The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

การพัฒนาผู้เรียนเพื่อยกระดับผลสัมฤทธิ์ตามหลักสูตรผ่านกระบวนการการสร้างชุมชนแห่งการเรียนรู้ (Professional Learning Community : PLC) รายวิชาภาษาอังกฤษพื้นฐาน สำหรับผู้เรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๖ โรงเรียนพยุหะพิทยาคม สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา นครสวรรค์ โดยครูเพ็ญนภา พิลึก

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by metta.tha, 2022-03-10 02:28:42

การพัฒนาผู้เรียนเพื่อยกระดับผลสัมฤทธิ์ตามหลักสูตรผ่านกระบวนการการสร้างชุมชนแห่งการเรียนรู้ (Professional Learning Community : PLC) รายวิชาภาษาอังกฤษพื้นฐาน สำหรับผู้เรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๖ โรงเรียนพยุหะพิทยาคม สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา

การพัฒนาผู้เรียนเพื่อยกระดับผลสัมฤทธิ์ตามหลักสูตรผ่านกระบวนการการสร้างชุมชนแห่งการเรียนรู้ (Professional Learning Community : PLC) รายวิชาภาษาอังกฤษพื้นฐาน สำหรับผู้เรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๖ โรงเรียนพยุหะพิทยาคม สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา นครสวรรค์ โดยครูเพ็ญนภา พิลึก

Keywords: PLC,ภาษาอังกฤษ

คานา

เอกสารการพฒั นาผู้เรียนเพอ่ื ยกระดบั ผลสัมฤทธต์ิ ามหลกั สตู รผา่ นกระบวนการการสร้างชมุ ชน
แห่งการเรียนรู้ (Professional Learning Community : PLC) รายวิชาภาษาอังกฤษพ้ืนฐาน สาหรับ
ผู้เรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๖ ฉบับนี้ จัดทาขึ้นเพ่ือรายงานการพัฒนาผู้เรียนในการยกระดับผลสัมฤทธ์ิ
โดยใช้กระบวนการ PLC สู่การแก้ไขปัญหาพฤติกรรมการรับรู้ด้วยวิธีการร่วมแรง ร่วมใจ
และการมีภาวะผู้นา (Collaboration and Leadership) ที่ถูกนามาเป็นพลังขับเคลื่อนท่ีช่วยให้
การแกไ้ ขปญั หาต่างๆ ทเ่ี ป็นอปุ สรรคตอ่ การรับร้นู าพาไปสู่ความสาเร็จตามเปา้ หมาย

ผู้จัดทาหวังเป็นอย่างย่ิงว่า เอกสารฉบับนี้ จะเป็นอีกแนวทางหน่ึงที่ช่วยให้ครูผู้สอนสามารถ
นาไปประยุกตใใช้ในการแก้ไขปัญหาพฤติกรรมการรับรู้ของผู้เรียนที่สอดคล้องกับบริบทของสถานศึกษา
และสภาพผู้เรียน อันจะสง่ ผลต่อการยกระดับผลสัมฤทธต์ิ ามหลักสตู รสถานศกึ ษาต่อไป

เพ็ญนภา พิลกึ
โรงเรยี นพยุหะพิทยาคม

สารบัญ หนา้

คานา ๑
สารบัญ ๑

ขอ้ มลู พื้นฐาน ๑๐
ประเดน็ ปญั หา ๑๑
เปา้ หมายทีก่ าหนดไว้ ๑๓
การวางแผนการดาเนนิ งาน ๑๕
วิธกี าร/ ขน้ั ตอนการดาเนินงาน/ กระบวนการทางาน ๑๖
ผลการดาเนินงาน/ ผลลัพธทใ ีเ่ กดิ ขนึ้ จรงิ ๑๖
ปัจจยั ท่ีสง่ ผลให้การดาเนินงานประสบความสาเร็จ ๑๗
อปุ สรรค/ ข้อจากดั / ข้อขดั ข้องท่ีพบในการดาเนินงาน ๑๗
ประเดน็ ท่ีไดเ้ รยี นรู้
ข้อเสนอแนะในการดาเนนิ งานครงั้ ต่อไป
นวัตกรรมทเ่ี กดิ ขน้ึ

สารบัญแผนภาพ

แผนภาพท่ี แสดงกรอบการวางแผนการดาเนนิ งาน หนา้
๑ ๑๑
๒ แสดงการวางแผนดา้ นการบริหารจัดการเพื่อการเตรียมการ
๑๒
๓ ด้านตา่ งๆ สาหรับครูผู้สอน ๑๓

แสดงการปฏิบตั ิเพ่ือยกระดบั ผลสมั ฤทธิ์ทางการเรยี นตามหลกั สตู ร ๑๔
แสดงขนั้ ตอน ๕ ขั้นของกระบวนการการสร้างชุมชน
แห่งการเรียนรู้ (PLC)

การพฒั นาผู้เรยี นเพอ่ื ยกระดับผลสัมฤทธ์ิตามหลักสูตรผ่านกระบวนการ
การสรา้ งชมุ ชนแห่งการเรียนรู้ (Professional Learning Community : PLC)

รายวิชาภาษาอังกฤษพน้ื ฐาน สาหรบั ผ้เู รียนช้ันมธั ยมศกึ ษาปที ่ี ๖
โรงเรยี นพยหุ ะพิทยาคม

ข้อมูลพื้นฐาน
สภาพทั่วไปของโรงเรียนพยุหะพิทยาคม เป็นโรงเรียนมัธยมศึกษาประจาอาเภอท่ีต้ังอยู่ในอาเภอ

พยุหะคีรี มีความพร้อมหลายๆ ด้านทั้งด้านปัจจัยและด้านวัสดุอุปกรณใเทคโนโลยีท่ีใช้ในการจัดการศึกษา
โดยวิสัยทัศนใของโรงเรียนมีความคาดหวังว่า จะ “มุ่งมั่นพัฒนาผู้เรียนสู่ความเป็นเลิศ มีความรู้คู่คุณธรรม
ก้าวไกลสู่สากล ภายใต้หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ด้วยระบบการบริหารจัดการแบบมีส่วนร่วม”
จากวิสัยทัศนใ ผู้เรียนจะต้องได้รับความรู้และมีคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษา ได้รับการพัฒนาเต็มตาม
ศักยภาพ มีความรู้พื้นฐานเพียงพอท่ีจะเข้าแข่งขันเพื่อการศึกษาต่อในระดับท่ีสูงขึ้น มีผลสัมฤทธ์ิ
ทางการเรียนท่ีผ่านเกณฑใการประเมินทุกรายวิชาและสูงข้ึน สามารถนาไปต่อยอดและพัฒนาได้ สาหรับ
สถานภาพทางเศรษฐกิจ สังคมของครอบครัวส่วนใหญ่ประกอบอาชีพเกษตรกรรมและค้าขาย รายได้และ
ระดับการศกึ ษาของผู้ปกครองคอ่ นข้างดี ได้รบั ความไว้วางใจจากผู้ปกครองในการจัดการศึกษาของโรงเรียน
จึงส่งบตุ รหลานเข้ามาศกึ ษาต่อในโรงเรียนดว้ ยมีความคาดหวงั ว่า จะได้รับการดูแล เอาใจใส่ อบรมส่ังสอน
และใหค้ วามรู้แกล่ กู หลานได้เป็นอยา่ งดี พรอ้ มทจ่ี ะพัฒนาผเู้ รยี นให้เต็มตามศกั ยภาพ

