The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

สรุปการพยาบาลผู้ป่วย

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Siriwan Wongwai, 2020-05-03 12:00:03

สรุปการพยาบาลผู้ป่วย

สรุปการพยาบาลผู้ป่วย

สรปุ การพยาบาลผปู้ ่วยทมี่ คี วามผิดปกติของผวิ หนงั ผูป้ ว่ ยตดิ เชื้อ และระบบต่อมไรท้ ่อ

จัดทำโดย
นางสาวศริ วิ รรณ ว่องไว
รหสั นกั ศกึ ษา 613060161-7 sec.01

เสนอ
รศ.ดร.ชัคเณค์ แพรขาว
รายวชิ า NU112 204 การพยาบาลสขุ ภาพผูใ้ หญ่ 2



คำนำ
หนงั สอื อเิ ลก็ ทรอนิกสเ์ ล่มน้ีจัดทำขน้ึ ในรายวิชา NU112 204 การพยาบาลสขุ ภาพผ้ใู หญ่ 2
เพอื่ สรุปเนื้อหาการเรยี นหัวข้อการพยาบาลผปู้ ่วยทมี่ ีความผิดปกตขิ องระบบผิวหนงั การพยาบาลผู้ป่วยตดิ เชื้อ
และการพยาบาลระบบตอ่ มไร้ทอ่
ผู้จัดทำหวังเปน็ อยา่ งนงิ่ วา่ รายงานเลม่ น้ีจะเป็นประโยชนแ์ กผ่ ู้ท่สี นใจไม่มากก็น้อย
หากผดิ พลาดประการใด ผู้จัดทำขออภยั มา ณ โอกาสนี้

ผูจ้ ดั ทำ
นางสาวศิรวิ รรณ วอ่ งไว



สารบัญ หนา้

คำนำ 4-8
การพยาบาลผ้ปู ่วยท่ีมีความผิดปกตขิ องระบบผวิ หนงั 8-13
การพยาบาลผูป้ ว่ ยตดิ เช้ือ 14-25
การพยาบาลระบบต่อมไรท้ ่อ

สรุปการพยาบาลผู้ปว่ ยที่มคี วามผิดปกตขิ องผิวหนัง ผู้ป่วยตดิ เช้ือ และระบบตอ่ มไรท้ ่อ
1.การพยาบาลผู้ปว่ ยท่ีมคี วามผิดปกติของผวิ หนัง

โครงสรา้ งและหน้าท่ีของผวิ หนัง ผิวหนงั ของรา่ งกายมี 3 ช้ัน มีดงั นี้
1.ผิวชั้นหนังกำพร้า (Epidermis) ช้ันหนงั กำพร้าเป็นช้นั ท่ีอยู่นอกสุด
ทำหน้าทช่ี ว่ ยปกป้องผิวเราจากสารพิษ, แบคทเี รีย และการสูญเสยี นำ้ ชน้ั หนงั กำพรา้ นี้จะมีอกี 5 ชนั้ ยอ่ ย
ซึง่ จะมีส่วนในกระบวนการผลัดเซลลผ์ วิ (Keratinisation)
2.ผวิ หนงั ช้นั หนังแท้ (Dermis) ช้นั หนังแท้ เป็นชน้ั ท่ีความหนา และมคี วามยดื หย่นุ
ในชน้ั หนังแทป้ ระกอบดว้ ย คอลลาเจน และ อลิ าสตนิ เน้ือเยอื่ เก่ยี วพนั ซงึ่ ให้ความแข็งแรง และความยดื หยุ่น
ชว่ ยให้ผิวมสี ุภาพดี ดอู อ่ นเยาว์ เสน้ ใยเหลา่ นจี้ ะถูกตรึงไวด้ ว้ ยสารท่ลี ักษณะคลา้ ยเจล หรือสาร hyaluronic acid
ซึง่ มคี วามสามารถในการจับน้ำได้ดี
3.ผิวหนงั ชน้ั ไขมัน (Subcutis) ชัน้ ไขมันจะอย่ใู นสดุ ของชั้นผวิ หนัง มักประกอบดว้ ยเซลล์ไขมนั
(adipocytes & special collagen fibres) โปรตนี คอลลาเจน และหลอดเลือดต่างๆทมี่ าหล่อเลย้ี งจำนวนมาก
ทำหนา้ ที่กักเก็บพลังงาน เป็นเหมอื นเบาะกนั กระแทกใหก้ ับอวัยวะภายใน
หนา้ ทขี่ องผวิ หนัง
ป้องกนั อวัยวะภายในรา่ งกายจากอนั ตรายต่างๆ
ปอ้ งกันไม่ให้น้ำภายนอกร่างกายซมึ เข้าและนำ้ ภายในรา่ งกายระเหยออก รับความรสู้ ึก ควบคมุ อณุ หภูมิ
ขับถ่ายของเสีย สังเคราะหส์ ารทีเ่ ป็นประโยชน์ต่อร่างกาย เช่น วิตามนิ ดี
ลกั ษณะความผดิ ปกติของผวิ หนัง
1.Skin lesion แบ่งเปน็ 2 ชนดิ คือ

