The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by m.itsayaporn, 2022-03-21 03:24:52

การพัฒนาทักษะการอ่านและการเขียนสะกดคำพื้นฐาน ของนักเรียน ชั้นประถมศึกษาปีที่ 2

วิจัย 64

วจิ ยั ในชั้นเรียน

เรื่อง การพัฒนาทักษะการอา่ นและการเขียนสะกดคำพืน้ ฐาน ของนกั เรยี น
ช้ันประถมศึกษาปีท่ี 2

โดย

นางสาวอิสยาภรณ์ มณบี รริ กั ษ์
นางสาวเทพธิดา มติ รพร

ปีการศึกษา 2564 กลุ่มสาระภาษาต่างประเทศ
โรงเรยี นธิดาแม่พระ จงั หวดั สรุ าษฎร์ธานี

สารบัญ หนา้
1
บทท่ี 1 บทนำ 1
ท่ีมาและความสำคัญของปัญหา 2
วตั ถุประสงค์ของการวิจัย 2
สมมติฐาน 2
ความสำคญั ของการวจิ ยั 2
ขอบเขตการวจิ ัย 3
นยิ ามศพั ท์ 5
5
บทท่ี 2 เอกสารและงานวจิ ยั ที่เกี่ยวข้อง
เอกสารท่เี ก่ียวข้องกบั หลักสตู รแกนกลาง 7
8
เอกสารทเี่ กย่ี วข้องกบั การอ่านและการเรยี น 9
ประเภทของการอ่าน 10
เอกสารที่เกยี่ วข้องกบั ภาษาอังกฤษกบั การใชแ้ บบฝึกทักษะ 11
12
แนวคดิ และทฤษฎที เ่ี กีย่ วกับการสอนทกั ษะการอา่ นวชิ าภาษาองั กฤษโดยใชแ้ บบฝึกทกั ษะ 12
12
เอกสารทเี่ ก่ยี วข้องกบั งานวจิ ยั ท่ีเกีย่ วข้อง 13
บทท่ี 3 วิธีดำเนนิ การวจิ ยั 13
15
ประชากร/กลมุ่ ตัวอยา่ ง 17
เคร่ืองมือที่ใชใ้ นการศึกษา 18
การเก็บรวบรวมข้อมูล
สถติ ิท่ใี ชใ้ นการวิเคราะห์ขอ้ มูล
บทที่ 4 ผลการวเิ คราะห์ข้อมูล
บทท่ี 5 สรุปผล อภิปรายผล และขอ้ เสนอแนะ
บรรณานกุ รม

บทที่ 1
บทนำ
1.ความเป็นมาและความสำคัญของปัญหา

ภาษาองั กฤษนบั ว่าเปน็ ภาษาสากลของโลก ที่ทุกคนใหค้ วามสำคญั อย่างยง่ิ เพราะตั้งแตใ่ นอดตี จนถงึ ปจั จบุ นั
ภาษาองั กฤษมคี วามสำคญั และความจำเปน็ ทีต่ อ้ งใชโ้ ดยเฉพาะการตดิ ต่อสือ่ สารไมว่ ่าจะเปน็ ดา้ นการเขียน
หรอื การพดู อีกท้ังยังเขา้ มาเก่ียวข้องในชวี ิตประจำวัน เชน่ สิ่งของ เคร่ืองใช้ยารักษาโรค รายการวทิ ยุ
โทรทัศน์ อนิ เทอร์เนต็ (internet) สารเคมีทใี่ ช้ในการเกษตร เป็นต้น

ในปัจจุบันนั้นการสอ่ื สารยิ่งต้องใช้เคร่ืองมือท่ีทันสมยั และรวดเรว็ เพือ่ การตดิ ต่อสื่อสารกันทั่วโลก
ภาษาอังกฤษที่แทรกตวั อยู่กับการใช้เคร่ืองมือเหล่านั้น ถ้าผู้ใช้เครื่องมือในการสือ่ สาร ไม่มีความรทู้ างด้าน
ภาษาดงั กลา่ ว ย่อมทำให้เกดิ ปัญหาการส่ือสารตดิ ขัด ล่าช้า นอกจากน้ีภาษาอังกฤษยังแทรกอยู่ตามสื่อต่างๆ ท่ี
พบเห็นได้ทั่วไป ซึ่งทุกคนต้องเรียนรูแ้ ละสัมผัสอยู่ทุกวัน ฉะน้ันการเรยี นภาษา จึงมคี วามจำเปน็ อย่างย่ิงทท่ี ุก
คนตอ้ งเรยี นรู้ ถ้ามีโอกาส ด้วยเหตนุ ้ีจงึ จำเป็นท่ีประเทศไทยต้องพฒั นาบุคลากรในประเทศให้มีความรู้
ความสามารถในการใช้ภาษาอังกฤษ เพอ่ื จะไดเ้ ข้าใจ สามารถส่ือสาร รู้จักเลือกรบั สารสนเทศทมี่ ีประโยชน์
แลว้ นำไปใชใ้ น การพฒั นาการเรียนรู้ การประกอบอาชีพ ตลอดจนนำภาษาอังกฤษไปใช้ได้ถูกต้อง การเรยี น
ภาษาตา่ งประเทศต้องอาศยั กระบวนการคิด และการฝึกฝนการใช้ 2 ภาษาส่อื สารในสถานการณ์ต่างๆ ท้ังใน
และนอกห้องเรียน เพื่อให้ผูเ้ รียนนำภาษาไปใช้ในสถานการณจ์ ริง ทง้ั ภาษาพูดและภาษเขียนใหถ้ กู ต้องตาม
หลกั ไวยากรณ์ เหมาะสมกบั กาลเทศะ และสังคมวัฒนธรรมของการใช้ภาษานั้นๆ นอกจากนย้ี งั ต้องเน้น
ความสามารถในการใช้ภาษาตา่ งประเทศ (ภาษาอังกฤษ) ทีเ่ รยี นเพ่ือเป็นเคร่ืองมือในการคน้ หาความรู้ในการ
เรียนวิชาอน่ื ๆ และในการศกึ ษาต่อ รวมทั้งการประกอบอาชีพ (สำนกั งานทดสอบทางการศึกษา, 2546)
จากการศึกษาการจัดกจิ กรรมการเรยี นการสอนภาษาอังกฤษ พบว่า ทักษะการอ่านมีปญั หาหลาย ประการ มี
นกั การศึกษาและผทู้ ่เี ก่ยี วข้องหลายๆคนได้พยายามแก้ไข ปรบั ปรุงและพัฒนาประสทิ ธิภาพการ อา่ น เช่น ดวง
สมร อปราชิตา (2547: บทคัดย่อ ) ได้ศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนบทเรยี นการสอนภาษาอังกฤษดว้ ยหนงั สือ
การต์ ูน สำหรับนักเรียนช้ันมธั ยมศึกษาปีท1ี่ โรงเรียนท่าเรอื พทิ ยาคม อำเภอท่ามะกา จงั หวัดกาญจนบุรี พบว่า
บทเรียนการสอนอ่านภาษาอังกฤษดว้ ยหนังสือการ์ตูนมีประสิทธิภาพ เท่ากบั 83.75/80.43 สงู กว่าเกณฑ์ที่ตัง้
ไว้80/80 นักเรียนทเี่ รียนโดยใช้บทเรียนการสอนอา่ นภาษาอังกฤษด้วย หนงั สอื การต์ นู มีคะแนนหลังการเรยี น
สูงกว่ากอ่ นเรยี นอย่างมีนัยสำคญั ทางสถิตทิ รี่ ะดับ 0.01

จากการศึกษาสภาพปญั หาการเรียนการสอนภาษาอังกฤษในช้ัน ประถมศึกษาปีท่ี 2 โรงเรยี นธิดาแม่
พระ พบว่า นักเรียนไม่สามารถอ่านและเขียนสะกดคำ ภาษาอังกฤษไดค้ นทีอ่ า่ นได้ก็มีจำนวนน้อยมากจึงเป็น
ปญั หาส่งผลให้นักเรียนมผี ลสมั ฤทธ์ิทางการเรยี นภาษาอังกฤษต่ำ ด้วยเหตนุ ้ีผู้วจิ ัยจงึ สรา้ งแบบฝกึ ทักษะการ
อ่านและการเขียนสะกดคำ ภาษาอังกฤษช้ันประถมศึกษาปีท่ี2 เพื่อใช้ในการสอนอ่านและเขียนสะกดคำ
ภาษาอังกฤษ ซ่ึงจะทำให้ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนสูงขนึ้ และเพอ่ื เปน็ แนวทางการจัดกจิ กรรมการเรียนรู้
ภาษาอังกฤษให้มปี ระสทิ ธภิ าพต่อไป

1

วตั ถุประสงค์
1. เพ่ือพัฒนาแบบฝึกทักษะการอา่ นและการเขียนสะกดคา ภาษาอังกฤษ ของนักเรยี นชั้น
ประถมศึกษาปที ่ี 2 ให้มีคุณภาพตามเกณฑ์ 80/80
2. เพอ่ื เปรยี บเทยี บผลสัมฤทธ์ิทาการเรียนก่อนการใช้แบบฝกึ กับหลังการใช้แบบฝกึ ทักษะ การอา่ น
และการเขียนสะกดคำ ภาษาอังกฤษ ของนกัเรยี นชั้นประถมศึกษาปีท่ี 2

สมมุติฐานการวิจยั
นักเรียนช้ันประถมศกึ ษาปีที่ 2 ทีไ่ ด้รบั การจัดการเรียนรู้โดยใช้แบบฝกึ ทักษะการอ่านและการเขียน

สะกดคำ ภาษาอังกฤษ มที ักษะในการอ่านและเขยี นสะกดคำภาษาอังกฤษดีข้ึน
ขอบเขตการวจิ ยั

1. ด้านเน้อื หา
การพัฒนาการอ่านภาษาอังกฤษ ของนักเรยี นชั้นประถมศึกษาปีท่ี2 โดยใช้แบบฝึกทักษะการ

อา่ นและเขยี นสะกดคำภาษาอังกฤษ กลมุ่ สาระการเรียนร้ภู าษาต่างประเทศ(ภาษาอังกฤษ) ชั้นประถมศึกษาปี
ท่ี 2 มีทงั้ หมด 10 เร่อื ง ดงั น้ี

1. body vocabularies.
2. family vocabularies.
3. occupation vocabularies.
4. animal vocabularies.
5. fruit vocabularies.
6. food vocabularies.
7. vegetable vocabularies.
8. weather vocabularies.
9. transportation vocabularies.
10. sport vocabularies.

