นาฏศิลป์ตะวันออก เด็กหญิง สุวิชญา ชุมขุน ม.2/3 เลขที่ 37
นาฏศิลป์ ~อินเดีย~ ๑. ภารตนาฏยัม เป็นนาฏศิลป์ของอินเดียตอนใต้ เป็นการ แสดงที่ใช้ผู้หญิงแสดงและนิยมแสดงเดี่ยว มีลีลาการใช้ จังหวะที่รวดเร็วมีความหมายในท่ารำ ใช้ศิลปะการร่ายรำ ตามตำ รานาฏยศาสตร์ของพระภรตฤๅษี ~การแต่งตัว~ ผู้หญิงจะสวมเสื้อ สื้ รัดรูป คอกว้าง แขนสั้น สั้ ตัวสั้น สั้ ถึงใต้อก ห่มสาหรี เกล้ามวยต่ำ หรือสูงกระดัง ดอกไม้ เจิมจุดแดงกลางหน้าผาก
๒. กถัก เป็นนาฏศิลป์ของอินเดียตอนเหนือ นิยมแสดงเดี่ยวผู้แสดงอาจเป็นหญิงหรือชายก็ได้ เป็นการผสมระหว่าง วัฒนธรรมฮินดูและมุสลิม มีบทร้องเกี่ยวกับเทพเจ้าของ ฮินดูและเรื่องราวจากวรรณคดี นาฏศิลป์ ~อินเดีย~ ~การแต่งกาย~ ผู้หญิงสวมเสื้อ สื้ คอกว้าง แขนสั้น สั้ เอวลอย ห่ม สาหรีเกล้ามวย ใช้สาหรีคลุมผม ผู้ชายแต่งคล้าย กัน ใช้ผ้าโผกศรีษะ
นาฏศิลป์ ~อินเดีย~ ๓. มณีปุรีเป็นศิลปินชาวมุรีที่นำ เสนอเรื่องนิยายท้องถิ่นและ เรื่องเทพเจ้า เพื่อสร้างความเชื่อใจและความสร้างสรรค์ให้แก่ พระเจ้าและนางราธา การแสดงมักเป็นการรำ ร่วมระหว่าง ผู้ชายและผู้หญิง และมักใช้หมูในการแสดง ~การแต่งกาย~ ผู้หญิงกระโปรงที่คล้ายสุ่มไก่ ประดับเสื่อมที่ ชายกระโปรง ผมเกล้ามวยสูงๆ มีผ้าบางๆ คลุม ผู้ชายนุ่งผ้าลักษณะกางเกง ปล่อยชาย จับจีบหน้าบาง ด้านหน้ายาวครอบเท้า
๑. ละครโนะ เป็นละครที่เก่าแก่ที่สุด แต่เดิมจัด แสดงตามวิหาร มีกฎข้อบังคับแคร่งครัดมาก แสดงเรื่องเกี่ยวกับเทพเจ้า การแต่งกายงดงาม ผู้ แสดงจะต้องสวมหน้ากาก ซึ่งถือว่าเป็นสิ่ง ศักดิ์สิทธิ์ ท่าทางการเคลื่อนไหวล้วนมีความหมาย ทั้ง ทั้ สิ้น สิ้ แต่เดิมแสดงใต้ร่มไม้ ต่อมาทำ เวทีอย่าง ง่ายๆ เป็นเวทีสี่เหลี่ยมคนดูดูได้รอบ จัดฉากง่ายๆ เขียนรูปต้นสนและไม้ไผ่ไว้ห่างๆ และมีสนสามกิ่ง ยื่นออกมาเพื่อรักษาสภาพเดิมที่เคยแสดงต้นไม้ร่ม ถือว่าเป็นการแสดงชั้น ชั้ สูง นาฏศิลป์ ~ญี่ปุ่น~
~นาฏศิลป์ ญี่ปุ่น~ ๒.ละครคาบูกิ เป็นละครที่ได้รับความนิยมมาก ผสมผสานระหว่าง ละครโนะและ ละครหุ่นบุนรากุ การแสดงมีทั้ง ทั้ การร้องและการพากษ์ ท่าทางการ แสดงมีแบบแผนที่เคร่งครัด เรื่องที่แสดงเป็นเรื่องประวัติศาสตร์ ศาสนาและเทพนิยาย ใช้ผู้ชายแสดงล้วนแต่งกายด้วยสีสันฉูดฉาด มี การเขียนหน้าคล้ายงิ้ว งิ้ การแต่งหน้ามีแบบแผนตายตัว กำ หนดว่าสี ใดเป็นของตัวละครใด เช่นผู้ร้ายหน้าสีน้ำ เงิน พระเอกหน้าสีขาว
