The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

บทที่ 3 ความหมายของการบันทึกข้อมูล

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by aguwphddret, 2023-01-03 02:21:33

บทที่ 3 ความหมายของการบันทึกข้อมูล

บทที่ 3 ความหมายของการบันทึกข้อมูล

บทท่ี 3

1.ความหมายของสือ่ บันทึกข้อมูล
สื่อบันทึกข้อมลู หรือสื่อจัดเก็บข้อมูล เปน็ อุปกรณท์ ใ่ี ชจ้ ัดเก็บขอ้ มูล ชดุ คาํ สัง่ และสารสนเทศต่าง ๆ ไว้ โดย
ข้อมูล ไมส่ ญู หายเมื่อปดิ เครอื่ งคอมพิวเตอร์ สามารถแบ่งเป็น 2 ประเภท คือ
1.1 หน่วยความจาํ ชัว่ คราว (แบบโวลาไทล์ Volatile Memory)
คือ หนว่ ยความจาํ ที่ตอ้ งมีกระแสไฟฟ้าจา่ ยให้กับหน่วยความจาํ ตลอดเวลา เพื่อจําข้อมูลตา่ ง ๆ ไดแ้ ก่ RAM
(Random Access Memory) ขอ้ มูลจะสญู หายหากปดิ เคร่ืองคอมพวิ เตอร์ หรอื ปราศจากกระแสไฟเล้ียง
1.2 หน่วยความจาํ ถาวร (แบบนอนโวลาไทล์ Nonvolatile Memory)
คอื หน่วยความจาํ ทีส่ ามารถเก็บข้อมูลไว้ได้ โดยไมจ่ ําเปน็ ต้องจ่ายกระแสไฟฟา้ ให้กับหน่วยความจาํ ข้อมูล
สําคญั ต่าง ๆ จาํ เปน็ ต้องมีการจดั เกบ็ ไวบ้ นหน่วยความจําถาวรกอ่ นทจี่ ะปดิ เครื่อง เพื่อเก็บไวใ้ ช้งานวนั ข้างหน้า
ต่อไป ได้แก่ ROM (Read Only Memory)
สอ่ื ตา่ ง ๆ ที่ใชส้ าํ หรบั จัดเก็บขอ้ มูลน้นั ต้องใช้ควบคู่กบั อุปกรณ์อ่านข้อมลู หรือเขยี นข้อมูลทเี่ รียกวา่ “อปุ กรณ์
บันทกึ ข้อมูล (Storage Media)” เชน่ ฟลอปปีดิสก์ ใชค้ ่กู บั ฟลอปปีดสิ กไ์ ดรฟ์ หรอื แผ่นซีดีใช้คู่กบั เครื่องอ่าน
ซดี ี สื่อบันทกึ ข้อมูลมีชอ่ื เรยี กกนั หลายชื่อ คอื Secondary Storage, Auxiliary Storage, Permanent
Storage หรือ Mass Storage ปัจจุบันมีส่ือบันทึกข้อมูลหลายประเภทด้วยกนั ใหเ้ ลือกใช้งาน การพิจารณาว่า
จะใช้สื่อใด เป็นอุปกรณ์จัดเก็บข้อมลู สามารถพิจารณาไดจ้ ากหลายปจั จัยดว้ ยกนั เช่น ตน้ ทนุ ขนาด ความจุ
และความเร็ว ในการเขา้ ถงึ ข้อมูล ส่อื จดั เกบ็ ข้อมูลไดม้ ีการพัฒนามากข้ึน เชน่ แผน่ ซดี ี แผ่นดวี ดี ี หรือธัมป์
ไดรฟ์ (Thumb Drive) ทีท่ าํ ให้สามารถจขุ ้อมูลไดส้ งู มากข้นึ

2.ชนิดของส่ือบนั ทึกข้อมูล
เทคโนโลยขี องอปุ กรณบ์ นั ทึกขอ้ มูลหรือจดั เกบ็ ขอ้ มูล สามารถแบ่งออกเป็น 3 ชนดิ คอื com
2.1 สื่อบันทึกขอ้ มูลที่ใช้เทคโนโลยีแบบแม่เหล็ก (Magnetic Storage)
2.2 สื่อจดั เกบ็ ข้อมูลท่ีใชเ้ ทคโนโลยแี บบแสง (Optical Storage) ซ่งึ สอ่ื บันทึกข้อมูลสว่ นใหญ่มักจะเปน็
ลกั ษณะใดลักษณะหนงึ่ ในสองชนดิ นี้ สือ่ บนั ทึกขอ้ มูลบางชนิดทใี่ ชเ้ ทคโนโลยีทัง้ สองรวมกัน คอื สื่อแบบ
แมเ่ หลก็
และแสง เช่น Magneto-Optical Disk
2.3 โซลิดสเตต (Solid State) หรือเอสเอสดี
เปน็ เทคโนโลยีจัดเก็บข้อมลู ลงบนชิปวงจรรวมท่ปี ระกอบรวมเปน็ หนว่ ยความจํา เพื่อจัดเก็บข้อมูลแบบถาวร
เหมอื นฮาร์ดดสิ ก์
2.1 สอื่ บนั ทึกข้อมูลท่ีใชเ้ ทคโนโลยแี บบแม่เหลก็ (Magnetic Storage)
สื่อบนั ทกึ ข้อมลู แบบแม่เหล็ก คอื สื่อจัดเก็บข้อมลู ท่ีใชเ้ ทคโนโลยแี มเ่ หลก็ (Magnetic) ซ่ึงประกอบดว้ ย ฟลอป
ปดี สิ ก์ (Floppy Disk/Diskettes) ดสิ กค์ วามจสุ ูง (High Capacity Floppy Disk) ฮาร์ดดสิ ก์ (Hard Disk)
และเทปแมเ่ หล็ก (Magnetic Tape)
2.1.1 ฟลอปปีดิสก์ (Floppy Disk/Diskettes)
ฟลอปปดี ิสกห์ รอื ดสิ ก์เกต็ เป็นแผน่ ดสิ กแ์ บบออ่ นท่ีทาํ จากแผ่นไมลาร์และเคลือบดว้ ย สารแมเ่ หลก็ บาง ๆ ท้ัง
สองดา้ น มขี นาดต้ังแต่ 8 น้ิว 5.25 นวิ้ และ 3.5 น้วิ ดิสกเ์ ก็ตนี้บางท่ยี ังมีผใู้ ช้งานเหลืออยู่บา้ ง คอื ขนาด 3.5
นว้ิ แตป่ ัจจบุ ันไมน่ ยิ มใชง้ านแล้ว เพราะมีดสิ กช์ นดิ ความจสุ ูงอื่น ๆ ให้เลอื กใช้งานแทน (ดูข้อมูล เพิ่มเตมิ
เกีย่ วกบั ดสิ ก์ที่เว็บไซต์ http://th.wikipedia.org/wiki/ฟลอปปีดสิ ก)์

https://bit.ly/2PHkOMI https://bit.ly/38JgHIK
https://bit.ly/3ac4xbY
https://bit.ly
_RwiDkMnuyM/s1600/dvd12.png