2

2.ประชากรและกลมุ่ ตวั อยา่ ง
นักเรียนช้นั ประถมศึกษาปที ่ี 2 โรงเรียนธิดาแม่พระ อำเภอเมือง จงั หวัดสุราษฎรธ์ านี

ภาคเรยี นที่ 1 ปีการศกึ ษา 2564 จำนวน 20 คน ซึ่งไดม้ าโดยกำหนดแบบเจาะจง

3. ตัวแปรที่วิจยั
3.1 ตัวแปรต้น ไดแ้ ก่ การสอนโดยใช้แบบฝกึ ทักษะการอา่ นและการเขยี นสะกดคำ

ภาษาอังกฤษ
3.2 ตัวแปรตาม ได้แก่ ผลสมั ฤทธิ์ดา้ นการอา่ นและการเขียนสะกดคำภาษาอังกฤษ ของ

นักเรียนชั้น ประถมศึกษาปที ่ี 2

นิยามศัพทเ์ ฉพาะ
1. ทักษะการอ่านและการเขียนสะกดคำภาษาอังกฤษ หมายถึง ความสามารถในการอ่านและการ

เขยี นสะกดคำ ภาษาอังกฤษของนักเรียนชั้น ประถมศึกษาปีที่ 2
2. แบบฝึกทักษะ หมายถึง สื่อการเรียนการสอนที่ใช้ฝึกทักษะกับผู้เรียน เพื่อฝนให้เกิดความรู้ความ

เขา้ใจ รวมท้ังเกิดความชำนาญในเรื่องการอ่านและการเขียนสะกดคำ ภาษาอังกฤษที่ผู้วิจัยสร้างข้ึน
ประกอบดว้ ย

1. body vocabularies.

2. family vocabularies.

3. occupation vocabularies.

4. animal vocabularies.

5. fruit vocabularies.

6. food vocabularies.

7. vegetable vocabularies.

8. weather vocabularies.

9. transportation vocabularies.

10. sport vocabularies.

3. นักเรียน หมายถึง นักเรียนท่ีกำลังศึกษาอยู่ในช้ันประถมศึกษาปีที่ 2 ปีการศึกษา 2564 โรงเรียน
ธิดาแม่พระ จำนวน 20 คน

4. ประสทิ ธิภาพของแบบฝึกทักษะ หมายถงึ เกณฑ์ทใ่ี ชใ้ นการกำหนดประสิทธิภาพของแบบฝึก
ทกั ษะการอา่ นศพั ทภ์ าษาอังกฤษโดยผวู้ จิ ัยตงั้ เกณฑไ์ ว้ 80/80 คือ

3

80 ตัวแรก หมายถึงผลรวมเฉลี่ยของคะแนนจากการนา แบบทดสอบระหว่างเรียนของ
นักเรียนไดถ้ กู ต้อง คิดเป็นรอ้ ยละ 80

80 ตวั หลัง หมายถงึ ผลรวมเฉลีย่ ของคะแนนจากการท าแบบทดสอบหลงั เรยี นของนักเรียน
ไดถ้ ูกตอ้ ง คิดเปน็ ร้อยละ 80

5. แบบทดสอบวดั ผลสัมฤทธท์ิ างการเรยี น หมายถงึ แบบทดสอบทีใ่ ช้วัดความรภู้ าษาอังกฤษหลังจาก
ที่เรียนโดยใช้แบบฝกึ ทักษะการอ่านและการเขยี นสะกดคำ ภาษาอังกฤษ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียนธิดา
แมพ่ ระ จำนวน 20 คนผู้วจิ ยั สรา้ งข้ึน เป็นแบบทดสอบแบบ 3 ตวั เลอื ก

ประโยชนท์ ค่ี าดว่าจะได้รับ
1. ได้แบบฝึกทักษะการอ่านและการเขียนคำภาษาอังกฤษ สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 2

เพ่อื ให้ครูผู้สอนใช้ในการจัดกจิ กรรมเพื่อพัฒนาทักษะกระบวนการอ่านและการเขยี นสะกดคำ ภาษาอังกฤษ
2. นำข้อค้นพบที่ได้จากการวิจัยคร้ังน้ีไปประยุกต์ใช้เป็นแนวทางในการสอนอ่านออกเสียงและการ

เขยี นสะกดคำภาษาอังกฤษ เพ่ือเพ่ิมผลสัมฤทธิ์ทางการเรยี นวชิ าภาษาอังกฤษของนักเรยี นให้สูงขนึ้

กรอบแนวคดิ ในการวิจยั
การวิจัยคร้ังน้ีผู้วิจัยได้ดำเนินการศึกษาการพัฒนาทักษะการอ่านและการเขียนสะกดคำภาษาอังกฤษ

ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 โดยใช้แบบฝกึ เสริมทักษะ ตามแผนภมู แิ สดงกรอบแนวคดิ ในการวิจยั ดังนี้

1. body vocabularies. ตัวแปรอสิ ระ
2. family vocabularies.
3. occupation vocabularies. ตวั แปรตาม
4. animal vocabularies.
5. fruit vocabularies. ผลสมั ฤทธิท์ างการเรยี นดา้ นการอ่านและ
6. food vocabularies. การเขยี นสะกดคาภาษาองั กฤษของ
7. vegetable vocabularies. นกั เรยี นชนั้ ประถมศกึ ษาปีท่ี 2
8. weather vocabularies.
9. transportation vocabularies.
10. sport vocabularies.

4

บทท่ี 2
เอกสารและงานวจิ ยั ทเ่ี กยี่ วข้อง

วจิ ยั เรื่อง การพฒั นาทักษะการอา่ นและการเขียนสะกดคำพนื้ ฐาน ของนกั เรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 2

ผูศ้ ึกษาได้ศกึ ษาเอกสารและงานศกึ ษาที่เกี่ยวขอ้ ง ดงั นี้

1. เอกสารเกีย่ วกบกั ารเรยี นการสอนภาษาอังกฤษ
1.1 หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพนื้ ฐานพทุ ธศักราช 2551
สาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ
1.2 จิตวิทยาการสอนอา่ นภาษาอังกฤษ

2. เอกสารทีเ่ กย่ี วของ้ กบกั ารอา่ นและการเขียน
2.1 ความหมายของการอ่าน
2.2 จดุ มงุ่ หมายในการอา่ น
2.3 ประเภทของการอ่าน
2.4 การสอนอ่านออกเสยี ง
2.5 การวัดและประเมินผลด้านการอา่ น

3. เอกสารเกี่ยวกบัการสอนภาษาอังกฤษโดยใช้แบบฝึกทักษะ
4. แนวคิดและทฤษฎที ีเ่ กย่ี วกบกั ารสอนทักษะการอ่านวิชาภาษาอังกฤษโดยใช้แบบฝกึ ทกั ษะ
5. งานวิจัยที่เกยี่ วข้อง

5.1 งานวิจยั ในประเทศ
5.2 งานวิจัยต่างประเทศ

1. หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขัน้ พ้ืนฐานพทุ ธศักราช 2551
ความสำคญั ของภาษาต่างประเทศ
ในสังคมโลกปจั จบุ ัน การเรยี นรู้ภาษาต่างประเทศมคี วามสำคัญและจาเปน็ อย่างย่งิ ใน

