The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

Portfolio แฟ้มสะสมผลงานปี 4 รหัส62111566013

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by , 2023-03-03 10:25:39

แฟ้มสะสมผลงาน คุรุนิพนธ์

Portfolio แฟ้มสะสมผลงานปี 4 รหัส62111566013

PORTFOLIO นางสาวบุษชา บุญกมุติ แฟ้ฟ้ม ฟ้ ม ฟ้ สะสมผลงาน รหัสนักศึกษา: 62111566013 คณะครุศาสตร์ สาขา การศึกษาปฐมวัย มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์


PREFACE แฟ้มสะสมผลงาน(PORTFOLIO)นี้ข้าพเจ้าจัดทำ ขึ้น เพื่อเป็นตัวแทนนําเสนอเอกสารข้อมูลเกี่ยวกับ ประวัติ ส่วนตัว ประวัติการศึกษาและผลการเรียน หลักฐาน ประมาลผลการเรียนรู้การฝึกปฏิบัติวิชาชีพระหว่างเรียน และสะท้อนคิดเพื่อประยุกต์ใช้ ข้าพเจ้าหวังว่าแฟ้มสะสม ผลงานฉบับนี้จะทำ ให้ทุกท่านที่อ่านได้เห็นคุณค่าและ ความสามารถโดย รวมของข้าพเจ้า ขอขอบคุณคุณครูซึ่ง เป็นผู้ให้คำ แนะนํา ในการรวบรวมเอกสาร หลักฐาน และ ข้อมูลต่างๆ ในการจัดทำ แฟ้มสะสมผลงาน (PORTFOLIO) ฉบับนี้ให้สำ เร็จด้วยดี (นางสาว บุษชา บุญกมุติ) นักศึกษาฝึกปฏิบัติวิชาชีพระหว่างเรียน


CONTENT ข้อมูลทั่วไป ข้อมูลการฝึกปฏิบัติ วิชาชีพระหว่างเรียน หลักฐานประมวลผลการเรียนรู้ การฝึกปฏิบัติวิชาชีพระหว่างเรียน สะท้อนคิดเพื่อประยุกต์ใช้


CONTENT ภาคผนวก ภาพการปฏิบัติหน้าที่ด้านความสัมพันธ์ กับผู้ปกครองและชุมชน ภาพการปฏิบัติหน้าที่ครูและ จรรยาบรรณของวิชาชีพ ภาพการปฎิบัติหน้าที่ด้าน การจัดการเรียนรู้


PROFILE 093-0428267 [email protected] FAH BUTSACHA ข้อมูลส่วนตัว ชื่อ: บุษชา บุญกมุติ ชื่อเล่น: ฟ้า อายุ: 22 ปี กรุ๊ปเลือด: O วัน/เดือน/ปีเกิด: 9 มิถุนายน 2543 เชื้อชาติ: ไทย สัญชาติ: ไทย ศาสนา: พุธท ที่อยู่ปัจจุบัน: 21/2 หมู่ 7 ตำ บล หนองยาง อำ เภอ หนองฉาง จังหวัด อุทัยธานี รหัสไปรษณีย์ 61110 บิดา: นาย คมกิจ บุญกมุติ มารดา: นาง นัยนา บุญกมุติ


EDUCATION ระดับมัธยมตอนปลาย โรงเรียนหนองฉางวิทยา ผลคะแนนเฉลี่ย 3.25 ระดับประถมศึกษา โรงเรียนอนุบาลวัดหนองขุนชาติ ผลคะแนนเฉลี่ย 3.10 ระดับมัธยมตอนต้น โรงเรียนหนองฉางวิทยา ผลคะแนนเฉลี่ย 2.89 ระดับปริญญาตรี มหาวิทยาลัยราชภัฎนครสวรรค์ ปัจจุบันกำ ลังศึกษา ผลคะแนนเฉลี่ย 3.28


ประวัวัวัติวัติติขติองโรงเรีรีรียรีน โรงเรียนอนุบาลเมืองอุทัยธานี ก่อตั้งขึ้นจากการรวม โรงเรียนเข้าด้วยกันคือ โรงเรียนอนุบาลเมืองอุทัยธานี (อนุบาลประจำ จังหวัด)กับโรงเรียนเมืองอุทัยธานี(โรงเรียน ประจำ อำ เภอ)ตามประกาศของสำ นักงานคณะกรรมการการ ประถมศึกษาแห่งชาติ ลงวันที่ 25 พฤษภาคม 2527 โดยเปิดทำ การสอนครั้งแรก เมื่อวันที่ 3 มิถุนายน 2528 มีจำ นวนนักเรียน 1086 คน ข้าราชการครูจำ นวน 54คน ลูกจ้างประจำ 7 คน ลูกจ้างชั่วคราว (คนครัว) 8 คน โดยมีผู้บริหารตำ แหน่งอาจารย์ใหญ่คือ นางยุพี กาญจน ชม และมีนายเมธีอนุดิษย์ เป็นผู้ช่วยอาจารย์ใหญ่ได้รับงบ ประมาณก่อสร้างอาคารเรียน 2 หลัง (อาคารเรียนแบบ 414 จำ นวน 14 ห้องเรียน 2 ห้องพักครู, อาคารเรียน 416 แบบ 3 ชั้น 24 ห้องเรียนใต้ถุนโล่ง) , อาคารอเนกประสงค์ 1 หลัง ห้องส้วม 4 นั่งเปิดการศึกษา 2 ระดับคือ ข้ข้อ ข้ อ ข้ มูมู มู ล มู ลทั่ทั่ทั่ว ทั่ทั่ว ทั่ ไปเกี่กี่ กี่ ย กี่ ยวกักักับกั โรงเรีรีย รีรี น INFORMATION ABOUT THE SCHOOL - ระดับก่อนประถมศึกษา - ระดับประถมศึกษา ( ป.1-ป.6)


ผู้ผู้อำผู้อำผู้ อำอำนวยการสถานศึศึศึกศึษา DIRECTOR OF EDUCATION นาย สมเกียรติ มาแก้ว ชื่อโรงเรียน:อนุบาลเมืองอุทัยธานี สังกัด:สำ นักงานเขตพื้นที่การศึกษาอุทัยธานีเขต1 ที่ตั้ง: เลขที่1 ถนน:พรพิบูลย์อุทิศ ตำ บล:อุทัยใหม่อำ เภอ:เมือง จังหวัด:อุทัยธานี รหัสไปรษณีย์:61000 โทรศัพท์: 081-886-3611 E-mail:[email protected] ข้อมูลพื้นฐาน


