The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

ประกอบการเรียนวิชา การจัดกิจกรรมภาษาและการสื่อสาร

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by supin1337, 2021-04-25 02:05:15

ทฤษฎีและพัฒนาการทางภาษาของเด็กปฐมวัย

ประกอบการเรียนวิชา การจัดกิจกรรมภาษาและการสื่อสาร

Keywords: การจัดกิจกรรม,ภาษาการสื่อสาร

เดก็ ปฐมวยั เรียนรู้ภาษา จากส่ิงแวดล้อมใกล้ตัวท้งั สิ่งแวดล้อมท่ีบ้าน และโรงเรียน เด็กจะเรียนรู้การฟัง
และการพูดก่อน เพราะการฟังและการพูดเป็ นของคู่กนั เป็ นพนื้ ฐาน

ทางภาษา กล่าวคอื เมอ่ื ฟังแล้วก็ย่อมต้องพูดสนทนาโต้ตอบได้ การเรียนภาษาของเด็กปฐมวยั ไม่
จาเป็ นต้องอาศัยการสอนอย่างเป็ นทางการ หรือตามหลกั ไวยกรณ์ แต่จะเป็ นการเรียนรู้

จากการมปี ฏิสัมพนั ธ์กบั คนรอบข้างหรือสิ่งแวดล้อมรอบตวั หรือเป็ นการสอนแบบธรรมชาติ

ทฤษฎเี กย่ี วกบั การเรียนรู้ภาษา

การเรียนรู้ภาษาของเด็กปฐมวยั มหี ลายทฤษฎที ่คี วรกล่าว
อ้างถงึ มดี งั นี้

1. ทฤษฎขี องนักพฤตกิ รรมศาสตร์ (The Behaviorist View)
2. ทฤษฎสี ภาวะตดิ ตวั โดยกาเนิด (The Nativist View)
3. ทฤษฎขี องนักสังคมศาสตร์ (The Socialist View)
4. ทฤษฎพี ฒั นาการทางสตปิ ัญญาของเพยี เจท์ (Piaget Theory)
5. ทฤษฎขี องนักจติ วทิ ยาภาษาศาสตร์ (Psycholinguistics Theory)

1. ทฤษฎขี องนักพฤตกิ รรมศาสตร์ (The Behaviorist View)

ทฤษฎีน้ีมีความเช่ือเกี่ยวกบั การเรียนรู้ภาษาของเดก็ โดยกลา่ ววา่
การเรียนรู้ภาษาของเดก็ เป็นการเรียนรู้ที่เกิดข้ึนจากผลการปรับ
ส่ิงแวดลอ้ มของแต่ละบุคคลท่ีมีอยใู่ นตนเอง ในขณะท่ีเดก็ เจริญเติบโต
ข้ึนเรื่อย ๆ แรงเสริมในทางบวกจะถูกนามาใชเ้ ม่ือภาษาของเดก็
ใกลเ้ คียง หรือถกู ตอ้ งตามภาษาผใู้ หญ่ ซ่ึงนกั พฤติกรรมศาสตร์มีความ
เช่ือเกี่ยวกบั การเรียนภาษาของเดก็

2. ทฤษฎสี ภาวะตดิ ตวั โดยกาเนดิ (The Nativist View)

ทฤษฎีน้ีมีความเชื่อเก่ียวกับกฎธรรมชาติ หรือกฎเกี่ยวกับส่ิงท่ี
เป็ นมาแต่กาเนิด โดยมีความคิดเห็นเกี่ยวกับการเรียนรู้ภาษาของเด็ก
แตกต่างจากนกั พฤติกรรมศาสตร์สองประการสาคญั คือ
1. การใหค้ วามสาคญั ต่อองคป์ ระกอบภายในบุคคลเกี่ยวกบั การ
เรียนรู้ภาษา
2. การแปลความบทบาทขององคป์ ระกอบทางสิ่งแวดลอ้ มในการ
เรียนรู้ภาษา

3. ทฤษฎขี องนักสังคมศาสตร์ (The Socialist View)

นักทฤษฎีสังคมหรือทฤษฎีวฒั นธรรมจะให้ความสนใจเก่ียวกับ
ผลกระทบของส่ิงแวดลอ้ มทางภาษาของผใู้ หญ่ท่ีมีต่อพฒั นาการทางภาษา
ของเด็ก ผลการวิจยั กล่าววา่ วิธีการท่ีผใู้ หญ่หรือพอ่ แม่ปฏิบตั ิต่อเด็กมีผลต่อ
พฒั นาการทางภาษา และพฒั นาการทางสติปัญญาของเด็ก วิธีการเหล่าน้ี
ไดแ้ ก่ การอ่านหนังสือให้เด็กฟัง การสนทนาระหว่างรับประทานอาหาร
การแสดงบทบาทสมมุติ การสนทนา เป็นตน้

4. ทฤษฎพี ฒั นาการทางสตปิ ัญญาของเพยี เจท์ (Piaget Theory)