ชวี ิตประจำวนั เนือ่ งจากเปน็ เครอ่ื งมือสำคัญในการติดตอ่ ส่ือสาร การศึกษา การแสวงหาความรู้ การประกอบ
อาชีพ การสรา้ งความเข้าใจเก่ียวกับวัฒนธรรมและวสิ ัยทัศน์ของชมุ ชนโลก และตระหนกั ถึงความหลากหลาย
ทาวฒั นธรรมและมุมมองของสงั คมโลก นามาซ่งึ มติ รไมตรแี ละความร่วมมือกบั ประเทศต่างๆ ชว่ ยพัฒนา
ผเู้ รยี นใหม้ ีความเข้าใจตนเองและผ้อู ่ืนดีขน้ึ เรียนรู้และเขา้ ใจความแตกต่างของภาษาและวฒั นธรรม
ขนบธรรมเนยี มประเพณี การคิด สังคม เศรษฐกิจ การเมือง การปกครอง มีเจตคตทิ ่ีดีต่อการใช้
ภาษาตา่ งประเทศ และใช้ภาษาต่างประเทศเพ่ือการสื่อสารได้ รวมท้งั เข้าถงึ องค์ความรู้ตา่ งๆ ไดง้ ่ายและกวา้ ง
ขน้ึ และมีวสิ ัยทัศน์ในการดาเนินชวี ติ
กลุ่มสาระการเรยี นรูภ้ าษาต่างประเทศ มงุ่ หวังให้ผูเ้ รยี นมีเจตคตทิ ีด่ ีต่อภาษาต่างประเทศ สามารถใช้
ภาษาต่างประเทศ ส่อื สารในสถานการณ์ตา่ ง ๆ แสวงหาความรู้ ประกอบอาชีพ และศึกษาต่อ ในระดบั ที่สูงข้ึน
รวมท้งั มคี วามรู้ความเข้าใจในเร่อื งราวและวัฒนธรรมอนั หลากหลายของประชาคมโลก และสามารถถา่ ยทอด
ความคิด และวัฒนธรรมไทยไปยังสงั คมโลกไดอ้ ยา่ งสรา้ งสรรค์ประกอบด้วยสาระสำคัญ ดงั น้ี

5

1. ภาษาเพือ่ การสื่อสาร การใชภ้ าษาตา่ งประเทศในการฟัง-พูด-อ่าน-เขยี น แลกเปลีย่ นขอ้ มูล ข่าวสาร แสดง
ความรสู้ ึกและความคิดเห็น ตคี วาม นาเสนอข้อมูล ความคิดรวบยอดและความคดิ เหน็ ในเร่อื งตา่ งๆ และสร้าง
ความสมั พันธ์ระหว่างบุคคลอยา่ งเหมาะสม
2. ภาษาและวฒั นธรรม การใช้ภาษาตา่ งประเทศตามวัฒนธรรมของเจ้าของภาษาความสัมพนั ธ์ ความเหมือน
และความแตกต่างระหว่างภาษากับวฒั นธรรมของเจ้าของภาษา ภาษาและวัฒนธรรมของเจา้ ของภาษากบั
วัฒนธรรมไทย และนาไปใช้อย่างเหมาะสม
3. ภาษากบั ความสัมพันธก์ ับกล่มุ สาระการเรียนรู้อื่น การใช้ภาษาต่างประเทศในการเช่อื มโยงความรกู้ ับกล่มุ
สาระการเรียนรู้อืน่ เป็นพื้นฐานในการพัฒนา แสวงหาความรู้ และเปิดโลกทศั น์ของตน
4. ภาษากับความสมั พันธก์ บั ชมุ ชนและโลก การใช้ภาษาต่างประเทศในสถานการณต์ ่างๆ ทง้ั ในหอ้ งเรยี น
และนอกห้องเรยี น ชมุ ชน และสงั คมโลกเป็นเคร่ืองมือพน้ื ฐานในการศึกษาต่อ ประกอบอาชพี และแลกเปลี่ยน
เรียนรกู้ ับสังคมโลก
สาระและมาตรฐานการเรียนรู้
สาระที่ ๑ ภาษาเพอ่ื การสื่อสาร
มาตรฐาน ต ๑.๑ เข้าใจและตีความเร่ืองทฟ่ี งั และอ่านจากส่ือประเภทต่างๆและแสดงความคดิ เห็นอย่างมี
เหตุผล
มาตรฐาน ต ๑.๒ มีทกั ษะการสื่อสารทางภาษาในการแลกเปลย่ี นขอ้ มลู ข่าวสาร แสดงความรสู้ ึก และ ความ
คิดเห็นอย่างมีประสิทธภิ าพ
มาตรฐาน ต ๑.๓ นาเสนอขอ้ มูลขา่ วสาร ความคิดรวบยอด และความคิดเหน็ ในเรือ่ งตา่ งๆ โดยการพูดและการ
เขยี น
สาระที่ ๒ ภาษาและวัฒนธรรม
มาตรฐาน ต ๒.๑ เข้าใจความสัมพนั ธร์ ะหว่างภาษากับวัฒนธรรมของเจา้ ของภาษา และนาไปใชไ้ ดอยา่ ง
เหมาะสมกบั กาลเทศะ
มาตรฐาน ต ๒.๒ เข้าใจความเหมอื นและความแตกตา่ งระหวา่ งภาษาและวฒั นธรรมของเจา้ ของภาษากับ
ภาษาและวฒั นธรรมไทย และนามาใชอ้ ย่างถกู ตอ้ งและเหมาะสม
สาระที่ ๓ ภาษากับความสัมพนั ธก์ ับกลุ่มสาระการเรียนรูอ้ นื่
มาตรฐาน ๓.๑ ใชภ้ าษาตา่ งประเทศในการเชือ่ มโยงความรู้กบั กลุ่มสาระการเรยี นรู้อน่ื และเป็น พ้ืนฐานในการ
พฒั นา แสวงหาความรู้ และเปิดโลกทศั น์ของตน
สาระที่ ๔ ภาษากบั ความสัมพนั ธ์กบั ชุมชนและโลก
มาตรฐาน ต ๔.๑ ใช้ภาษาต่างประเทศในสถานการณต์ า่ งๆ ทงั้ ในสถานศึกษา ชุมชน และสงั คม
มาตรฐาน ต ๔.๒ ใช้ภาษาต่างประเทศเป็นเครื่องมือพื้นฐานในการศึกษาต่อ การประกอบอาชีพ และการ
แลกเปลย่ี นเรยี นร้กู บั สังคมโลก

1.2 จติ วิทยาการสอนภาษาองั กฤษ
เสงยี่ ม ไตรตั น์ (2543) ไดแ้ บ่งจติ วิทยาการเรียนรภู้ าษาอังกฤษ ออกเป็นดังนี้
1. การเรยี นรู้ภาษาเปน็ ขบวนการที่ซับซ้อน ต้องอาศยั ความคุ้นเคยกับทกั ษะต่างๆ

การทีท่ ักษะจะดหี รือไม่ดขี ึ้นอยู่กับองคป์ ระกอบย่อยของแต่ละทักษะ เม่ือนักเรยี นมคี วามสามารถ แต่ละ
ทักษะตา่ งๆ เป็นอย่างดีก็หมายถึงความสามารถใช้ภาษาเพ่ือการสื่อสารได้ดดี ว้ ย

6

2. แรงจูงใจเปน็ สิง่ สำคัญในการเสริมแรง และเป็นการสรา้ งความเข้าใจใน การเรียนภาษา
การใหค้ ำชมเชย รางวัล การจัดสภาพหอ้ งเรยี นท่ีส่งเสรมิ บรรยากาศทางการเรียนจะช่วยใหน้ ักเรียนพฒั นาการ
ใช้ภาษาอย่างดี

3. การจดั กจิ กรรมในห้องเรียน มงุ่ ให้นกั เรยี นเกิดความรูส้ กึ ถงึ ความสำเรจ็ ความม่ันใจและ
ความปลอดภัยในการเรียน

4. การฝึกภาษาควรจะฝึกใช้ใหเ้ หมอื นสภาพความจรงิ ในชวี ิตประจำวนั เพ่ือนกั เรยี นจะได้
เลง็ เห็นประโยชนข์ องการเรียน

5. การทบทวนสง่ิ ทเี่ รยี นมาแล้วอย่างสม่ำเสมอจะช่วยให้นักเรียนจดจำได้
6. การทบทวน การฝึกหัด ควรคำนงึ ถึงเวลา และช่วงความสนใจของการเรยี นด้วย
7. การเรม่ิ ต้น เนื้อหาใหม่ ควรจะสัมพันธแ์ ละสอดคล้องกับสภาพแวดล้อมและประสบการณ์
ของนักเรียนเพ่ือให้นักเรียนเช่อื มโยงความรู้ใหมก่ ับความรูเ้ กา่ ได้ดี

2. เอกสารเก่ยี วกับการอ่านและการเขียน
2.1 ความหมายของการอา่ น
การอ่านเปน็ ทักษะทมี่ คี วามสำคัญในชวี ตปิ ระจำวัน เพราะการอา่ นจะทำให้ไดร้ บั ความรู้

ความเพลิดเพลิน ก่อใหเ้ กิดความเข้าใจแนวคดิ อารมณแ์ ละจนิ ตนาการได้ นอกจากน้ันการอ่านยังมบี ทบาท
สูงสดุ ในการเลา่ เรยี นด้วยเหตุน้ันนักการศึกษา นักจติ วทิ ยา นักภาษาศาสตร์ หลายท่านให้ความเหน็ เก่ียวกับ
ความหมายของการอ่านไวดังนี้

บันลอื พฤกษะวัน (2545) ได้ให้ความหมายของการอา่ นไว้ดังน้ี
1. การอ่าน คือ การผสมเสียงของตัวอกั ษรหรือสะกดตัวผสมคำ ซ่งึ ระยะหนึ่ง

เรยี กวา่ “อา่ นออก” เพอื่ มงุ่ ให้อา่ นหนังสอื ได้ถูกต้อง แตกฉาน ขยายประสบการณ์ในการอา่ นคำ โดยตรง
2. การอา่ น เปน็ การใช้ความสามารถในการผสมผสานของตัวอกั ษรออกเสยี งเปน็