ประเดน็ ปัญหา
จากวิสัยทัศนใสืบสานสู่ “เป้าหมายของการพัฒนาคุณภาพการศึกษา” ของโรงเรียน ดังน้ี (๑)

ยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนให้สูงขึ้น (๒) จัดกิจกรรมการเรียนรู้เทียบเคียงหลักสูตรมาตรฐานสากล
(๓) พัฒนาครูใช้กระบวนการวิจัยพัฒนาในการจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ (๔) บริหารจัดการ
สถานศึกษาด้วยระบบคุณภาพ น้อมนาหลักวิถีพุทธและหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสู่การปฏิบัติ
และ (๕) ประสานความร่วมมือภาคีเครือข่ายทุกภาคส่วนเข้ามาร่วมสนับสนุนการจัดการศึกษา เป้าหมาย
ของการพัฒนาคุณภาพการศึกษาของโรงเรียนฯ ถือเป็นภารกิจที่ทาให้ครูผู้สอนตระหนักว่า การศึกษา
เป็นรากฐานสาคัญในการสร้างคน การจัดการศึกษาจึงจาเป็นต้องเอาใจใส่ผู้เรียน ต้องทาให้ผู้เรียนเกิด
การเรยี นรู้ให้ได้

พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พุทธศักราช ๒๕๔๒ และท่ีแก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ ๒) พ.ศ.
๒๕๔๕ หมวด ๑ มาตรา ๖ ได้บัญญัติไว้ว่า การจัดการศึกษาต้องเป็นไปเพ่ือพัฒนาคนไทยให้เป็นมนุษยใ
ที่สมบูรณใทง้ั ร่างกาย จติ ใจ สติปญั ญา ความรู้ มีคณุ ธรรม จรยิ ธรรม และวัฒนธรรมในการดารงชวี ิต

๑ พระราชบญั ญตั กิ ารศึกษาแห่งชาติ พ.ศ ๒๕๔๒ แก้ไขเพ่ิมเตมิ (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๔๕. เล่มที่ ๑๑๙ ตอนที่ ๑๒๕ก
ราชกิจจานเุ บกษา. ๖ ธนั วาคม ๒๕๔๕.

สามารถอยู่ร่วมกับผู้อ่ืนได้อย่างมีความสุข โดยยึดหลักดังน้ี คือ (๑) เป็นการศึกษาตลอดชีวิตสาหรับ
ประชาชน (๒) ให้สังคมมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษา และ (๓) การพัฒนาสาระและกระบวนการ
เรียนรู้ให้เป็นไปอย่างต่อเนื่อง๑ ส่งผลให้หลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑
ถูกกาหนดให้เป็นหลักสูตรการศึกษาเพ่ือปวงชน ให้สังคมมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษาท่ีสอดคล้อง
กับสภาพความตอ้ งการของท้องถิ่น มีความมุ่งหวังให้ผู้เรียนมีเจตคติท่ีดีต่อภาษาต่างประเทศ สามารถใช้
ภาษาต่างประเทศสื่อสารในสถานการณใต่างๆ แสวงหาความรู้ ประกอบอาชีพและศึกษาต่อในระดับ
ที่สูงขึ้น รวมทั้งมีความรู้ ความเข้าใจในเร่ืองราวและวัฒนธรรม อันหลากหลายของประชาคมโลกและ
สามารถถา่ ยทอดความคดิ และวฒั นธรรมไทยไปยังสังคมโลกได้อย่างสร้างสรรคใ๒ นอกจากนี้ภาษาอังกฤษ
เป็นวิชาท่ีถูกใช้เป็นเคร่ืองมือในการเรียนรู้และถูกกาหนดไว้ในหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน
พุทธศักราช ๒๕๕๑ ให้เป็นหน่ึงในวิชาของกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศท่ีมีบทบาทสาคัญยิ่ง
ต่อการพฒั นาศักยภาพของบุคคล

อย่างไรก็ตาม ในภาพรวมของกระบวนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ พบว่า มีผู้เรียนส่วนหน่ึง
ที่ไม่ให้ความสาคัญในการเรียน มีพฤติกรรมการแสดงออกถึงการไม่รับรู้ อาทิเช่น ความเหน่ือยล้า
ของสภาพร่างกายทตี่ อ้ งเรยี นทางดา้ นวิชาการภายหลงั จากการเรียนวชิ าพลศึกษา สภาพความไม่สมบูรณใ
ของร่างกาย ความรู้พื้นฐานเดิมของผู้เรียน เป็นต้น นอกจากน้ียังพบว่า ผู้เรียนบางคนได้รับอิทธิพล
ทางด้านความคิด วัฒนธรรมและสภาพความเป็นอยู่ที่ทาให้ผู้เรียนมีพฤติกรรมเสี่ยงเมื่อได้มาอยู่ห้อง
ท่ีมีจานวนผู้เรียนมากทาให้ครูไม่สามารถดูแลได้ท่ัวถึง ผู้ปกครองทางานต่างจังหวัดเพื่อหารายได้
มาจุนเจอื ครอบครวั ไมม่ ีเวลาดูแลบุตรหลานของตน ทาให้ขาดความรัก ความอบอุ่น ส่งผลให้เกิดปัญหา
ทางสงั คมต่างๆ และปัญหาอ่ืนๆ ที่เก่ียวข้องกับการเรียนตามมาอีกมากมาย อาทิเช่น ปัญหาการติด 0,
ร, และ มส. ปัญหาการมาโรงเรียนสาย ปัญหาการขาดเรียน เป็นต้น ล้วนแต่ส่งผลกระทบต่อ
การยกระดับผลสมั ฤทธท์ิ ัง้ สนิ้