เพียเจท์ (Piaget) ยืนยนั ว่า พฒั นาการทางภาษาของเด็กเป็ นไป
พร้อม ๆ กับความสามารถด้านการให้เหตุผล การตัดสิน และด้าน
ตรรกศาสตร์ เดก็ ตอ้ งการสิ่งแวดลอ้ มท่ีจะส่งเสริมใหเ้ ดก็ สร้างกฎ ระบบ
เสียง ระบบคา ระบบประโยค และความหมายของภาษา นอกจากน้ีเด็ก
ยงั ตอ้ งการฝึกภาษาดว้ ยวธิ ีการหลาย ๆ วธิ ีและจุดประสงคห์ ลาย ๆ อยา่ ง

5. ทฤษฎขี องนกั จติ วทิ ยาภาษาศาสตร์ (PSYCHOLINGUISTICS THEORY)

ทฤษฎีน้ีชอมสก้ี กล่าวว่า การเรียนรู้ภาษาเป็ นเร่ืองซับซ้อนซ่ึง
จะตอ้ งคานึงถึงโครงสร้างภาษาในตวั เด็กดว้ ย เพราะบางคร้ังเด็กพูดคา
ใหม่โดยไม่ไดร้ ับแรงเสริมมาก่อนเลย เขาอธิบายการเรียนรู้ภาษาของเด็ก
ว่าเม่ือเด็กไดร้ ับประโยค หรือกลุ่มคาต่าง ๆ เขา้ มาเด็กจะสร้างไวยกรณ์
ข้ึน โดยใชเ้ ครื่องมือการเรียนรู้ภาษาที่ติดตวั มาแต่กาเนิด ซ่ึงไดแ้ ก่อวยั วะ
เก่ียวกบั การพดู การฟัง

ทฤษฎเี กย่ี วกบั พฒั นาการทางภาษา

ทฤษฎีเกี่ยวกบั พฒั นาการทางภาษามีหลายทฤษฎี ดงั น้ี
1. ทฤษฎีความพึงพอใจแห่งตน (The Autism Theory หรือ Austistic Theory)
2. ทฤษฎีการเลียนแบบ (The Imitation Theory) เลวสิ (Lawis)
3. ทฤษฎีเสริมแรง (Reinforcement Theory)
4. ทฤษฎีการรับรู้ (Motor Theory of Perception)
5. ทฤษฎีความบงั เอิญจากการเล่นเสียง (Babble Buck)
6. ทฤษฎีชีววทิ ยา (Biological Theory) เลน็ เบิร์ก (Lenneberg)
7. ทฤษฎีการใหร้ างวลั ของพอ่ แม่ (Mother Reward Theory) ดอลลาร์ด
(Dollard) และมิลเลอร์ (Miller)

พฒั นาการทางภาษาของเดก็ ปฐมวยั

เยาวพา เดชะคุปต์ ไดแ้ บ่งข้นั ตอนของพฒั นาการทางภาษาของเดก็ เป็น 7
ระยะคือ
1. ระยะเปะปะ (Randon Stage หรือ Prelinguistic Stage) อายแุ รกเกิด ถึง 6 เดือน
2. ระยะแยกแยะ (Jergon Stage) อายุ 6 เดือน ถึง 1 ปี
3. ระยะเลียนแบบ (Imitation Stage) อายุ 1 – 2 ปี
4. ระยะขยาย (The Stage of Expansion) อายุ 2 – 4 ปี
5. ระยะโครงสร้าง (Structure Stage) อายุ 4 – 5 ปี
6. ระยะตอบสนอง (Responding Stage) อายุ 5 – 6 ปี
7. ระยะสร้างสรรค์ (Creative Stage) อายุ 6 ปี ข้ึนไป

ปัจจยั ท่มี ีอทิ ธิพลต่อพฒั นาการทางภาษา

ปัจจยั ท่ีมีอิทธิพลต่อพฒั นาการหรือความกา้ วหนา้ ทางภาษา
ของเดก็ มีดงั น้ี
1. วฒุ ิภาวะ
2. ส่ิงแวดลอ้ ม
3. การเขา้ ใจความหมายภาษาท่ีใชพ้ ดู
4. การใหม้ ีพฒั นาการท้งั หมด (Develope as a Whole)
5. ข้นั ตอนและการจดั ช้นั เรียน
6. การมีส่วนร่วม (Participation)

นอกจากน้ี สุภาวดี ศรีวรรธนะ ยงั ไดก้ ล่าวถึง ปัจจยั ท่ีมีอิทธิพล
ต่อพฒั นาการทางภาษาของเดก็ วา่ ควรประกอบดว้ ยส่ิงสาคญั 2 ประการคือ
สถานภาพทางเศรษฐกิจและสงั คม การศึกษาและถ่ินที่อยขู่ องบิดา มารดา
ขนาดครอบครัว เพศ และอายุ

จากที่กล่าวขา้ งตน้ สรุปไดว้ า่ ปัจจยั ที่มีอิทธิพลต่อพฒั นาการทางภาษา
ของเดก็ ปฐมวยั ควรประกอบดว้ ยวฒุ ิภาวะหรือความพร้อมของพฒั นาการ
ทุกดา้ น เพศ อายุ ขนาดของครอบครัว สถานภาพทางเศรษฐกิจและสงั คม
ส่ิงแวดลอ้ มรอบตวั ท้งั บุคคลและสถานที่ ตลอดจนบุคลิกภาพ