ข้ข้อ ข้ อ ข้ มูมู มู ล มู ลบุบุ บุ ค บุ คลากร PERSONNEL INFORMATION ข้ข้ ข้ อ ข้ อมูมู มู ล มู ลบุบุ บุ ค บุ คลากร 1) ผู้บริหารและรองผู้บริหาร จำ นวน 3 คน ชาย 2 คน หญิง 1 คน 2) ครูและบุคลากรทางการศึกษาจำ นวน 80 คน ชาย 18 คนหญิง 62 คน แยกตามวุฒิการศึกษา ดังนี้ - ปริญญาเอก จำ นวน 2 คน - ปริญญาโท จำ นวน 23 คน - ปริญญาตรี จำ นวน 51 คน - อื่น ๆ ต่ำ กว่าปริญญาตรี จำ นวน 3 คน ข้ข้ ข้ อ ข้ อมูมู มู ล มู ลนันันักนัเรีรีรียรีน นักเรียนทั้งหมด จำ นวน 1430 คน ชาย 690 คน หญิง 740 คน - ชั้นอนุบาลปีที่ 1 จำ นวน 50 คน - ชั้นอนุบาลปีที่2 จำ นวน 160 คน - ชั้นอนุบาลปีที่3 จำ นวน 152 คน - ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 จำ นวน 192 คน - ชั้นประถมศึกษาปีที่2 จำ นวน 167 คน - ชั้นประถมศึกษาปีที่3 จำ นวน 197 คน - ชั้นประถมศึกษาปีที่4 จำ นวน 167 คน - ชั้นประถมศึกษาปีที่5 จำ นวน 164 คน - ชั้นประถมศึกษาปีที่6 จำ นวน 181 คน


สมรรถนะสำสำสำสำคัคัคัญคัของผู้ผู้ผู้เผู้รีรีรียรีน ในการพัฒนาตามหลักสูตรโรงเรียนอนุบาลเมืองอุทัยธานี พุทธศักราช 2553 (ฉบับปรับปรุง 2560)ตามหลักสูตรแกนกลาง การศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 มุ่งเน้นพัฒนาผู้เรียนให้มี คุณภาพตามมาตรฐานที่กำ หนด ซึ่งจะทำ ให้ผู้เรียนเกิดสมรรถนะ สำ คัญและคุณลักษณะอันพึงประสงค์ หลักสูตรโรงเรียนอนุบาล เมืองอุทัยธานี พุทธศักราช 2560 มุ่งให้ผู้เรียนเกิดสมรรถนะ 5 ประการ ดังนี้ 4.1 ความสามารถในการสื่อสารเป็นความสามารถในการรับส่ง สาร มีวัฒนธรรมในการใช้ภาษา ถ่ายทอดความคิดความเข้าใจ ความรู้สึก และทัศนะของตนเองเพื่อแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสาร 4.2 ความสารถในการคิด เป็นความสามารถในการคิดวิเคราะห์ การคิดสังเคราะห์ การคิดอย่างสร้างสรรค์และการคิดอย่างมี วิจารณญาณ 4.3 ความสารถในการแก้ปัญหา เป็นความสารถในการแก้ปัญหา และอุปสรรคต่างๆที่เผชิญได้อย่างถูกต้องเหมาะสมบนพื้นฐานของ หลักเหตุผล คุณธรรม 4.4ความสารถในการใช้ทักษะชีวิต เป็นความสารถในการนำ กระบวนการต่างๆไปใช้ในการดำ เนินชีวิตประจำ วันการเรียนรู้ด้วย ตนเอง การเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง การทำ งาน และการอยู่ร่วมกันใจ สังคมด้วยการสร้างเสริมความสัมพันธ์อันดีงามระหว่างบุคคล 4.5 ความสารถในการใช้เทคโนโลยี เป็นความสามารถในการเลือก ใช้ เทคโนโลยีด้านต่างๆ และมีทักษะกระบวนการทางเทคโนโลยี เพื่อพัฒนาตนเองและสังคมในด้านการเรียนรู้ การสื่อสาร การ ทำ งาน การแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์ ถูกต้อง เหมาะสม และมี คุณธรรม


คุคุ คุ ณ คุ ณลัลัลักลัษณะอัอัอันอัพึพึพึงพึประสงค์ค์ค์ค์ หลักสูตรโรงเรียนอนุบาลเมืองอุทัยธานีพุทธศักราช 2560 ตาม หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 มุ่งเน้น พัฒนาผู้เรียนให้มีคุณลักษณะอันพึงงประสงค์ เพื่อให้สามารถอยู่ร่วม กับผู้อื่นได้อย่างมีความสุข ในฐานะพลเมืองไทล และพลโลก ดังนี้ 3.1. รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ 3.5. อยู่อย่างพอเพียง 3.2. ซื่อสัตย์ สุจริต 3.6. มุ่งมั่นในการทำ งาน 3.3. มีวินัย 3.7. รักความเป็นไทย 3.4. ใฝ่เรียนรู้ 3.8. มีจิตเป็นสาธารณะ ชื่ชื่ ชื่ อ ชื่ อหลัลัลักลั สูสู สู ต สู ตรสถานศึศึศึกศึษา หลักสูตรสถานศึกษา โรงเรียนอนุบาลเมืองอุทัยธานี พุทธศักราช 2561(ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น ฐาน พุทธสักราช 2551 โครงสร้างหลักสูตร เปิปิปิดปิ สอนกี่กี่ กี่ ร กี่ ระดัดัดับดั ชั้ชั้ ชั้ น ชั้ น - ระดับก่อนประถมศึกษา - ระดับประถมศึกษา ( ป.1-ป.6)


ความโดดเด่ด่ ด่ น ด่ นด้ด้ ด้ า ด้ านวิวิวิชวิาการ การทดลองใช้รูปแบบการบริหารวิชาการ ABM 6 STEPS MODEL โรงเรียนอนุบาลเมืองอุทัยธานี การวิจัยในครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์ทั่วไป เพื่อพัฒนาการบริหารวิชาการ ที่ส่งเสริมความเป็นเลิศทางวิชาการ และส่งเสริมประสิทธิภาพการจัดการศึกษาของโรงเรียนอนุบาลเมือง อุทัยธานี ซึ่งมีวิธีดำ เนินการวิจัยแบ่งออกเป็น 3 ขั้นตอน ดังนี้ ขั้นตอน ที่ 1 การศึกษาสภาพการดำ เนินงานด้านบริหารวิชาการกลุ่มผู้ให้ข้อมูล ได้แก่ ครูโรงเรียนอนุบาลเมืองอุทัยธานี จำ นวน 43 คน ขั้นตอนที่ 2 การสร้างรูปแบบบริหารวิชาการ ABM6 STEPS MODEL และคู่มือการใช้ รูปแบบการบริหารวิชาการ ตรวจสอบความเหมาะสมและความเป็นไป ได้ โดยผู้ทรงคุณวุฒิ จำ นวน 7 คน และประเมินความเหมาะสมของคู่มือ โดย ผู้ทรงคุณวุฒิ จำ นวน 5 คน ขั้นตอนที่ 3 การทดลองใช้รูปแบบ การบริหารวิชาการ ABM6STEPSMODEL กลุ่มเป้าหมาย ได้แก่ผู้ บริหาร ครู นักเรียน และ ผู้ปกครองนักเรียนโรงเรียนอนุบาลเมืองอุทัยธานีผลการวิจัยพบว่า 1. การดำ เนินงานบริหารวิชาการ โรงเรียนอนุบาลเมืองอุทัยธานี มี สภาพปัจจุบันในการปฏิบัติงานด้านวิชาการ อยู่ในระดับมาก 2. รูปแบบบริหารวิชาการ ABM 6 STEPS MODEL รูปแบบบริหาร วิชาการ ABM 6 STEPS MODEL ประกอบด้วย กระบวนการ 6 ขั้นตอน ได้แก่ 6 กระบวนการได้แก่ 1) สร้างความตระหนักและความเข้าใจ 2) วิเคราะห์ได้ข้อมูล ครอบคลุมทุกปัญหา3)พัฒนาศักยภาพครูทุกด้าน 4) ปฎิบัติตามแผนงาน 6 องค์ประกอบ 5) ตรวจสอบคุณภาพระดับชั้น เรียน 6) ประเมิน ปรับเปลี่ยน พัฒนา 3. ผลการตรวจสอบความเหมาะสมและความเป็นไปได้ของผู้ทรง คุณวุฒิ พบว่ารูปแบบบริหารวิชาการ ABM 6 STEPS MODEL มีความ เหมาะสมและความเป็นไปได้ อยู่ในระดับมากคู่มือมีความเหมาะสมใน ระดับมาก


