2 ทักษะ/กระบวนการ/กระบวนการคดิ (P)

2.2.1 พดู และเขียนเกี่ยวกบั อาหารสขุ ภาพ
2.2.2 วเิ คราะห์ประเภทของคำนามได้
2.2.3 เลอื กอาหารสุขภาพได้

1.3 คณุ ลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ (A) )/เศรษฐกิจพอเพียง-คุณธรรม

2.3.1 มงุ่ มัน่ ในการทำงาน

2. เนื้อหา/สาระการเรยี นรู้

คำศัพทแ์ ละสำนวนภาษา

Food vocabulary

หน้าท่ีภาษา

Classifying countable and uncountable nouns

Offering the healthy menu for family
Giving suggestions about food to others

ไวยากรณโ์ ครงสร้างประโยค

countable and uncountable nouns

3. การจัดกิจกรรมการเรียนการสอน

Warm- up

2. ครนู ำเสนอบทเรียนโดยใช้กจิ กรรม Hot cabbage! โดยมี target language คอื
“A: What food do you like?

B: I like ….(name of student’s favorite food)……”

2. ครกู ระต้นุ ผู้เรยี นโดยโยน hot cabbage จำลองทีท่ ำจากกระดาษขยำเปน็ ก้อนแล้วโยนไปรอบๆอย่างมี
อิสระ โดยผู้ที่อยู่ในวงจะต้องถามคำถามพร้อมๆกันว่า What food do you like? และผู้ที่ได้รับ hot

cabbage จะต้องตอบว่า I like ….(name of student’s favorite food)… เมื่อนักเรียนได้พูดชือ่ อาหาร

ทต่ี นชน่ื ชอบจนครบทกุ คน ครูกล่าวคำชมเชยแกน่ ักเรยี น
3. ครูนำเข้าสู่บทเรียนโดยพูดว่า “Okay, guys. Today we’re going to apply what we have
learned at home via the Youtube link about countable and uncountable nouns (food) to

make your own healthy meal”

Presentation

4. ครูสอนเนื้อหาโดยเริ่มจากการนำเสนอ Food Pyramid บนกระดานโดยวาดรูปสามเหลี่ยมและ

แบ่งเป็นช่องต่างๆตามสารอาหาร จากนั้นตรวจสอบ background knowledge โดยให้นักเรียนตอบช่ือ

สารอาหารประจำช่อง โดยครูกล่าวคำชมเชยเมื่อตอบถกู

5. ครูผู้สอนกระตุ้นการเรียนรู้คำศัพท์โดยครูยกตัวอย่างชื่ออาหารแต่ละหมู่และระบุว่าเป็น countable

noun หรือ uncountable noun ให้ผู้เรียนบอกชื่ออาหารทั้งประจำหมู่อาหารต่างๆและระบุว่าเป็น

countable noun หรือ uncountable noun ครูเขียนตามคำตอบของนักเรียน จากนั้นครูกล่าวคำ

ชมเชย

6. ครกู ระตุ้นการเรียนรู้ โดยเขียนประโยค “Healthy or Unhealthy?” และอธบิ ายเพ่ิมเติมวา่ Healthy

food หมายถึงอาหารสขุ ภาพ และ Unhealthy food คอื อาหารทไี่ ม่ดตี อ่ สุขภาพพร้อมยกตัวอย่าง

Practice

7. ครูแจกใบงาน The Food Pyramid แก่นักเรียนทุกคนเพื่อฝึกแยกอาหารเข้าหมู่พร้อมทั้งให้นักเรียน

ระบุว่าเป็น countable noun หรือ uncountable noun

Production

8. ครูให้สถานการณ์สมมุติ หากนักเรียนจะเลือกเมนูอาหารให้คนทีเ่ รารักไม่ว่าจะเป็นคุณพ่อ-คุณแม่ คุณ

ตา-คุณยาย หรือคนอื่นๆที่เราให้ความปรารถนาดี นักเรียนจะเลือกเมนูอะไร ประกอบด้วยอาหารประเภทใดบ้าง

