The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

การแก้ไขปัญหาการอ่านจับใจความภาษาอังกฤษโดยการใช้การเรียนรู้แบบ Task-Based Learning
โดย นางสาวอาจรีย์ โพพา
ครู โรงเรียนนครสวรรค์

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by metta.tha, 2022-03-08 09:18:32

การแก้ไขปัญหาการอ่านจับใจความภาษาอังกฤษโดยการใช้การเรียนรู้แบบ Task-Based Learning

การแก้ไขปัญหาการอ่านจับใจความภาษาอังกฤษโดยการใช้การเรียนรู้แบบ Task-Based Learning
โดย นางสาวอาจรีย์ โพพา
ครู โรงเรียนนครสวรรค์

Keywords: Task-Based Learning,PLC

แบบรายงานผลการดำเนินงาน
ชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพ (PLC)

ปีการศึกษา 2564

กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ โรงเรียนนครสวรรค์
สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษานครสวรรค์

“การแก้ไขปัญหาการอ่านจับใจความภาษาอังกฤษ
โดยการใช้การเรียนรู้แบบ
Task-Based Learning”

โดย

นางสาวอาจรีย์ โพพา

ครู กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ

โรงเรียนนครสวรรค์ อำเภอเมืองนครสวรรค์ จังหวัดนครสวรรค์
สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษานครสวรรค์

สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ

1

แบบรายงานผลการดำเนินงานชุมชนการเรยี นรู้ทางวชิ าชพี PLC ปกี ารศึกษา 2654

กลุ่มสาระการเรยี นรู้ภาษาต่างประเทศ โรงเรยี นนครสวรรค์

สำนกั งานเขตพ้นื ที่การศึกษามัธยมศกึ ษานครสวรรค์

ชื่อผลงาน การแก้ไขปัญหาการอ่านจับใจความภาษาอังกฤษโดยการใชก้ ารเรยี นรแู้ บบ Task-Based Learning

ชอ่ื -นามสกลุ ผนู้ ำเสนอผลงาน นางสาวอาจรีย์ โพพา ตำแหนง่ ครู .

Email Address [email protected] เบอร์โทรศพั ท์ 0899573917 .

ระยะเวลาทด่ี ำเนนิ การ 2 สปั ดาห์ จำนวน 4 ชวั่ โมง

จำนวนสมาชกิ ในกลุม่ 8 คน

รายชอื่ สมาชิกในกลมุ่ PLC และบทบาท/หน้าท่ี

ท่ี ช่อื -สกลุ บทบาท/หนา้ ท่ี ตำแหนง่

1 นางสาวอาจรยี ์ โพพา MODEL TEACHER ครู

2 นางสาวกฤษณา บญุ ช่นื BUDDY TEACHER ครชู ำนาญการพเิ ศษ

3 นางสาววราภรณ์ คงหอม BUDDY TEACHER ครูชำนาญการ

4 นางสมพศิ สะบายแท้ BUDDY TEACHER ครชู ำนาญการพเิ ศษ

5 นางณัชชารยี ์ เจรญิ ฉตั รารมย์ BUDDY TEACHER ครูชำนาญการ

6 นางปนิดา นามโสวรรณ์ BUDDY TEACHER ครูชำนาญการ

7 นางสาวสุขมุ าล จนั ทร์พฒุ พิ งศ์ BUDDY TEACHER ครูชำนาญการพเิ ศษ

8 นางจุฑาทรัพย์ นับเงินอนนั ต์ BUDDY TEACHER ครู

ชอื่ ผลงาน การแก้ไขปัญหาการอ่านจบั ใจความภาษาอังกฤษโดยการใชก้ ารเรียนรแู้ บบ Task-Based Learning

1. ข้อมลู พน้ื ฐาน
โรงเรียนนครสวรรค์เป็นโรงเรียนขนาดใหญ่พเิ ศษทม่ี ีการจดั การเรยี นการสอนในนักเรียน