จติ วทิ ยาการเรียนรู้ของเดก็ ปฐมวยั

จิตวิทยาการเรียนรู้หรือจิตวิทยาการเรียนการสอน เป็ นศาสตร์ ท่ีศึกษา
เกยี่ วกบั พฤตกิ รรมของมนุษย์ในส่วนทเ่ี กยี่ วข้องกบั การจัดการศึกษาหรือจดั การเรียน
การสอน ซึ่งเป็ นการนาเอาหลกั จติ วทิ ยามาใช้ให้เกดิ ประโยชน์ในการจดั การเรียนการ
สอนหรือการเรียนรู้ โดยมขี อบข่ายทส่ี าคญั 3 ประการคอื

 ศึกษาถึงธรรมชาติของการเรียนรู้ กระบวนการเรียนรู้ ตลอดถึงธรรมชาติของการคิด
การจา และการลืม

 ศึกษาถึงเชาวนป์ ัญญา ความถนดั ความสนใจ และทศั นคติ ซ่ึงเป็นองคป์ ระกอบ
สาคญั สาหรับการเรียนรู้

 ศึกษาถึงบุคลิกภาพ การปรับตวั และวธิ ีการปรับพฤติกรรม

การนาเสนอจิตวทิ ยาการเรียนรู้สาหรับเดก็ ปฐมวยั ในเอกสารเล่มน้ี ผเู้ ขียนขอ
นาเสนอเฉพาะในส่วนท่ีสาคญั และเกี่ยวขอ้ งกบั เดก็ ปฐมวยั 3 ประการดงั น้ี
 จุดมุ่งหมายของการศึกษาจติ วทิ ยาการเรียนรู้
 ธรรมชาตขิ องการเรียนรู้
 การเรียนรู้ทางภาษา

ความสัมพนั ธ์ของภาษากบั การคดิ

นั ก จิ ต วิ ท ย า ห ล า ย ท่ า น ไ ด้ ใ ห้ ค ว า ม เ ห็ น พ้อ ง กั น ว่ า ภ า ษ า กั บ ก า ร คิ ด มี
ความสัมพนั ธ์กนั อย่างใกลช้ ิด การคิดเป็ นรูปของพฤติกรรมชนิดหน่ึงที่ใชส้ ัญลกั ษณ์
เป็นตวั แทนของส่ิงของ หรือเหตุการณ์ต่าง ๆ แต่สญั ลกั ษณ์ก็ไม่ไดจ้ ากดั เฉพาะคาต่าง ๆ
ในภาษาที่เราใช้อยู่ทุกวัน แต่ยังรวมไปถึงสัญลักษณ์ประเภทอื่น ๆ ด้วย เช่น
เครื่องหมายทางคณิตศาสตร์ ป้ ายจราจร เป็ นตน้ แต่ภาษาก็เป็ นสัญลกั ษณ์ที่ใชม้ ากกว่า
สญั ลกั ษณ์ประเภทอ่ืน ๆ ที่ตอ้ งใชก้ ารคิดเป็นพ้นื ฐาน

บทสรุป

พฒั นาการทางภาษาเกิดข้ึนจากความพึงพอใจแห่งตน การเลียนแบบ การไดร้ ับ
การเสริมแรง ฯลฯ พฒั นาการทางภาษาของเด็กในระยะแรกประมาณ 1 เดือน เด็ก
สามารถจาแนกเสียงต่าง ๆ ได้ และจะพฒั นากา้ วหนา้ ข้ึนเรื่อย ๆจนประมาณ 4 – 5 ปี
เด็กจะสามารถส่ือสารไดอ้ ยา่ งมีประสิทธิภาพ ปัจจยั หรือองคป์ ระกอบที่มีอิทธิพลต่อ
พฒั นาการทางภาษาของเด็ก ไดแ้ ก่ วุฒิภาวะ ส่ิงแวดลอ้ ม สถานภาพทางสังคม ฯลฯ
อยา่ งไรก็ตามเดก็ ปฐมวยั จะเรียนรู้ภาษาไดด้ ี เมื่อเดก็ มีความพร้อม ซ่ึงความพร้อมของ
เด็กสามารถสอนหรือเตรียมให้แก่เด็กไดโ้ ดยการจดั ประสบการณ์ท่ีเหมาะสมให้แก่
เด็ก นอกจากน้ีนักจิตวิทยาได้ให้แนวคิดไวว้ ่าภาษาและการคิดมีความสัมพนั ธ์
สอดคลอ้ งกนั อย่างใกลช้ ิด เพราะมนุษยเ์ ม่ือมีการส่ือสารจะเก็บขอ้ มูลต่าง ๆ โดย
วิธีการจา เด็กอายุขวบคร่ึงเร่ิมมีพฒั นาการของภาษาในส่วนท่ีรับเสียงและเปล่ง
เสียงพดู แต่การพดู จะพฒั นาคอ่ นขา้ งชา้ กวา่ การฟัง


Click to View FlipBook Version