และมีคณุ ค่าทางโภชนาการอยา่ งไร

4. สื่อการเรียนการสอน

1. Food pyramid chart

2. worksheets

5. ชิน้ งานหรอื ภาระงาน (หลักฐาน /รอ่ งรอยแสดงความร้)ู

1. ใบงาน The Food Pyramid

2. ใบงาน Healthy or Unhealthy

3. ใบงาน My Healthy Meal

6. แหล่งเรยี นรใู้ นหรือนอกสถานท่ี

1. YouTube

2. Google

7. การวดั และประเมนิ ผล

จดุ ประสงค์การเรยี นรู้ วธิ ีการวัด เครอ่ื งมือวัด เกณฑ์การประเมิน ค่าน้ำหนกั รวม

1.ด้านความรู้ (K) 30
จำแนกและ บ อ ก ค ำ น า ม - การตรวจผลงานแบบ - แบบบนั ทึก 30-21 ดี - 20
ป ร ะ เ ภ ท countable แ ล ะ ฝึกเรื่อง countable 20-11 พอใช้ -
uncountable ร ะ บ ุ แ ล ะ and uncountable 10-0 ปรบั ปรุง
ยกตัวอย่างประเภทอาหารแต่ nouns 20-16 ดี
ละหมู่ และแยกแยะประเภท 15-11 พอใช้
อาหารสุขภาพหรือไม่ใช่อาหาร 9-0 ปรับปรุง
สุขภาพได้ถูกตอ้ ง
2.ดา้ นทกั ษะกระบวนการ (P)
2.1 แปลความหมายและจำแนก - ก า ร ส ั ง เ ก ต ก า ร ส รุ ป - แบบบันทึก
ค ำ น า ม ต ่ า ง ต า ม ห ลั ก ใจความสำคัญจากเนื้อ
countable and เพลง One Call Away
uncountable nouns โดยการ

ทำใบงาน The Food Pyramid 20-16 ดี - 20
ไดอ้ ยา่ งถูกตอ้ ง 15-11 พอใช้ 14
2.2 จำแนกคำนามเข้าหมวดหมู่ - ก า ร ส ั ง เ ก ต ก า ร พู ด - แบบบนั ทกึ 9-0 ปรบั ปรุง
ตามหลัก Food pyramid โดย บรรยายถอดความหมาย 4 ดีมาก 74
ก า ร ท ำ ใ บ ง า น The Food เพลง One Call Away 3 ดี
Pyramid ได้อยา่ งถกู ต้อง 2 พอใช้
3. คณุ ลักษณะอันพงึ (A) 1 ปรับปรุง
มุ่งมั่นในการทำงานกลุ่ม โดย - การสังเกตการทำงาน - แบบสังเกต
ก า ร ท ำ ใ บ ง า น Healthy or Healthy or Unhealthy
Unhealthy

รวม

เกณฑก์ ารประเมณิ โดยใช้แบบสงั เกต

4 ดีมาก คือ สามารถพูดและยกตัวอย่างคำนาม countable and uncountable nouns about food ได้

อย่างถกู ตอ้ งและเหมาะสม

3 ดี คือ พยายามพูดและยกตัวอยา่ งคำนาม countable and uncountable nouns about food ได้

อย่างถกู ตอ้ งและเหมาะสม

2 พอใช้ คอื พูดตามเกีย่ วกบั คำนาม countable and uncountable nouns about food ไดอ้ ยา่ งถูกต้อง

และเหมาะสม

1 ปรับปรุง คือ ไม่สามารถพูดและยกตัวอย่างคำนาม countable and uncountable nouns about food