หนว่ ยวดั ความจุของข้อมลู ในคอมพิวเตอร์ (Capacity)

บิต (Bit) ย่อมาจากคําวา่ Binary Digits
8 Bit เทา่ กบั 1 ไบต์ (Byte = 1 ตวั อักษร)
1 ไบต์ (Byte)เท่ากับ
1 กโิ ลไบต์ (Kilobyte) 8 บิต (Bit)
1 เมกะไบต์ (Megabyte) เทา่ กับ 1,024 ไบต์ (Byte)
1 กิกะไบต์ (Gigabyte) เท่ากบั 1,024 กโิ ลไบต์ (Kilobyte)
1 เทระไบต์ (Terabyte) เทา่ กบั 1,024 เมกะไบต์ (Megabyte)
1 เพตะไบต์ (Petabyte) เทา่ กบั 1,024 กิกะไบต์ (Gigabyte)
เท่ากบั 1,024 เทระไบต์ (Terabyte)

หนว่ ยจัดเก็บ จาํ นวนไบต์
Kilobyte= 1 thousand (หนึง่ พันไบต์)
Megabyte= 1 billion(หนึ่งลา้ นไบต์)
Gigabyte= 1 billion(หนง่ึ พนั ล้านไบต์)
Terabyte= 1 trillion(หนงึ่ ล้านล้านไบต)์
Petabyte= 1 quadrillion (หนง่ึ พนั ล้านล้านไบต)์

(ดขู ้อมลู เพ่ิมเติมเก่ยี วกับความจขุ องข้อมูลในคอมพิวเตอร์ทีเ่ ว็บไซต์ http://th.wikipedia.org/wiki/เพตะไบต์
หรอื http://th.wikipedia.org/wiki/เทระไบต์)

การจัดเก็บข้อมูลบนจานแม่เหลก็ แทรก็ (Track)
คือ เสน้ รอบวง เร่ิมจาก 0-39 รวม 40 แทรก็
เซกเตอร์ (Sector) คอื การแบ่ง แทร็กออกเป็นสว่ น ๆ

ท่มี า : https://bit.ly/2RNldhX

2.1.2 ดิสกค์ วามจสุ งู (High capacity Floppy Disk)
เป็นส่อื บันทกึ ขอ้ มูลทมี่ ลี ักษณะเดียวกับดสิ ก์เก็ตทส่ี ามารถจัดเก็บข้อมลู ได้สูงทน่ี ยิ มใชก้ นั เ
Super Disk, Zip Disk และ Jaz Disk โดย Super Disk มีความจุขนาด 120 เมกะไบต์ ส่วน Zip Disk มี
ความจุ ขนาด 100 เมกะไบต์ และ 250 เมกะไบต์ ในขณะท่ี Jaz Disk สามารถจดั เก็บข้อมูลถงึ 1-2
กกิ ะไบต์สามารถเช่ือมต่อผ่านพอร์ต USB หรือ พอรต์ Parallel

ท่ีมา : https://bit.ly/34g1o6R, ทม่ี า : https://bit.ly/2ry6iyU, ทม่ี า : https://bit.ly/2PgJRaa,
https://bit.ly/2QXUhfN https://bit.ly/2Nwbg29 https://bit.ly/3aeHJs7

2.1.3 ฮารด์ ดสิ กห์ รือจานบันทึกแบบแขง็ คือ อุปกรณ์คอมพวิ เตอรท์ ี่ใช้สาํ หรบั จดั เกบ็ ข้อมูลท้ังหมดของ
เครอ่ื ง เน่ืองจากเปน็ อุปกรณ์ที่มคี วามเรว็ และความจุในการจดั เก็บข้อมลู ไดส้ ูงมากกวา่ 500 กกิ ะไบต์-14
เทระไบต์ อีกท้งั ยงั มรี าคาไมแ่ พง และจัดเป็นอุปกรณห์ ลักที่จําเป็นตอ้ งมีในเครื่องคอมพิวเตอร์ เพ่ือจดั เก็บ
ข้อมลู สาํ คัญตา่ ง ๆ เชน่ โปรแกรมระบบปฏบิ ัติการ แอปพลิเคชนั โปรแกรมประยุกตใ์ ชง้ าน รวมถึงข้อมูล
หรือสารสนเทศต่าง ๆ (ดูข้อมูลเพม่ิ เตมิ ที่เว็บไซต์ https://www.idrlab.com/content/12241/มาทาํ
ความร้จู กั กบั ฮาร์ดดสิ ก์-hard-disk-กันเถอะ)

ทีม่ า : https://bit.ly/30qRbE6, https://bit.ly/370Dj62,
https://bit.ly/2RNXPST, https://bit.ly/3701/sy

1) ลักษณะการทํางานของฮาร์ดดสิ ก์ การทาํ งานของฮาร์ดดิสก์จะคลา้ ยกับ https://bit.ly/38yvRAn
ฟลอปปีดสิ ก์ แตภ่ ายในของฮาร์ดดิสก์ได้รวมหวั อ่านบันทกึ และจานแม่เหล็กอยภู่ ายในตัวเดยี วกัน
โครงสรา้ งภายใน ฮารด์ ดสิ กจ์ ะประกอบด้วยแพลตเตอร์ (Platters) ซงึ่ คลา้ ยกับแผน่ ดิสก์ แต่จะทาํ ด้วย
แผน่ อะลมู ิเนียมแข็ง ที่เคลือบด้วยออกไซด์ของเหลก็ และมีอยูห่ ลายแพลตเตอรด์ ว้ ยกัน แตล่ ะแพลตเตอร์
จะเรยี งอยู่บนแกนเดียวกัน ที่เรียกว่า “Spindle” ทําให้แพลตเตอรแ์ ตล่ ะแผ่นสามารถ หมนุ ไปได้พร้อม ๆ
กนั ด้วยมอเตอรข์ บั เคลอ่ื นท่ีมีความเร็ว