จากปัญหาพฤติกรรมต่างๆ ของผู้เรียนดังท่ีได้กล่าวมาแล้วข้างต้น ยังคงส่งผลกระทบต่อ
การยกระดับผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนตามหลักสูตรอย่างต่อเนื่อง และจากแผนการยกระดับผลสัมฤทธิ์
ทางการเรียนเฉลี่ยของผู้เรียนตามเกณฑใของสถานศึกษาของกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ
(ภาษาอังกฤษ) โรงเรียนพยุหะพิทยาคม รายวิชาภาษาอังกฤษในแต่ละปีการศึกษาผู้เรียนต้องมี
ผลสัมฤทธิ์เพ่ิมขึ้นอย่างน้อยร้อยละ ๓ ซึ่งต้องสอดคล้องกับค่าเป้าหมายตามมาตรฐานการศึกษา
ของสถานศกึ ษาระดบั การศกึ ษาขนั้ พน้ื ฐาน เพ่ือการประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษา ปีการศึกษา
๒๕๖๓ มาตรฐานที่ ๑ คุณภาพของผู้เรียน ประเด็นการพิจารณา ๑.๑ ผลสัมฤทธ์ิทางวิชาการของ
ผู้เรยี น

๒ สานกั วิชาการและมาตรฐานการศกึ ษา. หลกั สตู รแกนกลางการศึกษาข้นั พนื้ ฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑. กรงุ เทพฯ :
โรงพมิ พชใ มุ นมุ สหกรณใการเกษตรแห่งประเทศไทย. ๒๕๕๑. หน้า ๒๒๐ – ๒๒๖.

๒ สานกั วชิ าการและมาตรฐานการศกึ ษา. หลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาขั้นพ้นื ฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑. กรงุ เทพฯ :

ข้อ ๕.๘ ผู้เรียนร้อยละ ๖๐.๓๕ มีผลการเรียนกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ (ภาษาอังกฤษ)
ระดบั ๓ ขึ้นไป ผ้เู รยี นยังคงมผี ลสมั ฤทธ์ใิ นระดับ ๓ ขึ้นไปค่อนข้างต่า ดงั แสดงในตาราง

จานวนผู้เรียน ระดับผลการเรยี น
ชน้ั ม.๖ ๐ ๑ ๑.๕ ๒ ๒.๕ ๓ ๓.๕ ๔

ภาคเรยี นท่ี ๑ ปกี ารศึกษา ๒๕๖๓ ๑๑ ๑๗ ๒๖ ๑๕ ๘ ๑
๘๒ ๐ ๔
๑๓.๔๑ ๒๐.๗๓ ๓๑.๗๐ ๑๘.๒๙ ๙.๗๕ ๑.๒๑
คิดเป็นรอ้ ยละ ๐ ๔.๘๗
ภาคเรยี นท่ี ๒ ปีการศึกษา ๒๕๖๓ ๑๔ ๑๖ ๒๐ ๑๑ ๑๓ ๓
๑๗.๒๘ ๑๙.๗๕ ๒๔.๖๙ ๑๓.๕๘ ๑๖.๐๔ ๓.๗๐
๘๑ ๐ ๔
คิดเป็นรอ้ ยละ ๐ ๔.๙๓ ท่มี า : งานทะเบียน โรงเรยี นพยุหะพิทยาคม

เน่ืองจากผู้เรียนในระดับช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี ๖ ปีการศึกษา ๒๕๖๓ ถูกจัดให้เป็นกลุ่มตัวอย่าง
ในการนาวิธีการร่วมแรง ร่วมใจ และการมีภาวะผู้นา (Collaboration and Leadership) มาใช้ใน
การจัดการเรียนรู้ผ่านกระบวนการการสร้างชุมชนแห่งการเรียนรู้ (Professional Learning Community :
PLC) ประกอบรายวิชาภาษาอังกฤษพ้ืนฐาน อีกท้ังยังมีปัจจัยอ่ืนๆ เข้ามาแทรก อาทิเช่น การอยู่ในช่วง
การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อ Covid-19 ทาให้รูปแบบการจัดห้องเรียนเป็นแบบคร่ึง-ครึ่ง โดยการแบ่ง
ผู้เรียนออกเป็น ๒ กลุ่มๆ ละเท่าๆ กัน แต่ละกลุ่มมาเรียนเหมือนกัน จัดตารางเรียนแยกกัน ทาให้
ครูผู้สอนมีชั่วโมงสอนเพ่ิมมากขึ้น เม่ือสถานการณใการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อฯ คล่ีคลาย จึงนาผู้เรียน
รวมห้องเรียนด้วยกันเหมือนเดิม แต่กลับพบปัญหาจากพฤติกรรมการรับรู้ภายหลังการเข้ามาเรียนร่วมกัน
มากมาย

ทาให้ครูผู้สอนคิดหาวิธีการแก้ไขปัญหาพฤติกรรมการรับรู้ที่สามารถทาให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้
สรุปองคใความรู้ด้วยตนเองได้ ผู้เรียนสามารถขับเคล่ือนการเรียนรู้ด้วยกระบวนการเรียนรู้ร่วมกัน
มีการแลกเปล่ียนและ/หรือแสดงความคิดเห็น ทบทวนความรู้เดิมและเพ่ิมเติมความรู้ใหม่
เกิดการเปลี่ยนแปลงการเรียนรู้จากครู เป็นผู้เรียนที่ปฏิบัติหน้าที่หัวหน้ากลุ่มหรือผู้นากลุ่ม
(Collaboration and Leadership) มีการใช้ภาษาที่เป็นกันเอง เข้าใจง่าย สัมพันธภาพเดิมๆ และสร้าง
สัมพันธภาพใหม่จากการนิยมชมชอบ การมีลักษณะนิสัยที่คล้ายคลึงกัน การเป็นคู่บัดด้ีหรือเพ่ือนสนิท
ท่ีเหนียวแน่น ลักษณะของการเข้ากลุ่มกันจึงเป็นไปด้วยดี จากการปฏิบัติดังกล่าวทาให้ครูผู้สอนคิดว่า
สามารถแก้ไขพฤติกรรมการรับรู้และส่งเสริมให้ผู้เรียนได้พัฒนาความสามารถทางการเรียนให้ดีข้ึน จึงเลือก
วิธีการแกไ้ ขพฤตกิ รรมการรบั รู้ผา่ นกระบวนการการสร้างชุมชนแหง่ การเรียนรู้ (Professional Learning
Community : PLC) ภายในห้องเรียนด้วยวิธกี ารร่วมแรง ร่วมใจและภาวะผู้นา (Collaboration and
Leadership) ซึ่งเป็นบทพสิ ูจนใหน่งึ ทีแ่ สดงใหเ้ ห็นวา่ ผลทเ่ี กดิ จากการนาวิธีการแก้ไขพฤตกิ รรมการรับรู้

