The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

เศรษกิจพอเพียง

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by roninzakung47, 2021-03-22 05:22:49

เศรษกิจพอเพียง

เศรษกิจพอเพียง

รายงาน
เรือ่ ง เศรษฐกจิ พอเพียง

ผจู้ ดั ทำ
นายไพรรตั น์ ชดุ ทอง ม.3/13 เลขท1ี่ 4

เสนอโดย
อาจารย ์ ศริ ริ กั ษ ์ สมพงษ ์
เป็ นสว่ นหนึ่งของวชิ า การงารอาชพี

โรงเรยี นนวมนิ ทราชนิ ูทศิ เบญจมราชาลยั
ภาคเรยี นที่ 2 ปี การศกึ ษา 2564

คานา

รายงานนีจ้ ดั ทาขนึ้ เพอื่ เป็ นสว่ นหนึ่งของวชิ า การงานอาชพี ม.3 เพอื่
ศกึ ษาหาคามรใู ้ รเรอื่ ง เศรษฐกจิ พอเพยี งเป็ นปรชั ญาทพี่ ระบาทสมเด็จ
พระเจา้ อยหู่ วั ทรงชแี้ นวทางใหแ้ กป่ ระชาชน

ผูจ้ ดั ทาหวงั วา่ รายงานเลม่ นีจ้ ะมปี ระโยชนต์ อ่ ผูอ้ า่ น

ไพรรตั น์ ชดุ ทอง

สารบญั ก

คานา 1-6
ความหมายของเศรษฐกจิ พอเพยี ง
บรรณานุกรม 7

ความหมายของเศรษฐกจิ พอเพยี ง

เศรษฐกจิ พอเพยี ง เป็ นปรชั ญาชถี้ งึ แนวการดารงอยู่ และปฏบิ ตั ติ ของ
ประชาชนในทกุ ระดบั ตงั้ แตร่ ะดบั ครอบครวั ระดบั ชมุ ชนจนถงึ ระดบั รฐั ทง้ั
ในการพฒั นา และบรหิ ารประเทศใหด้ าเนินไปใน ทางสายกลาง
โดยเฉพาะการพฒั นาเศรษฐกจิ เพอื่ ใหก้ า้ วทนั ตอ่ โลกยคุ โลกาภวิ ตั น์
ความพอเพยี ง หมายถงึ ความพอประมาณ ความมเี หตผุ ล รวมถงึ ความ
จาเป็ นทจี่ ะตอ้ งมรี ะบบภมู คิ มุ ้ กนั ในตวั ทดี่ พี อสมควร ตอ่ การมผี ลกระทบ
ใดๆ อนั เกดิ จากการเปลยี่ นแปลงทง้ั ภายนอก และภายใน ทงั้ นีจ้ ะตอ้ งอาศยั
ความรอบรู ้ ความรอบคอบ และความระมดั ระวงั อยา่ งยงิ่ ในการนาวชิ าการ
ตา่ ง ๆ มาใชใ้ นการวางแผน และการดาเนินการทกุ ขนั้ ตอน และ
ขณะเดยี วกนั จะตอ้ งเสรมิ สรา้ งพนื้ ฐานจติ ใจของคนในชาตโิ ดยเฉพาะ
เจา้ หนา้ ทขี่ องรฐั นักทฤษฎี และนักธรุ กจิ ในทกุ ระดบั ใหม้ สี านึกใน
คณุ ธรรม ความซอื่ สตั ยส์ จุ รติ และใหม้ คี วามรอบรทู ้ เี่ หมาะสม ดาเนินชวี ติ
ดว้ ยความอดทน ความเพยี ร มสี ติ ปัญญา และความรอบคอบ เพอื่ ให ้
สมดลุ และพรอ้ มตอ่ การรองรบั การเปลยี่ นแปลงอยา่ งรวดเรว็ และ
กวา้ งขวางทง้ั ดา้ นวตั ถุ สงิ่ แวดลอ้ ม และวฒั นธรรมจากโลกภายนอกไดเ้ ป็ น
อย่างดี

การนาปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพยี งไปใช ้

ปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพยี งนี้ เป็ นกรอบแนวความคดิ และทศิ ทางการพฒั นา
ระบบเศรษฐกจิ มหภาคของไทย ซงึ่ บรรจอุ ย่ใู นแผนพฒั นาเศรษฐกจิ และ
สงั คมแหง่ ชาติ ฉบบั ที่ 10 (พ.ศ. 2550-2554)เพอื่ มุ่งสกู่ ารพฒั นาทสี่ มดลุ
ยง่ั ยนื และมภี มู คิ มุ ้ กนั เพอื่ ความอย่ดู มี สี ขุ มุ่งสสู่ งั คมทมี่ คี วามสขุ อย่าง
ยง่ั ยนื หรอื ทเี่ รยี กวา่ สงั คมสเี ขยี ว (Green Society) ดว้ ยหลกั การดงั กลา่ ว
แผนพฒั นาฯฉบบั ที่ 10 นีจ้ ะไม่เนน้ เรอื่ งตวั เลขการเจรญิ เตบิ โตทาง

เศรษฐกจิ แตย่ งั คงใหค้ วามสาคญั ต่อระบบเศรษฐกจิ แบบทวลิ กั ษณ์ หรอื
ระบบเศรษฐกจิ ทมี่ คี วามแตกตา่ งกนั ระหวา่ งเศรษฐกจิ ชมุ ชนเมอื งและ
ชนบท ดร.สมเกยี รติ ออ่ นวมิ ล เรยี กสงิ่ นีว้ า่ วกิ ฤตเศรษฐกจิ พอเพยี ง คอื
ความไม่รวู ้ า่ จะนาปรชั ญานีไ้ ปใชท้ าอะไร กลายเป็ นวา่ ผูน้ าสงั คมทกุ คน ทงั้

นักการเมอื งและรฐั บาลใชค้ าวา่ เศรษฐกจิ พอเพยี ง เป็ นขอ้ อา้ งในการทา
กจิ กรรมใด ๆ เพอื่ ใหร้ สู ้ กึ วา่ ไดส้ นองพระราชดารสั และใหเ้ กดิ ภาพลกั ษณท์ ี่
ดี หรอื พูดง่ายๆ ก็คอื เศรษฐกจิ พอเพยี ง ถกู ใชเ้ พอื่ เป็ นเครอื่ งมอื เพอื่ ตวั เอง
ซงึ่ ความไม่เขา้ ใจนีอ้ าจเกดิ จากการสบั สนวา่ เศรษฐกจิ พอเพยี งกบั ทฤษฎี
ใหม่นั้นเป็ นเรอื่ งเดยี วกนั ทาใหม้ คี วามเขา้ ใจวา่ เศรษฐกจิ พอเพยี ง
หมายถงึ การปฏเิ สธอตุ สาหกรรมแลว้ กลบั ไปสเู่ กษตรกรรม ซงึ่ เป็ นความ
เขา้ ใจทผี่ ดิ ปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพยี งนี้ ไดร้ บั การเชดิ ชสู งู สดุ จาก

สหประชาชาต(ิ UN)โดยนายโคฟี อนั นันในฐานะเลขาธกิ ารองคก์ าร

สหประชาชาติ ไดท้ ลู เกลา้ ฯถวายรางวลั The Human Development
Lifetime Achievement Awardแกพ่ ระบาทสมเด็จพระเจา้ อย่หู วั เมอื่ 26

พฤษภาคม 2549และไดม้ ปี าฐกถาถงึ ปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพยี งวา่ เป็ น
ปรชั ญาทสี่ ามารถเรมิ่ ไดจ้ ากการสรา้ งภมู คิ มุ ้ กนั ในตนเอง สหู่ มู่บา้ น และสู่
เศรษฐกจิ ในวงกวา้ งขนึ้ ในทสี่ ดุ เป็ นปรชั ญาทมี่ ปี ระโยชนต์ ่อประเทศไทย

และนานาประเทศโดยทอี่ งคก์ ารสหประชาชาตไิ ดส้ นับสนุนใหป้ ระเทศ

ตา่ งๆทเี่ ป็ นสมาชกิ 166 ประเทศยดึ เป็ นแนวทางสกู่ ารพฒั นาประเทศแบบ
ยง่ั ยนื

หลกั แนวคดิ ของเศรษฐกจิ พอเพยี ง

การพฒั นาตามหลกั เศรษฐกจิ พอเพยี ง คอื การพฒั นาทตี่ งั้ อย่บู นพนื้ ฐาน

ของทางสายกลาง และความไม่ประมาท โดยคานึงถงึ ความพอประมาณ
ความมเี หตผุ ล การสรา้ งภมู คิ มุ ้ กนั ทดี่ ใี นตวั ตลอดจนใชค้ วามรคู ้ วาม