ระดบั ช้นั มธั ยมศึกษาปีท่ี 1 – 6 ซงึ่ ไดม้ ีการจัดการเรียนการสอนในรายวชิ าภาษาอังกฤษในหอ้ งเรียนในทุก
ระดับชน้ั ระดบั ช้ันละ 2 รายวิชา คอื รายวิชาภาษาอังกฤษพ้ืนฐาน และภาษาอังกฤษเพ่ิมเตมิ (ภาษาองั กฤษ
อา่ น-เขียน) โดยไมร่ วมกับรายวชิ าเพิม่ เติมอน่ื ๆ ในห้องเรยี นพหภุ าษา

ทง้ั นีใ้ นปกี ารศึกษา 2564 น้ีการจัดการเรียนการสอนในภาคเรียนที่ 1 เปน็ การจัดการเรียน
การสอนออนไลน์ จากการจัดการเรยี นการสอนในรายวิชาภาษาองั กฤษอ่าน-เขยี นได้จัดการเรยี นการสอน
เกี่ยวกับการอ่านโดยใหใ้ ช้การ Skimming และ Scanning ซง่ึ จากการใช้เทคนิคการ Skimming นกั เรียน
มักจะตอบคำถามและจบั ประเด็นสำคญั ของเร่ืองไมไ่ ด้ จึงเป็นปญั หาส่งผลให้นักเรียนมีผลสัมฤทธ์ทิ างการเรยี น
ภาษาองั กฤษไม่เปน็ ไปตามเป้าหมาย ด้วยเหตุนี้ในภาคเรียนที่ 2 ซ่ึงมีทัง้ การจดั การเรียนการสอน online และ
on-site ผู้สอนจึงออกแบบกิจกรรมการแกไ้ ขปญั หาการอ่านจับใจความภาษาองั กฤษโดยใช้การเรยี นร้แู บบ
Task-Based Learning เพ่อื ใชใ้ นการสอนในรายวิชาภาษาองั กฤษอ่าน-เขยี นของนักเรียนชนั้ มัธยมศกึ ษาปที ่ี

2

2 ซงึ่ จะทำนักเรยี นไดว้ ิเคราะห์เน้ือเรือ่ งรว่ มกับการใช้เทคนิค Skimming ได้ดขี ึน้ ให้ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
เปน็ ไปตามเป้าหมายและเพ่ือเป็นแนวทางการจดั กจิ กรรมการเรียนรู้ภาษาองั กฤษให้มีประสทิ ธภิ าพต่อไป

2. ประเดน็ ปญั หา
2.1 นกั เรียนผลสัมฤทธ์ไิ ม่เป็นไปตามเปา้ หมายท่ีกำหนดในการทดสอบทักษะการอ่านภาษาอังกฤษใน

บทเรยี นรายวิชาภาษาองั กฤษอา่ น-เขียน
2.2 การจดั การเรยี นการสอนของครูผู้สอนในสถานการณ์การแพร่ระบาดของเชื้อ Corona ซ่ึงมีทง้ั

นักเรียนท่ีเรยี นในรปู แบบการเรียน On-site และ Online ทำให้ครตู ้องหาส่ือหรือช้ินงานทีเ่ หมาะสมให้
นักเรยี นทงั้ การเรยี นทงั้ 2 รูปแบบสามารถปฏบิ ตั ชิ ิ้นงานหรือกจิ กรรมไดเ้ หมือนกัน

2.3 เวลาในการทำกิจกรรมการอา่ นในบทเรยี นคอ่ นขา้ งทจี่ ะใชเ้ วลานานโดยเฉพาะในขว่ งการจดั การ
เรยี นการสอนท้ัง On-site และ Online ทจ่ี ะให้นักเรียนได้เข้าใจในเนื้อหาของการเรียน