ระหวา่ ง 3600 RPM และ 7200 RPM (Round Per Minute : RPM) ในขณะทม่ี อเตอร์ดสิ ก์ไดรฟท์ ห่ี มนุ
ดิสก์เกต็ 67 จะหมุนดว้ ยความเรว็ ประมาณ แตล่ ะหน้าของแพลตเตอรท์ ว่ี างเรยี งซ้อนกัน จะมีหัวอ่านหรอื
บันทกึ ทสี่ ามารถเคลื่อนทเ่ี ข้าออกไปยงั แทร็กต่างๆ 300 RPM เทา่ น้ัน ปจั จุบันฮาร์ดสิ ก์สามารถหมุนได้ด้วย
ความเรว็ มากกวา่ 10000 RPM จงึ อ้างอิงตําแหน่งแทร็กเดียวกนั ในแต่ละแพลตเตอร์ ทีเ่ รยี กว่า “ไซลนิ เดอร์”
(Cylinder) คือ เสน้ รอบวงแทรก็ รวมกนั - และเน่ืองจากฮาร์ดดสิ กม์ ีจํานวนจานดิสก์หรือแพลตเตอรห์ ลายแผ่น
เรยี งซอ้ นกนั การอ้างอิงตาํ แหน่ง ทงั้ หมดของแผน่ บนั ทึกข้อมูล โดยแทรก็ สุดทา้ ยในแผ่นบันทึกข้อมลู จะใชเ้ ป็น
ที่พกั หวั อา่ น (Head) ของฮาร์ดดสิ ก์
2) ชนิดของฮารด์ ดิสก์
ฮารด์ ดิสก์มีพฒั นาการมาตรฐานการเช่ือมต่อปจั จุบันแบ่งออกไดห้ ลายแบบ คือ ฮาร์ดดิสก์
แบบ IDE แบบ EIDE แบบ SCSI และแบบ Serial ATA แบบ PCI-e และแบบ M.2 แต่ละชนดิ มีลกั ษณะ
แตกตา่ งกนั
ดังนี้
แบบ 1 ฮารด์ ดสิ กแ์ บบ IDE (Integrated Drive Electronics)
ฮารด์ ดสิ ก์แบบ IDE เป็นอนิ เตอร์เฟซรนุ่ เกา่ ที่มีการเชื่อมต่อโดยใชส้ ายแพขนาด 40 เสน้ โดยสายแพ 1 เส้น
สามารถตอ่ ฮาร์ดดสิ กไ์ ด้ 2 ตวั บนเมนบอร์ดเดยี วกันจะมีข้วั ต่อ 2 ข้ัวด้วยกนั ทําใหส้ ามารถ ต่อฮาร์ดดิสก์ได้
สูงสดุ 4 ตัว สาํ หรับขนาดความจขุ องข้อมูลเพยี ง 504 MB เท่าน้ัน (ดูข้อมูลเพิ่มเตมิ ท่ีเว็บไซต์
https://th.wikipedia.org/wiki/ฮาร์ดดิสก)์
แบบ 2 ฮารด์ ดิสก์แบบ EIDE (Enhanced Integrated Drive Electronics)
มาตรฐาน EIDE พฒั นามาจาก IDE ที่ใชส้ ายแพขนาด 80 เสน้ ชว่ ยเพิ่มประสิทธภิ าพ
การทาํ งานใหม้ ากข้นึ โดยเชอ่ื มตอ่ ระหว่างฮารด์ ดิสก์กบั ช่องตอ่ IDE บนเมนบอรด์ อีกทง้ั ยังสนับสนุนการ
เช่ือมตอ่ กบั อุปกรณ์อนื่ ๆ เชน่ ไดรฟ์ CD-ROM/CD-RW ไดรฟ์ DVD ฯลฯ
แบบ 3 ฮารด์ ดิสกแ์ บบ SCSI (Small Computer System Interface)
ฮาร์ดดสิ กแ์ บบ SCSI หรือเรียกว่า สกัสซี (Scuzzy) เปน็ มาตรฐานฮารด์ ดสิ ก์อีกแบบหนง่ึ ทมี่ ีการด์
คอนโทรลเลอร์ SCSI สาํ หรบั ควบคุมการทาํ งานของอุปกรณ์รนุ่ แรก ๆ อัตราการรับส่งข้อมูลเพยี ง 10 MB/s
ช้ากวา่ ฮารด์ ดสิ ก์ EIDE ฮาร์ดดิสก์รุ่นใหม่ ๆ จะมีความเรว็ สูงมากกวา่ 40 MB/s ขึน้ ไป จนถึง 160 MB/s การ
เชอ่ื มตอ่ อปุ กรณ์ได้ 7 ตวั แต่การ์ดบางรนุ่ อาจได้ถึง 14 ตัว ฮาร์ดดสิ ก์ SCSI น้ี ถกู ออกแบบมาเพ่ือใชง้ าน บน
เครื่องคอมพิวเตอร์แม่ข่าย คือ เซริ ์ฟเวอร์ (Server) ทาํ หน้าทบี่ ริการกับผใู้ ช้งานหลาย ๆ คนบนเครอื ข่าย ซงึ่
เน้นความทนทานตอ่ การใชง้ านหนกั และรบั สง่ ข้อมลู ด้วยความเร็วสงู

ฮารด์ดสิ ก์แบบ IDE ฮารดด์ สิ กแ์ บบ EIDE สายแพ IDE/EIDE
https://bit.ly/2Ylkoox7, https://bit.ly/2Tpd/ns https://bit.ly/2G74MYd

https://bit.ly/35oKmEU https://bit.ly/35VsWi https://bit.ly/371200
v,

แบบ 4 ฮาร์ดดสิ ก์แบบ Serial ATA
เปน็ มาตรฐาน Serial ATA เป็นอนิ เตอร์เฟซใหม่ทีเ่ ข้ามาแทนที่มาตรฐาน EIDE ซง่ึ เดมิ
เป็นแบบขนาน (Parallel) ส่วนท่ีแตกต่างไปจากเดิม คือ ใช้ระบบการรับ/ส่งขอ้ มูลในแบบอนุกรม (Serial)
สามารถเพ่ิมความเรว็ ในการรับ/สง่ ขอ้ มูลไดส้ ูงกว่า และสายเช่ือมต่อมีขนาดเล็กลงกวา่ แบบ EIDE ซงึ่ นิยม
ใช้งานกนั