ไดอ้ ย่างถกู ตอ้ งและเหมาะสม

ลำดับ คำนำหนา้ ชอื่ นามสกุล (K) (P) (A) รวม แปลผล

30 40 4 74

1. เด็กชาย ธนากร ชเู จรญิ 21 20 4 45 พอใช้

2. เดก็ ชาย รวิ ตะ มัตสอุ ุระ 20 38 4 62 ดีมาก

3. เด็กชาย คณุ ากร เสริมแสง 19 38 4 61 ดีมาก

4. เดก็ ชาย ชวนากร ไชยมี 25 39 4 68 ดมี าก

5. เด็กชาย ธีรวฒั น์ ผกู จนั ทร์ 17 38 4 59 ดี

6. เดก็ ชาย นภสั กร โฉมศรี 18 38 4 60 ดี

7. เด็กชาย เนติพงษ์ นาคสขุ 21 20 4 45 พอใช้

8. เดก็ ชาย ภูธฤทธ์ิ ศรคี ำมี 18 35 4 57 ดี

9. เดก็ ชาย รัตนโชติ พนั ธุเ์ พชร 21 20 4 45 พอใช้

10. เดก็ ชาย วรภัทร แกว้ ทอง 19 38 4 61 ดีมาก

11. เด็กชาย วัชระ พรหมบญุ ศรี 20 38 4 62 ดีมาก

12. เด็กชาย วุฒพิ งศ์ โพธิ์เกษม 22 36 4 62 ดมี าก

13. เดก็ ชาย กรวชิ ญ์ พูลเขตรกรรม 21 20 4 45 พอใช้

14. เดก็ หญงิ จันทรานสุ รณ์ โฉมจีบ 20 34 4 58 ดี

15. เด็กหญงิ ฉัตรกมล ใจเสอื 19 38 4 61 ดีมาก
20 38 4 62 ดมี าก
16. เด็กหญงิ ณัฐพร เดชสังข์ 19 38 4 61 ดมี าก
16 35 4 55
17. เดก็ หญงิ ธัญรัตน์ อาจผ่ึง 17 33 4 54 ดี
21 20 4 ดี
18. เด็กหญิง นนั ทิกานต์ ชมชาติ 45 พอใช้
25 39 4
19. เด็กหญิง นำ้ ฝน ฮาซีม 68 ดมี าก
22 36 4
20. เด็กหญงิ บษุ รา สังขเ์ กิด 62 ดีมาก
25 39 4
21. เด็กหญงิ เบญจมาศ มีทอง 68 ดมี าก
19 38 4
22. เด็กหญิง ปภาพินท์ จันทบัตร 61 ดมี าก
20 38 4
23. เด็กหญิง ประนิดา ฉิมสุข 62 ดมี าก
22 36 4
24. เดก็ หญิง พมิ พกิ า คงนิล 62 ดีมาก
21 20 4 45
25. เด็กหญิง พมิ ลรัตน์ สารีบตุ ร 19 38 4 61 พอใช้
20 38 4 62 ดีมาก
26. เดก็ หญงิ พูลดิ า เทียนสวิ า 22 36 4 62 ดมี าก
25 39 4 68 ดมี าก
27 เด็กหญงิ มณีประภา เพช็ รดี 19 38 4 61 ดีมาก
20 38 4 62 ดีมาก
28 เด็กหญิง รุ่งฟ้า สปุ มา 22 36 4 62 ดีมาก
25 39 4 68 ดมี าก
29 เด็กหญงิ วิรญั ชนา สงั ข์ทรพั ย์ 19 38 4 61 ดมี าก
20 38 4 62 ดมี าก
30 เดก็ หญิง วีรวรรณ สอนปาน ดมี าก

31 เด็กหญิง สชุ าดา นามสุวรรณ

32 เดก็ หญิง สทุ ธิดา บุตรศรี

33 เดก็ หญงิ หทยั รัตน์ ด้วงแสง

34 เดก็ หญิง อนญั ญา วรผล

35 เด็กหญงิ อารดา ศรีมันตะ

36 เดก็ หญิง อารวี ัน แกว้ รัตน์

37 เด็กหญิง ปวรรณลกั ษ์ ย้มิ เจรญิ

เกณฑก์ ารวดั และประเมณิ ผล

74 – 61 ดีมาก

60 – 48 ดี

47 – 35 พอใช้

34 – 21 ผ่าน

20 – 0 ปรบั ปรงุ

8. กจิ กรรมเสนอแนะ
-

แบบบันทกึ หลงั การสอน

หนว่ ยการเรียนรู้ท…่ี ……2........เรอื่ ง My Healthy Meal

วัน เดือน ปี ที่สอน 11-25 พฤศจกิ ายน พ.ศ.2564 เวลา 12.50-14.30 น.

ความพร้อมและความสนใจของนักเรียนกอ่ นการสอน

 ปกติ เพราะ.............................................................................................................................

 ดกี วา่ ปกติ เพราะ นักเรยี นใหค้ วามสนใจกับกจิ กรรม Hot Cabbage

 แย่กวา่ ปกติ เพราะ..................................................................................................................