1.1 Primary lesion รอยโรคเร่มิ แรกยงั ไมถ่ ูกเปล่ยี นแปลง
1.2 Secondary lesion รอยโรคเกดิ จากการเกา การติดเช้อื หรือผลของการรักษา

2 . ก า ร ก ร ะ จ า ย ข อ ง ร อ ย โ ร ค เ ช ่ น Linear เ ป ็ น ท า ง ย า ว , Group เ ป ็ น ก ล ุ ่ ม , Reticular
เป็นตาข่ายหรือร่างแห,Polycyclic เป็นวงซ้อนหลายวง, Annular (circinate) เป็นวงแหวน, Zosteriform
เปน็ แนวยาวตามเส้นประสาทและKoebner phenumenon เป็นทางยาวตามรอยเกา

ความผิดปกติของผิวหนังท่ีพบได้บอ่ ย

1.การติดเช้ือ (Infection) เป็นการอักเสบของผิวหนังในชั้น subcutaneous มีการขยายตัวอยา่ งรวดเร็ว

อาจเป็นก้อนหรือตุ่มใส แตกเป็นน้ำเหลอื ง/ หนอง อาจมีเน้ือตายหรือไม่กไ็ ด้

การรกั ษา ทำความสะอาดด้วยสบยู่ า ให้ยาปฏชิ วี นะ ถา้ ลกุ ลามทำ Debridement ไม่เกาหรือสมั ผสั แผ]

2.การแพ้ (Allergy)

2.1 ลมพษิ (Urticaria or hives) แบง่ ตามสาเหตแุ ละการปรากฏของรอยโรค มี 3ชนดิ ดังนี้
1.Demographism 2.Physical urticaria และลมพิษยกั ษ์ (Angioedema)

2.2 Eczema มี 2 ชนดิ ดังน้ี Contact dermatitis คือ การสัมผสั สารระคายเคือง และNon contact
dermatitis เกดิ ขน้ึ เม่อื เครียดและเกาทีบ่ ริเวณคนั

2.3 Erythema Multiforms & Steven Johnson Syndrome คือ การอกั เสบของผวิ หนัง มี ดงั นี้

- Erythema Multiforms มไี ข้ เจบ็ คอ มผี ืน่ กระจายตามตวั ผืน่ แดงกลมขนาด 1 ซม. ตรงกลางสีดำ
มีตุ่มนำ้ ใส

- Steven Johnson Syndrome ผืน่ แดง ตุม่ แข็งหรอื นำ้ ใสพองตามผวิ หนัง พบในเยอ่ื บชุ ่องปาก
เค้ียงและกลนื อาหารลำบาก เยื่อบตุ าอกั เสบ ตาแดง กลวั แสง

การรกั ษา แยกผู้ป่วย ระวงั การติดเช้ือ ให้ยาATB ยาแก้แพ้ ทำแผลด้วย Burrow’s solution 1:40

- Toxic Epidermal Necrolysis(TEN) เกิดจากการแพ้ยากลมุ่ sulfonamide, penicillin,
barbiturate, salicylate, ตดิ เช้ือ E.coli มีอาการไข้ เจบ็ คอ ปวดขอ้ มีผื่นแดงๆ รอบๆปาก หน้า
อวัยวะเพศ กลายเปน็ vesicle and bullar อย่างรวดเรว็ และมกี ารหลุดลอกของผิวหนัง