https://bit.ly/2RLvY5l, https://bit.ly/2u9jul https://bit.ly/360zLi
d, o

แบบ 5 ฮาร์ดดสิ ก์แบบ PCI Express SSDs ฮาร์ดดิสกท์ ี่ใชม้ าตรฐานการเช่ือมต่อแบบ PCI
Express SSDs ซึง่ เปน็ SSD ท่ีเชอ่ื มต่อผ่านพอร์ต PCI Express บนเมนบอรด์ นิยมใช้กับคอมพวิ เตอร์
ระดับองคก์ รทีเ่ ป็นคอมพวิ เตอร์ Server/Workstations ท่ใี ห้ประสิทธภิ าพเร่ืองความเรว็ ท่สี งู มาก และมี
ราคาสงู หากชน่ื ชอบในความเรว็ และความแรงของ PCIExpress SSDs (ดขู อ้ มลู เพ่มิ เติมท่ีเว็บไซต์ ภาพที่
3.13 ฮาร์ดดสิ ก์แบบ PCI Express SSDshttps://www.technointrend.com/pci-express-ssd/)

แบบ 6 ฮาร์ดดิสกแ์ บบ M.2M.2 0 NGFF (Next Generation Form
Factor) เปน็ Interface ใหม่ มหี ลายแบบมาก เนน้ ขนาดเล็กและ ความเร็วสูง มกี ารเชอื่ มต่อแบบ SATA
ด้ังเดมิ และบวกเพ่ิม การเชอื่ มต่อตรงแบบ PCIe x2 x4 ทําให้ประสทิ ธภิ าพมากกว่า SATA แบบเดิม ๆ อัป
เดตขอ้ มลู เพิม่ เติมได้ทีเ่ วบ็ ไซต์ https://www.addin.co.th/blog/harddisk-and-ssd และ
https://www.synnex.co.th/th/community_details.
aspx?category_id=2&detail_id=665&ispdf=True)

https://bit.ly/34m5cóm https://bit.ly/2YK1LoW

3) การพจิ ารณาความเรว็ ของฮาร์ดดสิ ก์
มปี ัจจยั หลายประการด้วยกนั ในการพิจารณาความเร็วของฮาร์ดดิสก์ สามารถพิจารณาได้
จากปจั จยั ดังต่อไปนี้ คือ
(1) เวลาคน้ หา (Seek Time)
คอื เวลาท่แี ขนของหัวอา่ น/บันทกึ เคล่อื นทีไ่ ปยังแทรกหรอื ไซลินเดอร์ที่ตอ้ งการ โดยมี
หน่วยวดั ความเรว็ เป็นมลิ ลิวินาที (Millisecond)
(2) เวลาแฝง (Rotation Delay or Latency Time)
คือ เวลาท่ตี ําแหน่งข้อมลู ทต่ี ้องการในแตล่ ะแทร็กหมนุ มายงั ตําแหนง่ ของหวั อ่าน/บันทกึ เพือ่ ท่ีจะถ่ายโอน
ขอ้ มูลไปยงั หนว่ ยความจาํ หลัก โดยมีหน่วยวดั ความเรว็ เป็นมิลลิวนิ าที
(3) เวลาเขา้ ถึง (Access Time)
คอื เวลารวมของเวลาคน้ หาและเวลาแฝง (Seek Time + Latency Time) (4) เวลาถ่ายโอนขอ้ มลู (Transfer
Time)คือ เวลาการถ่ายโอนข้อมูลระหวา่ งตําแหนง่ ข้อมูลบนแทร็กนัน้ ๆ ไปยังหนว่ ยความจําหลกั ความเร็วใน
การถ่ายโอนขอ้ มูลนีจ้ ะขนึ้ อยู่กบั ความเร็วรอบการหมนุ ของแพลตเตอร์ซง่ึ มหี นว่ ยเป็นบิตตอ่ วินาที
ซึ่งมหี นว่ ยเป็น RPM รวมถึงความหนาแน่นของข้อมลู ในแต่ละแทร็ก (Track Per Inch : TPI) ดว้ ย
4) ฮาร์ดดิสกแ์ บบเคลอื่ นยา้ ยได้
ฮารด์ ดิสก์ฮ็อตสว็อป (Hot Swappable Hard Disk) นยิ มใช้กับเคร่ืองระดับไมโคร คอมพวิ เตอร์ และเครื่อง
คอมพวิ เตอรร์ ะดับสูง โดยเฉพาะคอมพิวเตอรท์ ี่ทําหนา้ ทเ่ี ปน็ เครือ่ งแม่ข่าย (Server) เพราะความเรว็ ในการ
ทํางานทีเ่ ทยี บเทา่ ฮารด์ ดิสก์ท่ีใสอ่ ยใู่ นเคร่ืองคอมพวิ เตอรแ์ ล้ว ยงั สามารถถอดเข้าออก จากเครอ่ื งได้โดยไมต่ ้อง
ปิดเคร่ืองเลย และยังสามารถรองรบั กับงานข้อมลู ทีม่ ีการขยายตัวเพิ่มข้ึนเร่ือย ๆ

https://bit.ly/35VsWiv https://bit.ly/371200J

2.1.4 เทปแมเ่ หล็ก (Magnectic Tape)
เทปแมเ่ หล็กเปน็ สื่อจัดเก็บข้อมูลท่นี ยิ มใช้มานาน แต่ในปจั จบุ ันความนยิ มของเทปแม่เหล็ก ได้ลดนอ้ ยลงมาก
เนอ่ื งจากการเข้าถึงข้อมูลเป็นไปในลักษณะแบบลาํ ดับ (Sequential) ซ่ึงชา้ กวา่ แบบเขา้ ถึงโดยตรง (Direct
Access) อย่างแมกเนติกดิสก์ แตอ่ ยา่ งไรกต็ าม เทปแมเ่ หล็กยังคงนยิ มใชส้ ําหรับจัดเกบ็ ข้อมลู สํารองต่าง ๆ
เนือ่ งจากเทปแม่เหลก็ มีความจุสงู และเคลอ่ื นย้ายได้งา่ ยเม่ือเทียบปริมาณความจกุ บั ราคา ถอื วา่ มรี าคาถูกและ
คุม้ คา่ ปจั จุบันเทปแมเ่ หล็กมีหลายชนิดด้วยกนั เช่น เทปแม่เหล็กแบบม้วน ซึ่งมักใช้กับเครอื่ งระดบั ใหญ่ เชน่
มนิ ิคอมพิวเตอร์ และเมนเฟรมคอมพิวเตอร์ นอกจากน้ี ยงั มีเทปแบบตลับคาสเซ็ต คาร์ทริดจ์ ที่มักใช้งาน บน
ไมโครคอมพวิ เตอร์ รวมท้ังเทปชนดิ DAT ฯลฯ