ความโดดเด่ด่ ด่ น ด่ นด้ด้ ด้ า ด้ านวิวิวิชวิาการ (ต่ต่ ต่ อ ต่ อ) 4. ผลการทดลองใช้รูปแบบบริหารวิชาการ ABM 6 STEPS MODEL พบ ว่ารูปแบบบริหารวิชาการ ABM 6 STEPS MODEL มีผลต่อการบริหาร วิชาการ โรงเรียนอนุบาลเมืองอุทัยธานี ดังนี้ - 4.1 คุณภาพนักเรียน ด้านการอ่านออกเขียนได้ทักษะการคิด การมี คุณลักษณะอันพึงประสงค์ผลการทดสอบทางการศึกษาชั้นพื้นฐาน และการได้รับรางวัลจากการแข่งขันทักษะทางวิชาการ สูงกว่าเกณฑ์ที่ โรงเรียนกำ หนด - 4.2 คุณภาพบุคลากรครู ด้านความพึงพอใจในการปฏิบัติงาน ด้าน การสร้างผลงานทางวิชาการ และการได้รับรางวัลจากการประกวด รางวัลต่าง ๆสูงกว่าเกณฑ์ที่โรงเรียนกำ หนด - 4.3 คุณภาพสถานศึกษา ด้านความพึงพอใจในการจัดการศึกษา ของผู้ปกครอง การได้รับรางวัลจากการประกวดรางวัลต่าง ๆ สูงกว่า เกณฑ์ที่โรงเรียนกำ หนด


ข้ข้อ ข้ อ ข้ มูมู มู ล มู ลทั่ทั่ ทั่ ว ทั่ ทั่ ว ทั่ ไปเกี่กี่ กี่ ย กี่ ยวกักั กั บ กั บบริริบริริทชุชุ ชุ ม ชุ มชน และสภาพแวดล้ล้ ล้ อ ล้ อมภายนอก จำจำจำจำนวนประชากร 329,942 คน การประกอบอาชีชีชีพชี ส่วนใหญ่ประกอบอาชีพ เกษตรกรรม ข้าว อ้อย มันสับปะ หลัง ยางพารา ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ และสับปะรดโรงงาน


วิวิวิถีวิถีถีกถีารดำดำดำดำรงชีชีชีวิชีวิวิติวิติติแติละความเป็ป็ป็ น ป็ นอยู่ยู่ยู่ยู่ จังหวัดอุทัยธานี ถือเป็นเมืองเล็กๆ ที่เงียบสงบ วิถีชีวิตชาว เมืองยังคงรักษาขนบธรรมเนียมประเพณีวิถีชีวิตดั้งเดิมไว้ได้เป็น อย่างดี แม้ปัจจุบันจะมีเทคโนโลยีและสิ่งอำ นวยความสะดวกต่างๆ เข้ามาอย่างมากมายแล้วก็ตาม แต่ผู้คนที่นี่ยังคงสามารถปรับตัว เข้ากันได้อย่างไม่มีปัญหา ทำ ให้ทั้งสภาพแวดล้อมทางสังคมและ ทางธรรมชาติ ยังคงสวยงามแม้จะผ่านไปกี่ยุคสมัยแล้วก็ตาม ผู้คนต่างถิ่นมาเยือน ณ สถานที่แห่งนี้มักจะตื่นตากับวัฒนธรรม ประเพณีของที่นี่ ซึ่งผูกพันกับสายน้ำ อย่างแม่น้ำ สะแกกรังที่มีต้น กำ เนิดอยู่ในเขตเทือกเขาโมโกจู ในเขตจังหวัดกำ แพงเพชร ไหลไป บรรจบกับแม่น้ำ เจ้าพระยาที่บ้านท่าซุง ต.ท่าซุง อ.เมือง จ.อุทัยธานี มีความยาวประมาณ 225 กิโลเมตร เริ่มตั้งแต่ปาก คลองขุมทรัพย์ หรือคลองอีเติ่ง ที่บ้านจักษา อำ เภอเมือง หรือตรง ปลายแม่น้ำ ตากแดด ตรงจุดที่แม่น้ำ ตากแดดไหลมาบรรจบกับ คลองขุมทรัพย์ ซึ่งน้ำ จะเป็นสองสี ไหลผ่านตัวเมืองอุทัยธานี แล้ว ไหลไปบรรจบแม่น้ำ เจ้าพระยาที่ อ.มโนรมย์ จ.ชัยนาท มีความยาว จากต้นน้ำ ถึงจุดที่บรรจบแม่น้ำ เจ้าพระยา ประมาณ 108 กิโลเมตร ด้วยความเย็นและใสสะอาดของแม่น้ำ สะแกกรัง ทำ ให้ประชาชน ต่างตั้งบ้านเรือนใช้ชีวิตอยู่แม่น้ำ สืบทอดจากรุ่นสู่รุ่น ไปพร้อมการ เลี้ยงปลากระชัง โดยเฉพาะปลาแรด ที่ใครได้ยินชื่อก็เป็นต้อง นึกถึงที่จังหวัดอุทัยธานี