การรกั ษา หลกี เลย่ี งยาทีท่ ำใหแ้ พ้ ให้ยาATB ยาsteroid ดูแลแผล

3.พันธกุ รรม (Psoriasis) เกดิ ได้กับทกุ สว่ นของร่างกาย การแบ่งตวั หนงั กำพรา้ ผดิ ปกติ เกิดผ่ืนแดง
มีสะเก็ดขาวลอกเปน็ แผ่น ลกั ษณะสำคญั คือ Auspitz’ s sign มีจุดเลือดออกเป็นหย่อม เล็บจะหนา
บุม๋ เปน็ หลมุ เล็ก

4.ระบบอิมมนู Systermic Lupus Erythomatosus : SLE เกดิ จากพนั ธุกรรม และการแพ้ยากลุ่ม
เพนนิซิลนิ ,

streptomycin, chlorpromazine

5.ผวิ หนังถูกทำลายจากไฟไหม้-น้ำร้อนลวก

ปัจจยั ที่มผี ลตอ่ ความรนุ แรงของแผล คือ อายุ ขนาดของบาดแผล
ความลึกของแผลและบริเวณแผลและการบาดเจบ็ รว่ มดว้ ย

การประเมนิ แผลไฟไหม้ นำ้ ร้อนลวก

1.กฎเลขเก้า (rules of nine) คำนวณโดยแบ่งสว่ นของรา่ งกายออกเป็นสว่ นๆ สว่ นละ 9%
วิธนี เ้ี ปน็ วิธีทงี่ ่ายและช่วยให้สามารถประเมินขนาดแผลไหม้ได้อยา่ งรวดเรว็ นิยมใชก้ ับแผลไหม้ในผู้ใหญ่

2.ขนาดและความลึกของแผล

ระดบั ที่1 มีการทำลายเฉพาะช้นั หนงั กำพร้า ผิวหนังบริเวณนนั้ จะมสี ชี มพหู รอื สแี ดง มีความนุ่ม
ไม่มตี ุ่มพอง มีอาการปวดแสบ แผลหายได้เองภายใน 3-5 วนั

ระดับที่ 2 มีการทำลายชน้ั หนังกำพร้าทัง้ หมดและบางสว่ นของหนังแท้ skin appendage ไดแ้ ก่
ต่อมเหง่ือ ต่อมไขมนั รากขน ยงั คงอยู่ ผวิ จะมีสีแดง มีตมุ่ พอง ปวดแสบมาก
เพราะมเี สน้ ประสาทรบั ความรูส้ กึ อยู่ในชนั้ หนงั แท้ ระยะเวลาในการหายของแผลประมาณ 7-14 วนั มีแผลเป็น

ระดับท่ี 3 ผวิ หนงั ถกู ทำลายทุกชน้ั ทงั้ ชน้ั หนงั กำพร้า หนงั แท้ รวมท้งั skin appendage ทง้ั หมด
อาจกนิ ลึกถงึ ชั้นกล้ามเน้อื หรือกระดกู แผลไหมจ้ ะมีลักษณะขาว ซดี เหลือง นำ้ ตาลไหม้ หรอื ดำ
หนาแขง็ เหมือนแผน่ หนัง แห้งและกร้าน

แนวทางการดแู ลรักษาผูป้ ่วยทม่ี แี ผลไหม้ ในระยะฉุกเฉิน (emergent period)

-การประเมิน ABC

-การให้สารนำ้ ทดแทน

-ใส่สายสวนปัสสาวะเพ่อื ประเมนิ urine output ทกุ ช่วั โมง

-ใส่ NG-tube เพอ่ื ป้องกนั การสำลกั

-ประเมนิ ความปวดและจดั การความปวด

-ติดตามและประเมินสัญญาณชีพ
-ใหว้ คั ซีนเพ่ือปอ้ งกนั บาดทะยักในผูป้ ่วยทยี่ งั ไมม่ ีภมู ิคุ้มกนั
แนวทางการดูแลรักษาผปู้ ่วยทมี่ แี ผลไหม้ ในระยะเฉยี บพลนั (Acute phase)
-ปฏบิ ัติตามหลัก Aseptic technique อย่างเคร่งครัดขณะทำแผล