9https://bit.ly/38EgS ttps://bit.ly/36UCTy https://bit.ly/3og2Eeh https://bit.ly/2RWD
https://bit.ly/32e1Uon Hy1

2.2 ส่ือจัดเกบ็ ข้อมูลท่ีใชเ้ ทคโนโลยแี บบแสง (Optical Storage)
แนวโน้มการจัดเกบ็ ขอ้ มลู ดว้ ยส่อื จดั เกบ็ ข้อมลู ทใี่ ชเ้ ทคโนโลยอี อปติคัล มคี วามนยิ มสงู ข้ึนเปน็ ลาํ ดับ เนื่องจากมี
ความจสุ งู ทนทาน และมีราคาถกู และโปรแกรมต่าง ๆ ในปัจจุบนั ส่วนใหญผ่ ้ผู ลิตมกั นาํ โปรแกรมมาบันทกึ
ลงในแผน่ ซีดกี ันส่วนมาก เชน่ ซดี รี อม ซีดีอาร์ ซีดีอาร์ดบั บลวิ ดวี ีดรี อม และแมกนโี ตออปตคิ ัลดสิ ก์

2.2.1 ซดี รี อม (Compact Disc Read-Only Memory : CD-ROM)
ส่ือบันทึกขอ้ มูลทป่ี ัจจุบันไมน่ ิยมใช้แลว้ เดมิ ใช้เป็นส่ือบันทกึ ข้อมูลเสียงในระบบสเตอรโิ อ โดย เทคโนโลยี
นีไ้ ด้รับการพฒั นาขนึ้ โดยบริษัท ฟลิ ปิ ส์ และบริษัท โซนี มีวัตถปุ ระสงค์เพ่ือใชบ้ ันทึกเพลงแทนการบนั ทกึ ดว้ ย
แผน่ เสยี ง อนั เนือ่ งจากแผน่ เสียงเสียง่ายและมีเสยี งรบกวนมาก จึงแกป้ ัญหาดว้ ยการบันทึกเสยี งด้วยระบบ
ดิจิทัล ลงในแผน่ ซดี ีรอม ซงึ่ แผน่ ซีดรี อมการแปลงสญั ญาณเสียง ใหเ้ ปน็ สัญญาณดจิ ิทลั หัวอา่ นเลเซอร์ท่ีมิได้
สัมผัส กบั พ้ืนผวิ โดยตรง จงึ ทาํ ใหแ้ ผ่นซีดรี อมสึกหรอยากและ ไมเ่ กดิ เสยี งรบกวน

ข้อมลู ในปจั จบุ ันมักเปน็ ข้อมลู ลักษณะมลั ติมเี ดีย ขนาดไฟลข์ อ้ มลู มีความจุมาก ดงั นน้ั ประมาณ
600-700 เมกะไบต์ ข้อมูลในแผน่ ซีดีรอมสามารถเรยี กใชง้ านหรืออา่ นไดเ้ พียงอย่างเดียว (Read Only) ไม่
สามารถแก้ไขข้อมูลได้ แผ่นซีดีรอมที่ใช้บนั ทึกขอ้ มูล ทางคอมพิวเตอร์จะเปน็ อปุ กรณ์ประเภทเดยี วกบั แผน่ ซีดี
เพลงทวั่ ๆ ไป แตกต่างกนั ตรงข้ันตอนการจดั รูปแบบเนื้อท่บี นแผน่ เพ่ือให้สามารถจดั เก็บข้อมูลทม่ี ีลักษณะ
แตกต่างกนั ได้

ลกั ษณะภายนอกของแผ่นซีดรี อมเป็นวตั ถทุ รงกลม ทําจากพลาสตกิ โพลีคาร์บอเนต(Polycarbonate)
มีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ 4.75 นิ้ว ส่วนด้านบนั ทกึ ข้อมูลสเี ปน็ แสงเงินแวววาว ความเรว็ ของเคร่ือง
อ่านซีดีรอมปจั จบุ ันมีความเร็วมากกวา่ 50X โดยความเร็วที่ 1X (Single Speed) จะมอี ัตรา

https://bit.ly/2R01n3x, https://bit.ly/2YNoJvw

ความเร็วในการโอนถา่ ยข้อมูลประมาณ 150 KBps (Kilobytes Per Second) ดงั นน้ั ถ้าเคร่อื งอ่านซีดรี อมมี
ความเร็ว 71 50X จะมีอตั ราความเร็วในการโอนถ่ายข้อมูลที่ 7500 KBps ช้ากวา่ ฮาร์ดดิสก์
2.2.2 ดวี ดี ีรอม (Digital Versatile Disc Read-Only Memory : DVD-ROM)
เปน็ ส่อื บันทึกขอ้ มูลที่นยิ มนาํ มาบนั ทึกภาพยนตรเ์ นื่องจากมีความจสุ ูงมากถึง 7 เทา่ โดยแผ่นดวี ดี ีรอมสามารถ
บนั ทึกข้อมลู ไดท้ งั้ สองดา้ น เม่ือเทียบกบั แผน่ ซีดรี อม แต่ละด้านสามารถจุข้อมูลได้ถึง 4.7 GB (กิกะไบต์) รวม
ความจทุ ้งั สองดา้ นสามารถจุข้อมูลได้มากถึง 17 กิกะไบต์

