The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by 1577 Home Shopping, 2021-10-07 05:26:52

Probation

Probation-5

1577 HOME SHOPPING AND ASSOCIATED

Probation

หลักเกณฑ์การเขียนใบประเมินทดลองงาน

Probation

รอบการประเมินทดลองงาน

1 2 3 4

รอบที่ 1 รอบที่ 2 รอบที่ 3 รอบที่ 4 (ต่อโปร)

30 วัน 60 วัน 90 วัน ไม่เกิน 119 วัน

New Form Probation

Probation

กรณีเขียนใบประเมินทดลองงานไม่ชัดเจน
ให้ผ่านทดลอง

เขียนระบุไม่ชัดเจนว่าพนักงานต้อง
พัฒนาในเรื่องใดบ้าง

ให้ผ่านทดลองงาน

Probation

การเขียนใบประเมินงานที่ถูกต้อง
( ช่วงทดลองงานรอบที่ 1 / 30 วัน )
( ช่วงทดลองงานรอบที่ 2 / 60 วัน )

เขียนระบุอย่างชัดเจนว่าพนักงานต้อง
พัฒนาในเรื่องใดบ้าง

Probation

การเขียนใบประเมินงานที่ถูกต้อง
( ช่วงทดลองงานรอบที่ 3 / 90 วัน )

เขียนระบุอย่างชัดเจนว่าพนักงานต้อง
พัฒนาในเรื่องใดบ้าง

หากทำไม่ได้ตามที่เขียนไว้ พนักงานจะ
ไม่ผ่านทดลองงาน

Case Study • กรณีที่ลูกจ้างผ่านช่วงทดลองงานตั้งแต่ 120 วันขึ้นไป
แล้ว หากนายจ้างต้องการเลิกจ้างโดยลูกจ้างไม่มีความ
(กรณีพนักงานอยู่ในช่วงทดลองงานและผ่านทดลองงาน) ผิดใดๆ ตามมาตรา 119 นายจ้างจะต้องจ่ายค่าชดเชย

• กรณีอยู่ในช่วงทดลองงาน( ไม่เกิน 119 วัน) ผล และค่าตกใจให้แก่ลูกจ้าง
ประเมินไม่เป็นที่คาดหวังและไม่ได้บอกกล่าวพนักงาน


ล่วงหน้าให้พนักงานออก EX . ลูกจ้างได้รับค่าจ้าง 15,000 บาท/เดือน เมื่อลูกจ้าง
นายจ้างไม่ต้องจ่ายค่าชดเชยแต่ต้องจ่ายเงินค่า ทำงานครบ 120 วัน แล้วนายจ้างบอกเลิกจ้างโดยไม่แจ้ง

ตกใจ ล่วงหน้าก่อน 1 เดือน
จำนวนเงินทั้งหมดที่นายจ้างต้องจ่ายแก่ลูกจ้างคือ
• กรณีที่ต้องบอกกล่าวล่วงหน้า คือการที่ลูกจ้างไม่ เงินเดือนงวดสุดท้าย 15,000 บาท + เงินชดเชย +
ผ่านการทดลองงาน เนื่องจากผลงาน คุณสมบัติ
เงินค่าตกใจ
หรือความประพฤติไม่ผ่านเกณฑ์ที่กำหนด

หากอายุงานไม่ครบ 120 วัน นายจ้างไม่ต้องจ่ายค่า



ชดเชย
*เงินค่าตกใจ = เงินค่าบอกกล่าวล่วงหน้า อัตราจ่าย 1เดือน
*เงินค่าชดเชย = เงินเดือนสุดท้าย 1 เดือน

Case Study • กรณีที่ลูกจ้างไม่ผ่านทดลองงาน (ทดลองงานไม่เกิน
119 วัน) แล้วให้เขียนใบลาออก เพื่อรักษาประวัติโดยที่ไม่
กรณีพนักงานไม่ผ่านทดลองงานในตำแหน่งเดิม แจ้งล่วงหน้า นายจ้างไม่ต้องจ่ายค่าชดเชยแต่ต้องจ่าย
จึงให้เขียนใบลาออก
เงินค่าตกใจ (ตามที่กฎหมายกำหนด)
นายยิ้มแย้ม ทั้งวัน ไม่ผ่านทดลองงานในตำแหน่ง ซึ่งทางกรมแรงงานจะดูในเรื่องของเจตนานายจ้าง จึงไม่
เดิม และหัวหน้างานเห็น Performance ในตำแหน่ง
ใหม่ จึงเสนอให้เขียน " ใบลาออก " เพื่อรักษาประวัติใน สามารถอ้างอิงจากใบลาออกที่พนักงานเซนได้
กรณีไม่ผ่านทดลองงาน โดยว่าจ้างและทำสัญญาจ้าง

ในตำแหน่งใหม่ ซึ่งผลการปฎิบัติงานก็ยังไม่ผ่านทดลอง


งาน ( อยู่ในระยะเวลา 119 วัน )
*Case Study : การเขียนใบลาออก ระบุเหตุผล ไม่ผ่านทดลอง
งาน หรือ เปลี่ยนตำแหน่งใหม่ ทางแรงงานจะดูที่ เจตนา ตั้งต้น
เป็นหลัก เนื่องจาก นายจ้างสามารถอ้างได้ว่า เป็นการยินยอม และ
ตกลงกันของระหว่าง นายจ้าง และลูกจ้าง แต่เจตนาที่แท้จริง คือ

เพื่องดการจ่าย ค่าชดเชย หรือ ตกใจ

Work Flow

การโอนย้ายตำแหน่ง (ฝ่ายเดิม)
(กรณีพนักงานอยู่ในช่วงทดลองงาน)

กรณีพนักงานมีความประสงค์ที่จะโอน
ย้ายตำแหน่งงาน สามารถร่างจดหมายแล้ว
ส่งให้หัวหน้างาเซนอนุมัติ หลังจากนั้นให้ส่ง

เรื่องให้ทาง HR เพื่อดำเนินการในเรื่อง
Probation ต่อไป

Thank you!


Click to View FlipBook Version