Superficial and First degree burn การดแู ลบาดแผลเน้นที่การใช้ moisturizers
เพอ่ื ความสขุ สบาย จนกวา่ ผิวหนังจะกลับมาเปน็ สปี กติ

Deep partial-thickness burns และfull-thickness burnsการดแู ลบาดแผล
จะต้องทำการตัดแต่งเนื้อเยื่อ ทำความสะอาดแผลวนั ละ 2 ครง้ั และการรักษาโดยใช้ ยา silver
sulfadiazine (SSD)ทาบริเวณบาดแผลซง่ึ SSD มีฤทธิ์ในการฆา่ เช้อื แบคทีเรียท้งั แกรมบวกและแกรมลบ
สามารถป้องกบั การติดเช้อื ได้

Skin graft transplantation
-จัดให้ผู้ปว่ ยอยใู่ นหอ้ งแยกขณะให้การพยาบาลสวมเสอ้ื คลมุ หมวก หนา้ กากและถุงมือ
-การสง่ เสริการได้รบั พลังงานโดยคำนวณจากสูตร ( 25 Kcal/kg. X นน. เป็นkg. )+ (40 Kcal/kg. X
%TBSA burned) = พลงังานท่ี ควรไดร้ บั ในหนึง่ วนั และเน้นอาหารท่ีมโี ปรตนี พลังงานและเกลือแร่สงู
- การจัดการความปวดอย่างเหมาะสมท้ังแบบใช้ยาและไม่ใช้ยา
- การดแู ลดา้ นจิตใจ
- ชว่ ยเหลอื ผู้ปว่ ยในการทำ Range of motion
6.ผวิ หนงั ถกู ทำลายจากการกดทบั
ปจั จยั ที่เกี่ยวขอ้ ง มดี งั น้ี
1.ความรนุ แรงจากการกดทับ
2.แรงเฉอื นและแรงเสียดสี
3. ระยะเวลาและความทนของเน้ือเย่ือ
สาเหตกุ ารเกดิ แผลกดทบั มาจากแรงกดทับโดยตรงและความทนของผิวหนัง
การพยาบาลผู้ป่วยทม่ี แี ผลกดทับ

1.ลดการกดทบั โดยชว่ ยพลิกตะแคงตัวหรอื เปลี่ยนท่าทกุ 2 ชม.
2.การทำความสะอาดร่างกาย โดยหลีกเลีย่ งการใชน้ ้ำอุน่ จดั ใชส้ บอู่ ่อน เช็ดดว้ ยความนุม่ นวลและซับแหง้
หลกี เลย่ี งการใชแ้ อลกอฮอล์ ควรใชโ้ ลช่ันทาวนั ละ 3-4 คร้งั หลกี เล่ยี งการนอนแชป่ ัสสาวะ/อจุ จาระ
3.การดูแลแผลกดทับ โดยการล้างแผลและกำจัดเนื้อตาย
4.โภชนาการ โดยใหโ้ ปรตีน 1.25-1.5 กรมั / น้ำหนักตัว 1 กิโลกรัม/วัน สารอาหาร 30
กิโลแคลลอรี่/น้ำหนักตัว 1 กโิ ลกรมั /วัน

2.การพยาบาลผู้ป่วยท่ีมปี ญั หาการตดิ เช้อื
2.1 หลักในการประเมินการติดเช้ือในรา่ งกาย มดี งั นี้
1.การซกั ประวัติ เชน่ การเจ็บปว่ ยด้วยโรคติดเช้ือครั้งก่อน ประวตั ิการได้รับวคั ซีน ส่ิงแวดลอ้ มท่ีอยูอ่ าศัย

ประวัติการเปน็ โรคเรื้อรังหรือโรคประจำตวั เป็นตน้
2.การตรวจร่างกาย เชน่ ประเมนิ สัญญาณชีพ สังเกตลกั ษณะการหายใจ ฟงั เสียงปอด