3. เป้าหมายทีก่ ำหนดไว้
3.1 นกั เรียนมผี ลสัมฤทธท์ิ ดี่ ีข้ึนในการทดสอบทักษะการอา่ นภาษาอังกฤษในบทเรยี นในรายวิชา

ภาษาองั กฤษ
3.2 นกั เรียนสามารถอา่ นจับใจความภาษาอังกฤษได้ดยี ิ่งข้ึน สามารถหาใจความสำคญั ของเรื่องได้

และสามารถสรปุ เนื้อเร่ืองให้เขา้ ใจได้ดี
3.3 นักเรียนมีความรู้ในเร่ืองคำศพั ท์ และหลกั ภาษาเพ่ิมมากข้ึนจากการเรยี นการสอน และการอา่ น

บทอ่านของนักเรียน
3.4 นกั เรียนไดช้ ิน้ งานจากการทำกจิ กรรมการเรียนรแู้ บบ Task-Based Learning
3.5 นักเรยี นสามารถต่อยอดความรไู้ ปสู่การทำกจิ กรรมในทักษะการเขียนได้

4. การวางแผนการดำเนนิ งาน
4.1 โรงเรยี นนครสวรรค์ไดจ้ ัดทำคำสงั่ ของโรงเรียนนครสวรรคแ์ ตง่ ต้ังการดำเนนิ งานชุมชนการเรียนรู้

ทางวิชาชพี
4.2 กล่มุ สาระการเรยี นรภู้ าษาตา่ งประเทศได้แต่งต้ังการดำเนนิ งานชุมชนการเรียนรทู้ างวิชาชพี ใน

ระดบั กลมุ่ ย่อยของกลมุ่ สาระฯ ซ่ึงให้เป็นไปตามความเหมาะสมหรือความสมัครใจในการจดั ต้งั กลุ่ม
4.3 บนั ทกึ ข้อความเพื่อเปิดชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพในระดับกลุม่ ย่อย
4.4 คณุ ครใู นชุมชนการเรยี นรู้ทางวิชาชพี ในกลมุ่ ย่อยพดู คุยกันเพ่ือแลกเปล่ียนประเดน็ ท้าทาย
4.5 นดั หมายพดู คุยแลกเปล่ยี นประสบการณ์
4.6 นำความรู้ไปทดลองใชใ้ นการจัดการเรียนการสอนตามระดบั ช้นั ที่ตนเองรบั ผดิ ชอบสอน
4.7 นเิ ทศการสอน กำกับติดตามกันภายในกลุ่มยอ่ ย
4.8 แลกเปล่ยี นพูดคุย และสรุปผล

3

5. วธิ ีการ / ขั้นตอนการดำเนินงาน / กระบวนการทำงาน

4

5.1 ศึกษาหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้นั พ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาตา่ งประเทศ
5.2 จดั ทำแผนการจัดการรู้ในรายวชิ าภาษาองั กฤษอ่าน-เขียน ระดับชน้ั มัธยมศกึ ษาปีที่ 2 โดยนำ

รูปแบบการจัดการเรยี นสอนแบบ Task-Based Learning นำมาใชใ้ นการจัดการเรยี นรู้ด้วย
5.3 ครนู ำข้อมลู ผลสมั ฤทธกิ์ ารทดสอบของหน่วยการเรยี นรทู้ ่เี รื่อง The Misunderstood Tomato

มาเปน็ ข้อมูลเปรียบเทียบ โดยเป็นการสอบแบบปรนัยแบบ 4 ตวั เลือกจำนวน 8 ข้อ โดยมีผลการเรียนรู้ดงั น้ี