รอบคอบ และคณุ ธรรม ประกอบการวางแผน การตดั สนิ ใจ และการกระทา
ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง มหี ลกั พจิ ารณาอยู่ 5 สว่ น ดงั นี้ กรอบ
แนวคดิ เป็ นปรชั ญาทชี่ แี้ นะแนวทางการดารงอยู่ และปฏบิ ตั ติ นในทางที่
ควรจะเป็ น โดยมพี นื้ ฐานมาจากวถิ ชี วี ติ ดง้ั เดมิ ของสงั คมไทย สามารถ
นามาประยกุ ตใ์ ชไ้ ดต้ ลอดเวลา และเป็ นการมองโลกเชงิ ระบบทมี่ กี าร
เปลยี่ นแปลงอยตู่ ลอดเวลา และเป็ นการมองโลกเชงิ ระบบทมี่ กี าร
เปลยี่ นแปลงอยตู่ ลอดเวลา มุ่งเนน้ การรอดพน้ จากภยั และวกิ ฤต เพอื่
ความมน่ั คง และความยง่ั ยนื ของการพฒั นา คณุ ลกั ษณะ เศรษฐกจิ

พอเพยี งสามารถนามาประยกุ ตใ์ ชก้ บั การปฏบิ ตั ติ นไดใ้ นทกุ ระดบั โดยเนน้
การปฏบิ ตั บิ นทางสายกลาง และการพฒั นาอย่างเป็ นขน้ั ตอน คานิยาม
ความพอเพยี งจะตอ้ งประกอบดว้ ย 3 คณุ ลกั ษณะ พรอ้ ม ๆ กนั ดงั นี้ ความ
พอประมาณ หมายถงึ ความพอดที ไี่ ม่นอ้ ยเกนิ ไป และไม่มากเกนิ ไปโดย
ไม่เบยี ดเบยี นตนเอง และผูอ้ นื่ เชน่ การผลติ และการบรโิ ภคทอี่ ยใู่ นระดบั
พอประมาณ ความมเี หตผุ ล หมายถงึ การตดั สนิ ใจเกยี่ วกบั ระดบั ของ
ความพอเพยี งนั้น จะตอ้ งเป็ นไปอยา่ งมเี หตผุ ล โดยพจิ ารณาจากเหตุ
ปัจจยั ทเี่ กยี่ วขอ้ งตลอดจนคานึงถงึ ผลทคี่ าดวา่ จะเกดิ ขนึ้ จากการกระทา
นั้น ๆ อย่างรอบคอบ การมภี มู คิ มุ ้ กนั ทดี่ ใี นตวั หมายถงึ การเตรยี มตวั ให ้
พรอ้ มรบั ผลกระทบ และการเปลยี่ นแปลงดา้ นตา่ ง ๆ ทจี่ ะเกดิ ขนึ้ โดย
คานึงถงึ ความเป็ นไปไดข้ องสถานการณ์ ตา่ ง ๆ ทคี่ าดวา่ จะเกดิ ขนึ้ ใน
อนาคตทงั้ ใกล ้ และไกล เงอื่ นไข การตดั สนิ ใจและการดาเนินกจิ กรรมตา่ ง
ๆ ใหอ้ ย่ใู นระดบั พอเพยี งนั้น ตอ้ งอาศยั ทง้ั ความรู ้ และคณุ ธรรมเป็ นพนื้ ฐาน
กลา่ วคอื เงอื่ นไขความรู ้ ประกอบดว้ ย ความรอบรเู ้ กยี่ วกบั วชิ าการตา่ ง ๆ
ทเี่ กยี่ วขอ้ งอย่างรอบดา้ น ความรอบคอบทจี่ ะนาความรเู ้ หลา่ นั้นมา
พจิ ารณาใหเ้ ชอื่ มโยงกนั เพอื่ ประกอบการวางแผน และความระมดั ระวงั ใน

ขนั้ ปฏบิ ตั ิ เงอื่ นไขคณุ ธรรม ทจี่ ะตอ้ งเสรมิ สรา้ งประกอบดว้ ย มคี วาม
ตระหนักในคณุ ธรรม มคี วามซอื่ สตั ยส์ จุ รติ และมคี วามอดทน มคี วามเพยี ร
ใชส้ ตปิ ัญญาในการดาเนินชวี ติ แนวทางปฏบิ ตั ิ / ผลทคี่ าดวา่ จะไดร้ บั
จากการนาปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งมาประยกุ ตใ์ ช ้ คอื การพฒั นาที่
สมดลุ และยง่ั ยนื พรอ้ มรบั ต่อการเปลยี่ นแปลงในทกุ ดา้ น ทง้ั ดา้ นเศรษฐกจิ
สงั คม สงิ่ แวดลอ้ ม ความรู ้ และเทคโนโลยี