๓.ละครเคียวเง็น เป็นการแสดงละคร ตลกสลับฉาก ลักษณะคล้ายกับจำ อวด ของไทย เป็นละครเสียดสีเรื่องราว ชวนหัว ทั้ง ทั้ คำ พูดและการแสดง เนื้อเรื่อง ที่แสดงไม่มีการฝึกซ้อม ใช้ความรู้สึก ตามธรรมชาติ ~นาฏศิลป์ ญี่ปุ่น<
๑.การแสดงเชิดหุ่นเงา หรือวายัง เป็นนาฏศิลป์ประจำ ชาติที่เก่าแก่ที่สุด แต่เดิมหุ่นเชิด ทำ ด้วยหนังสัตว์ เรียกว่า วายัง กุลิต เรื่องที่ใช้แสดง ในวายังคือ รามายณะ และมหาภารตะ โดยทำ เป็นบทละครเฉพาะของวายัง มีการแทรกเรื่อง ปรัชญา ข้อคิดขบขันในชีวิตประจำ วัน นำ มาเชื่อมโยง ร่วมสมัยใหม่ ~นาฏศิลป์ อินโดนีเซีย~
๒. นาฏศิลป์สุมาตรา ลักษณะการแสดงจะ แสดงเป็นเรื่องราวของนิทานพื้น พื้ บ้านและ เรื่องราวในราชสำ นัก จะไม่แสดงเรื่องรา มายณะและมหาภารตะ การแต่งกาย ผ้านุ่งที่ใช้มักเป็นลายหยก ทอง และหยกเงิน ใส่เสื้อ สื้ กำ มะหยี่แขนยาว ตัวยาว ผมเกล้ามวยผมต่ำ ใช่ปิ่นหรือเครื่อง ประดับศีรษะสีทอง นาฏศิลป์ อินโดนีเซีย
๓. นาฏศิลป์ชวา เป็นการแสดงที่มีพื้น พื้ ฐานมาจากการรำ ในราช สำ นักมีลีลาร่ายรำ ที่นุ่มนวล ประณีต จังหวะที่ใช้ในการร่ายรำ จะช้า มีผ้าสไบเป็นส่วนประกอบสำ คัญในการร่ายรำ เวลาแสดงตาจะตกตลอดเวลา ไม่ใช้สายตาไปยังคนดู วง ดนตรีประกอบการแสดง เป็น วงดนตรีประจำ ราชสำ นักสมัยโบราณ ปัจจุบันใช้วงดนตรี สำ หรับฟ้อนรำ เรียกว่า ภารมวลัน การแต่งกาย นุ่งผ้าถุงรัดรูป แบบยอดการัต โดยทิ้ง ทิ้ ชายยาวไว้ ด้านข้าง หรือแบบสราการัตนุ่งผ้าถุงจีบหน้าบาง ด้านหน้าชาย ผ้าครอบข้อเท้า สวมเสื้อ สื้ แขนสั้น สั้ หรือแขนกุด สวมกระบังหน้า ทองประดับเลื่อม ประดับมวยผมด้วยปิ่น นาฏศิลป์ อินโดนีเซีย
นาฏศิลป์ เขมร ๑.โรบัม หรือที่เรียกว่า รอมโรบัม เป็นศิลปะการ แสดงละครรำ เวทีโบราณของชนเผ่าเขมรในอดีต โดยในคลังศิลปะการแสดงต่างๆของชนเผ่านี้ โรบัม ถือเป็นศิลปะการแสดงที่ได้รับการพัฒนาไปสู่จุดสุด ยอดและรุ่งเรืองที่สุด จากคุณค่าแห่งศิลปะ วัฒนธรรมพิเศษของโรบัม ชนเผ่าเขมรกำ ลัง พยายามอนุรักษ์และพัฒนาศิลปะการแสดงนี้ในี้ ห้คง อยู่ต่อไป