แบบน้ีไปใช้ในระหว่างท่ีมีกระบวนการจัดการเรียนการสอน ทาให้ผู้เรียนสามารถเรียนรู้จาก
ประสบการณใที่มีของตน ผ่านทางภาษาและวัฒนธรรม สภาพสังคมและสิ่งแวดล้อมจากเพ่ือนภายใน
ห้องเรียน ท่ีมีบรรยากาศและการดาเนินการปฏิบัติงานในลักษณะของการช่วยเหลือกัน ช่วยกันเสริม
เติมต่อในการเรียนรู้ (Scaffolding) และให้ความร่วมมือ การสนทนาท่ีมีเพื่อนในกลุ่มเป็นผู้ชี้นา
สู่การเรียนรู้ร่วมกัน ส่งผลให้เกิดการเรียนรู้ที่ค่อนข้างชัดเจนตามเป้าประสงคใของการพัฒนาคุณภาพ
ผู้เรียน และตัวชี้วัดของหลักสูตรฯ ของสถานศึกษาท่ีถูกจัดการเรียนการสอนในระดับช้ันมัธยมศึกษา
ปีท่ี ๖ นอกจากนี้ยังพบว่า กระบวนการจัดการเรียนรู้ที่ผ่านกระบวนการการสร้างชุมชนแห่ง
การเรียนรู้ (Professional Learning Community : PLC) สามารถก่อให้เกิดประสิทธิผลท่ีดีต่อ
ผู้เรียนได้ กล่าวคือ ทาให้ผู้เรียนยอมรับในความสามารถในการเรียนภาษาอังกฤษของตนเองและของ
ผู้อื่นว่าเป็นอย่างไร บกพร่องในเรื่องใด และท่ีสาคัญทาให้ผู้เรียนได้รู้ว่า ตนเองมีความสามารถ
เพียงพอที่จะพัฒนาการเรียนรู้เพิ่มข้ึนได้มากน้อยแค่ไหน การมีปฏิสัมพันธใกับเพื่อนสมาชิกในกลุ่ม
หัวหน้ากลุ่ม และครูผู้สอนจะช่วยเสริมเติมต่อการเรียนรู้ที่ผู้เรียนคิดว่า สามารถทาความเข้าใจ
ด้วยตนเอง หาวิธีการที่จะเรียนรู้เพิ่มเติมได้ด้วยตนเอง เกิดความม่ันใจ และท่ีสาคัญผู้เรียนที่เป็น
หัวหน้ากลุ่มหรือผู้นากลุ่มจะได้รับการส่งเสริมอันเป็นแรงผลักดันให้มีความต้ังใจเรียนมากกว่าเดิม
เพราะต้องนาความรู้ท่ีได้รับไปถ่ายทอดให้กับสมาชิกกลุ่มที่ยังไม่เข้าใจ อีกทั้งยังเป็นการสร้าง
ความภาคภูมิใจในตน

นอกจากการเลอื กวิธีการแก้ไขพฤติกรรมการรับรู้ของผู้เรียนแล้ว องคใประกอบที่ครูผู้สอนคิดว่า
เปน็ จักรกลในการขับเคลื่อนเบ้อื งหลงั ความสาเร็จนัน่ คือ “การจัดท่ีนั่งเรียน” จากการสังเกตการน่ังเรียน
ของผู้เรียนภายหลังจากหมดช่ัวโมงในแต่ละคร้ัง พบว่า ผู้เรียนจะเล่ือนเก้าอ้ืมาน่ังรวมกันเป็นกลุ่มๆ
ไม่ใช่ลักษณะของวงกลม แต่นามาเรียงเป็นแถวหน้ากระดานในลักษณะกลุ่ม จึงสังเกตการนั่งของ
ผูเ้ รียนอีกครง้ั ในขณะท่อี ยใู่ นชั่วโมง จากการสงั เกตพบว่า ผเู้ รียนจะเลอ่ื นเกา้ อี้มาในลักษณะเดิม แต่จะ
มีผู้เรียนบางคนยืนคุยในท่าสบาย ทุกคนหันหน้าคุยกับเพื่อนท่ียืนตามปกติ ทาให้ครูผู้สอนสนใจศึกษา
ทฤษฎีหรือเอกสารท่ีเก่ียวข้องกับการจัดท่ีน่ังเรียน จึงพบว่า ทฤษฎีการยศาสตรใ (Ergonomics)๓
เปน็ ทฤษฎที ีค่ รูผู้สอนนามาประยุกตใใช้ ทฤษฎีนม้ี ีจดุ เดน่ ทนี่ ่าสนใจ ดงั น้ี (๑) ความสามารถในการรับรู้
สัมผัสและรับรู้ข้อมูลข่าวสาร เช่น การมองเห็น การได้กล่ิน การรับรู้รส ความรู้สึกเจ็บปวด
การกระทบกระท่ัง ความสามารถของระบบ ประสาทสัมผัสของคนเป็นเร่ืองท่ีซับซ้อน มีความแตกต่าง
ระหว่างบุคคลมาก สุขภาพและความล้าเป็นปัจจัยสาคัญที่มีผลกระทบต่อระบบประสาทสัมผัส
ซ่ึงจะทางานได้ด้วยตัวของมันเอง และหากมีการใช้ประสาทสัมผัสพร้อมกันหลายรูปแบบจะทาให้
ความสามารถของการรับรู้สัมผัสลดลง ดังนั้นการออกแบบระบบควรหลีกเลี่ยงการรับรู้ข้อมูลข่าวสาร
เพื่อปฏิบัติทีละหลายมิติพร้อมกัน (๒) ความสามารถในการประมวลผล คือ การรวบรวมข้อมูล
ข่าวสารท่ีได้รับมาสรุป แยกแยะ เพื่อ การตัดสินใจ และประเมินท้ังในเชิงคุณภาพ ปริมาณ ตีความ
อย่างมีเหตุผล สามารถเปรียบเทียบได้ซึง่ ในตวั บุคคลแต่ละคนนนั้ มีข้อจากัดและมคี วามแตกต่างกัน

๓ บทท่ี ๓ การยศาสตร์. ม.ป.ป.