เศรษฐกจิ พอเพยี งกบั ทฤษฎใี หม่ตามแนวพระราชดาริ

เศรษฐกจิ พอเพยี ง และแนวทางปฏบิ ตั ขิ องทฤษฎใี หม่ เป็ นแนวทางในการ
พฒั นาทนี่ าไปสคู่ วามสามารถในการพงึ่ ตนเอง ในระดบั ตา่ ง ๆ อย่างเป็ น
ขนั้ ตอน โดยลดความเสยี งเกยี่ วกบั ความผนั แปรของธรรมชาติ หรอื การ
เปลยี่ นแปลงจากปัจจยั ตา่ ง ๆ โดยอาศยั ความพอประมาณ และความมี
เหตผุ ล การสรา้ งภมู คิ มุ ้ กนั ทดี่ ี มคี วามรู ้ ความเพยี ร และความอดทน สติ
และปัญญา การชว่ ยเหลอื ซงึ่ กนั และกนั และความสามคั คี เศรษฐกจิ
พอเพยี งความหมายกวา้ งกวา่ ทฤษฎใี หม่ โดยทเี่ ศรษฐกจิ พอเพยี งเป็ น
กรอบแนวคดิ ทชี่ บี้ อกหลกั การ และแนวทางปฏบิ ตั ขิ องทฤษฎใี หม่ ในขณะ
ที่ แนวพระราชดารเิ กยี่ วกบั ทฤษฎใี หม่ หรอื เกษตรทฤษฎใี หม่ ซงึ่ เป็ นแนว
ทางการพฒั นาการเกษตรอย่างเป็ นขนั้ ตอนน้ัน เป็ นตวั อย่างการใชห้ ลกั
เศรษฐกจิ พอเพยี งในทางปฏบิ ตั ิ ทเี่ ป็ นรปู ธรรม เฉพาะในพนื้ ทที่ เี่ หมาะสม

ทฤษฎใี หม่ตามแนวพระราชดาริ อาจเปรยี บเทยี บกบั หลกั เศรษฐกจิ
พอเพยี ง ซงึ่ มอี ยู่ 2 แบบ คอื แบบพนื้ ฐาน กบั แบบกา้ วหนา้ ขน้ั ที่ 1 ทมี่ ุ่ง
แกป้ ัญหาของเกษตรกรทอี่ ยู่ห่างไกลแหลง่ นา้ ตอ้ งพงึ่ นา้ ฝน และประสบ
ความเสยี่ งจากการทนี่ า้ ไม่พอเพยี ง แมก้ ระทง่ั สาหรบั การปลกู ขา้ วเพอื่
บรโิ ภค และมขี อ้ สมมตวิ า่ มที ดี่ นิ พอเพยี งในการขดุ บ่อเพอื่ แกป้ ัญหาใน
เรอื่ งดงั กลา่ ว จากการแกป้ ัญหาความเสยี่ งเรอื่ งนา้ จะทาใหเ้ กษตรกร
สามารถมขี า้ วเพอื่ การบรโิ ภคยงั ชพี ในระดบั หนึ่ง และใชท้ ดี่ นิ สว่ นอนื่ ๆ
สนองความตอ้ งการพนื้ ฐานของครอบครวั รวมทง้ั ขายในสว่ นทเี่ หลอื เพอื่ มี
รายไดท้ จี่ ะใชเ้ ป็ นคา่ ใชจ้ า่ ยอนื่ ๆ ทไี่ ม่สามารถผลติ เองได ้ ทง้ั หมดนีเ้ ป็ น
การสรา้ งภมู คิ มุ ้ กนั ในตวั ใหเ้ กดิ ขนึ้ ในระดบั ครอบครวั อยา่ งไรก็ตาม
แมก้ ระทง่ั ในทฤษฎใี หม่ขน้ั ที่ 1 ก็จาเป็ นทเี่ กษตรกรจะตอ้ งไดร้ บั ความ