๒.ละครบาสัก ไม่ได้ถือกำ เนิดในประเทศกัมพูชา แต่มีต้นกำ เนิดอยู่ ในอำ เภอบาสัก จังหวัดเคลียง หรือจังหวัด Soc trang พระตรอเปียง หรือจังหวัด Tra vinh ทางตอนใต้ของสาธารณรัฐสังคมนิยม เวียดนาม ซึ่งดินแดนดังกล่าวอยู่ในพื้น พื้ ที่ (1)กัมปูเจียกรอม หรือ เรียกอีกอย่างว่าโคชินจีน ซึ่งเป็นพื้น พื้ ที่ๆมีชาวเขมรอาศัยอยู่มาก พอๆกับพื้น พื้ ที่ของประเทศกัมพูชาในปัจจุบัน แต่ในที่สุดแล้ว ดินแด นกัมปูเจียกรอม หรือโคชินจีน ได้ถูกฝรั่งเศสในฐานะเจ้าอาณานิคม ยกให้เป็นดินแดนของประเทศเวียดนาม เมื่อ (2)วันที่ 21 พฤษภาคม ปี ค.ศ.1949 จนถึงปัจจุบัน นาฏศิลป์ เขมร
๓..ระบำ อัปสราเกิดจากภาพจำ หลักของนางอัปสรทั้ง ทั้ หลายที่ปรากฏบนปราสาทหินในประเทศกัมพูชาโดย เฉพาะภาพจำ หลักนางอัปสรที่นครวัด โดยภาพจำ หลักรอบๆปราสาทนครวัดเป็นรูปนางอัปสรร่ายรำ ในท่าทางที่ต่างๆกันไป ย่อมแสดงให้เห็นถึงศิลปการ ร่ายรำ ของเขมรนั้น นั้ มีมายาวนาน เคียงคู่อยู่กับตัว ปราสาทที่สง่างามนั้น นั้ เอง นาฏศิลป์ เขมร
การแสดงของชาวพม่า จะแสดงในงานพิธีการต่างๆ เกี่ยว กับศาสนา และประเพณี นาฎศิลป์ที่เก่าแก่พม่าได้แก่ ระ บวงสวรงเทพเจ้า และสิ่งศักดิ์สิทธิ์ ส่วนการแสดงประเภท โขน ละคร ปรากฏใน สมัยพระเจ้ามังระ เมื่อไทยเสียกรุงศรีอยุธยาให้กับพม่า นาฏศิลป์ไทยได้ถูกกวาดต้อนไปด้วย พระเจ้ามังระโปรดให้ สอนโขนและละครไทยในพม่า เล่นเรื่องรามเกียรติ์และ อิเหนา พม่าเรียกว่า อินทรวงศ์ เป็นละครในราชสำ นัก นอกจากนี้ยั นี้ ยั งมีการเล่นละครนอกเรื่องสังข์ทองและสังข์ ศิลป์ชัย พระเจ้ามังระโปรดมากทรงให้รวมพวกละครและปี่ พาทย์ไว้ในราชสำ นักและพระราชทานบ้านเรือนให้เรียกว่า “ตำ บลโยธาราช” และพวกละครไทยที่แสดงเรียกว่า “โยธ ยาสัตคยี” นาฏศิลป์ พม่า
นาฏศิลป์จีนมีประวัติความเป็นมาเหมือนทุกชาติใน ตะวันออก คือ เกิดจากการประกอบพิธีทาง ไสยศาสตร์ จนพัฒนามาเป็นละครแบบต่างๆ ในราช สำ นัก จนท้ายที่สุดเกิดเป็นอุปรากรจีน (งิ้ว งิ้ ) นับเป็น ศิลปะที่มีแบบแผนระดับชาติที่ชาวจีนได้พัฒนา และ อนุรักษ์มาเป็นเวลาหลายร้อยปี จนมีลักษณะเป็น ศิลปะประจำ ชาติ นาฏศิลป์ของจีนมีมากมาย ในที่นี้ จะขอกล่าวถึงเฉพาะการแสดงงิ้ว งิ้ เพียงอย่างเดียว แต่ก่อนที่จะศึกษาการแสดงงิ้ว งิ้ เราควรจะทราบ ประวัติความเป็นมาของนาฏศิลป์จีนเสียก่อน ซึ่งมี รายละเอียดดังนี้ นาฏศิลป์ จีน