วิวิวิถีวิถีถีกถีารดำดำดำดำรงชีชีชีวิชีวิวิติวิติติแติละความเป็ป็ป็ น ป็ นอยู่ยู่ยู่(ยู่ต่ต่ ต่ อ ต่ อ) ด้วยปลาที่ตัวใหญ่ เนื้อรสชาติดี และไม่มีกลิ่นเหม็น เพราะ น้ำ ที่ไหลผ่านตลอดสายและใสสะอาดประกอบการการเลี้ยง แบบดั้งเดิมที่สืบทอดกันมา ทำ ให้ปลาที่แม่น้ำ สะแกกรังจังหวัด อุทัยธานี มีปลาที่ขึ้นชื่อคือปลาแรด ในแต่ละวันเมื่อตะวันสาด แสง ริมแม่น้ำ สะแกกรังจะคึกคักไปด้วยผู้คนที่พากันออกมา เป็นพ่อค้า แม่ค้า ขายของแบกะดินริมแม่น้ำ สะแกกรัง ส่วน ใหญ่จะเป็นของพื้นบ้าน ทั้งอาหาร ขนม ผัก ผลไม้หลากหลาย ชนิด และของใช้ต่างๆ แต่ที่ขาดไม่ได้ก็คือปลา ซึ่งสดใหม่ หลายชนิด หลายร้านที่ทั้งชาวบ้านและชาวแพได้นำ มาวาง ขายกันตลอดเส้นทางตลาด เรียกได้ว่าเป็นตลาดปลาที่ใคร อยากทานปลาสด สามารถมาเดินเลือกซื้อรับอากาศสดชื่น ยามเช้าที่ไร้ซึ่งมลพิษได้อย่างสบาย ส่วนชาวแพสะแกกรังนั้น ยังคงใช้ชีวิตกับสายน้ำ ด้วยความรักความผูกพัน โดยทุกเช้า จะต้องพายเรือพากันนำ ลูกหลานมาส่งบนฝั่งหน้าตลาด เพื่อ มาเรียนหนังสือ เป็นภาพที่แทบจะหาดูได้ยากในปัจจุบัน ชาว แพสะแกกรังจะนิยมใช้เรือพายมากกว่าใช้เรือยนต์เพราะรัก ความสงบ และยังคงช่วยกันอนุรักษ์และรักษาทรัพยากรน้ำ ใช้ชีวิตคู่กับสายน้ำ ด้วยความรักและรู้คุณค่า


การเดิดินดิดิทางคมนาคม TRANSPORTATION โดยรถยนต์ต์ต์ต์ 1. จากทางหลวงหมายเลข 32 ผ่านจังหวัดพระนครศรีอยุธยา อ่างทอง สิงห์บุรี ชัยนาท แล้วเลี้ยวซ้ายตรงทางแยกท่าน้ำ อ้อย บริเวณหลักกิโลเมตร ที่ 206 เข้าทางหลวงหมายเลข 333 ข้ามสะพานแม่น้ำ เจ้าพระยา ระยะทาง ประมาณ 16 กิโลเมตร ผ่านหน้าโรงพยาบาล เลี้ยวซ้ายเข้าตลาดอุทัยธานี รวมระยะทางประมาณ 222 กิโลเมตร 2. จากทางหลวงหมายเลข 32 ผ่านจังหวัดพระนครศรีอยุธยา ประมาณ กิโลเมตรที่ 30 เลี้ยวซ้ายเข้าทางหลวงหมายเลข 334 และจากนั้นเข้า ทางหลวงหมายเลข 309 ไปตามเส้นทาง ข้ามสะพานจังหวัดอ่างทอง แล้วไป ตามถนนหมายเลข 311 ผ่านจังหวัดสิงห์บุรี ผ่านจังหวัดชัยนาท ที่อำ เภอ สรรพยา จากนั้นเลี้ยวเข้าทางหลวงหมายเลข 3183 เข้าจังหวัดอุทัยธานี ระยะทางประมาณ 283 กิโลเมต โดยรถประจำจำจำจำทาง มีรถประจำ ทางปรับอากาศสายกรุงเทพฯ-อุทัยธานี ออกจากสถานี ขนส่งสายเหนือ (หมอชิด2) ถนนกำ แพงเพชร 2 ทุกวัน วันละหลายเที่ยว ทั้ง รถโดยสารแบบธรรมดาและปรับอากาศ การเดิดิดินดิทางในจัจัจังจัหวัวัวัดวัอุอุ อุ ทั อุ ทัทัยทัธานีนีนีนี นักท่องเที่ยวสามารถเลือกใช้บริการยานพาหนะต่างๆ ได้หลายรูปแบบ ตามความเหมาะสม รถสองแถวสายรอบเมือง สามารถขึ้นรถได้ตามจุด ต่างๆ เช่น ตลาดสดเทศบาล สถานีขนส่งมอเตอร์ไซค์รับจ้าง มีคิวให้ บริการตามจุดต่างๆ ในตัวเมืองอุทัยธานี


วัวัวัฒวันธรรมประเพณีณีณีแณีละความเชื่ชื่ ชื่ อ ชื่ อ ศาสนา พุทธศาสนาได้ประดิษฐานในบริเวณจังหวัด อุทัยธานี มาตั้งแต่สมัยทวารวดี เช่น ที่เมืองดบรารบึงคอก ช้าง อำ เภอสว่างอารมณ์ บ้านคูเมือง อำ เภอหนองขาหย่าง โบราณวัตถุสำ คัญคือ หลักศิลาจารึก อักษรปัสสวะ พระพุทธ รูปและประติมากรรมรูปกวางหมอบ นอกจากนั้นยังพบหลัก ฐานพระพุทธรูปตรีกาย หรือพระพุทธไตรรัตนมหายาน ซึ่ง เป็นพระพุทธรูปสมัยลพบุรีปัจจุบัน ชาวอุทัยธานี ส่วนใหญ่ยัง คงนับถือศาสนาพุทธ มีผู้นับถือศาสนาอื่นอยู่เพียงเล็กน้อย พระพุทธรูปตรีกายเป็นพระพุทธรูปเนื้อสำ ริด ศิลปะลพบุรี สูง 32 เซนติเมตร ฐานกว้าง 8 เซนติเมตร พบที่ตำ บลดอนขวาง อำ เภอเมือง ฯ เป็นพระพุทธรูปสามองค์นั่งเรียงบนฐาน เดียวกัน ตามคติฝ่ายมหายานที่ถือว่าพระพุทธเจ้ามีสามกาย คือ พระธรรมกาย พระสัมโภคีกาย และพระนิรมานกาย หรือ จะเรียกว่า พระธยานิพุทธ พระอาทิพุทธ และพระมานุษีพุทธ ตามคัมภีร์ฝ่ายธิเบตก็ได้


ความเชื่ชื่ ชื่ อ ชื่ อ ความเชื่อ พิธีไหว้เจ้าเข้าทรงเจ้าพ่อละว้า เป็นพิธีกรรมที่ชาว บ้านห้วยรอบ ตำ บลห้วยรอบ อำ เภอหนองขาหย่าง ทำ สืบทอดกัน มานานหลายชั่วอายุคน เมื่อประมาณ 70 ปีมาแล้ว ชาวบ้านได้ตั้ง ศาลเจ้าพ่อละว้า ขึ้นที่ชายคลองห่างจากบริเวณที่ตั้งศาลปัจจุบัน ประมาณ 60 วา ต่อมาได้ย้ายมาอยู่ ณ ที่ตั้งปัจจุบัน เมื่อถึงวัน จันทร์ เดือนเจ็ด ของทุกปี ชาวบ้านจะพากันนำ เครื่องไหว้โดย แต่ละบ้านจะนำ หัวหมู ไก่ สุรา และขนมต่าง ๆ มาไหว้ และจะนำ ดินเหนียวมาปั้นเป็นรูปแทนคนในบ้านทุกคน รวมทั้งสัตว์เลี้ยงนำ มาวางไว้บริเวณใกล้ศาล เพื่อบอกกล่าวเจ้าพ่อละว้าให้คุ้มครองผู้ ใดบนไว้ก็จะมาแก้บนในวันนี้ขนบธรรมเนียมประเพณีท้องถิ่น