**********************************************************************************************************

1.สภาพการสอนวันนปี้ ระเมินตามแผนการสอนทีก่ ำหนดไว้

 ดำเนินการไปตามแผนการสอนทกุ ประการ

 แตกตา่ งไปจากแผนการสอนบา้ ง คือ (สว่ นที่เพ่ิมข้ึนมา/ส่วนท่ลี ดไป/สว่ นทป่ี รบั ทั้งในด้านเนอื้ หาและ

ข้นั ตอนของกิจกรรม/อุปกรณ์/บรรยากาศ เป็นต้น)

-

2. ข้อสงั เกต (ข้อมลู ) ที่นา่ สนใจจากการสอนวันน้ี (ขณะอย่ใู นขน้ั /ชว่ งเวลา/เกดิ อะไรขึ้น/น่าสนใจอย่างไร)

นักเรยี นมีความกล้าท่ีจะแสดงความคิดเห็นมากขน้ึ กวา่ คร้ังก่อน อาจเพราะเป็นเร่ืองเกี่ยวกับอาหารซึ่งเป็นหัวข้อใน

ชีวติ ประจำวันที่นกั เรียนคุ้นเคย เป็นการแชร์ประสบการณ์ และบอกความชอบของตนเอง

3. การแปลความของผู้สอนในสิ่งท่ีเกดิ ขน้ึ ในขอ้ 2 (ทเี่ ป็นเข่นนี้น่าจะเน่ืองมาจากอะไร เชน่ เนื้อหา/ขน้ั ตอนของการสอน,

บรรยากาศ, กลมุ่ เพอ่ื น, สื่อ เปน็ ตน้ และนำไปสอู่ ะไร)

เนื้อหาและขั้นตอนในการสอนครั้งนี้ดำเนินไปโดยค่อยๆกระตุ้นให้นักเรียนนำความรู้พื้นฐานออกมาใช้ เป็นเรื่องที่

ง่ายและเป็นเร่ืองเกี่ยวกบั ตนเอง ทำให้นักเรยี นทั้ง 3 กล่มุ (เก่ง กลาง ออ่ น) สามารถแสดงความคดิ เห็นของตนเองได้ เม่ือมี

นักเรียนตอบคำถามเยอะ เมื่อครูถามคำถามต่อๆไปจึงทำให้เกิดบรรกาศการแข่งขัน การแสดงออกทางความรู้พื้นฐานมาก

ยิ่งขึน้

4. ประสทิ ธิผลของการสอนวันนป้ี ระสบผลสำเรจ็ ตามทผ่ี ้สู อนกำหนดวัตถุประสงคไ์ วป้ ระมาณกเ่ี ปอรเ์ ซน็ ต์

❑100% ❑90% 80% ❑70%

❑ 60% ❑50% ❑ ต่ำกว่า 50% และควรทดลองซำ้

สิ่งท่ีขาดหายไป (อกี 20% ที่ขาดหายไป) คอื

ระยะเวลาในการทำกิจกรรมจากที่กำหนดไว้ 6 คาบเรียน ควรเพิ่มเป็น 8 คาบเรียน เนื่องจากทักษะการนำเสนอ

สามารถนำไปต่อยอดเปน็ การลงมือปฏิบตั จิ รงิ ผา่ นการทำอาหารสขุ ภาพโดยนำเสนอด้วยภาษาอังกฤษ

5. ส่ิงทีค่ วรระมดั ระวังในการสอนครั้งต่อไป

การวางแผนเกี่ยวกับระยะเวลา เนื่องจากหากเป็นกิจกรรมที่นักเรียนชอบและเกิดการเรียนรู้ อาจต้องเพิ่ม

ระยะเวลาใหม้ ากขน้ึ

6. สงิ่ ทค่ี วรปรบั ปรงุ และ/หรอื เพิม่ เตมิ ในคร้ังต่อไป (เพือ่ เพิม่ จาก 80% เปน็ 100%)

คิดวางแผนกิจกรรมที่สามารถต่อยอดและประเมินความสามารถ/ศักยภาพของนักเรียนใหม่เนื่องจากนักเรียนเม่ือ

เข้าใจในเน้ือหาจะสามารถทำกจิ กรรมทว่ี างแผนไว้ได้ตามจุดประสงค์ท่กี ำหนด

ผบู้ นั ทกึ วัสยา จันทร์ดิษฐ .