คำ เปน็ ประโยค ทำให้เกดิ ความเข้าใจความหมายของสิ่งที่อ่าน ซ่ึงผู้ฟังฟังแล้วรูเ้ ร่ือง เรียกว่า“อ่านได้”
3. การอ่าน เปน็ การใช้เทคนิคการจำ รปู คำ (word’s figuration) เข้าใจรปู ประโยค

แล้วสรปุ เรอ่ื งราว เขา้ ใจเร่ืองราวท่ผี ู้เขยี นส่อื ความคดิ มายังผู้อ่าน คือ อ่านแล้วสามารถประเมินผลของสิง่ ท่ีอ่าน
ได้เรียกว่า “อ่านเป็น”

4. การอ่าน เปน็ การพัฒนาความคดิ โดยผู้อา่ นใช้ความสามารถหลายๆด้านนับตง้ั แต่
การสังเกต การจำ รูปคำ การใช้ประสบการณเ์ ดมิ มาแปลความ ตคี วาม หรอื ถอดความให้เกิดความเข้าใจ
เร่อื งราวท่อี ่านไดด้ ีตลอดจนนำส่งิ ทอ่ี ่านมาใช้เปน็ ประโยชน์เป็นแนวคดิ แนวปฏบิ ัติไดด้ ี

2.2 จุดมุ่งหมายในการอ่าน
นกั ภาษาศาสตร์และผู้เช่ยี วชาญทางด้านภาษาได้แบง่ จดุ มุ่งหมายของการอ่านออกเปน็ ดงั น้ี
พนั ธท์ุ ิพา หลายเลศิ บุญ (2535) สมพร มนัตะสูตร (2534) และชุลี อนิ มั่น (2533) มีความ

คดิ เหน็ ท่สี อดคล้องกนั ว่าจดุ มุ่งหมายของการอ่านคือ
1. อ่านเพื่อรอบรู้ การอ่านเพื่อรอบรู้มีวัตถุประสงค์ย่อย ๆ 6 ประเดน็ คือเพ่ือหาคำตอบในส่งิ

ท่ีตอ้ งการ ได้แก่ การอ่านคำ แนะนำ การอ่านเพ่ือตอบปญั หาทีข่ ้องใจอยู่ การอ่านเพื่อค้นหาความรตู้ ่างๆ ท้ัง
โดยย่อและอย่างละเอยี ดการอ่านเพ่ือรับรขู้ า่ วสาร ข้อเท็จจริงการอา่ นเพื่อศึกษาค้นคว้าเปน็ พิเศษ เพ่ือนำไปใช้
ประโยชนเ์ รื่องใดเร่ืองหน่ึงหรือเพื่อเขียนตำราวิชาการ อา่ นเพ่ือรวบรวมขอม้ ลู นา มาทำรายงาน ทำการวิจัย

7

เผยแพรใ่ นหมู่นักวิชาการ ผู้สนใจทว่ั ไปอนั เปน็ ประโยชน์แก่ส่วนรวมเปน็ การอ่านเพอ่ื ต้องการรู้ในสงิ่ ท่ผี ู้อ่าน
เปน็ ปัญหาหรือต้องการใหค้ วามรขู้ องตนเองงอกเงยหรือต้องการเพื่อประกอบอาชพี การอ่านจงึ เน้นถึงความรู้
ในวิทยาการแขนงตา่ งๆ

2. อา่ นเพื่อความคดิ การอา่ นเพ่ือใหเ้ กดิ ความคิด เปน็ การอ่านทีแ่ สดงทัศนะทไ่ี ดจ้ ากการอา่ น
วสั ดุส่ิงพิมพ์ซึ่งได้แก่ บทความ บทวิจารณ์ บทวิจยั ตา่ งๆ การอา่ นลักษณะนี้เปน็ การอา่ นเพื่อทำความเขา้ ใจ
แนวคดิ สำคญั การจดั ลำดับข้ันแนวความคดิ ของผู้เขียนพร้อมทงั้ พิจารณาหาเหตผุ ลและแรงจูงใจในการเขียน
เร่อื งนน้ั ขน้ึ มา

3. อา่ นเพื่อความบันเทงิ เป็นการอ่านหนังสือเพื่อการพักผ่อน ผ่อนคลายอารมณ์และเป็นการ
อ่านทีช่ ว่ ยให้เกดิ ความบันเทิงควบคไู่ ปกับความคิด ได้แก่ การอา่ นหนังสือประเภทเร่ืองส้ัน นิทาน นิยาย
นวนยิ าย บทละคร ทง้ั ระดับท่ีเปน็ วรรณกรรม หรือวรรณคดีโดยมีจุดมงุ่ หมายในการอ่านเพือ่ ความเริงรมย์เป็น
สำคญั

4. อา่ นเพื่อหาความคิดแปลกใหม่ เป็นกระบวนการให้เกดิ ความคิดสรา้ งสรรค์ในตวั ผู้อา่ น
เช่น การอ่านผลการทดลอง การค้นคว้าวจิ ยั และการสเนอความคดิ ใหมใ่ นหนังสือตา่ งๆ ซึ่งอาจหาได้จาก
หนงั สือสารคดีและบันเทงิ คดี

5. การอ่านเพอื่ ปรับปรุงบคุ ลิกภาพเป็นท่ยี อมรับกันโดยท่ัว ไปว่าการอ่านเป็นการพัฒนา
ความรคู้ วามคิดและทัศนคติได้ดยี งิ่ ขึ้น ผู้รักการอ่านจึงเป็นคนทันสมยั นา่ คบ สามารถที่จะเข้าร่วมสนทนากับ
ทุกชนช้ัน เพราะรับรู้ข่าวสารและพร้อมทจี่ ะแลกเปล่ยี นความร้ขู ่าวสารกับผู้อืน่ ได้ เนื่องจากการอา่ นมากย่อม
ทำให้รู้มาก ทำใหบ้ ุคคลเป็นท่ียอมรับของสงั คม เน้ือหาขา่ วสารบางประการในหนังสอื จะทำให้ผู้อา่ นนำมา
ปรับปรุงบุคลิกภาพของตนได้เป็นนอยา่ งดีการอ่านจึงชว่ ยพัฒนาบุคลกิ ภาพได้เปน็ อย่างดี

6. อ่านเพ่ือสนองความต้องการอนื่ ๆ เปน็ การอ่านที่ใช้ในการชว่ ยชดเชยความต้องการของ
คนเราที่ยงั ขาดอยู่ เชน่ ความต้องการความม่ันคงในชวี ติ ต้องการเปน็ ทย่ี อมรับของกลุ่ม การอ่านจงึ มสี ่วนช่วย
ชดเชยความต้องการโดยผู้อา่ นใช้หนงั สือในการแก้ปัญหาของตนเองเพื่อขยายขอบเขตของความสนใจในสง่ิ ใหม่
หรือเพ่ือสร้างภาพอารมณท์ ่ีต้องการ เชน่ เมื่อเกดิ ความรสู้ กึ เหน่ือย กลุ้มใจ ผู้อ่านมกั จะไปพง่ึ หนงั สอื เบาๆ
เรอื่ งท่เี คยร้จู ัก หรอื เคยอา่ นสนกุ สนานมาอ่าน แต่บางคร้ังก็อยากจะอา่ นเรือ่ งใหมๆ่ แนวทางใหมๆ่ เพ่อื ปรบั ตวั
ให้เขา้ กบั วิถีการดำรงชวี ิต

2.3 ประเภทของการอ่าน
ทพิ วลั ย์ มาแสง (2532) และ ฉวีวรรณ บญุ ยะกาญจน (2523, อ้างถึงใน ลมโชย ด่านขนุ ทด, 2544)
ไดแ้ บง่ ประเภทของการอา่ นอย่างกว้างๆ ไว้ดว้ ยกนั 2 ประเภท คอื การอา่ นในใจ (Silent Reading) และการ
อ่านออกเสยี ง (Oral Reading)

2.3.1 การอ่านในใจ (Silent Reading) การอ่านในใจ เป็นการถ่ายทอดตัวอักษรออกมาเปน็
ความคดิ โดยตรง โดยผู้อา่ นมีจดุ ม่งุ หมายจะจับใจความอย่างรวดเรว็ ร้เู ร่ืองเรว็ และถกู ต้อง การอา่ นในใจชว่ ย
ให้เขาใ้ จเนื้อความได้เรว็ กว่าการอ่านออกเสยี ง เพราะผู้อา่ นไมต่ ้องแบ่งสมองไว้สำหรับการแปลงความคดิ
ออกมาเป็นเสียง เม่ือเบ่ือก็หยุดพกั ได้หลักสำคัญของการอ่านในใจ คอื ความแม่นยา ในการจับตาดูตัวหนังสอื
การเคล่ือนสายตาจากคำต้นวรรคไปสู่คำท้ายวรรค และการแบ่งชว่ ยระหว่างวรรคหนึ่ง ผ่านไปสูว่ รรคหน่ึง
ความแมน่ ยำ ในการกวาดสายตาเปน็ สง่ิ ทีจ่ ะต้องฝึกใหเ้ ร็ว จงึ จะสามารถเก็บคำได้ครบทุกคำ การเปลีย่ น
บรรทดั ตอ้ งคล่องแคลว่ เม่ือจบย่อหน้าหนึ่งควรหยุดคิดเล็กน้อย เพื่อสรปุ ความคิดว่า ย่อหน้าท่อี ่านจบลง
กล่าวถึงอะไร เนื้อความสำคัญอยู่ทใ่ี ด