แผน่ ดวี ดี รี อมไดถ้ ูกออกแบบมาเพื่อใช้สาํ หรบั จดั เก็บข้อมลู ภาพยนตร์ ซง่ึ โดยทั่วไปมคี วามยาว
ประมาณ 2 ชว่ั โมง การบนั ทึกขอ้ มูลลงในแผน่ ดีวีดี ใชเ้ ทคโนโลยกี ารปิดอัดข้อมูลทีเ่ รียกว่า MPEG-2 สาเหตุ
แทรก็ ของแผ่นดวี ดี ีรอมจะมขี นาดเลก็ กวา่ แผ่นซีดรี อม และรอ่ งเก็บข้อมูลเล็กกว่า ทําให้ความหนาแนน่ ของ
ข้อมลู ที่แผน่ ดวี ีดีรอมสามารถจดั เกบ็ ข้อมลู ได้ในปริมาณมากทั้ง ๆ ท่ีมีขนาดเทา่ กบั แผ่นซดี ีรอม เนื่องจาก
ช่องว่างระหว่าง ในแทรก็ ต่อความยาวหนึง่ นิว้ ของแผ่นดวี ีดีรอมมีมากกวา่ ถึง 2 เท่า ส่วนด้านความเร็วในการ
ถา่ ยโอนข้อมลู สงู กว่า ทาํ ให้การชมภาพยนตร์ทเ่ี คลื่อนไหวดูเปน็ ธรรมชาติ ส่วนระบบเสยี งทบ่ี นั ทึกลงในแผน่ ดวี ี
ดมี ีระบบการบันทึกเสียง ที่มีคุณภาพดีกวา่ แผน่ ซีดรี อม จากข้อดีหลาย ๆ ขอ้ ทําใหแ้ ผน่ ดีวดี ีมรี าคาสูงกวา่ แผน่
ซดี ีรอม นอกจากน้ี ยงั มี เคร่ืองบันทกึ แผ่นดีวดี ี (DVD-Writer) แผน่ ดีวดี ีอาร์ (DVD-R) ผูใ้ ช้บนั ทกึ ข้อมลู ได้คร้งั
เดียว และแผ่นดวี ีดี ทบี่ ันทึกข้อมลู ได้หลายครัง้ แตต่ ้องลบท้ังแผน่ ความจุ 4.7 GB (DVD-Rewriteable :
DVD-RW) ซ่งึ มลี ักษณะ คลา้ ยกบั แผ่น CD-RW (คําวา่ RW ยอ่ มาจาก Rewriteable) หมายถงึ เขียนหรือลบ
ขอ้ มูลได้หลายคร้งั และแผ่น DVD-RW เขยี นหรอื ลบได้หลายครง้ั ไมต่ ้องเขยี นหรอื ลบทั้งหมด มีความจุ 4.7
GB และ 8.5 GB
2.2.3 ซดี ีอาร์ (Compact Disk Recordable : CD-R) และซีดีอารด์ บั บลวิ (Compact Disk
ReWritable : CD-RW)

ซดี อี าร์ (CD-R) คือ แผ่นบันทกึ ซดี ีทผ่ี ใู้ ชส้ ามารถบันทึกข้อมลู ลงในแผน่ ไดห้ ลายครง้ั จนเต็มแผน่ และ
สามารถอา่ นไดห้ ลายครั้ง แตไ่ ม่สามารถบันทึกข้อมลู ทับหรือลบข้อมลู เดมิ ท่ีบนั ทกึ แล้วได้ การบันทึกขอ้ มลู ได้
หลายครั้งเรียกว่า มัลตเิ ซสชัน (Multisession) ซ่ึงเป็นการแบง่ การบันทึกข้อมลู ทลี ะส่วนที่เรยี กวา่ เซสชัน แต่
ละเซสชันประกอบด้วยหลาย ๆ แทร็ก เมื่อเซสชนั หนึง่ ไดบ้ ันทึกข้อมลู เสรจ็ เรยี บร้อย โดยพ้ืนท่ีบนซดี ี ยังพอมี
พน้ื ที่เหลือพอในการบันทึกขอ้ มลู ต่อได้อีก การบนั ทึกข้อมูลในคราวตอ่ ไปกจ็ ะทําได้ดว้ ยการเปิดเซสชนั ตอ่ จาก
เดิม ซึ่งจะเปน็ เซสชนั ทีต่ อ่ จากแทรก็ ท่ผี า่ นการบนั ทึกมาก่อนหน้านั้นสารพิเศษทีไ่ วต่อความร้อน โดยตัวหัว
บนั ทกึ ข้อมลู เลเซอรใ์ นเคร่ืองบันทกึ ซีดีน้นั จะเบิรน์ พืน้ ผวิ ดังกลา่ วซีดีอาร์แตกต่างกบั ซดี ีรอมตรงด้านบนั ทึก
ข้อมลู ของแผ่นซดี ีอาร์นนั้ จะมีสีฟ้าอมเขยี ว ซ่ึงเป็นในการบันทกึ ข้อมูลเครื่องอ่านหรือบันทึกแผ่นซดี ี กําลังจะ
กลายเปน็ มาตรฐานทเ่ี ครื่องคอมพวิ เตอร์จาํ เป็นต้องมีเพราะปจั จุบนั เคร่ืองบนั ทึกแผน่ ซดี ีมรี าคาถูก สะดวกใน
การบันทกึ ข้อมูลชนิดมลั ติมเี ดีย หรือไฟล์ข้อมูลท่มี ขนาดความจมุ าก ๆ ซึ่งแผ่นซีดจี ะมคี วามทนทานกวา่ แผน่
ดสิ กเ์ กต็ และเกบ็ ได้ระยะยาวนานกว่า

https://bit.ly/2PMDbjl https://bit.ly/30wvv https://bit.ly/379yMi0, https://bit.ly/2RQ8UCU
H2,

รายละเอียดความเรว็ ทร่ี ะบุตัวเลขไวบ้ นเคร่ือง เชน่ 40X, 48X, 50X หมายถึง
1) ความเรว็ ในการเขียนแผ่นซีดอี าร์ (CD-Recordable) 40 เท่า
2) ความเรว็ ในการเขยี นแผน่ ซดี ีอารด์ ับบลิว (CD-Rewritable) 12 เท่า
3) ความเร็วในการอา่ นแผน่ ซีดที ่วั ไป 48 เท่า

https://bit.ly/38DRSO8 https://bit.ly/2vkigNR https://bit.ly/30t04NL https://bit.ly/2LTCx2m

นอกจากนี้ ยังมีสื่อจัดเกบ็ ข้อมูลชนิดอ่ืน ๆ เชน่ โฟโตซ้ ดี ี (Photo CD) เปน็ เทคโนโลยีของบรษิ ทั โกดักท่ี
ใชจ้ ดั เกบ็ รูปภาพในรูปแบบของโฟโตซ้ ดี ี สอ่ื จัดเก็บข้อมลู ท่ีผสมผสานเทคโนโลยีแม่เหล็ก (Magnetic) กับ
เทคโนโลยแี สง (Optical) ไว้ดว้ ยกนั อยา่ งแมกเนโตดิสก์ (Magne-To-Disk) หรอื ออปตคิ ัลดสิ ก์ (Optical Disk)
รวมทัง้ ส่ือจัดเก็บข้อมลู แบบอิเลก็ ทรอนิกส์ เชน่ หนว่ ยความจาํ แบบแฟลช (Flash Memory) ทีใ่ ชก้ บั
คอมพวิ เตอร์ กล้องดจิ ิทัล กล้องวิดีโอ และอุปกรณส์ ่ือสารต่าง ๆ ๆ