ดงั นัน้ การปฏบิ ัตงิ านใดท่ีต้องการประมวลผลโดยบุคคลเพื่อการวินิจฉัยจึงจาเป็นต้องใช้ความระมัดระวัง
มากท่ีสุดเพราะอาจเกิดความผิดพลาดขึ้นได้อย่างง่ายดาย (๓) ความสามารถในการเคลื่อนไหว
ความสามารถเฉพาะตัวของบุคคลล้วนมีขีดจากัด ไม่มีความเสมอต้นเสมอปลายและคงที่ ดังน้ัน
การออกแบบเครื่องมืออุปกรณใสาหรับให้คนเฝ้าระวังหรือควบคุมน้ันต้องพิจารณาในเรื่องของข้อจากัด
เหล่าน้ีด้วย (๔) ความสามารถในการเรียนรู้ ความสามารถของมนุษยใเหนือกว่าเคร่ืองจักรคือ สามารถ
เรยี นรู้ได้ และสามารถปรบั ปรุงสมรรถนะในการทากิจกรรมใหด้ ีขึ้นได้เสมอ แตก่ ารเรียนรู้ของคนมักใช้วิธี
แบบลองผิดลองถูกกับเปล่ียนวิธีการใหม่โดยไม่ต้องเร่ิมต้น เหมือนครั้งแรกอีก ทาให้ได้รับความรู้
ความเขา้ ใจเพมิ่ มากข้ึนเรอื่ ยๆ (๕) ความต้องการทางกายภาพและทางจิตใจ สมรรถนะของคนขึ้นอยู่กับ
การไดร้ บั การสนองตอบตามความตอ้ งการพ้ืนฐานของมนุษยทใ ี่จาเป็นต่อการดารงชีวิตอยู่อย่างมีความสุข
ทั้งทางด้านร่างกายและจิตใจรวมท้ังการได้รับการส่งเสริมสนับสนุน การสร้างขวัญและกาลังใจ
ความพึงพอใจในการงานท่ีทา สิ่งต่างๆ เหล่านี้มีส่วนในการส่งผลต่อความสามารถในการทางานของ
บุคคลให้ดีข้ึนได้ (๖) ผลกระทบจากสภาพแวดล้อม การออกแบบระบบควรเห็นความสาคัญของ
การปรับสภาพแวดล้อมให้คนงานทางานได้อย่างสะดวกสบาย และพึงพอใจกับสภาพการทางาน
ถึงแม้ว่าในสภาพแวดล้อมท่ีไม่สามารถปรับเปล่ียนได้ก็ควรที่จะมีเคร่ืองมือ อุปกรณใอานวยความสะดวก
หรือเคร่ืองมือป้องกันที่เหมาะสมได้อย่างเพียงพอ เพื่อช่วยลดอันตรายหรือความเครียดจากการทางาน
หรือการทางานในสภาพท่ีมีข้อจากัดเหนือกว่าบุคคลอื่น ก็ควรมีการคัดเลือกบุคคลที่มีความสามารถ
ตรงตามความต้องการ (๗) ผลกระทบจากสภาพสังคมการออกแบบระบบควรคานึงถึงความสาคัญ
ของความสัมพันธใระหวา่ งบคุ คล กลุม่ กิจกรรม ความเชือ่ วัฒนธรรม ประเพณี การควบคุม บังคับบัญชา
ซง่ึ อาจส่งผลกระทบกบั การทางานและหากไดร้ ับการจัดระบบที่เหมาะสมก็จะเป็นการช่วยลดปัญหาและ
สง่ เสริมการทางานให้มปี ระสิทธิภาพมากขึน้ อีกด้วย (๘) ความสามารถในการประสานกจิ กรรม ข้อจากัด
ในความสามารถของคนและขีดจากัดของงานบางอย่าง ทาให้คนเราไม่สามารถทางานหลายๆ อย่าง
พร้อมกันได้ ครบถ้วนสมบูรณใดี ซ่ึงลักษณะสาคัญท่ีอาจส่งผลกระทบต่อการทางาน ก็คือ อารมณใที่ไม่มี
ความคงท่ีเสมอไปจะมีการเปลี่ยนแปลงไปตามสภาพของการสัมผัสรับรู้ข้อมูลข่าวสารอยู่ตลอดเวลา

จึงอาจก่อให้เกิดความผิดพลาดได้เสมอ และ (๙) ความหลากหลายของมนุษยใ ความแตกต่างกัน

ในด้านต่างๆ ของคน ทาให้ไม่สามารถจัดระบบท่ีเป็นมาตรฐานชัดเจนเก่ียวกับคุณสมบัติของมนุษยใได้
ดังน้ันการออกแบบระบบให้สอดคล้องกับคุณสมบัติของคนที่จะมาทางานรับผิดชอบหน้าท่ีโดยการคัด
เลือกสรรหาใหเ้ หมาะสมกนั มากท่สี ุด

ด้วยเหตุผลดงั ที่ไดก้ ล่าวมาแล้วข้างต้น ครูผู้สอนจึงนาเสนอวิธีการแก้ไขพฤติกรรมการรับรู้ผ่าน
กระบวนการการสรา้ งชมุ ชนแหง่ การเรียนรู้ (PLC) ในการยกระดับผลสมั ฤทธิ์ทางการเรียนตามหลักสูตร
ใหส้ ูงข้นึ

เป้าหมายทกี่ าหนดไว้
เพือ่ ยกระดบั ผลสัมฤทธิ์ตามหลักสูตรผ่านกระบวนการการสร้างชมุ ชนแห่งการเรยี นรู้

(Professional Learning Community : PLC) รายวชิ าภาษาองั กฤษพนื้ ฐาน สาหรบั ผเู้ รียนชน้ั มัธยม-
ศึกษาปีที่ ๖

การวางแผนการดาเนนิ งาน
การวางแผนการดาเนินงานเพ่ือพัฒนาผู้เรียนในการยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนตาม

หลักสูตรผ่านกระบวนการการสร้างชุมชนแห่งการเรียนรู้ (Professional Learning Community :
PLC) ไดก้ าหนดกรอบการวางแผนการดาเนนิ งาน ดงั แผนภาพ

กรอบการวางแผนการดาเนนิ งาน

คณะครู สาเหตุ หาแนวทางการแกไ้ ข
กลมุ่ สาระการเรยี นรู้
ภาษาตา่ งประเทศ เลอื กแนวคิด ทฤษฎี
หรือวิธปี ฏบิ ตั ติ ่างๆ
ปัญหา - ครผู ้สู อน ทค่ี าดว่าจะแกไ้ ขได้
- ผู้เรียน

วิธกี ารรว่ มแรง รว่ มใจ การยศาสตร์
และภาวะผู้นา (Ergonomics)