8

2.3.2 การอา่ นออกเสียง (Oral Reading)
การอ่านออกเสียง เปน็ การอา่ นท่ีต้องการความถูกต้องในเรอื่ งของเสียง เสียงสูงต่ำ จงั หวะ การหยุด วรรคตอน
ให้ถูกต้องชัดเจน เป็นกระบวนการต่อเนื่องระหว่างสายตา สมองและการเปลง่ เสียงออกทางชอ่ งปาก นั่นคือ
สายตาจะตอ้ งจับจอ้ งตัวอักษรและเคร่ืองหมายต่างๆ ทีเ่ ขยี นไว้แล้วสมองจะต้องประมวลให้เปน็ ถ้อยคำ จากนน้ั
จึงเปล่งเสยี งออกมา การอ่านออกเสยี งจะต้องเก่ียวข้องกับผู้ฟังดว้ ย เพราะเป็นวิธสี ื่อความหมายให้เกิดความ
เขา้ ใจกนั ไดภ้ ารกจิ ของผู้อา่ นคอื อ่านสารเดิมท่ีมีผู้เขียนไว้แลว้ ถา่ ยทอดไปสผู่ ู้ฟงั โดยท่จี ะต้องพยายามรกั ษา
สารเดมิ เอาไวใหไ้ ด้อยา่ งสมบูรณ์ที่สดุ
ลักษณะของการอา่ นออกเสียงทดี่ ีสรุปได้ดงั น้ี
1. ศึกษาเร่ืองท่ีอ่านให้เข้าใจเสียก่อน
2. อย่าอา่ นเร็วเกนิ ไป หรอื ช้าเกนิ ไป
3. แบง่ ประโยคเปน็ ข้อความส้ันๆ ไดอ้ ย่างเหมาะสม
4. ต้องรู้จักเนน้ เสยี งพอเหมาะแก่เรื่อง
5. อ่านให้ดังพอทจ่ี ะได้ยินทวั่ ไป
6. อ่านให้คล่องชัดถอ้ ยชัดคำ
7. ร้จู ักวิธอี า่ นเร่ืองตามประเภทของเรอ่ื ง ซ่ึงเรียกว่า “อ่านตีบท”
8. ผู้อา่ นไม่ยกหนังสือหรือเอกสารท่ีอ่านบังหน้าตนเอง
9. ผู้อา่ นควรวางสหี น้าให้เปน็ ปกติ มีอาการอนั เป็นธรรมชาติ
10. อา่ นให้ผอู้ น่ื ฟังได้ ต้องไม่เอาตนเองเป็นมาตรฐาน

3. เอกสารเก่ยี วกบั การสอนภาษาอังกฤษโดยใช้แบบฝกึ ทักษะ
3.1 ความหมายและความสำคญั ของแบบฝกึ ทกั ษะ
แบบฝึกหรือแบบฝกึ หัดเปน็ ส่ือการเรยี นการสอนประเภทหน่งึ ทีใ่ หน้ กั เรยี นได้ฝกึ ปฏบิ ัตเิ พื่อให้

เกิดความรู้ความเข้าใจและทักษะเพิ่มเติมขึ้น ส่วนใหญ่หนังสอื เรยี นจะมีแบบฝกึ หัดท้ายบทเรียน ในบางวชิ า
แบบฝึกหัดจะมีลักษณะเป็นแบบฝกึ ปฏิบตั ิ (สำนกั งานคณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ, 2537 : 147)

สนอง คำศรี (2537 : 147) กล่าวว่า แบบฝกึ หัดเป็นสงิ่ ท่ชี ว่ ยให้นกั เรยี นประสบผลสำเร็จใน
การเรยี นการสอน ดังนนั้ แบบฝกึ หัดจะมีลักษณะที่ก่อให้เกดิ ความสนกุ สนาน ความพอใจในการเรียนให้กบั
นกั เรียน

ขจีรัตน์ หงสป์ ระสงค์ (2534) กล่าวว่า แบบฝึกเปน็ อปุ กรณ์การเรยี นการสอน อย่างหน่ึง
ท่คี รูใช้ฝกึ ทักษะ หลังจากท่ีนักเรียนไดเ้ รียนเน้ือหาจากบทเรยี นแล้ว โดยสรา้ งขึ้นเพื่อเสริมทกั ษะให้แก่
นักเรยี น มีลักษณะเป็นแบบฝึกหัด ทมี่ ีกิจกรรมใหน้ ักเรยี นกระทำโดยมจี ดุ มุ่งหมายเพ่ือพัฒนาความสามารถ
ของนักเรียน

3.2 รปู แบบของแบบฝกึ ทักษะ
1. แบบถูกผดิ เป็นแบบฝึกทีเ่ ป็นประโยคบอกเลา่ ให้ผเู้ รยี นอ่านแล้วเลอื กใสเ่ ครื่องหมายถูก

หรอื ผดิ ตามดลุ ยพนิ ิจของผเู้ รียน
2. แบบจับคู่ เปน็ แบบฝึกท่ีประกอบด้วยคำถามหรอื ตัวปัญหาซึ่งเป็นตัวยืนไว้ในสดมภ์

ซา้ ยมือโดยมีทวี่ ่างไว้หนา้ ข้อเพอื่ ให้เรียนเลือกหาคำตอบที่กำหนดไวในสดมภ์ขวามือมาจับคกู่ ับคำถามให้
สอดคล้องกันโดยใช้หมายเลขคำตอบไปวางไวท่ีว่างหน้าข้อคำถาม หรือจะใช้โยงเสน้

9

3. แบบเติมคำ หรือแบบเตมิ ข้อความ เปน็ แบบฝกึ ท่ีมีข้อความไว้ใหแ้ ตจ่ ะเว้นช่องว่างไว้ให้
ผู้เรียนเตมิ คำ หรอื ขอ้ ความที่ขาดหายไป ซ่ึงคำที่นำมาเติมอาจใหเ้ ตมิ อย่างอสิ ระหรือกำหนดตัวเลอื กใหเ้ ติมก็ได้

4. แบบหลายตวั เลือกเปน็ แบบฝกึ เชงิ แบบทดสอบ โดยมี 2 ส่วน คอื สว่ นทเ่ี ปน็ คำถาม ซึ่ง
จะตอ้ งเป็นประโยคคำถามทส่ี มบูรณช์ ัดเจน สว่ นท่ี 2 เป็นตัวเลือก คือคำตอบซ่ึงอาจมี 3-4 ตัวเลือกก็ได้
ตัวเลอื กท้ังหมดจะมีตัวเลือกที่ถูกต้องท่ีสดุ เพยี งตัวเดยี วส่วนท่ีเหลอื เป็นตวั ลวง

5. แบบอัตนยั คือความเรยี งเป็นแบบฝกึ ท่ีมีตวั คำถาม ผเู้ รยี นเขยี นบรรยายตอบอย่างเสรี ไม่
จำกัดคำตอบ แต่จำกดั ในเร่ืองเวลา อาจใชในรปู คำถามทว่ั ไปหรือเปน็ คำสัง่ ให้เขยี นเร่ืองราวตา่ งๆ กำหนดเวลา
ทีจ่ ะใชในแบบฝึกแตล่ ะตอนให้เหมาะสมกไ็ ด้

3.3 ลกั ษณะของแบบฝึกทกั ษะที่ดี
กุศยา แสงเดช (2545) กล่าววา่ แบบฝกึ ทดี่ คี วรมลี กั ษณะดังนี้
1. เกย่ี วข้องกับเรื่องทเ่ี รยี นมาแล้ว
2. เหมาะสมกบั ระดบั ชั้นของผเู้ รยี น
3. มคี ำช้ีแจง สัน้ ๆ เพ่ือให้เขา้ ใจง่าย
4. ใช้เวลาทเี่ หมาะสม
5. มสี ิง่ ที่นา่ สนใจและท้าทายให้แสดงความสามารถ
6. ควรมีขอ้ เสนอแนะในการใช้
7. มใี ห้เลอื กตอบอย่างจำกัดและตอบอย่างเสรี
8. ถา้ เปน็ แบบฝึกท่ีตอ้ งการให้ผเู้ รียนศกึ ษาด้วยตนเองแบบฝึกควรมหี ลายรูปแบบ
9. ควรใช้ภาษาง่ายๆ ฝกึ ให้คิดและสนกุ สนาน

4. แนวคิดและทฤษฎที ่ีเก่ียวกบั การสอนทักษะการอา่ นวิชาภาษาอังกฤษโดยใชแ้ บบฝึกทักษะ
การสอนอา่ นโดยใช้แบบฝกึ ทักษะ ผู้วิจัยไดย้ ึดทฤษฎีการเรียนรแู้ ละหลักการเรียนรดู้ ังนี้
1. ทฤษฎกี ารวดั เรยี นรู้ของ Thorndike
Thorndike ได้เป็นผู้ให้กำเนิดทฤษฎีการเรียนร้ทู เี่ น้นความสัมพนั ธ์เช่ือมโยงระหว่างสิง่ เร้า