2.2.4 บลูเรยด์ ิสก์ (Blu-ray Disc) หรอื บดี ี (BD)
บลูเรย์ดิสก์ คอื รูปแบบของแผน่ ออปติคัล สําหรบั บันทกึ ข้อมลู ความละเอยี ดสงู ชอ่ื ของ Blu-ray มา
จากช่วงความยาวคลนื่ ที่ใชใ้ นระบบบลเู รย์ท่ี 405 nm ของเลเซอรส์ ีฟ้า ซง่ึ ทําใหส้ ามารถเกบ็ ข้อมลู ได้มากกว่า
ดวี ีดีที่มีขนาดแผน่ เทา่ กนั โดยดีวดี ใี ชเ้ ลเซอร์สีแดงความยาวคลื่น 650 nm
ประวตั บิ ลเู รย์พฒั นาโดยกลมุ่ ของบริษัทท่เี รียกว่า Blu-ray Disc Association ซง่ึ นําโดยฟลิ ปิ ส์ และ
โซนี เปรยี บเทยี บกบั เอชดี-ดีวีดี (HD-DVD) ทม่ี ลี ักษณะและการพัฒนาใกลเ้ คยี งกัน บลเู รยม์ ีความจุ 25 GB ใน
แบบเลเยอร์เดยี ว (Single-Layer) และ 50 GB ในแบบสองเลเยอร์ (Double-Layer) ขณะทีเ่ อชดี-ดีวีดี
แบบเลเยอร์เดยี วมี 15 GB และสองเลเยอรม์ ี 30 GB
ความจขุ องบลเู รย์ดิสก์ ซง่ึ ปกตแิ ผน่ บลูเรย์นั้นจะมลี ักษณะคลา้ ยกับแผน่ ซดี ี/ดีวีดี โดย แผน่ บลเู รย์จะมี
ลกั ษณะแบบหนา้ เดียว และสองหน้า โดยแต่ละหนา้ สามารถรองรับไดม้ ากถงึ 2 เลเยอร์ อาทิ แผ่น BD-R (SL)
หมายถงึ Blu-Ray Disc ROM แบบ Single Layer แบบหน้าเดยี ว มคี วามจุ 25 GB แผน่ BD-R (DL) หมายถึง
Blu-Ray Disc ROM แบบ Double Layer แบบหนา้ เดียว มีความจุ 50 GB แผ่น BD-R (2DL) หมายถึง Blu-
Ray Disc ROM แบบ Double Layer แบบสองหนา้ มคี วามจุ 100 GB
ส่วนความเรว็ ในการอา่ นหรือบันทึกแผ่น Blu-Ray ที่มคี า่ 1x, 2x, 4x ในแตล่ ะ 1x จะมคี วามเร็ว 36 เม
กะบิตต่อวินาที น่ันหมายความวา่ 4x จะสามารถ บนั ทกึ ได้เร็วถงึ 144 เมกะบติ ต่อวนิ าที โดย มี
นักวิทยาศาสตรจ์ าก NASA เปน็ ผู้พฒั นาตอ่ จากระบบ บันทึกข้อมลู ที่ใชใ้ นโครงการอวกาศ

https://bit.ly/38jSesy https://bit.ly/388d3qG

บลเู รยด์ สิ ก์ในปจั จบุ นั ได้มีการนําไปใช้ในแผ่นดสิ ก์ของเคร่ืองเกม Playstation 3 ซึ่งสามารถรองรับ 3
ความสามารถทีส่ ูงของเครื่องเกมได้ดีทีเดียว อยา่ งไรกต็ าม ในปัจจุบนั ต้องยอมรับว่า Blu-ray Disc ยงั มตี ้นทนุ
ของ หวั อ่านที่สงู และภาพยนตรท์ มี่ คี วามละเอียดสงู (High-definition) ยงั ไมเ่ ปน็ ท่ีแพรห่ ลายในตลาดมากนัก
แต่ในอนาคตเทคโนโลยี Blu-ray เป็นทีน่ า่ จับตามองเปน็ อย่างย่งิ ว่าจะเปน็ ผ้พู ลิกวงการแผน่ ดิสก์และวงการ
ภาพยนตร์ ใหโ้ รงภาพยนตรม์ าอยทู่ ี่บา้ นหรือไม่ (ดขู ้อมลู เพิ่มเตมิ ท่เี วบ็ ไซต์
http://202.129.59.73/nana/beyond/blu-ray/
blu-ray.htm)

2.2.5 หนว่ ยความจาํ แบบแฟลช (Flash Memory)
หนว่ ยความจําแรม แบบ Nonvolatile
เปน็ อุปกรณ์จัดเก็บข้อมูลชนดิ หนงึ่ ท่ีมีความสามารถในการเข้าถึงข้อมลู ได้อยา่ งรวดเรว็ เช่นเดียวกับ แต่
หน่วยความจําแบบแฟลชจะมีความแตกต่างกับหน่วยความจําแรมตรงท่เี ปน็ หน่วยความจํา
ซงึ่ ขอ้ มูลจะคงสภาพอยูถ่ ึงแม้จะไม่มีกระแสไฟฟ้าเลี้ยง และเนื่องจากเปน็ อปุ กรณ์ทเ่ี ขา้ ถึงขอ้ มลู
ได้อย่างรวดเรว็ จงึ มกั นํามาใช้จดั เกบ็ ข้อมลู ภาพต่าง ๆ เช่น ภาพถา่ ยจากกล้องดจิ ทิ ลั

https://bit.ly/2R1NgdQ,
https://bit.ly/2RrUp6d,
https://bit.ly/2tgLmx,
https://bit.ly/2FWjrFm,
https://bit.ly/361liTS,
https://bit.ly/374Drld,
https://bit.ly/2TtNoVn,
https://bit.ly/34kqG3R