(Collaboration and
Leadership)

นาไปใช้

สรา้ งและ/หรือปรบั แผน
การจัดการเรยี นรู้

หรอื ปรับกระบวนการเรียนรู้

แผนภาพที่ ๑ แสดงกรอบการวางแผนการดาเนนิ งาน

วิธกี าร/ ขน้ั ตอนการดาเนินงาน/ กระบวนการทางาน
วิธีการหรอื ขั้นตอนการดาเนินงานเพื่อพัฒนาผู้เรียนในการยกระดบั ผลสมั ฤทธท์ิ างการเรียน

ตามหลกั สูตรผา่ นกระบวนการการสรา้ งชุมชนแห่งการเรยี นรู้ (Professional Learning

Community : PLC) แบง่ การดาเนินงานออกเป็น ๒ ประเดน็ ใหญ่ๆ คือ

ปรบั วิธีเรียน เปลี่ยนวธิ สี อน

ประเดน็ ท่ี ๑ กาหนดหัวหน้ากลมุ่
การวางแผนดา้ นการบริหาร หรือผนู้ ากลุ่ม
จดั การเพ่ือการเตรยี มการดา้ น
ตา่ งๆ สาหรับครูผสู้ อน ความคาดหวงั และเกณฑ์

จัดทน่ี ่ังเรียนใหม่

จัดกลมุ่ ผเู้ รียน

การจัดการเรียนรู้

ประเมนิ คุณภาพผเู้ รยี น

เสนอแนวทางแก้ไขปัญหา

แผนภาพที่ ๒ แสดงการวางแผนดา้ นการบริหารจดั การเพื่อการเตรยี มการดา้ นตา่ งๆ
สาหรับครูผู้สอน

ประเดน็ ที่ ๒ กาหนดกลไกในการพฒั นา
การปฏบิ ตั ิเพอื่ ยกระดับ
ผลสัมฤทธท์ิ างการเรยี น - วิเคราะหผ์ ลสัมฤทธ์ิ
ตามหลกั สตู ร ของผเู้ รียน

- กาหนดความคาดหวงั
และเกณฑ์

- จดั ทีน่ ง่ั เรยี นใหม่
- จดั กล่มุ ผูเ้ รยี น
- วธิ ีการเรียนรู้

ประสานเพอื่ สรุปองคค์ วามรู้

ตัดสนิ

เสนอแนวทางแกไ้ ขปญั หา

แผนภาพท่ี ๓ แสดงการปฏิบตั ิเพอ่ื ยกระดับผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนตามหลักสูตร

จากแผนภาพที่ ๒ และ ๓ เมอื่ นามารวมเข้าดว้ ยกันจะเห็นเปน็ ขน้ั ตอน ๕ ขนั้ ของกระบวนการ
การสรา้ งชมุ ชนแห่งการเรียนรู้ (PLC) ไดแ้ ก่ ข้นั ตอนท่ี ๑ การสร้างทีมงาน (Community)
ข้นั ตอนที่ ๒ การจดั การ (Practice) ขนั้ ตอนท่ี ๓ กลุ่มรว่ มสะท้อนความคดิ เหน็ (Reflection)
ข้นั ตอนที่ ๔ รว่ มประเมินคุณภาพสมาชิก (Evaluation) และขัน้ ตอนที่ ๕ เสนอแนวทางการแกไ้ ข
(Network Development) ดงั แผนภาพ

ประเดน็ ท่ี ๑ + ประเด็นท่ี ๒ ขน้ั ตอนของ
การปฏิบัตเิ พอื่ ยกระดบั กระบวนการ PLC
การวางแผนดา้ นการบริหาร ผลสัมฤทธทิ์ างการเรยี น
ตามหลักสตู ร
จัดการเพ่อื การเตรยี มการ

ด้านตา่ งๆ สาหรับครูผ้สู อน

ปรับวธิ เี รยี น เปลี่ยนวธิ ีสอน กาหนดกลไกในการพฒั นา ๑. การสรา้ งทีมงาน
- วิเคราะห์ผลสมั ฤทธิ์ (Community)
กาหนดหัวหนา้ กลุม่ หรอื - กาหนดความคาดหวงั และ
๒. การจดั การ
ผ้นู ากลมุ่ ความคาดหวงั เกณฑฯ์ (Practice)
- จัดที่น่ังเรยี นใหม่
และเกณฑ์ฯ - จัดกลมุ่ ผู้เรยี น ๓. ร่วมสะท้อน
- การจดั การเรียนรู้ ความคิดและ
จัดทีน่ ่ังเรยี นใหม่ องคค์ วามรู้
ประสานเพ่อื สรุปองคค์ วามรู้ (Reflection)
จดั กล่มุ ผู้เรียน
ตัดสิน ๔. รว่ มประเมิน
การจดั การเรียนรู้ (Evaluation)
เสนอแนวทางแกไ้ ขปญั หา
ประเมนิ คุณภาพผู้เรยี น ๕. เสนอแนวทาง
แกไ้ ขปญั หา
เสนอแนวทางแก้ไขปญั หา (Network
Development)

แผนภาพที่ ๔ แสดงขั้นตอน ๕ ขน้ั ของกระบวนการการสรา้ งชมุ ชนแห่งการเรยี นรู้ (PLC)

ผลการดาเนินการ/ ผลลัพธ์ทีเ่ กดิ ขึ้นจริง

ผลการดาเนนิ งาน
การพัฒนาผู้เรียนเพ่ือยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนตามหลักสูตรผ่านกระบวนการ
การสร้างชุมชนแห่งการเรียนรู้ (Professional Learning Community : PLC) รายวิชาภาษาอังกฤษ
พื้นฐานได้ถูกนามาปรับใช้เป็นรูปแบบการแก้ไขปัญหาพฤติกรรมการรับรู้อีกวิธีหนึ่ง ในภาคเรียนท่ี ๒
ปกี ารศึกษา ๒๕๖๓ ผลการดาเนนิ งาน ดงั ภาพ