คลำตอ่ มน้ำเหลืองท่ัวรา่ งกาย สงั เกตสงิ่ คดั หลง่ั จาก ตา หู คอ จมูก เปน็ ตน้
3.การตรวจทางหอ้ งปฏบิ ัตกิ าร เชน่ การตรวจเลือด และการตรวจอ่นื ๆ
2.2 การพยาบาลผปู้ ่วยท่มี ีปัญหาโรคเมลอิ อยโดสสิ (Melioidosis) โรคไข้ดินหรือโรคฝดี นิ
โรคเมลอิ อยดเ์ ปน็ โรคตดิ เชอื้ แบคทีเรียท่รี ะบาดในประเทศไทย ไม่มอี าการแสดงท่จี ำเพาะ

มอี ัตราการเสียชวี ติ สูง
ผู้ป่วยมีอาการแสดงได้หลากหลายและไม่มอี าการจำเพาะ ผปู้ ่วยอาจมาดว้ ยอาการไข้สูงเพียงอย่างเดยี ว
อาจมีไข้สงู ชอ็ คจากการติดเชื้อในกระแสเลอื ดโดยไม่มอี าการจำเพาะท่ีอวยั วะใดๆ
อาจมีอาการปอดอักเสบติดเชื้อมไี ขไ้ อมีเสมหะเจ็บหนา้ อก หรอื อาจมีเนอื้ ตายหรือฝีหนองทปี่ อดตับหรอื ม้าม

สาเหตุเกิดจากเช้ือแบคทีเรยี Burkholderia pseudomallei (เชอ้ื เมลิออยด)์
ซึ่งเป็นแบคทีเรียชนดิ กรมั ลบ พบ
ได้ทั่วไปในดินและน้ำในแหล่งระบาด เช้อื เมลิออยด์พบได้ในดินและน้ำทุกภมู ภิ าคในประเทศไทยโดยพบได้บอ่ ย
ที่สดุ ในภาคอีสาน

วธิ ีการตดิ ต่อ เชื้อน้ีเขา้ สรู่ ่างกายคนโดยผ่านทางผวิ หนัง ถา้ ผวิ หนังมีการสัมผสั ดนิ และน้ำ โดยไม่

จำเป็นตอ้ งมรี อยขีดขว่ นโดยเฉพาะอยา่ งยิ่งในกรณที ่ีมีการสัมผัสดนิ และน้ำเป็นเวลานานๆ เช่นการทำนาและ

การจับปลาและในผปู้ ่วยทมี่ ภี มู คิ ุ้มกันลดลง เช่น ผ้ปู ว่ ยเบาหวานและผปู้ ่วยโรคไต
หรอื เขา้ ร่างกายผ่านทางการหายใจโดย

การหายใจฝุ่นดินเขา้ ไปในปอดหรอื อยภู่ ายใต้ลมฝน

ระยะฟกั ตัว ระยะฟกั ตวั ในผู้ปว่ ยทม่ี ีอาการเฉยี บพลนั จะอยรู่ ะหวา่ ง 1-21 วัน โดยเฉลีย่ อยทู่ ่ีประมาณ 9
วัน

อาการและอาการแสดง พบไดห้ ลายรูปแบบ และไมม่ ีอาการเฉพาะ อาจมาด้วยอาการดงั ต่อไปนี้

1.ไขส้ ูง มีอาการ sepsis, severe sepsis หรอื septic shock
จากการติดเชื้อในกระแสเลือด(bacteremia

2.ปอดติดเชือ้ เฉยี บพลัน (acute pneumonia) เชน่ ไข้ ไอมีเสมหะ เจบ็ หนา้ อก การตดิ เชื้อใน
และมกั พบรว่ มกับการติดเช้ือในกระแสเลือด

3.ตดิ เชอ้ื ในระบบทางเดนิ ปสั สาวะ (urinary tract infection) เชน่ ไข้ และอาจมีปสั สาวะแสบขดั
การตดิ เช้อื ในระบบทางเดนิ ปัสสาวะ

4.ติดเชอื้ ในข้อ (acute septic arthritis) เชน่ ไข้ มขี อ้ บวม แดง ร้อน การตดิ เช้ือในข้อ