ชั้น เลขที่ คา่ คะแนน ชั้น เลขท่ี คา่ คะแนน

ม.2/3 1 5 ม.2/3 19 6

ม.2/3 2 6 ม.2/3 20 4

ม.2/3 3 7 ม.2/3 21 3

ม.2/3 4 5 ม.2/3 22 6

ม.2/3 5 3 ม.2/3 23 3

ม.2/3 6 3 ม.2/3 24 3

ม.2/3 7 4 ม.2/3 25 2

ม.2/3 8 5 ม.2/3 26 2

ม.2/3 9 5 ม.2/3 27 3

ม.2/3 10 1 ม.2/3 28 5

ม.2/3 11 5 ม.2/3 29 4

ม.2/3 12 4 ม.2/3 30 7

ม.2/3 13 4 ม.2/3 31 5

ม.2/3 14 3 ม.2/3 32 4

ม.2/3 15 2 ม.2/3 33 3

ม.2/3 16 4 ม.2/3 34 3

ม.2/3 17 5 ม.2/3 35 4

ม.2/3 18 3 ม.2/3 36 2

5

5.4 ครูออกแบบและสรา้ งชิ้นงานและสือ่ การสอนของหน่วยการเรยี นรู้ Weird Invention โดยทำเปน็ ลักษณะ
ตารางให้นกั เรียนอ่านและกรอกข้อมูลพรอ้ มท้งั แสดงความคิดเหน็ เก่ียวกบั เรื่องท่ีอ่าน โดยนำชน้ิ งานทำเป็น
ไฟล์PDF และนำลงเขา้ เว็บไซต์ Live Worksheets และส่งลงิ้ ค์และไฟลเ์ ข้าใน Google Classroom ให้
นักเรียน และกำหนดวันและเวลาในการส่งงาน

ตวั อย่างชนิ้ งาน

5.5 ดำเนินการสอนตามข้ันตอนดงั ต่อไปน้ี
- Pre-Task ครูชป้ี ระเดน็ สำคัญใหก้ ับผเู้ รียน ดำเนินการดังน้ี
• ครดู ำเนินการนำเข้าสูบ่ ทเรยี นด้วยการสอบถามคำศพั ท์และความหมาย
ของคำศัพท์ทสี่ ำคญั ในบทเรยี น
• ครเู พิม่ เติมความหมายท่ีนักเรียนไมท่ ราบทั้งคำศัพท์และวลีในบทอ่าน
• ครอู ธิบายถึงขัน้ ตอนและวิธีการปฏิบัตงิ านให้นักเรยี นได้ฟัง

ภาพถา่ ยขน้ั ตอน Pre Task ช้ปี ระเดน็ สำคญั เกี่ยวกบั คำศัพทแ์ ละสำนวน

6

- Task cycle (During Task) ครูทำหนา้ ที่เป็นพ่เี ลย้ี ง (Facilitator) ดำเนนิ การดังน้ี
• ครูให้นักเรียนอ่านบทอ่านเรื่อง Weird Invention โดยให้อ่านแบบ
Skimming พร้อมปฏิบัติกิจกรรมในชิ้นงาน หรือ Live Worksheets ที่อยู่
ใน Google Classroom
• ใหเ้ วลานกั เรียนในการปฏบิ ตั กิ จิ กรรม 20 นาที
• นักเรียนสามารถปฏิบัติกิจกรรมในอุปกรณ์ที่เหมาะสมหรือตามความ
สะดวกของนักเรียน
• ครูคอยกำกับดูแล สนับสนนุ แนะนำ

ขนั้ ตอน Task cycle (During Task) ขน้ั ตอนการปฏบิ ตั ิกิจกรรม

7

- Language focus
• ครูเช็คงานใน Google Classroom สุ่มเลือกงานมาเพื่อเป็นตัวอย่างและ
ถามคำถามเกี่ยวกับสิ่งที่นักเรยี นเขยี นในช้นิ งาน
• ครูให้นักเรียนดูบทอ่านพร้อมกันอีกครั้งหนึ่งพร้อมกับร่วมกันเรียนรู้กับ
นกั เรียนวเิ คราะห์หลักภาษาทีใ่ ชใ้ นบทอา่ นทีต่ นเองคน้ พบ
• ครเู นน้ หลักภาษาทีส่ ำคัญในบทอ่านให้กบั นักเรยี น