ประเพณีณีณีณี ประเพณีตักบาตรเทโว จัดให้มีในวันแรมหนึ่งค่ำ เดือน สิบเอ็ด อันเป็นวันหลังวันออกพรรษา ณ บริเวณลา นวัดสังกัสรัตนคีรี งานประเพณีจะเนืองแน่นไปด้วยผู้คน ทั้งในจังหวัดอุทัยธานี และจังหวัดใกล้เคียง พระภิกษุใน เขตจังหวัดอุทัยธานีจะได้นิมนต์มารับบิณฑบาต โดยสมมติ ยอดเขาสะแกกรัง เป็นสวรรค์ชั้นดาวดึงส์ ที่พระพุทธเจ้า เสด็จขึ้นไปจำ พรรษา เทศน์โปรดพระพุทธมารดา เมื่อออก พรรษาปวารณาแล้ว พระพุทธองค์จึงเสด็จกลับสู่โลก มนุษย์ทางบันไดทิพย์ ที่มีอยู่หลายบันไดคือ บันไดเงิน บันไดทอง และบันไดแก้ว


แม่น้ำ สะแกกรัง มีต้นกำ เนิดจากเขาโมโกจูในจังหวัดกำ แพงเพชร ไหลผ่านอำ เภอลาดยาว จังหวัดนครสวรรค์ ผ่านอำ เภอสว่างอารมณ์ อำ เภอทัพทัน และอำ เภอเมืองอุทัยธานี ก่อนไปบรรจบกับแม่น้ำ เจ้าพระยาที่ที่บ้านท่าซุง ตำ บลท่าซุง อำ เภอเมืองอุทัยธานี จังหวัด อุทัยธานี มีความยาวประมาณ 225 กิโลเมตร โดยในแม่น้ำ บริเวณตลาด หน้าวัดอุโปสถาราม มีชุมชนชาวแพซึ่งอยู่อาศัยกันมาหลายชั่วอายุคน มีการทำ สวนต้นเตยและเพาะเลี้ยงปลาแรดในกระชังซึ่งเป็นปลาที่มีชื่อ ของจังหวัดด้วย แม่น้ำ เจ้าพระยา ไหลมาจากจังหวัดนครสวรรค์ผ่าน ต.หาดทะนง (เกาะเทโพ) อ.เมืองอุทัยธานี จังหวัดอุทัยธานี เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าทุ่งใหญ่-ห้วยขาแข้งคือแหล่งมรดกโลกทาง ธรรมชาติของประเทศไทย ประกอบด้วยเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าสองเขต ได้แก่ เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าทุ่งใหญ่นเรศวรและเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยขาแข้ง ตั้งอยู่ในจังหวัดอุทัยธานี ตาก และกาญจนบุรี ทางตะวัน ตกของประเทศใกล้กับชายแดนประเทศพม่า ครอบคลุมพื้นที่ 622,200 เฮกตาร์ เอกลัลั ลั ก ลั กษณ์ณ์เ ณ์ เ ณ์ฉพาะ/อัอั อั ต อั ตลัลั ลั ก ลั กษณ์ณ์ที่ ณ์ ที่ ณ์ ที่โที่ ดดเด่ด่น ด่ น ด่ UNIQUE


นางสาว บุษชา บุญกมุติ สาขา การศึกษาปฐมวัย รหัสนักศึกษา 62111566013 สถาบันมหาวิทยาลัยราชภัฎนครสวรรค์ ฝึกปฏิบัติวิชาชีพโรงเรียน อนุบาลเมืองอุทัยธานี ระยะเวลาในการฝึก 2 ภาคเรียน ปี 2565 ครูพี่เลี้ยงชื่อ นางสาว กัญญารัตน์ ไตรยงค์ ทดลองสอนในระดับชั้น อนุบาล 1 / 2 จำ นวนนักเรียน 25 คน หลัลั ลั ก ลั กฐานประมวลผลการเรีรีย รีรี นรู้รู้ก รู้ ก รู้ รู้รู้ ารฝึฝึฝึ ก ฝึ ก ปฏิฏิฏิบัฏิบัติ บั ติ บั ติวิติวิชวิวิาชีชีพ ชี พ ชี ระหว่ว่า ว่ า ว่ งเรีรีย รีรี น ด้ด้ ด้ า ด้ านข้ข้ ข้ อ ข้ อมูมู มู ล มู ลทั่ทั่ ทั่ ว ทั่ วไป ภาพรวมด้ด้ ด้ า ด้ านภาระงานและบทบาทหน้น้ น้ า น้ าที่ที่ ที่ที่


ภาพรวมด้ด้ ด้ า ด้ านการบริริริหริารจัจัจัดจัการในสถานศึศึศึกศึษา ข้อมูลทั่วไปของสถานศึกษา ชื่อโรงเรียนอนุบาลเมืองอุทัยธานี สังกัดสำ นักงานเขตพื้นที่การศึกษาอุทัยธานีเขต 1 ที่ตั้งเลขที่ 1 ซอย - ถนนพรพิบูลย์อุทิศ ตำ บลอุทัยใหม่ อำ เภอ เมืองอุทัยธานี จังหวัด อุทัยธานี รหัสไปรษณีย์61000 โทรศัพท์ 056-511-560 E-MAIL: [email protected] หลักสูตรสถานศึกษา หลักสูตรสถานศึกษา โรงเรียนอนุบาลเมืองอุทัยธานี พุทธศักราช 2561(ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560) ตามหลักสูตรแกน กลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธสักราช 2551