5.ฝ(ี abscess) ซ่งึ พบได้บ่อยในตับ มา้ ม ตอ่ มนำ้ เหลือง ตามผิวหนงั และอาจพบได้ในทุกอวัยวะในรา่ งกาย
เช่น ฝีในสมอง ฝใี นตา ฝใี นช่องคอชัน้ ลกึ ฝีในปอด หนองในเย่อื หมุ้ ปอด หนองในเยื่อหุ้มหัวใจ
หลอดเลือดโปง่ พองจากการติดเชื้อ (mycotic aneurysm) ฝใี นไต และ ฝีในต่อมลูกหมาก

6.ผูป้ ่วยทม่ี ีโรคประจำตวั เชน่ เบาหวาน ทาลสั ซีเมยี และโรคไต
มคี วามเสย่ี งท่จี ะเป็นโรคเมลิออยด์มากกวา่ คนปกติ

การรักษา

การรกั ษาภาวะฉุกเฉิน (acute treatment) เน่ืองจากผ้ปู ว่ ยเมลิออยดท์ ีม่ ภี าวะ severe sepsis หรือ
septic shock จะเสยี ชวี ิตอยา่ งรวดเร็ว การใช้ยาต้านจลุ ชีพทเ่ี หมาะสมจึงเป็นสงิ่ ท่ีจำเป็น
ยาท่ีมกี ารศึกษาพบว่ามผี ลตอ่ เชื้อเมลอิ อยดค์ ือยา ceftazidime imipenem หรอื meropenem 50
mg/kg/dose (up to 2 gram) iv every 6-8 hours หรอื meropenem 25 mg/kg/dose (up to 1 gram) iv

every 8 hr. ขนาดยาควรปรบั ตามค่าการทeงานของไต ผู้ปว่ ยควรไดร้ ับการรักษาประคับประคองสำหรับภาวะ
sepsis และ severe sepsis ตาม surviving sepsis campaign ทุกอย่างเช่น การใหส้ ารน้ำท่เี หมาะสม
การวินิจฉยั หาสาเหตุ การเพาะเช้ือ การให้ยาปฏิชวี นะทีเ่ หมาะสมด้วยความรวดเรว็

การควบคุม
1.แยกผู้ป่วยไม่ใหผ้ ู้อน่ื สมั ผสั กับสง่ิ คดั หล่งั จากทางเดินหายใจ
2.ทำลายเชอื้ จากเสมหะและน้ำเหลอื งจากแผล

2.3 การพยาบาลผู้ป่วยทีม่ ีปัญหาโรคเลปโตสไปโรสสิ (โรคฉ่หี น)ู
โรคเล็ปโตสไปโรซสิ เกดิ จากสาเหตุจากการติดเช้อื แบคทีเรีย ท่มี ชี อื่ ว่า เลบ็ โตสไปรา่ อนิ เทอโรแกนส์
(Leptospira interrogans) เชอื้ โรคท่ีมีหนูเปน็ แหล่งรังโรคท่สี ำคัญ สัตวอ์ ื่นท่เี ปน็ พาหะนำโรค ได้แก่ สกุ ร โค
กระบือ สนุ ขั โดยเชือ้ นสี้ ามารถมชี ีวิตไดน้ านหลายเดือนหลงั จากถูกขบั ออกทางปสั สาวะจากสตั วท์ ม่ี เี ชอื้ ดังกลา่ ว
ลกั ษณะงานและอาชีพทีเ่ สี่ยง ผทู้ ่ีประกอบอาชีพท่ีมีโอกาสสมั ผสั กบั สตั วท์ ่ตี ิดเชอื้ หรือน้ำที่ปนเปือ้ นเชือ้
ซึ่งขบั ออกทางรา่ งกายหนูหรือผทู้ มี่ ีอาชพี เกษตรกร ผู้เลย้ี งสตั ว์ ชาวนา คนงานโรงฆา่ สตั ว์ สัตวแพทย์
การสันทนาการและกฬี าทางนำ้ เชน่ การวา่ ยนำ้ อันตรายต่อระบบอวัยวะท่สี ำคญั ของร่างกาย
โรคน้เี ป็นโรคตดิ ต่อจากสตั วส์ ู่คน โดยสัตวท์ ่ีเปน็ โรคนจี้ ะขบั ถา่ ยเชอื้ โรคออกมากับปัสสาวะ
เชอ้ื จะอาศัยอย่ใู นดินทช่ี ืน้ แฉะ หรือมีน้ำขัง โดยเชอ้ื จะเขา้ สูร่ า่ งกายทางผิวหนังท่ีมแี ผลหรอื รอยขีดขว่ น
หรือผิวหนังที่เป่อี ย เย่ือบุตา่ ง ๆ การหายใจเอาไอละอองของปัสสาวะ หรอื ของเหลวที่ปนเปอ้ื นเชอ้ื เข้าไป
อาการทส่ี ำคญั มี 2 ระยะ
ระยะแรก (leptospiremic phase) เป็นระยะ 4-7 วนั แรกของการดำเนินโรค ระยะนี้มีอาการ
ไขส้ ูงหนาวสัน่ ปวดศีรษะ คลื่นไส้ อาเจยี น และปวดเมอื่ ยกลา้ มเน้อื
ซ่ึงในโรคเล็ปโตสไปโรซสิ จะมีลักษณะเฉพาะคือ ปวดบริเวณน่อง หลัง และหน้าทอ้ ง อาการอืน่ ๆทีอ่ าจพบได้ ได้แก่
เจ็บคอ ไอ เจบ็ หน้าอก ผน่ื แดง ตอ่ มนำ้ เหลืองโต ตบั มา้ มโต
ระยะทส่ี อง (Immune phase) ระยะน้ีเปน็ ผลมาจากปฏกิ ิริยาทางภมู คิ ้มุ กันของรา่ งกาย
อาการและอาการแสดงมีความจำเพาะ พบอาการไข้ประมาณ 1สปั ดาหแ์ ละช่วงไข้ลงและกลบั มไี ขข้ ้นึ