(นางสาววัสยา จนั ทรด์ ษิ ฐ)

26 / พ.ย. / 2564

ใบกิจกรรมท่ี 3
แบบรายงานการวิพากษ์แผนการจดั การเรยี นการสอน

1. ชอื่ /นามสกลุ Model Teacher
นางสาววสั ยา จนั ทรด์ ิษฐ

2. กลมุ่ สาระการเรยี นรู้
ภาษาต่างประเทศ

3. ช่อื โรงเรยี น
โรงเรยี นพระบางวิทยา

4. รอบของการแกป้ ัญหา
รอบท่ี 1 วันท่ี 11 – 25 พฤศจกิ ายน 2564

5. เกย่ี วขอ้ งกบั สาระ
สาระท่ี 1 ภาษาเพื่อการสือ่ สาร

6. นักเรียนระดบั ชนั้
มธั ยมศกึ ษาชั้นปีท่ี 2/4

7. วนั ที่ เดือน พ.ศ.
วันที่ 16 พฤศจิกายน 2564

8. บันทกึ เพ่ิมเติมเกย่ี วกับแผนการจัดการเรียนการสอน
-

8.1แนวคดิ หลักท่จี ะใหเ้ รียนรู้
Countable and uncountable nouns in My Healthy Meal (integrated lesson)

8.2 วตั ถุประสงคก์ ารเรยี นการสอน
นักเรยี นทกุ คนสามารถสื่อสารโดยการประยกุ ตใ์ ชค้ ำนามนับได้และคำนามนบั ไม่ไดเ้ กี่ยวกับอาหารได้

ระดับคุณภาพ 2 ผ่านเกณฑ์
8.3 ความรูพ้ ื้นฐาน

1. Food vocabulary
2. ความรูพ้ นื้ ฐานเกยี่ วกบั อาหารหลกั 5 หมู่
8.4 วิธีการจัดการเรียนการสอน
การเรยี นร้เู ชิงประสบการณ์ Experiential Learning
8.5 ส่ือ/กจิ กรรม ประกอบการจัดการเรียนการสอน
1. Food pyramid chart
2. worksheets
8.6 การวัด
1. ระดบั คุณภาพ 2 ผ่านเกณฑ์ (15/30คะแนน)
8.7 การประเมนิ ผล
1. worksheet
2. speaking activity
8.8 แหล่งเรียนรอู้ อนไลนเ์ พ่ิมเติม
1. YouTube

8.9 ประเด็นอ่ืน ๆ
-

9. ประเด็นท่ี Model Teacher วางแผนไดด้ ี
กจิ กรรมน่าสนใจและกระตนุ้ การเรียนรู้ การคดิ วเิ คราะห์ถึงอาหารที่มปี ระโยชน์ สามารถแยกแยะประเภท
ของคำนามไปพร้อมๆกับประเภทของอาหาร

10. ประเดน็ ที่ Model Teacher ควรเพ่มิ เติม/ปรับปรงุ แก้ไข
ควรประยกุ ต์อาหารท่ีมจี ำหน่ายในโรงอาหารแกน่ ักเรียนเพื่อพิจารณา

11. โปรดระบุ ชื่อสกลุ ผู้วพิ ากษ์
นางสาวณรรฐวรรณ วสยางกูร / นางสาวแกว้ กัลยา มณเฑียร

12. เก่ียวข้องกับสาระ/งาน
สขุ ศึกษาและพละศึกษา

13. โรงเรียนผูว้ ิพากษ์
โรงเรยี นพระบางวิทยา

14. หน่วยงานผู้วิพากษ์
โรงเรียนพระบางวทิ ยา

ใบกจิ กรรมท่ี 4
แบบรายงานการสงั เคราะหก์ ารวพิ ากษ์แผนการจัดการเรยี นการสอน
1. ชอ่ื /นามสกลุ Model Teacher
นางสาววสั ยา จนั ทรด์ ิษฐ
2. กลุ่มสาระการเรียนรู้
ภาษาต่างประเทศ
3. ชอื่ โรงเรียน
โรงเรยี นพระบางวทิ ยา
4. รอบของการแกป้ ญั หา
รอบท่ี 1 วันท่ี 11 – 25 พฤศจกิ ายน 2564
5. เก่ยี วข้องกับสาระ
สาระท่ี 1 ภาษาเพอ่ื การส่ือสาร
6. นักเรียนระดบั ชัน้
มธั ยมศกึ ษาชัน้ ปที ่ี 2/4
7. แนวคดิ หลกั ทจี่ ะให้เรยี นรู้
Countable and uncountable nouns in My Healthy Meal (integrated lesson)
8. วัตถุประสงคก์ ารเรยี นการสอน
นกั เรียนทกุ คนสามารถส่ือสารโดยการประยุกตใ์ ช้คำนามนับได้และคำนามนบั ไม่ไดเ้ ก่ยี วกับอาหารได้
ระดบั คุณภาพ 2 ผ่านเกณฑ์
9. ความรูพ้ ้ืนฐาน
1. Food vocabulary
2. ความรูพ้ ื้นฐานเก่ียวกบั อาหารหลัก 5 หมู่
10. วิธีการจัดการเรยี นการสอน
การเรียนร้เู ชงิ ประสบการณ์ Experiential Learning
11. ส่ือ/กิจกรรมประกอบการจัดการเรียนการสอน
1. Food pyramid chart
2. worksheets
12.การวดั
1. ระดับคณุ ภาพ 2 ผา่ นเกณฑ์ (15/30คะแนน)
13.การประเมินผล
1. worksheet
2. speaking activity
14.แหล่งเรียนรู้ออนไลน์เพ่ิมเตมิ
1. YouTube
2. Google
15.ประเดน็ อ่ืน ๆ
-
16. ประเด็นที่ Model Teacher วางแผนไดด้ ี