ตวั อยา่ งชนิ้ งานของนักเรียน

ข้นั ตอน Language Focus

8

5.3 เมอื่ นักเรียนทำกิจกรรมการอา่ นเพ่ือการจับใจความสำเรจ็ แลว้ ให้ผู้เรียนทำแบบทดสอบหลังเรียน

โดยเป็นแบบทดสอบแบบปรนัย 4 ตัวเลอื กจำนวน 8 ข้อ โดยมีผลสัมฤทธ์ิดงั นี้

ชั้น เลขที่ คา่ คะแนน คา่ คะแนน ชนั้ เลขท่ี ค่าคะแนน คา่ คะแนน

The Misunderstood Weird Invention The Misunderstood Weird
Tomato Tomato Invention

ม.2/3 1 5 7 ม.2/3 19 6 8

ม.2/3 2 6 7 ม.2/3 20 4 8

ม.2/3 3 7 7 ม.2/3 21 3 7

ม.2/3 4 5 7 ม.2/3 22 6 7

ม.2/3 5 3 7 ม.2/3 23 3 7

ม.2/3 6 3 6 ม.2/3 24 3 6

ม.2/3 7 4 6 ม.2/3 25 2 5

ม.2/3 8 5 7 ม.2/3 26 2 6

ม.2/3 9 5 6 ม.2/3 27 3 7

ม.2/3 10 1 3 ม.2/3 28 5 6

ม.2/3 11 5 6 ม.2/3 29 4 7

ม.2/3 12 4 6 ม.2/3 30 7 7

ม.2/3 13 4 6 ม.2/3 31 5 8

ม.2/3 14 3 6 ม.2/3 32 4 6

ม.2/3 15 2 5 ม.2/3 33 3 7

ม.2/3 16 4 6 ม.2/3 34 3 7

ม.2/3 17 5 7 ม.2/3 35 4 6

ม.2/3 18 3 6 ม.2/3 36 2 3

คะแนนเฉล่ีย คะแนนเฉลย่ี
The Misunderstood Tomato Weird Invention

3.96 6.35

จากข้อมลู เมื่อเปรียบเทยี บผลสำฤทธท์ิ างการเรียนของนกั เรียนทั้ง 2 หน่วยการเรียนรู้จะเหน็ ไดว้ า่
นกั เรยี นมคี า่ คะแนนเฉล่ียทส่ี ูงขนึ้ โดยจากข้อมูลดงั กล่าวและจากการสังเกตุของครผู ู้สอนทำใหส้ รุปไดว้ ่าการ
เรยี นร้แู บบ Task-Based Learning ทำใหผ้ ู้เรียนมกี ารคิดวิเคราะห์และมีการอ่านแบบจับใจความได้ดขี น้ึ

9

6. ผลการดำเนนิ งาน / ผลลพั ธ์ทเ่ี กิดขนึ้ จริง
6.1 นักเรยี นมีผลสำฤทธ์ทิ ีด่ ีข้ึนในการทดสอบทักษะการอา่ นภาษาอังกฤษ
6.2 นักเรยี นสามารถอา่ นเน้ือเร่อื งและวิเคราะห์เน้ือเร่ืองจนหาใจความสำคัญได้
6.3 นักเรยี นมคี วามตั้งใจในการอา่ นมากย่งิ ขนึ้ และมีสมาธิในการปฏบิ ัตกิ จิ กรรมมากยง่ิ ขึ้น

7. ปัจจัยที่ส่งผลให้การดำเนินงานประสบความสำเรจ็
7.1 การสรา้ งสอ่ื ใหน้ ักเรียนได้เลือกใช้สื่อท่ีเหมาะสมกบั ผูเ้ รียนและระยะเวลาในการปฏบิ ัตงิ านของ