พบอาการปวดศีรษะ ไข้ต่ำ ๆ จะมอี าการและอาการแสดงของภาวะเย่ือหมุ้ สมองอักเสบ พบภาวะแทรกซ้อนอน่ื
เช่น ตวั เหลอื ตาเหลือง หรืออาการทางสมองและระบบประสาท

การรกั ษา

1.รกั ษาตามสภาพปญั หา เชน่ ใหย้ าลดไข้ ให้เกลอื น้ำและเกลือแรใ่ ห้เพยี งพอ รักษสมดุลของ I/O
รักษาภาวะไตวาย ไตอักเสบ

2.การรักษาดว้ ยยาปฏิชีวนะเปน็ เวลา 7 วัน คือ doxycycline 100 mg วนั ละ 2 คร้งั หลงั อาหาร หรือ
Amoxicilin 500 mg วนั ละ 3 คร้งั ก่อนอาหาร

3.ประชากรกล่มุ เสยี่ งที่ต้องลุยนำ้ ลยุ โคลนควรใส่ถงุ มอื ใส่รองเทา้ บู๊ท

2.4 การพยาบาลผูป้ ่วยท่มี ีปัญหาโรคไข้หวดั นก (Avian Influenza)

เปน็ โรคตดิ เชือ้ ไวรสั ไขห้ วดั ใหญส่ ายพนั ธเ์ุ อทเ่ี กดิ ขึ้นในสัตวป์ ีก
เชื้อไวรัสไข้หวดั นกส่วนใหญ่ไม่สามารถแพร่เชอื้ สคู่ นได้ เวน้ แตเ่ ช้ือไวรสั ไข้หวัดนก 2
สายพนั ธุ์ทีเ่ คยพบการแพร่เช้ือจากสัตว์สูค่ นจนทำให้เกิดการระบาด ได้แก่

สายพันธุ์ H5N1 พบการระบาดในประเทศไทยคร้ังแรกปี พ.ศ. 2547
และมกี ารระบาดในประเทศแถบเอเชียตะวนั ออกเฉียงใต้ รวมทง้ั ประเทศจีนและฮ่องกง

สายพนั ธ์ุ H7N9 พบการระบาดในประเทศจีน ปี พ.ศ. 2556 แตไ่ ม่พบการระบาดในประเทศไทย
อาการของไข้หวดั นก