กจิ กรรมนา่ สนใจและกระตุ้นการเรยี นรู้ การคิดวิเคราะห์ถึงอาหารที่มปี ระโยชน์ สามารถแยกแยะประเภท
ของคำนามไปพร้อมๆกับประเภทของอาหาร
17. ประเดน็ ที่ Model Teacher ควรเพ่ิมเตมิ /ปรับปรุงแก้ไข
ควรประยุกต์อาหารที่มจี ำหน่ายในโรงอาหารแกน่ ักเรียนเพ่ือพจิ ารณา

ใบกจิ กรรมท่ี 5

แบบรายการการสง่ คลิปบนั ทึกการเรียนการสอน

1. ชื่อ/นามสกุล Model Teacher
นางสาววสั ยา จนั ทรด์ ิษฐ

2. กลุม่ สาระการเรยี นรู้
ภาษาต่างประเทศ

3. ชอื่ โรงเรียน
โรงเรียนพระบางวิทยา

4. รอบของการแก้ปัญหา
รอบที่ 1 วนั ท่ี 11 – 25 พฤศจกิ ายน 2564

5. เกยี่ วขอ้ งกบั สาระ
สาระท่ี 1 ภาษาเพ่อื การสอ่ื สาร

6. นกั เรยี นระดับช้นั
มัธยมศึกษาช้นั ปีท่ี 2/4

7. วันเวลาที่บันทกึ การเรยี นการสอน
วนั ที่ 16 พฤศจิกายน 2564

8. บนั ทึกเพิ่มเติมเกีย่ วกบั ส่งคลปิ บันทึกการเรยี นการสอน
เปน็ การเชญิ เขา้ ร่วมการประชุม Google Meet

ใบกจิ กรรมท่ี 6
แบบรายงานการวพิ ากษ์การจดั กิจกรรมการเรยี นการสอน

1. ช่ือ/นามสกลุ Model Teacher
นางสาววัสยา จนั ทร์ดิษฐ

2. กลมุ่ สาระการเรยี นรู้
ภาษาตา่ งประเทศ

3. ชอ่ื โรงเรียน
โรงเรยี นพระบางวทิ ยา

4. รอบของการแก้ปญั หา
รอบที่ 1 วันท่ี 11 – 25 พฤศจิกายน 2564

5. เก่ียวข้องกับสาระ
สาระที่ 1 ภาษาเพือ่ การสื่อสาร

6. นักเรยี นระดบั ชน้ั
มธั ยมศึกษาชน้ั ปที ่ี 2/4

7. วตั ถุประสงค์หรือเปา้ หมายตามแผนการจดั กจิ กรรมการเรยี นการสอนชัดเจนหรือไม่ อย่างไร โปรดอธิบาย
ชดั เจน นักเรยี นสามารถปฏิบัตกิ จิ กรรมตามท่ีครูผสู้ อนวางแผนไวท้ ุกข้ันตอน

8. การวัดและประเมินผลชดั เจนหรือไม่ อยา่ งไร โปรดอธิบาย
ชัดเจน ครผู ูส้ อนวัดผลประเมินผลผา่ นเครอื่ งมือทม่ี ีเกณฑก์ ารวัดท่ี