(S) กบกั ารตอบสนอง (R) เขาเชอ่ื วา่ การเรยี นรจู้ ะเกดิ ข้ึนได้ตอ้ งสร้างสงิ่ เช่ือมโยงหรอื พันธะระหว่าง สงิ่ เร้ากับ
การตอบสนอง ซึ่งทฤษฎีการเรยี นรู้ของ Thorndike มีอยู่ 3 ข้อคือ

1) กฎแหง่ ความพร้อม (Law of readiness) กล่าวถึงความพร้อมของผ้เู รียนทงั้ รา่ งกาย
จิตใจ ทางรา่ งกาย หมายถึงความพรอ้ มทางวุฒิภาวะและอวยวั ะของรา่ งกาย เช่น หูและตา ทางจิตใจ
หมายถึงความพร้อมทเี่ กดิ จากความพึงพอใจเป็นสำคัญ คอื ถ้าเกดิ ความพอใจจะนำไปสกู่ ารเรียนรู้ถ้าไมเ่ กิด
ความพอใจจะทำให้การเรยี นรหู้ ยดุ ชะงักไปได้

2) กฎแหง่ การฝกึ หัด (Law of exercise) กลา่ วถงึ ความม่ันคงของการเช่ือมโยงระหว่าง
สิ่งเร้ากบั ตอบสนองที่ถูกต้อง โดยการฝกึ หัด ทำซ้ำ บ่อยๆ ย่อมทำให้เกิดการเรียนรไู้ ด้นานและคงทนถาวร

3) กฎแห่งผล (Law of effect) กล่าวถงึ ผลทไี่ ดร้ บั เม่ือแสดงพฤติกรรมการเรยี นรูแ้ ล้วว่า
ถา้ ได้รบั ผลที่พอใจ อินทรีย์ก็อยากจะเรยี นรตู้ ่อไป แต่ถา้ได้รับผลทีไ่ มพ่ อใจ อินทรีย์ก็ไม่อยากเรยี นรู้หรือ
เกิดความเบื่อหนา่ ยต่อการเรียนรู้

จากทฤษฎกี ารเรยี นรขู้ อง Thorndike ทงั้ 3 ข้อ ดังที่กล่าวมานี้ผวู้ จิ ัย ได้นำมามาประยุกต์ใช้
ทง้ั 3 ขอ้ กลา่ วคอื จากกฎข้อที่ 3.1 ของ Thorndike กล่าวถงึ กฎแห่งความพร้อม ผูว้ จิ ัยไดน้ ำไปใช้ทุกขนั้ ตอน
ของการสอนเพราะผู้วิจัยเองเช่อื ว่าเดก็ จะเรียนรู้ได้ดจี ะต้องมคี วามพร้อมกอ่ น ซึ่งเป็นประเดน็ สำคัญ

10

ท่ีผู้สอนทกุ คนก็ต้องตระหนัก กลา่ วคอื ไมว่ ่า จะเป็นขั้นตน้ ขน้ั สอน ขนั้ สรุป และขั้นวดั ผลและประเมนิ ผล
ผู้เรียนจะตอ้ งมคี วามพรอ้ มท้งั ส้นิ สว่ นกฎข้อ ที่ 3.2 กฎแหง่ การปฏิบัติผวู้ ิจยั ไดน้ ำมาประยุกตใ์ ชก้ ับขนั้ สอน
จากกฎข้อที่ 3.3 กฎแหง่ ผลผู้วจิ ยั ได้นำไปใช้เช่นกนั คือ ใช้ในขั้นสรุปการสอน

5. งายวิจยั ทเ่ี กีย่ วขอ้ ง
5.1 งานวิจัยในประเทศ
วิไลรตั น์ วสรุ ีย์ (2545) ศึกษาการพัฒนาแบบฝึกเสริมทักษะการอา่ นภาษาองั กฤษโดยใชเ้ อกสารจรงิ

เกี่ยวกบั ท้องถิ่น ในรายวิชา อ0112 สำหรบั นักเรยี นชั้น มธั ยมศกึ ษาปีที่ 6 โรงเรยี นพิบลู วิทยาลัย จงั หวดั ลพบุรี
กลุ่มตวั อย่างจำนวน 45 คน ผลการวิจยั พบว่า

1. ประสิทธิภาพของแบบฝกึ ทักษะการอา่ นภาษาอังกฤษโดยใช้เอกสารจรงิ เกย่ี วกับท้องถ่ิน มีค่า
เท่ากบั 87.80/80.50

2. ความสามารถในการอ่านภาษาอังกฤษของนักเรียนหลังการใช้แบบฝกึ เสริมทักษะ การอ่านสงู กว่า
กอ่ นการใช้แบบฝึกอย่างมีนยั สำคญั ทางสถิตทิ ี่ระดับ 0.05

3. นักเรียนมีความคิดเห็นทดี่ ีตอ่ แบบฝกึ ทักษะการอ่านภาษาอังกฤษโดยใชเ้ อกสารจริงเก่ียวกับท้องถิน่
ทผ่ี ู้วิจัยสรา้ งขึ้น

อรชร วงษ์ษา (2548) ได้ศึกษาการพัฒนากจิ กรรมการเรยี นรใู้ นกลุม่ สาระ การเรียนรู้
ภาษาตา่ งประเทศ โดยใช้นทิ านพืน้ บ้านอีสานเป็นสื่อสำหรบั นักเรียนช่วงช้ันท3่ี กล่มุ เปา้ หมาย จำนวน 35 คน
ผลการวิจยั พบว่า ผลสมั ฤทธิ์ทางการเรยี นวชิ าภาษาอังกฤษของนักเรยี นหลังส้นิ สุดการทดลองวงจรตาม
แผนการจดัการเรียนรู้ โดยใช้นทิ านพ้ืนบา้ นอสี านเปน็ สือ่ มีจำนวนนักเรียนทสี่ อบผ่านเกณฑร์ ้อยละ 70 ของ
คะแนนเต็ม จำนวน 27 คน คิดเปน็ รอ้ ยละ 77.14

5.2 งานวิจัยตา่ งประเทศ
ลอเรย์ (Lawrey. 1978 : 817-A) ได้ศึกษาผลสมั ฤทธ์ิของการใช้แบบฝกึ ทักษะกับนักเรียน

ระดบั 1 ถงึ ระดับ 3 จำนวน 87 คน พบว่านักเรียนทไ่ี ดร้ บั การฝกึ โดยใช้แบบฝึกทกั ษะ มีคะแนนหลงั การทำ
แบบฝกึ มากกว่า คะแนนการทดสอบก่อนการทำ แบบฝึกทักษะ

แมคพิค (Mcpeake. 1979 : 7199-A) ไดศ้ ึกษาผลการเรยี นจากแบบฝึกอย่างเปน็ ระบบ
ต้ังแต่เริ่มศึกษาจนถงึ ความในการอ่านและเพศท่ีมตี ่อความสามารถในการสะกดคำของนักเรยี นช้ัน
ประถมศกึ ษาปที ่ี 6 พบว่า แบบฝกึ ช่วยปรบั ปรุงความสามารถในการสะกดคำ ของนักเรียนทุกคน แตเ่ วลา
12 สปั ดาห์ไมเ่ พียงพอทจี่ ะทำให้เกดิ การถา่ ยโยงการเรียนรู้ในการสะกดคำ ไปสู่คำ ใหม่ท่ียังไม่ได้ศึกษา
และคะแนนนักเรียนหญิงสูงกว่านักเรยี นชายอย่างมีนยั สำคัญ ทางสถติ ินอกจากนี้การอา่ นยังมีความสมั พนั ธ์
กับความสามารถในการสะกดคำ

จากการศึกษางานวิจัยทงั้ ในประเทศและต่างประเทศสรุปไดว้ ่า แบบฝึกทกั ษะเป็นสื่อการเรียนการ
สอนทสี่ ำคญั สำหรบั นักเรยี น ทำใหน้ ักเรยี นสนใจบทเรยี น เกิดความสนุกสนาน เพลดิ เพลิน ชว่ ยให้ผู้เรยี น
เรียนร้แู ละเข้าใจบทเรยี นได้เร็ว ทำใหก้ ารสอนของครู การเรยี นของนักเรียนมปี ระสิทธภิ าพและนักเรยี นมี
พฒั นาการทกั ษะทางภาษาได้ดยี ิ่งขึน้

11

บทที่ 3
วธิ กี ารดำเนนิ การ

การทาศกึ ษาการจดั กจิ กรรมการเรียนรู้ การพฒั นาทกั ษะการอ่านและการเขยี นสะกดคำพื้นฐาน ของ

นกั เรยี นชั้นประถมศึกษาปีท่ี 2 โรงเรียนธิดาแม่พระ ผศู้ กึ ษาไดด้ าเนินการตามลาดบั ดงั นี้

1. ประชากรและกลมุ่ ตัวอยา่ ง
2. เครื่องมือทใี่ ช้ในการวจิ ัย
3. การสรา้ งและการหาคุณภาพเคร่ืองมือท่ีใชใ้ นการวจิ ยั
4. วธิ ีดำเนินการทดลองและการเก็บรวบรวมข้อมลู
5. การวิเคราะหข์ ้อมลู และสถิตทิ ี่ใช้ในการวิเคราะหข์ ้อมูล
6. เกณฑ์การแปลความหมายคะแนน