ผู้เรียนสามารถนาความร้ทู ี่ไดร้ ับมาประยุกตใใช้และ/หรือปรับความรู้ของผู้เรียนได้ แต่การท่ีจะทาให้เกิด
การเรียนรู้ได้น้ัน ผู้เรียนจะต้องรู้จักวางแผนและแก้ปัญหาอย่างเป็นระบบ มีการเรียนรู้จากการศึกษา
ค้นคว้าความรู้ด้วยตนเอง จากประสบการณใของผู้คนท่ีอยู่รอบข้างท้ังภายในและภายนอกสถานศึกษา
เรียนรู้จากความเป็นเลิศของเพ่ือน มีความรู้ความเข้าใจที่จะเรียนรู้จากการต่อยอดจากทฤษฎี แนวคิด
ต่างๆ ได้อย่างมีประสิทธิภาพ สรุปเป็นองคใความรู้ใหม่ของตนเองได้ ส่งผลให้ได้แนวทางวิธีจัดการ
เรียนรู้ของตนเองจากประสบการณใต่างๆ ท่ีได้รับในรูปแบบที่แตกต่างกัน ก่อให้เกิดผลสาเร็จเป็นท่ีน่า
พอใจได้ในระดบั หนึ่ง นอกจากนี้ผูเ้ รียนมีความตระหนัก มีจิตสานึกต่อสังคม มีความรักและภาคภูมิใจ
ในสังคมของตน ส่งผลต่อพัฒนาการเรียนรู้ของผู้เรียนและการสอนของครูได้รับการพัฒนาให้มีรูปแบบ
ที่ชัดเจน มีความเป็นรูปธรรมในการเรียนรู้ร่วมกันท่ีสามารถย่นระยะเวลาการสอน ลดบทบาทของ
ครผู ู้สอนได้เป็นอย่างดี มีการปรับปรุงประสิทธิภาพการจัดการเรียนรู้ของผู้เรียนจากส่ิงท่ีได้สอนผู้เรียน
ในรุ่นก่อนๆ ที่ยังไม่ประสบผลสาเร็จ นาพาซ่ึงความสาเร็จด้วยรูปแบบฯ น้ีได้ และผลท่ีได้จากการจัด
กระบวนการเรยี นรูท้ าใหก้ ารประเมินคณุ ภาพของผเู้ รยี นไม่จาเปน็ ต้องเรมิ่ ต้นในการเรียนรู้สิ่งใหม่ท้ังหมด
แต่ผู้เรียนสามารถแก้ไขพฤติกรรมการรับรู้ เกิดการเรียนรู้ได้ พร้อมกับนาความรู้และประสบการณใ
ท่ีได้รบั บนั ทกึ เปน็ ภาพแหง่ ความสาเรจ็ เพ่อื การเผยแพร่สู่ชมุ ชนในโอกาสตอ่ ไป

ปัจจัยที่ส่งผลใหก้ ารดาเนนิ งานประสบความสาเรจ็
ปจั จัยดา้ นครู
๑. ครูผสู้ อนเปิดโอกาสให้ผเู้ รียนได้รว่ มกันแก้ไขพฤติกรรมการรบั รู้ผ่านกระบวนการการสรา้ ง

ชุมชนแห่งการเรียนรู้ (PLC)
๒. กจิ กรรมการเรียนรู้ทก่ี าหนด สามารถเน้นผูเ้ รยี นเปน็ สาคญั ได้ เนอ่ื งจากพฤตกิ รรมกลมุ่

ยังคงเน้นความสะดวกในการปฏิบัติงานร่วมกัน เป็นเพ่ือนสนิทกัน มีความช่วยเหลือเก้ือกูลกันมาก่อน
สง่ ผลให้การปฏิบัติภาระงานต่างๆ เป็นไปด้วยความสะดวก

๓. ครผู ูส้ อนเป็นเพยี งผู้ชแี้ นะ ผู้เรยี นรว่ มกบั สมาชกิ กลุ่ม และหัวหนา้ กลมุ่ หรอื ผู้นากลุ่ม
ในการจัดการความรู้ท่ีได้รับการกระตุ้นหรือหาวิธีการคิดแสวงหาคาตอบมากกว่าท่ีจะบอกเป็นเน้ือ
ความรู้

ปจั จยั ด้านผ้เู รยี น
๑. ผเู้ รยี นแต่ละคนมีความรู้และความสามารถพ้ืนฐานที่แตกต่างกัน แต่สามารถปฏิบัติภาระ
งานร่วมกันเปน็ กลมุ่ ได้ มคี วามเชือ่ ม่นั ในหัวหนา้ กลุ่มหรือผนู้ ากลุ่มตน
๒. หัวหนา้ กลุ่มหรือผู้นากลมุ่ มกี ารศึกษาคน้ ควา้ แสวงหาความรดู้ ้วยตนเองทง้ั ภายในและ
ภายนอกสถานศกึ ษาท่บี อกถงึ ความต้ังใจ การยนิ ดกี บั ภาระหนา้ ท่ที ไี่ ด้รบั ความไว้วางใจจากสมาชกิ กลุม่
๓. ความรูแ้ ละทักษะทเี่ พยี งพอในการช่วยกนั แสดงความคิดเพอื่ หาคาตอบท่ถี ูกต้อง
๔. ความสามารถในการเช่ือมโยงความรู้เดิมกบั ความรู้ใหม่

ปจั จัยด้านแหล่งเรยี นรู้
๑. แหล่งเรียนรจู้ ากสื่อเทคโนโลยีต่างๆ เป็นส่ิงที่เอ้ือให้ผู้เรียนสามารถศึกษาค้นคว้าและ
สรุปเปน็ องคคใ วามรู้ดว้ ยตนเองไดเ้ ปน็ อย่างดี
๒. แหลง่ เรยี นรขู้ องผู้เรยี นคือ การไดร้ ับการถ่ายทอดความรจู้ ากหัวหน้ากลมุ่ หรอื ผู้นา
กลุ่ม ท่ไี ปศึกษาคน้ ควา้ จากแหล่งเรยี นรู้จากสื่อเทคโนโลยีต่างๆ การมีสภาพแวดล้อมทด่ี ียอ่ ม
ส่งผลต่อการสร้างความรู้ใหก้ ับสมาชกิ ในกลุ่มได้
ปจั จยั ดา้ นครอบครัว และท้องถน่ิ
คร อ บ ค รั ว แ ล ะ ท้ อ ง ถ่ิ น ย่ อ ม ส นั บ ส นุ น ผู้ เ รี ย น ที่ มี ค ว า ม ต้ั ง ใ จ ม่ั น ใ น ก า ร ศึ ก ษ า ค้ น ค ว้ า
หาความรู้ จงึ ใหค้ วามร่วมมือ สง่ เสริม สนบั สนนุ และอานวยความสะดวกตามความจาเปน็