การประกักักันกัคุคุ คุ ณ คุ ณภาพการศึศึศึกศึษา(ต่ต่ ต่ อ ต่ อ) โรงเรียนส่งเสริมพัฒนาการด้านอารมณ์ จิตใจ ควบคุม และ แสดงออกทางอารมณ์ได้เด็กมีสุขภาพจิตและอารมณ์ที่ดี ร่าเริง แจ่มใสคือการจัดกิจกรรมร่วมกันทั้งสายชั้นในเรื่องดนตรี เพลง การ เคลื่อนไหว และกิจกรรมอื่นๆ เพื่อการฝึกงาน และการเล่นกิจกรรม ร่วมกับผู้อื่น เน้นการวางแผนการเล่นแบบไฮสโคป การส่งเสริมการ แสดงออกทางศิลปะ การเข้าแข็งขันทางวิชาการศิลปะหัตกรรมตาม ความถนัดระดับสายชั้น และแข่งขันต่อเนื่องในระดับโรงเรียน และ ระดับเขตพื้นที่การศึกษา โรงเรียนพัฒนาด้านสังคม ช่วยเหลือตนเองและเป็นสมาชิกที่ดี ของสังคม มีคุณธรรมจริยธรรมเป็นสมาชิกที่ดีของสังคม มีวินัยใน ตัวเอง มีสัมมาคาราวะกับผู้ใหญ่ มีมารยาทที่ดียิ้มไหว้ ทักทาย ช่วย เหลือตนเองในการปฏิบัติกิจวัตประจำ วัน โรงเรียนส่งเสริมให้เด็กมีพัฒนาการทางด้านสติปัญญามีทักษะการ คิกพื้นฐานและแสวงหาความรู้ได้โดยการที่ครูมีการจัดประสบการณ์ การเรียนรู้ที่หลากหลาย เพื่อให้เด็กมีโอกาสพัฒนาศักยภาพของตน ตามความสนใจ การจัดกิจกรรมตามแนวไฮสโคป การจัดกิจกรรม ตามโครงการบ้านวิทยาศาสตร์ การเรียนรู้ผ่านประสาทสัมผัสทั้ง 5 สนุกกับการเรียนรู้ สังเกต จดจำ บอกเล่าเรื่องราวตามความคิดและ จินตนาการได้


ความสัสัสัมสัพัพัพันพัธ์ธ์ธ์รธ์ะหว่ว่ ว่ า ว่ างโรงเรีรีรียรีนกักักับกั ชุชุ ชุ ม ชุ มชน ปราชญ์ชาวบ้าน นายประสิทธิ์ ต่ายทอง เกิดวันที่ 6 พฤษภาคม พ.ศ.2480 นับถือ ศาสนาพุทธ อาศัยอยู่บ้านเลขที่ 39/1 หมู่ที่ 7 ตำ บลท่าซุง อำ เภอ เมืองอุทัยธานี จังหวัดอุทัยธานี จบการศึกษาระดับประถมศึกษา ชั้นปีที่ 4 โรงเรียนวัดทองอร่ามรังษี บิดาชื่อ นายโต ต่าย ทอง มารดาชื่อ นางจันทร์ ต่ายทอง คู่สมรสชื่อ นางเฉลียว ต่าย ทอง มีบุตรทั้งหมด 3 คน เป็นหญิง 2 คน ชาย 1 คน แนวคิดเศรษฐกิจพอเพียง อาชีพเกษตรกรเป็นอาชีพดั้งเดิมของ นายประสิทธิ์ ต่ายทอง ซึ่งได้แบ่งจัดสรรที่ดินที่ตนมีอยู่จำ นวน 10 ไร่ ดังนี้ - เนื้อที่ปลูกบ้าน 1 งาน - เนื้อที่ทำ นา 6 ไร่ - เนื้อที่ทำ สวน 3 ไร่ - เนื้อที่ขุดสระเลี้ยงปลา และเนื้อที่ที่ใช้เลี้ยงไก่ เลี้ยงเป็ด เลี้ยง หมู รวม 3 งาน


ความสัสัสัมสัพัพัพันพัธ์ธ์ธ์รธ์ะหว่ว่ ว่ า ว่ างโรงเรีรีรียรีนกักักับกั ชุชุ ชุ ม ชุ มชน (ต่ต่ ต่ อ ต่ อ) นายประสิทธิ์ ต่ายทอง ได้จัดสรรพื้นที่ทั้งหมดเพื่อให้เกิด ประโยชน์มากที่สุด ผลผลิตที่ได้ เพื่อน าไว้บริโภคในครัวเรือน ก่อน จากนั้นผลผลิตที่เหลือจึงนาไปขายบริเวณหมู่บ้านธิ์ ต่าย ทอง มีแนวคิดว่าการจัดสรรที่ดินทามาหากินนั้น ต้องแบ่งเป็น สัดส่วนให้ชัดเจนว่าพื้นที่ บริเวณใดควรท าอะไร เพื่อให้เกิดความ คุ้มค่าในการใช้ดิน ต่อมาจึงได้เรียนรู้ด้านปรัชญาแนวคิด เศรษฐกิจพอเพียงของ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวจึงนาความ รู้ที่ได้มาประยุกต์ใช้กับที่ดินของตนเองให้มากยิ่งขึ้น หลังจากนั้น ได้มีพัฒนากรอำ เภอเมืองอุทัยธานี เดินทางผ่านบ้านของนาย ประสิทธิ์ ต่ายทอง จึงได้เข้ามา สอบถามแนวคิดเรื่องการจัดสรร ที่ดิน พัฒนากรอำ เภอเมืองอุทัยธานีจึงได้ถ่ายภาพการจัดสรร ที่ดินของนายประสิทธิ์ ต่ายทอง น าไปเผยแพร่ในระดับตำ บล พร้อมกับส่งเข้าประกวด นายประสิทธิ์ ต่ายทอง ได้ให้แนวคิดว่า “เศรษฐกิจพอเพียง คือ ต้องทาตัวเองให้พอเพียง ให้มีรายรับ มากกว่ารายจ่าย บริหารที่ดินให้เกิดประโยชน์มากที่สุด”


โครงการที่เกี่ยวข้องกับการส่งเสริม อนุรักษ์วัฒนธรรม และภูมิปัญญาท้องถิ่นของ สถานศึกษา ชื่อโครงการ: โครงการภูมิปัญญาท้องถิ่น หน่วยงานที่รับผิดชอบโครงการ: โรงเรียนอนุบาลเมืองอุทัยธานี ผู้รับผิดชอบโครงการ: นางปาริฉัตร ฤทธิ์นรา หลักการและเหตุผล วัฒนธรรมเป็นสิ่งสะท้อนให้เห็นถึงคุณคำ วิถีชีวิตที่ชุมชนและ ท้องถิ่นต่างๆ ได้พัฒนาและสร้างสรรค์ขึ้น เพื่อใช้เป็นเครื่องมือใน การคำ เนินชีวิต โดยแสดงออกในรูปแบบและวิธีการที่หลากหลาย ทั้งในรูปแบบของวิถี ชีวิต ขนบธรรมเนียมประเพณี ภูมิปัญญา ศิลปะการแสดง ฯลฯ เพื่อเป็นการปลูกจิตสำ นึกและกระตุ้นให้ คนใน องถิ่นเกิดความตระหนัก มีความตื่นตัวและเข้ามามีส่วน ร่วมในการนเผยแพร่และสืบสานภูมิปัญญาท้องถิ่น และคุณค่า ความหลากหลายของศิลปะและวัฒนธรรมไทย ทั้งที่เป็นวิถีชีวิต ค่านิยม และความเป็นไทย ในปัจจุบันวัฒนธรรมท้องถิ่นถูก ละเลยและมีการถ่ายทอดไปสู่คนรุ่นใหม่น้อย เช่น การแต่งกาย ภาษาพูด รวมทั้งประเพณีและวิถีชีวิตที่ดีงาม ท่ามกลางความ หลากหลายทั้งวัฒนธรรมภายใต้กระแสโลกาภิวัฒน์ วัฒนธรรม ได้มีการถ่ายทอดและแลกเปลี่ยนเรียนรู้อยู่ตลอดเวลา หากมรดก ทางวัฒนธรรม ที่มีความแตกต่าง หลากหลายกันในพื้นที่ ไม่ใด้ รับการสืบสานและอนุรักษ์ฟื้นฟูรวมถึงการพัฒนาต่อยอดให้เกิด คุณค่าทางสังคม และจิตใจทำ ให้คุณค่าทางมรดกวัฒนธรรมสด น้อยไปจนแทบจะสูญหาย วัฒนธรรมวิถีชีวิตที่เกิดขึ้นจากการ สัง สมองค์ความรู้ในแต่ละท้องถิ่นมีลักษณะโดดเด่นที่แตกต่างกันไป ตามสภาพพื้นที่ในแต่ละพื้นที่มีภูมิปัญญา หลากหลาย ควรที่จะได้ รับการถ่ายทอดเยาวชนรุ่นหลังสืบไป การอนุรักษ์เป็นหนทาง หนึ่งที่ยั่งยืน