ชว่ ยเหลอื จากชมุ ชนราชการ มลู นิธิ และภาคเอกชน ตามความเหมาะสม

ความพอเพยี งในระดบั ชมุ ชน และระดบั องคก์ รเป็ นเศรษฐกจิ พอเพยี งแบบ
กา้ วหนา้ ซงึ่ ครอบคลมุ ทฤษฎใี หม่ ขน้ั ที่ 2 เป็ นเรอื่ งของการสนับสนุนให ้
เกษตรกรรวมพลงั กนั ในรปู กลมุ่ หรอื สหกรณ์ หรอื การทธี่ รุ กจิ ตา่ ง ๆ
รวมตวั กนั ในลกั ษณะเครอื ขา่ ยวสิ าหกจิ กลา่ วคอื เมอื่ สมาชกิ ในแตล่ ะ

ครอบครวั หรอื องคก์ รตา่ ง ๆ มคี วามพอเพยี งขน้ั พนื้ ฐานเป็ นเบอื้ งตน้ แลว้ ก็
จะรวมกลมุ่ กนั เพอื่ รว่ มมอื กนั สรา้ งประโยชนใ์ หแ้ กก่ ลมุ่ และสว่ นรวมบน
พนื้ ฐานของการไม่เบยี ดเบยี นกนั การแบ่งปันชว่ ยเหลอื ซงึ่ กนั และกนั ตาม
กาลงั และความสามารถของตน ซงึ่ จะสามารถทาให ้ ชมุ ชนโดยรวม หรอื
เครอื ขา่ ยวสิ าหกจิ นั้น ๆ เกดิ ความพอเพยี งในวถิ ปี ฏบิ ตั อิ ย่างแทจ้ รงิ ความ
พอเพยี งในระดบั ประเทศ เป็ นเศรษฐกจิ พอเพยี งแบบกา้ วหนา้ ซงึ่
ครอบคลมุ ทฤษฎใี หม่ ขนั้ ที่ 3 ซงึ่ สง่ เสรมิ ใหช้ มุ ชน หรอื เครอื ขา่ ยวสิ าหกจิ
สรา้ งความรว่ มมอื กบั องคก์ รอนื่ ๆ ในประเทศ เชน่ บรษิ ทั ขนาดใหญ่
ธนาคาร สถาบนั วจิ ยั เป็ นตน้ การสรา้ งเครอื ขา่ ยความรว่ มมอื ในลกั ษณะ
เชน่ นี้ จะเป็ นประโยชนใ์ นการสบื ทอดภมู ปิ ัญญา แลกเปลยี่ นความรู ้
เทคโนโลยี และบทเรยี นจากการพฒั นา หรอื รว่ มมอื กนั พฒั นา ตาม
แนวทางเศรษฐกจิ พอเพยี งทาใหป้ ระเทศอนั เป็ นสงั คมใหญ่อนั ประกอบดว้ ย
ชมุ ชน องคก์ ร และธรุ กจิ ตา่ ง ๆ ทดี่ าเนินชวี ติ อย่างพอเพยี งกลายเป็ น
เครอื ขา่ ยชมุ ชนพอเพยี งทเี่ ชอื่ มโยงกนั ดว้ ยหลกั ไม่เบยี ดเบยี น แบ่งปัน และ
ชว่ ยเหลอื ซงึ่ กนั และกนั ไดใ้ นทสี่ ดุ

ประการทสี่ าคญั ของเศรษฐกจิ พอเพยี ง

พอมพี อกนิ ปลกู พชื สวนครวั ไวก้ นิ เองบา้ ง ปลกู ไมผ้ ลไวห้ ลงั บา้ น 2-3 ตน้
พอทจี่ ะมไี วก้ นิ เองในครวั เรอื น เหลอื จงึ ขายไป พออยพู่ อใช ้ ทาใหบ้ า้ นน่า
อยู่ ปราศจากสารเคมี กลนิ่ เหม็น ใชแ้ ตข่ องทเี่ ป็ นธรรมชาติ (ใชจ้ ลุ นิ ทรยี ์
ผสมนา้ ถพู นื้ บา้ น จะสะอาดกวา่ ใชน้ า้ ยาเคม)ี รายจา่ ยลดลง สขุ ภาพจะดี
ขนึ้ (ประหยดั คา่ รกั ษาพยาบาล) พออกพอใจ เราตอ้ งรจู ้ กั พอ รจู ้ กั
ประมาณตน ไม่ใครอ่ ยากใครม่ เี ชน่ ผูอ้ นื่ เพราะเราจะหลงตดิ กบั วตั ถุ
ปัญญาจะไม่เกดิ

บรรณานุ กรม

https://sites.google.com/site/sastrphraracha2513/khwam-
hmay-khxng-sersthkic-phx-pheiyng


Click to View FlipBook Version