9. มกี ารส่งเสริม/ต่อยอดนกั เรียนที่เรียนรู้ไดด้ ีหรือไม่ อยา่ งไร โปรดอธิบาย
มกี ารบูรณาการต่อยอดวิชาภาษาอังกฤษกับสขุ ภาพและการเลือกบริโภคอาหารทม่ี ีประโยชน์

10. มีการชว่ ยเหลือนกั เรียนท่ีเรียนรไู้ ด้ไมด่ หี รือไม่ อย่างไร โปรดอธิบาย
มกี ารช่วยเหลอื ดแู ลนกั เรียนกลมุ่ อ่อนในขณะทำกิจกรรมเด่ียวและกลมุ่ และกระตนุ้ ใหต้ อบคำถาม

11. สะท้อนความคิดประเดน็ อนื่ ๆ
เน้ือหาทส่ี อนมีความหลากหลาย สือ่ การสอนนา่ สนใจ

12.ประเด็นท่ี Model Teacher ปฏบิ ตั ไิ ดด้ ี
สอนไดช้ ัดเจน และผูเ้ รยี นเข้าใจและร่วมกจิ กรรมอย่างมีความสขุ

13. ประเด็นที่ Model Teacher ควรเพ่ิมเติม/ปรบั ปรงุ แก้ไข
หากในอนาคตสามารถใหน้ ักเรยี นทำอาหารสุขภาพแบบง่ายๆหนา้ ชั้นเรยี น นำเสนอโดยใช้ภาษาอังกฤษ

จะเปน็ กิจกรรมที่สรา้ งสรรค์และน่าสนใจแกผ่ เู้ รียนมาก
14. โปรดระบุ ช่ือสกุลผู้วพิ ากษ์

นางสาวณรรฐวรรณ วสยางกูร และ นางสาวแกว้ กลั ยา มณเฑียร
15. เก่ียวข้องกับสาระ/งาน

สาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ
16. โรงเรียนผู้วิพากษ์

โรงเรียนพระบางวทิ ยา
17. หน่วยงานผู้วิพากษ์

สังกัดสำนักงานเขตพ้นื ทีก่ ารศึกษามัธยมศกึ ษานครสวรรค์

ใบงานที่ 7
แบบรายงานการสรปุ ผลการดำเนนิ งานของรอบท่ีผ่านมา

1. ชื่อ/นามสกุล Model Teacher
นางสาววสั ยา จันทรด์ ษิ ฐ

2. กลุม่ สาระการเรียนรู้
ภาษาต่างประเทศ

3. ชื่อโรงเรยี น
โรงเรยี นพระบางวทิ ยา

4. รอบของการแกป้ ัญหา
รอบท่ี 1 วันท่ี 11 – 25 พฤศจกิ ายน 2564

5. เกย่ี วขอ้ งกบั สาระ
สาระท่ี 1 ภาษาเพื่อการสื่อสาร

6. นกั เรียนระดบั ชัน้
มธั ยมศกึ ษาชัน้ ปีท่ี 2/4

7. วัตถุประสงค์หรือเปา้ หมาย
นักเรยี นทกุ คนสามารถส่ือสารโดยการประยุกต์ใชค้ ำนามนับไดแ้ ละคำนามนบั ไม่ได้เก่ียวกับอาหารได้

ระดับคุณภาพ 2 ผ่านเกณฑ์
8. การวดั และประเมินผล

1. ระดับคุณภาพ 2 ผา่ นเกณฑ์ (15/30คะแนน)
9. การส่งเสริม/ต่อยอด

ตอ่ ยอดสู่การปฏิบตั จิ รงิ เช่น การทำและนำเสนออาหารสุขภาพ
10. การช่วยเหลือ

เสนอแนะกิจกรรม
11. ประเด็นอ่ืน ๆ

ส่อื การสอนท่ีนา่ สนใจ
12.ประเด็นที่ Model Teacher ปฏิบตั ิไดด้ ี

กิจกรรมน่าสนใจ ส่อื การสอนนา่ สนใจ
13. ประเด็นที่ Model Teacher ควรเพ่มิ เติม/ปรบั ปรุงแกไ้ ข

ตอ่ ยอดสู่การปฏิบัตจิ รงิ เช่น การทำและนำเสนออาหารสขุ ภาพ

ตวั อยา่ งผลงานนักเรยี นทั้ง 3 วงรอบ

ตวั อยา่ งผลงานนักเรยี นทั้ง 3 วงรอบ


Click to View FlipBook Version