ในการ อนุรักษ์ ฟื้นฟู สืบสานวัฒนธรรมท้องถิ่นของชุมชนให้ ดำ รงอยู่ในท้องถิ่น การเรียนรู้ภูมิปัญญา ให้เด็กเป็นผู้สีบทอด ภูมิปัญญาจากผู้รู้ในชุมชน เพื่อให้สามารถจัดกระบวนการ เรียนรู้ ถ่ายทอดประมวลผล ตลอดจนสนับสนุนให้เด็ก และชุมชนโดย ตระหนักถึงความสำ คัญของชุมชน มี ความเข้าใจรากเหง้า ความ เป็นวัฒนธรรม แบ่งบัน เกื้อกูลช่วยเหลือซึ่งกันและกัน มีการ ศึกษาเรียนรู้วิถีการ ดำ รงชีวิต ชุมชนภูมิปัญญาพื้นบ้าน ที่มีมา ช้านาน บนพื้นฐานของธรรมชาติที่เกี่ยวพันสอดคล้องกันกับวิถี ชีวิต โรงเรียนอนุบาลเมืองอุทัยธานี จึงได้ดำ เนินโครงการ ภูมิปัญญาท้องถิ่น เพื่อให้เด็กได้รู้ถึงภูมิปัญญาการ ดำ เนินชีวิต และวัฒนธรรมท้องถิ่น วัตถุประสงค์ 1. เพื่อส่งเสริมสนับสนุนและอนุรักษ์ประเพณีและวัฒนธรรม ท้องถิ่น 2. เพื่อปลูกจิสำ นึกให้เด็กปมฐวัยในท้องถิ่นเกิดความระหนัก และเข้ามามีส่วนร่วมในการอนุรักษ์ ฟื้นฟู สืบสานภูมิปัญญาท้อง ถิ่นและคุณค่าความหลากหลายทางวัฒนธรรมเพื่อให้เด็กปฐมวัย ได้เรียนรู้ความสำ คัญ รู้จักวิถีชีวิต รู้ถึงคุณค่าของประวัติศาสตร์ ในท้องถิ่น ความเป็นมาและวัฒนธรรมประเพณีของท้องถิ่น อันจะ สร้างความภูมิใจและจิตสำ นึกในการรักษาวัฒนธรรมประเพณี ของท้องถิ่นสืบไป เป้าหมาย เป้าหมายเชิงปริมาณ 1.เด็กปฐมวัยร้อยละ 95 ส่งเสริมสนับสนุนอนุรักษ์ประเพณี และวัฒนธรรมท้องถิ่น 2. เด็กปฐมวัยร้อยละ 95 เกิดความตระหนัก และเข้ามามีส่วน ร่วมในการอนุรักษ์ ฟื้นฟู สืบสานภูมิปัญญาท้องถิ่นและคุณค่า ความหลากหลายทางวัฒนธรรม 3. เด็กปฐมวัยร้อยละ 95 ได้เรียนรู้ความสำ คัญ รู้จักวิถีชีวิต รู้ถึงคุณค่าของประวัติศาสตร์ในท้องถิ่นความเป็นมาและ วัฒนธรรมประเพณีของท้องถิ่น อันจะสร้างความภูมิใจ และจิตสำ นึกในการรักษาวัฒนธรรมประเพณีของท้องถิ่นสืบไป


เป้าหมายเชิงคุณภาพ เด็กปฐมวัยได้เรียนรู้ถึงภูมิปัญญาท้องถิ่น สามรถนำ สิ่งที่ ศึกษาไปใช้ในการดำ เนินชีวิต วิธีดำ เนินการ/ขั้นตอนดำ เนินงาน ระยะเวลาในการดำ เนินการ /แผนปฏิบัติงาน ธันวาคม 2565 - มีนาคม 2566 ระยะเวลาในการดำ เนินโครงการ ธันวาคม 2565 - มีนาคม 2566


งบประมาณและทรัพยากรที่ต้องใช้ จำ นวนเงิน 30,000 บาท เป็นค่าใช้จ่ายดังนี้ ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ 1. ประเพณีและวัฒนธรรมท้องถิ่นได้รับการส่งเสริมอนุรักษ์ สู่คนรุ่นต่อไป 2.เด็กปฐมวัยมีจิตสำ นึก เกิดความตระหนักและเข้ามามีส่วน ร่วมในการอนุรักษ์ฟื้นฟูสืบสานภูมิปัญญาท้องถิ่น และเห็นคุณค่า ความหลากหลายทางวัฒนธรรม 3.เด็กปฐมวัยได้เรียนรู้ความสำ คัญ รู้จักวิถีชีวิต รู้ถึงคุณค่า ของประวัติศาสตร์ในท้องถิ่นความเป็นมาและวัฒนธรรม ประเพณีของท้องถิ่น อันจะสร้างความภูมิใจและจิตสำ นึกในการ รักษาวัฒนธรรม ประเพณีของท้องถิ่นสืบไป การติดตามและประเมินผลโครงการ


กระบวนการ PLC ในสถานศึกษา


ก ร ะ บ ว น ก า ร P L C ใ น ส ถ า น ศึ ก ษ า ( ต่ อ )


ก ร ะ บ ว น ก า ร P L C ใ น ส ถ า น ศึ ก ษ า ( ต่ อ )


ก ร ะ บ ว น ก า ร P L C ใ น ส ถ า น ศึ ก ษ า ( ต่ อ )


ครูรูพี่ รู พี่ รู เ พี่ เ พี่ ลี้ลี้ ลี้ ย ลี้ ยง MENTOR นางสาวกัญญารัตน์ ไตรยงค์ ข้อมูลส่วนตัว ชื่อ: นส.กัญญารัตน์ ไตรยงค์ ชื่อเล่น: นินิว อายุ: 30 ปี วัน/เดือน/ปีเกิด: 1 เสิงหาคม 2535 ข้ข้ ข้ อ ข้ อมูมู มู ล มู ลบุบุ บุ ค บุ คลากร โรงเรียนอนุบาลเมืองอุทัยธานี เลขที่1 ถนนพรพิบูลย์อุทิศ อำ เภอเมือง จังหวัดอุทัยธานี รหัสไปรษณีย์ 61000