นักเรียนซงึ่ นักเรียนสามารถเลือกใช้ได้ตามความถนดั และสะดวกในการปฏิบตั ิงาน ซึ่งนกั เรยี นในการเรยี นท้งั
On-site และ Online สามารถทำกิจกรรมพรอ้ มกนั ได้

7.2 นกั เรยี นมอี ุปกรณ์ในการทำกิจกรรมท่พี ร้อมในการทำกิจกรม และโรงเรียนมีระบบเครอื ข่ายท่ีทำ
ใหน้ ักเรยี นท่เี รียนแบบ On-site และครูทส่ี อนให้นักเรยี นที่เรียนท้ัง 2 รปู แบบทำกิจกรรมได้เปน็ อย่างดีไม่
ติดขัด

8. อปุ สรรค/ ขอ้ จำกดั / ข้อขัดข้อง ทีพ่ บในการดำเนนิ งาน
8.1 นกั เรยี นบางคนใชเ้ วลาในการปฏิบัติกจิ กรรมเยอะเกนิ เวลาท่ีกำหนด

9. ประเดน็ ที่ไดเ้ รยี นรู้
9.1 ครคู วรหาสื่อการเรียนรู้หรอื วิธกี ารสอนทห่ี ลากหลายเพือ่ ใหผ้ ู้เรียนได้มีความสนุกสนานในการ

เรียนรู้ และใหน้ กั เรียนไดท้ ำกิจกรรมในชัน้ เรยี นใหเ้ ยอะข้ึนเพ่อื เปน็ การสร้างความเข้าใจในการเรียนควบคู่ไป
กับความสนกุ สนานและไม่น่าเบือ่

9.2 ครผู ู้สอนควรหากจิ กรรมเพอื่ สง่ เสริมการอ่านของนักเรียนมากย่งิ ข้ึน หรือหาแบบฝึกทกั ษะการ
อ่านจากทง้ั แบบใหน้ ักเรียนสืบค้นเองและที่ครจู ัดหาให้ เพ่ือใหน้ กั เรียนไดศ้ ึกษาหาความรทู้ อี่ ยนู่ อกเหนือจากใน
บทเรียนโดยใหผ้ เู้ รียนไดฝ้ กึ ฝนทกั ษะได้ด้วยตนเองนอกเหนือจากในเวลาเรยี น

10. ข้อเสนอแนะในการดำเนินงานครง้ั ต่อไป
10.1 การหารปู แบบการเรยี นรู้ทีเ่ หมาะสมกบั ผู้เรยี นในชว่ งการเรยี นทผ่ี สมผสานทั้ง Online และ

On-site ซ่ึงเป็นการเรยี นการสอนในชว่ งของการแพร่ระบาดของเชื้อไวรัส Corona
10.2 ครูควรเน้นกิจกรรมการเรยี นการสอนแบบ Active Learning และเนน้ ผเู้ รยี นเปน็ สำคญั ให้

ผ้เู รียนได้มีส่วนรว่ มในการเรยี นรู้

10

11. นวตั กรรมท่เี กดิ ข้นึ
กระบวนการ Task-Based Learning ในการจดั การเรียนรู้

12. ภาพถา่ ย/ร่องรอย/หลักฐานอ่นื ๆ เช่น แผนการสอน, ตัวอยา่ งผลงานนกั เรียน ประกอบกจิ กรรม PLC
ภาพถ่ายประกอบการจัดการเรียนการสอน

ภาพถา่ ยขัน้ ตอน Pre Task ช้ปี ระเด็นสำคญั เก่ยี วกบั คำศพั ทแ์ ละสำนวน

11
ภาพถา่ ยขนั้ ตอน Task cycle (During Task)

12
ตัวอยา่ งชิ้นงานของนกั เรียน
ข้นั ตอน Language Focus






Click to View FlipBook Version