อปุ สรรค/ ข้อจากัด/ ขอ้ ขัดข้องทพ่ี บในการดาเนินงาน
อปุ สรรค/ ข้อจากดั / ข้อขัดข้องท่ีพบในการดาเนินงาน มีดังน้ี
ด้านครผู ูส้ อน
๑. ไม่สามารถดาเนนิ การดว้ ยวธิ กี ารนก้ี บั ทุกห้องเรียน เนอ่ื งจากสถานการณกใ ารแพร่
ระบาดของโรคตดิ เช้ือฯ
๒. ครตู อ้ งสงั เกตพฤติกรรมของผู้เรียนกรณีท่ีกลุม่ มีขอ้ สงสยั หรือปัญหา
๓. การจดั ผู้เรยี นและ/หรอื การจัดชัน้ เรียนในลกั ษณะแบบนี้เป็นเพยี งแค่การทดลอง

ใชร้ ะยะเวลาไม่นาน ไม่สามารถยืนยนั ได้แน่ชดั ว่า วธิ กี ารนจี้ ะทาให้ผ้เู รียนประสบความสาเร็จ
ในการเรยี นหรือสามารถพฒั นาผลสมั ฤทธิ์ให้สูงขน้ึ ได้ เน่ืองจากเป็นการทดลองในภาคเรียนที่ ๒
ผ้เู รยี นทถ่ี กู ทดลองอยูใ่ นชัน้ ม.๖ และต้องจบการศึกษาออกไป ซงึ่ เป็นระยะเวลาส้นั ๆ

ประเด็นทไี่ ด้เรยี นรู้
ประเดน็ ทไี่ ด้รับจากการพัฒนาผู้เรยี น
จากการสังเกตและวิเคราะหใผู้เรียนในภาพรวมทาให้ทราบว่า ผู้เรียนมีความรู้

ความถนดั และความสามารถที่แตกต่างกนั หัวหนา้ กลุม่ หรือผู้นากลุม่ พยายามคิดหาวิธีการท่ีทาให้
ผู้เรียนที่มีผลการเรียนอ่อนหรือปานกลางให้มีการรับรู้ก่อนและการเรียนรู้จึงเกิดข้ึนตามภายหลัง
และจากการสังเกตในการปฏิบัติภาระงานหรือชิ้นงานแต่ละสัปดาหใ สมาชิกในกลุ่มเร่ิมใช้ทักษะ
กระบวนการคดิ ที่หลากหลายเพื่อให้ได้มาซ่ึงข้อมูล มีการเล่าปัญหาและวิธีการแก้ปัญหาของกลุ่ม
ตนให้ครูและเพ่ือนๆ ในชั้นได้ฟัง การแลกเปล่ียนความคิด ท้าทายท่ีจะแสวงหาความรู้ และมี
เจตคตทิ ่ดี ีตอ่ วิชาภาษาอังกฤษมากขึ้น

ประเด็นในเร่ืองการออกแบบการจัดการเรยี นรทู้ ค่ี วรจัดใหก้ บั ผเู้ รียน

ครูมคี วามตระหนกั เพม่ิ มากข้ึนกว่าเดิม และคิดหาวิธีการท่ีจะแก้ไขพฤติกรรมการรับรู้ใน

รูปแบบต่างๆ ท่ีสามารถทาให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ในโอกาสต่อๆ ไป ส่ิงที่ครูควรคานึงในการจัด

กลุ่มผู้เรียนในขณะท่ีมีการจัดการเรียนการสอน คือ สัมพันธภาพที่ดีระหว่างครูกับผู้เรียน

บางครั้งการจัดกลุ่มโดยที่ครูใช้วิธีการนาคนเก่ง คนปานกลาง และคนอ่อนมารวมกลุ่มกัน

ดว้ ยเจตนาท่ีตอ้ งการใหผ้ ู้เรยี นในกลมุ่ ชว่ ยเหลอื กนั วิธีการน้ีอาจส่งผลล้มเหลวในการปฏิบัติภาระ

งานได้ ด้วยหลายสาเหตุหลายประการเช่น คนอ่อนเป็นตัวถ่วงของคนเก่ง คนเก่งเป็นผู้ที่มีนิสัย

ไม่เกื้อกูลใคร แคลนะดป้วายนสกภลาาพงเขปอ็นงผปู้ทัญี่ปหฏาภิบสัตา่วิกคนิจตผกัวนรทรวามใกใหน้เใปบ็นงาอนุปตสารมรลคาอพยัง่างหหนรือึ่งใอนากจาจระจเปัด็นกไาปรใเรนียทนารงู้
ตรงกันข้าม

ให้กบั ผเู้ รียน จากประสบการณใท่ีผา่ นมาทาให้คิดว่า ควรจัดกลุ่มตามลักษณะของสภาพการสนิท

สนมระหว่างเพ่ือนด้วยกัน ควรให้อิสระแก่ผู้เรียนในการเลือกสมาชิกกลุ่มเพ่ือการสร้างสรรคใ

ความคดิ ต่างๆ ที่มคี วามหลากหลาย

ประเด็นในเรอื่ งการจัดที่นัง่ ในชน้ั เรยี น

การจัดที่น่ังในชั้นเรียนสาหรับการทดลองจัดการเรียนรู้ผ่านกระบวนการการสร้างชุมชน

แห่งการเรียนรู้ (Professional Learning Community : PLC) ทาให้คิดว่า การจัดท่ีน่ังในชั้น

เรียน เป็นส่วนสาคัญอีกประการหนึ่งที่ทาให้ครูควรศึกษาเพ่ิมเติม และเลือกรูปแบบที่คิดว่า

“นา่ จะเปน็ ไปได”้ จงึ เลอื กทฤษฎี “การยศาสตรใ (Ergonomics)” มาทดลองใชก้ ับผู้เรยี น

ขอ้ เสนอแนะในการดาเนนิ งานครั้งต่อไป
๑. ควรนาทฤษฎี “การยศาสตรใ (Ergonomics)” มาใช้กับผู้เรียนท้ัง ๒ ภาคเรียน

ในปกี ารศึกษาต่อๆ ไป เพื่อเปรียบเทียบผลสมั ฤทธ์ทิ างการเรียน
๓. ควรมีการประเมินวัตถุประสงคใและความพึงพอใจในการจัดการเรียนรู้ผ่าน

กระบวนการการสร้างชุมชนแห่งการเรียนรู้ (Professional Learning Community : PLC)
และการจัดทีน่ ั่งเรยี นตามทฤษฎี “การยศาสตรใ (Ergonomics)”

นวัตกรรมทเ่ี กิดขนึ้
การแก้ไขพฤติกรรมการรบั รู้โดยใชท้ ฤษฎกี ารยศาสตร์ (Ergonomics) ผา่ นกระบวนการ

การสร้างชมุ ชนแห่งการเรยี นรู้ (Professional Learning Community : PLC)


Click to View FlipBook Version