การปฏิฏิฏิบัฏิบับัติบัติติกติารสอน ในรอบ 2 ปีปีปีปี 1. สอนสาระการศึกษาปฐมวัย ระดับชั้นอนุบาลปีที่ 1 จำ นวน 2 ภาคเรียน ปีการศึกษา 2565 2. ปฏิบัติหน้าที่ครูประจำ ชั้น อนุบาล 1 โดยสอนกิจกรรมประจำ วันทั้ง 6 กิจกรรม ดังนี้ 1) กิจกรรมเคลื่อนไหวและจังหวะ 2) กิจกรรมสร้างสรรค์ 3) กิจกรรมเสรี 4) กิจกรรมเสริมประสบการณ์ 5) กิจกรรมกลางแจ้ง 6) กิจกรรมเกมการศึกษา 3. หน้าที่ที่ได้รับมอบหมายเป็นพิเศษ 1) งานกิจการนักเรียน งานระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน 2) โครงการ/กิจกรรม - โครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์ แห่งประเทศไทย - โครงการหนูน้อยรักษ์สุขภาพ - โครงการสถานศึกษาสีขาว ปลอดยาเสพติด - โครงการสถานศึกษาแบบอย่างการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง - โครงการกิจกรรมวันสำ คัญ - โครงการค่ายคุณธรรมจริยธรรม - โครงการประชาธิปไตยในโรงเรียน - โครงการบรรพชาสามเณรภาคฤดูร้อน - กิจกรรมทำ บุญตักบาตรธรรมสวนะ ช่วงเทศกาล


ได้ด้ ด้ รั ด้ รัรับรัรางวัวัวัลวัต่ต่ ต่ า ต่ างๆ ดัดัดังดันี้นี้ นี้นี้


ภาพรวมด้านพฤติกรรมการปฏิบัติหน้าที่ครู การประพฤติตนเป็นแบบอย่างที่ดี มีคุณธรรมและจริยธรรมตาม จรรยาบรรณวิชาชีพครู ครูพี่เลี้ยงประพฤติตนเป็นแบบอย่างที่ดีกับนักเรียนในห้อง มีการ สอนเรื่องการรู้จักแบ่งปัน การรอคอยกเมื่อนักเรียนมีปัญหาหรือ ทะเลาะกัน ครูจะให้นักเรียนพูดคุยกันแล้วครูจะปะเลาะให้รักกัน พราะนักเรียนอยู่ห้องเดียวกัน 1.ครูพี่เลี้ยง (ครูผู้สอน/ครูประจำ ชั้น) มีการประพฤติตนเป็น แบบอย่างที่ดีอย่างไรบ้าง ครูพี่เลี้ยงคอยถามครูผู้ร่วมชั้นว่าต้องการหรือขาดเหลืออะไร หรือไม่ มีการสอนให้รู้จักการทำ งานเป็นขั้นตอน การวางแผน การให้เกรียติผู้อื่น 2.ครูพี่เลี้ยง (ครูผู้สอน/ครูประจำ ชั้น) มีคุณธรรมและจริยธรรม ตามจรรยาบรรณวิชาชีพครู ในด้านต่างๆ อย่างไร จรรยาบรรณต่อตนเอง ในการมาปฏิบัติหน้าที่ข้าราชการครูทุกวัน ตามเวลาราชการ จรรยาบรรณต่อวิชาชีพ มีความรักและศรัทธาในอาชีพของตนเอง และเป็นคณะครูที่ ปฏิบัติตามกฎของทางโรงเรียน จรรยาบรรณต่อผู้รับบริการ มีความรัก เมตตาต่อลูกศิษย์ เอาใจใส่และส่งเสริม ส่งเสริมใน ด้านการเรียนรู้ทักษะ และประพฤติตนเป็นแบบอย่างที่ดี บริการ ด้วยความจริงใจ จรรยาบรรณต่อผู้ร่วมประกอบวิชาชีพ มีการพึ่งพาช่วยเหลือซึ้งกันและกัน มีความสามัคคีในโรงเรียน จรรยาบรรณต่อสังคม มีความเป็นผู้นำ ในการนำ นักเรียนอนุรักษ์เศรษฐกิจ ศาสนา วัฒนธรรม


ภาพรวมข้ข้ ข้ อ ข้ อมูมู มู ล มู ลทั่ทั่ ทั่ ว ทั่ วไป การมีส่วนร่วมในการจัดบรรยากาศชั้นเรียน การจัดบรรยากาศภายในห้องเรียนมีการจัดแยกมุมเป็น สัดส่วน มีมุมประสบการณ์มากมาย เช่น มุมบล็อก มุมศิลปะ มุม บ้าน และยังมีสื่อการเรียนการสอนในห้องตามแผนการสอน มี การจัดโต๊ะเป็นแถวยาว มีชั้นวางกระเป๋า ที่แขวนแก้วน้ำ แปรงสีฟัน ของนักเรียนแยกตามสัญญาลักของตนเอง ที่นั่งมีการ แปะสัญญาลักเพื่อให้นักเรียนนั่งตามที่ของตนเอง


ผู้ผู้ผู้ปผู้ กครองและชุชุ ชุ น ชุ นชน ภาพรวมของการมีส่วนร่วมระหว่างโรงเรียน ครู ผู้ปกครอง มีการจัดทำ โครงการภูมิปัญญาท้องถิ่น 1. เพื่อส่งเสริมสนับสนุนและอนุรักษ์ประเพณีและวัฒนธรรม ท้องถิ่น 2. เพื่อปลูกจิสำ นึกให้เด็กปมฐวัยในท้องถิ่นเกิดความระหนัก และเข้ามามีส่วนร่วมในการอนุรักษ์ ฟื้นฟู สืบสานภูมิปัญญาท้อง ถิ่นและคุณค่าความหลากหลายทางวัฒนธรรมเพื่อให้เด็กปฐมวัย ได้เรียนรู้ความสำ คัญ รู้จักวิถีชีวิต รู้ถึงคุณค่าของประวัติศาสตร์ ในท้องถิ่น ความเป็นมาและวัฒนธรรมประเพณีของท้องถิ่น อันจะ สร้างความภูมิใจและจิตสำ นึกในการรักษาวัฒนธรรมประเพณี ของท้องถิ่นสืบไป สะท้ท้ ท้ อ ท้ อนคิคิคิดคิเพื่พื่ พื่ อ พื่ อประยุยุ ยุ ก ยุ กต์ต์ต์ใต์ช้ช้ ช้ช้


ภาคผนวก APPENDIX PRACTICUM 1


PRACTICUM 2


PRACTICUM 3


PRACTICUM 3


PRACTICUM 3


PRACTICUM 3


PRACTICUM 4


PRACTICUM 4


PRACTICUM 4


Click to View FlipBook Version