1. ประชากร/กลุ่มตวั อย่าง
ประชากร

นกั เรียนช้นั ประถมศึกษาปที ี่ 2 โรงเรียนธิดาแม่พระ อำเภอเมอื ง จังหวดั สุราษฎร์ธานี
ภาคเรียนที่ 1 ปกี ารศึกษา 2564 จำนวน 20 คน

กลุม่ ตวั อย่าง
นกั เรยี นช้นั ประถมศึกษาปที ี่ 2 โรงเรียนธดิ าแมพ่ ระ อำเภอเมอื ง จงั หวัดสรุ าษฎรธ์ านี
ภาคเรียนท่ี 1 ปกี ารศึกษา 2564 จำนวน 20 คน ซง่ึ ไดม้ าโดยกำหนดแบบเจาะจง
2. เคร่อื งมือทีใ่ ช้ในการศกึ ษา
1. แบบฝกึ ทกั ษะการอา่ นและการเขยี นสะกดคำ พืน้ ฐานภาษาอังกฤษท่ีผู้ศึกษาสรา้ งข้ึน จำนวน
10 ชุด
2. แบบทดสอบก่อนเรยี นและหลังเรยี นท่ีผศู้ ึกษาสรา้ งขนึ้ จำนวน 1 ชุด

วธิ ีการสร้างและการหาคุณภาพของเคร่อื งมือ
ขนั้ ตอนการสรา้ งเคร่ืองมือและการหาคณุ ภาพของเครื่องมือ

1. แบบฝึกทักษะการอา่ นและการเขียน มีข้ันตอนในการสร้างดังนี้
1.1 ศึกษาแนวคดิ ทฤษฎหี ลักการจากเอกสาร และงานวิจยั ทเี่ ก่ียวข้องกับการสรา้ ง

แบบฝึกทักษะ
1.2 ศึกษาหลักกสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพน้ื ฐาน พุทธศักราช 2551 ในกลุ่มสาระ

การเรียนรภู้ าษาตา่ งประเทศ
1.3 ศึกษาหลักสตู รสถานศึกษาโรงเรียนธิดาแม่พระ กล่มุ สาระการเรียนรภู้ าษาตา่ งประเทศ

ช่วงชั้นที่ 1 (ป.1-3)
1.4 ศกึ ษาแนวการสร้างแบบฝึกทกั ษะ
1.5 วิเคราะห์เน้ือหา และผลการเรยี นรู้ที่คาดหวังรายปี
1.6 จดั ทำแบบฝกึ ทักษะการอ่านและการเขียน จำนวน 10 ชุด

12

1.7 นำขอ้ เสนอแนะจากผเู้ ชี่ยวชาญ เพอื่ ปรบั ปรงุ แก้ไขแบบทดสอบก่อนเรยี นและหลังเรยี น
แล้วนำไปจัดพิมพเป็นเครอ่ื งมือทใ่ี ช้ในการเกบ็ รวบรวมข้อมูลต่อไป

2. แบบทดสอบก่อนเรยี นและหลงั เรียน มขี ั้นตอนในการสร้างดังน้ี
2.1 กำหนดน้ำหนกั ขอ้ สอบ
2.2 สรา้ งแบบทดสอบ เป็นแบบอตั นัย ให้นกั เรยี นเขียนตอบซ่งึ มคี ำตอบท่ีถูกต้องเพียง

คำตอบเดียว ครอบคลุมเนื้อหาและวัตถปุ ระสงค์การเรียนรู้ของเน้ือหาแตล่ ะหน่วยการเรียน จำนวน 1 ชุด
2.3 นำข้อเสนอแนะจากผู้เช่ียวชาญ เพื่อปรบั ปรงุ แกไขแบบทดสอบก่อนเรยี นและหลังเรียน

แล้วนำ ไปจัดพมิ พเป็นเคร่ืองมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลต่อไป

การเก็บรวบรวมข้อมลู
การวิจัยในครัง้ น้ีผู้วิจยั ได้ดำเนินการเกบ็ รวบรวมข้อมูล โดยไดด้ ำเนนิ การตามขั้นตอนดังนี้

1. ปฐมนิเทศนกั เรียนพร้อมชี้แจงวัตถปุ ระสงค์
2. เกบ็ รวบรวมข้อมลู ก่อนการทดลอง ผู้ศึกษาไดน้ ำแบบทดสอบก่อนเรยี น จำนวน 1 ชุด ให้
นกั เรียนทำการทดสอบ ใช้เวลา 1 ชั่วโมง
3. เก็บรวบรวมข้อมูลขณะดำเนินการทดลอง ผู้วิจยั ดำเนนิ การสอนด้วยตนเองและขณะทำการสอน
ผู้วิจัยไดเ้ กบ็ รวบรวมขอ้มลู จากการตรวจแบบฝกึ ทักษะ
4. การเก็บรวบรวมข้อมลู หลังการทดลอง หลังจากทำการทดลองสอนครบทง้ั 10 แบบฝึก
นักเรยี นทำแบบทดสอบหลังเรยี น

การวเิ คราะหข์ อ้ มลู และสถิติที่ใชใ้ นการวเิ คราะห์ขอ้ มลู
1. สถติ ทิ ใี่ ชใ้ นการวิเคราะห์ข้อมูล
1.1 หาคา่ เฉลย่ี (X) ของคะแนนผลสมั ฤทธทิ์ างการเรยี น คะแนนผลการประเมนิ ทกั ษะ
หรอื คะแนนการประเมินความพงึ พอใจ ใช้สูตร ( ล้วน สายยศ ; และ อังคณา สายยศ. 2538 )

เมอ่ื ̅ แทน คะแนนเฉล่ีย
∑ แทน ผลรวมของคะแนนท้ังหมด
N แทน จำนวนนักเรยี น

1.2 หาค่าร้อยละ (Percentage) ใช้สตู ร ศักรนิ ทร์ สุวรรณโรจน์ และคณะ (2538)

คา่ รอ้ ยละ = x 100



เม่ือ X แทน คะแนนท่ีได้
N แทน คะแนนเต็ม

13

1.3 หาคา่ ประสทิ ธภิ าพ ใช้สูตร ชยัยงคพ์ รหมวงศ์(2537)

สูตรที่ 1

E1 = ∑ x100




เมอื่ E1 แทน ประสทิ ธภิ าพของกระบวนการ

∑ แทน คะแนนรวมของแบบฝึกหัดหรืองาน
A แทน คะแนนเกบ็ ของแบบฝกึ หดั ทุกชนิ้ รวมกนั
N แทน จำนวนผู้เรียน

สตู รที่ 2



E2 = x100


เม่ือ E2 แทน ประสิทธภิ าพของผลลพั ธ์
∑ แทน คะแนนรวมของผลลัพธ์หลังเรยี น
B แทน คะแนนเต็มของการสอบหลังเรยี น
N แทน จำนวนผ้เู รยี น

14

บทที่ 4
ผลการวเิ คราะห์ข้อมูล

ในการวิจยั ในครั้งนี้ไดส้ รา้ งแบบฝึกทักษะการอา่ นและการเขียนสะกดคำพืน้ ฐานภาษาอังกฤษสำหรบั นักเรียน
ชั้นประถมศึกษาปที ่ี 2 แล้วได้นำไปทดลองใช้กับนักเรยี นประถมศกึ ษาปที ี่ 2 โรงเรยี นธิดาแมพ่ ระ ได้วเิ คราะห์
ข้อมูลและเสนอผลการวิเคราะหข์ ้อมลู ตามลำดบั ดังน้ี
1. สญั ลกั ษณท์ ่ใี ชใ้ นการวิเคราะห์ข้อมลู
2. ลำดบั ขั้นตอนในการวเิ คราะหข์ อ้มูล
3. ผลการวเิ คราะหข์ ้อมลู

1. สัญลกั ษณ์ทใ่ี ชใ้ นการวิเคราะห์ข้อมลู
เพ่ือให้การนำเสนอผลการวิเคราะห์ข้อมลู เปน็ ทเี่ ขา้ ใจตรงกันไดก้ ำหนดความหมายของสญั ลักษณ์ที่

ใช้นำเสนอผลการวิเคราะห์ข้อมลู ดงั นี้
N แทน จำนวนนักเรียนกลุ่มตัวอย่าง
X แทน คะแนนเฉลย่ี
∑ แทน ผลบวกของผลตา่ งของคะแนนครั้งหลงั กับครงั้ แรก
∑ 2แทน ผลบวกของผลตา่ งของคะแนนครั้งหลังกบั คร้ังแรกท่ีแต่ละตัวยกกำลงั สอง

2. ลำดบั ขน้ั ตอนในการวิเคราะห์ข้อมลู
2.1 คะแนนจากการทดสอบย่อยเพ่ือพัฒนาทกั ษะการอ่านและการเขยี นสะกดคำ พนื้ ฐาน

ภาษาอังกฤษ ชั้นประถมศึกษาปที ี่ 2 โดยใชแ้ บบฝกึ ทักษะ
2.2 ผลการหาประสิทธิภาพและประสิทธผิ ลของการจดัการเรียนรูเ้ พ่ือพัฒนาทักษะการอ่านและ

การเขยี นสะกดคำพนื้ ฐานภาษาอังกฤษ

3. ผลการวเิ คราะหข์ ้อมลู
3.1 คะแนนจากการจัดการเรียนรเู้ พ่ือพัฒนาทักษะการอ่านและการเขียนสะกดคำพ้ืนฐาน