ชนดิ ของหน่วยความจําแบบแฟลช
จะมีอยหู่ ลายรปู แบบด้วยกนั เชน่ หนว่ ยความจํา แบบแฟลชทอี่ ยใู่ นรูปแบบของการด์ หน่วยความจาํ
(Memory Card) u Memory Stick, Compact Flash SmartMedia, SD Card, Multimedia Card (MMC)
สว่ นขนาดความจุก็มีหลายขนาด ให้เลือกใช้งาน เชน่ ความจขุ นาด 16, 32, 64, 128 หรือ 256 เมกะไบต์
จนถงึ หน่วยกิกะไบต์ นอกจากน้ี ยงั มหี นว่ ยความจําแบบแฟลชที่มีอินเตอร์เฟซ ในรูปแบบยเู อสบี (USB) ที่
สามารถเสยี บเข้าโดยตรง กับพอรต์ ยูเอสบีในคอมพิวเตอร์ เพือ่ ใช้บนั ทกึ หรือ อ่านข้อมูล ซ่ึงมีชือ่ เรยี กทแี่ ตกตา่ ง
กนั ตามผู้ผลิต เชน่ Thumb Drive, Flash Drive so Handy Drive

https://bit.ly/36zRvCE, https://bit.ly/2PLdoYG, https://bit.ly/2RocjXL,
https://bit.ly/2tjc34m https://bit.ly/30tbh0C

2.3 โซลดิ สเตตไดรฟ์ (Solid State Drive) หรอื เอสเอสดี (SSD)
เปน็ อปุ กรณ์ทมี่ ีอายยุ นื ยาวกว่าอุปกรณ์ทมี่ ีความรอ้ น เพราะมีความทนทานต่อการสัน่ สะเทอื น อยา่ งฮาร์ดดิสก์
ราคาค่อนข้างสงู อนาคต SSD ราคาจะย่อมเยาลงและเขา้ มาแทนทีฮาร์ดดิสก์ ปัจจบุ นั มีความ ขอ้ มลู ในเคร่ือง
คอมพิวเตอร์ มีขนาดเล็ก ทนทาน เบา ทาํ งานไดร้ วดเร็ว ไมม่ ีชน้ิ สว่ นทเี่ ป็นกลไก หัวเขม็ หรือจานหมนุ ท่ี
หลากหลายตัง้ แต่ 32 GB-1 TB (ดขู ้อมูลเพิ่มเติมทเ่ี ว็บไซต์ http://th.wikipedia.org/wiki/โซลิดสเตตไดรฟ์)

https://bit.ly/2sr8zf0, https://bit.ly/2tqRVND,
https://bit.ly/30tzzHS, https://bit.ly/2G2Eypm

สรุปท้ายหน่วย
สอ่ื บนั ทกึ ขอ้ มูลหรือสือ่ จัดเก็บขอ้ มูล (Media) เปน็ อุปกรณ์ทใี่ ช้จดั เก็บข้อมูล ชุดคําสง่ั และ สารสนเทศอน่ื
ๆ ซ่ึงถือเปน็ หนว่ ยความจาํ สํารอง (Secondary Storage) คอื หนว่ ยความจําหลัก ของคอมพิวเตอร์ท่ีใช้
งานในเคร่ืองคอมพิวเตอร์ ซ่ึงเปน็ อปุ กรณส์ ารกึง่ ตัวนาํ (Semiconductor) สามารถแบง่ เปน็ 2 ประเภท
คอื
1. หน่วยความจําชัว่ คราว (แบบโวลาไทล์ Volatile Memory) คอื หนว่ ยความจําท่ีตอ้ งมี กระแสไฟฟา้ จา่ ย
ใหก้ ับหน่วยความจาํ ตลอดเวลา เพ่อื จาํ ข้อมูลต่าง ๆ ได้แก่ RAM (Random Access Memory) ข้อมลู จะ
สูญหายหากปิดเครื่องคอมพิวเตอร์ หรอื หากปราศจากกระแสไฟเล้ยี ง 2. หน่วยความจาํ ถาวร (แบบนอนโว
ลาไทล์ Nonvolatile Memory) คอื หนว่ ยความจาํ ทสี่ ามารถเก็บข้อมูลไว้ได้โดยไม่จําเป็นตอ้ งจา่ ย
กระแสไฟฟา้ ให้กบั หนว่ ยความจํา ขอ้ มูลสาํ คญั ตา่ ง ๆ จาํ เป็นตอ้ งมีการจัดเก็บไวบ้ นหน่วยความจําถาวร
กอ่ นทจ่ี ะปิดเครื่อง เพ่อื เกบ็ ไว้ใชง้ าน วนั ขา้ งหน้าตอ่ ไป ได้แก่ ROM (Read Only Memory)
ชนิดของสอื่ จดั เกบ็ ข้อมูล สามารถจดั แบ่งออกเป็น 3 ชนิด คอื
1. สื่อบันทกึ ข้อมลู ท่ีใช้เทคโนโลยแี บบแม่เหลก็ (Magnetic Storage)
2. ส่ือจัดเก็บข้อมูลท่ีใช้เทคโนโลยีแบบแสง (Optical Storage) ซ่ึงสอื่ บนั ทกึ ขอ้ มลู ส่วนใหญ่มกั จะเปน็
ลกั ษณะใดลักษณะหน่งึ ในสองชนดิ น้ี สื่อบนั ทกึ ขอ้ มลู บางชนิดท่ใี ช้เทคโนโลยี ทง้ั สองรวมกัน คอื สื่อแบบ
แม่เหล็กและแสง เช่น Magneto-Optical Disk
3. โซลิดสเตต (Solid State) สื่อบันทกึ ขอ้ มลู แบบซีดี ปัจจุบนั มักเปน็ ข้อมูลลักษณะมลั ติมเี ดีย ขนาด
ไฟลข์ ้อมลู มีความจมุ าก ดงั นน้ั จงึ นิยมหันมาใชแ้ ผ่นซีดรี อมและดีวีดรี อมแทน นอกจากนี้ ยงั มสี อ่ื จัดเก็บ
ข้อมลู ชนิดอ่นื ๆ เชน่ โฟโต้ซีดี (Photo CD) ส่ือจัดเกบ็ ข้อมลู ท่ผี สมผสาน เทคโนโลยีแมเ่ หล็ก (Magnetic)
กับเทคโนโลยแี สง (Optical) ไวด้ ้วยกันอย่างแมกเนโตดิสก์ (Magne-To-Disk) หรือออปติคลั ดสิ ก์ (Optical
Disk) รวมทัง้ ส่อื จัดเก็บข้อมูลแบบอเิ ลก็ ทรอนิกส์ เช่น หนว่ ยความจาํ แบบแฟลช (Flash Memory) ท่ใี ชก้ บั
คอมพิวเตอร์ กลอ้ งดจิ ิทลั กล้องวดิ โี อ และอุปกรณส์ ่อื สารต่าง ๆ


Click to View FlipBook Version