ภาษาอังกฤษ ชั้นประถมศึกษาปีท่ี 2 โดยใชแ้ บบฝกึ ทักษะ ผ้รู ายงานไดท้ ำการทดสอบย่อยทุกชั่วโมง
หลังจากสอนคำศัพทโดยใช้สื่อประกอบการสอนได้ผลตามตาราง ดังนี้

15

จากตารางท่ี 1 พบว่า คะแนนจากการทดสอบย่อยเพื่อพัฒนาทักษะการอา่ นและเขยี นสะกดคำพืน้ ฐาน
ภาษาอังกฤษ ของนักเรยี นชั้นประถมศกึ ษาปีท่ี 2 มีคะแนนเฉล่ีย 8.86 จากคะแนนเตม็ 10 คะแนน
คดิ เป็นร้อยละ 88.60 ของคะแนนเต็มซง่ึ สูงกว่า เกณฑท์ ต่ี ้ังไว้

16

บทท่ี 5
สรปุ อภปิ รายผล และข้อเสนอแนะ

ในการศึกษาเรื่อง การพัฒนาทักษะการอ่านและการเขียนสะกดคำพื้นฐาน ของนักเรยี นชั้น
ประถมศกึ ษาปีที่ 2 มีประเดน็ สำคัญสรปุ ได้ดงั นี้

วตั ถปุ ระสงคข์ องการศกึ ษา
1. เพอ่ื พฒั นาแบบฝึกทักษะการอ่านและการเขยี นสะกดคา ภาษาอังกฤษ ของนักเรียนชั้น
ประถมศึกษาปีท่ี 2 ให้มีคณุ ภาพตามเกณฑ์ 80/80
2. เพ่ือเปรยี บเทียบผลสัมฤทธ์ิทาการเรียนก่อนการใช้แบบฝึกกับหลังการใช้แบบฝกึ ทักษะ การอา่ น
และการเขยี นสะกดคำ ภาษาอังกฤษ ของนกเั รียนช้ันประถมศึกษาปที ี่ 2

สรปุ ผลการวิจัย
ผูว้ จิ ัยไดส้ รุปผลการวิจัยตามประเดน็ ทีศ่ ึกษา ดังนี้

1. การจดั การเรยี นร้เู พื่อพัฒนาทกั ษะการอา่ นและการเขียนสะกดคำ ภาษาอังกฤษ ของนักเรียนช้ัน
ประถมศกึ ษาปีที่ 2 โดยใช้แบบฝกึ ทกั ษะ ทผ่ี วู้ จิ ยั สรา้ งข้นึ มีประสิทธิภาพ 88.60/86.83 ซง่ึ สงู กว่าเกณฑ์ที่ต้ังไว้
80/80
2. นกั เรียนมผี ลสมั ฤทธ์ิทางการอ่านและการเขยี นคำภาษาอังกฤษโดยรวมสูงขึ้น

อภปิ รายผลการวิจัย
ผลการวิจยั พบว่า การจัดการเรยี นรู้เพือ่ พัฒนาทักษะการอ่านและการเขยี นสะกดคำ พน้ื ฐาน

ภาษาอังกฤษ ของนักเรยี นชั้นประถมศึกษาปที ่ี 3 โดยใช้แบบฝกึ ทักษะ ที่ผู้วจิ ยั สรา้ งขึ้นมีประสิทธภิ าพ
88.60/86.83 ซ่ึงสูงกว่า เกณฑ์ทต่ี งั้ ไวห้ มายความว่า นักเรียนได้คะแนนเฉลี่ยจากการจดัการเรียนรู้เพื่อพัฒนา
ทกั ษะการอ่านภาษาอังกฤษ คดิ เปน็ ร้อยละ 88.60 และได้คะแนนเฉล่ยี หลังเรียนคิดเปน็ รอ้ ยละ 86.83 ส่ือที่
สรา้ งขน้ึ มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์มาตรฐาน 80/80 ซ่ึงเปน็ ไปตามสมมตุ ิฐานท่ตี ้ังไว้

ข้อเสนอแนะ
สอ่ื ทพ่ี ัฒนาน้ียังสามารถพัฒนาตอ่ ไปให้สมบรู ณ์มากข้ึนอีกโดยการวิเคราะห์กระบวนการทน่ี ำมาใช้

ในการเรียนร้แู ละเสริมสร้างคุณลกษั ณะเก่ง ดมี ีสขุ แก่นักเรียนตามแนวปฏิรปู การเรียนรู้สำหรบั ครูในการนำส่ือ
มาใชต้ อ้ งศึกษารายละเอยี ดของการใชข้ ั้นตอนการใช้และต้องให้สอดคล้องกบั แผนการเรียนรแู้ ละควร
เตรยี มการสอนมาลว่ งหนาแ้ ละไม่จำเปน็ ต้องใช้กระบวนการสอนตามท่ีกลา่ วมาทั้งหมด

17

บรรณานกุ รม

กระทรวงศกึ ษาธกิ าร. กรมวิชาการ. หลกสั ตู รการศกึ ษาขั้นพ้ืนฐานพทุ ธศกั ราช 2544.
กรงุ เทพฯ : องค์การรับส่งสินค้าและพัสดภุ ัณฑ์, 2544.

กระทรวงศกึ ษาธิการ. คู่มอื สาระการเรยี นรูพ้ ้ืนฐานภาษาองั กฤษ กลุ่มสาระภาษาอังกฤษ.
กรงุ เทพมหานคร : โรงพมิ พค์ ุรุสภา ลาดพร้าว, 2542.

คณะกรรมการการประถมศกึ ษาแห่งชาติ, สำนักงาน. “เทคนคิ การสอนภาษาองั กฤษ.” ในชดุ
การฝึกอบรมการสอนภาษาองั กฤษชนั้ ประถมศึกษาปี ท่ี 3.กรุงเทพฯ :โรงพมิ พ์คุรุสภา, 2540.

ฉววี รรณ จ้อยจติ ร. การพัฒนาแผนการสอนทักษะการฟังและการพดู ภาษาอังกฤษ สำหรบั นกั เรียนช้ัน
ประถมศึกษาปที ี่ 1 ตามแนวคู่มือการจดั กิจกรรมการเตรียมความพร้อมภาษาอังกฤษชน้ั
ประถมศกึ ษาปี ที่ 1. วิทยานิพนธป์ ริญญาศึกษาศาสตรม์ หาบัณฑิต สาขาวชิ าหลักสตู ร
และการสอน มหาวิทยาลัยขอนแก่น, 2541.

ดวงเดือน แสงชัย. การสอนภาษาองั กฤษระดบั ประถมศึกษา.กรุงเทพฯ : คณะครุศาสตร์
จฬุ าลงกรณ์มหาวทิ ยาลัย, 2531.

ธดิ ารัก ดาบพลอ่อน. “การพัฒนาแบบฝกึ เสรมิ ทักษะการอา่ นภาษาอังกฤษเพือ่ ความเข้าใจชัน้ ประถมศึกษา
ปที ี่ 6.” ปรญิ ญานิพนธ์การศึกษามหาบัณฑติ สาขาวชิ าการประถมศกึ ษาบัณฑติ วทิ ยาลัย
มหาวิทยาลัยมหาสารคาม :ถา่ ยเอกสาร, 2542.

บนั ลอื พฤกษะวนั . อปุ เทศการสอนภาษาไทยระดับประถมศกึ ษาแนวบรู ณาการสอน.ไทยวฒั นาพานิช กรุง
เพมหานคร, 2522.

พติ รวัลย์ โกวิทวท.ี การสอนภาษาองั กฤษในระดับชัน้ ประถมศึกษา. กรุงเทพฯ : จุฬาลงกรณม์ หาวิทยาลัย.
พวงเพ็ญ อินทรประวัติ. วธิ สี อนภาษาองั กฤษ. สงขลา : มหาวทิ ยาลยั ศรนี ครนิ ทรวโิ รฒ, 2521.
ภาวนิ ี ทอนสูงเนิน. การพัฒนาผลสมั ฤทธ์กิ ารเรยี นคำศัพท์ภาษาองั กฤษโดยใช้แบบฝึกเสริมทกั ษะคำศัพท์

ภาษาองั กฤษสำหรบั นกั เรยี นช้ันประถมศกึ ษาปีท่ี 3 โรงเรยี นบา้ นหนองหมาก จังหวดั นครราชสีมา.
วทิ ยานพิ นธ์ปรญิ ญาศึกษาศาสตรม์ หาบัณฑติ สาขาวชิ าหลักสตู รและการสอน มหาวิทยาลัยขอนแก่น,
2543.
มานิต บญุ ประเสริฐ. “การสอนภาษาองั กฤษ”. จันทรเกษม. 17 (4) :9 ; กันยายน 2540.
รตั ตกิ าล สทุ ธสิ วสดั ิ์กุล.การพัฒนาทักษะด้านคำศพั ทภ์ าษาอังกฤษของนกั เรยี นชนั้ ประถมศึกษาปีท่ี 5 โดย
ใชก้ ารสอนแบบโครงงาน.กรุงเทพฯ : มหาวทิ ยาลยั ศรนี ครินวโิ รฒ :ถ่ายเอกสาร, 2545.โรงเรยี นชุมชนบ้านหวั
ขัว. หลักสตู รสถานศกึ ษา กลุ่มสาระการเรยี นรู้ภาษาต่างประเทศ

18


Click to View FlipBook Version