ไขห้ วัดนกเป็นโรคติดเช้อื ไวรสั ทมี่ ีระยะเวลาในการฟักตวั ของเชือ้ ก่อนแสดงอาการอยู่ท่ีประมาณ 3-5 วัน
ทัง้ นหี้ ากเปน็ เช้ือไวรสั สายพันธ์ุ H5N1 อาจใช้เวลาฟักตวั ได้ถงึ 17 วนั ในขณะท่สี ายพนั ธ์ุ H7N9 จะใช้เวลา 1-10
วนั แต่โดยปกติแลว้ จะอยู่ท่ปี ระมาณ 5 วัน โดยในชว่ งทเ่ี ชอื้ ฟักตวั จะยงั ไม่มีอาการใด ๆ
แต่หากเข้าสู่ระยะแสดงอาการแลว้ อาการทัว่ ไปทพ่ี บได้คือ
มไี ข้สงู ปวดกล้ามเนอ้ื ปวดศีรษะ มีปญั หาเกีย่ วกับระบบทางเดนิ หายใจ เชน่ ไอ หรือมนี ้ำมกู ไหล

ปจั จัยเส่ียงท่ีจะทำให้ติดเช้ือไขห้ วัดนก ไดแ้ ก่

1.การสัมผัสกับสตั ว์ปีกทีต่ ดิ เช้อื
2.การสมั ผัสกับสารคดั หลง่ั หรอื อจุ จาระของสัตวป์ ีกโดยตรง

3.อยู่ในพื้นทท่ี มี่ ีการระบาดของเชอื้ ไวรัสไขห้ วัดนก

4.อยู่ในสถานที่ขายสตั วป์ ีก ไข่ หรอื ซากสัตว์ปีกท่ีมีการรักษาอนามัยท่ีไมด่ ีพอ

การรกั ษาไขห้ วัดนก

ไขห้ วัดนก สามารถรักษาใหห้ ายได้ หากได้รับการรักษาอยา่ งทันทว่ งที
โดยเม่อื แพทย์วินจิ ฉัยไดอ้ ย่างแน่ชัดแล้วว่าผู้ป่วยตดิ เชื้อไวรสั ไขห้ วดั นก แพทย์จะใหผ้ ้ปู ว่ ยรกั ษาตัวทีโ่ รงพยาบาล
โดยแยกผู้ป่วยออกจากผูป้ ว่ ยคนอื่น ๆ และตอ้ งไดร้ บั การดูแลอยา่ งใกล้ชดิ
เนอื่ งจากอาการของไขห้ วดั นกคอ่ นข้างรุนแรง อกี ทั้งยงั สมุ่ เส่ยี งตอ่ การเกดิ ภาวะแทรกซ้อน ทัง้ นใ้ี นชว่ งรักษาตัว
แพทยจ์ ะแนะนำให้พกั ผ่อนมาก ๆ ด่ืมนำ้ มาก ๆ และรบั ประทานยาพาราเซตามอล (Paracetamol)
เพื่อลดอาการไข้และอาการปวด ควบคไู่ ปกบั การรักษาดว้ ยยาต้านเชอ้ื ไวรัส
ยาท่ีแพทย์มักใชใ้ นการรักษาโรคไข้หวดั นก ไดแ้ ก่ ยาโอเซทามิเวียร์ (Oseltamivir), ยาซานามเิ วยี ร์ (Zanamivir)

2.5 การพยาบาลผูป้ ่วยท่ีมีปัญหาโรคมาลาเรยี (Malaria)

โรคมาลาเรีย (Malaria) หรือไขจ้ บั สนั่ ไข้ปา่ ไขป้ ้าง เกดิ จากการติดเชื้อโปรโตซัวชนดิ พลาสโมเดียม
(Plasmodium) ทีน่ ำโดยยุงก้นปล้องเพศเมยี เช้อื พลาสโมเดียม (Plasmodium) ท่ีก่อโรคในคนมีอยู่ 5 ชนดิ
(Species) คอื Plasmodium falciparum ทำให้เสียชวี ติ มากท่ีสุดและในประเทศไทยพบเช้อื ชนิดนีบ้ ่อยที่สุด
Plasmodium vivax พบเชอื้ ชนิดนี้รองลงมา Plasmodium ovale Plasmodium malariae และ
Plasmodium knowlesi ซง่ึ เป็นเชื้อมาลาเรียชนิดท่สี ามารถถ่ายทอดจากลิงไปสู่คนไดโ้ ดยยงุ กน้ ปลอ่ ง
แหล่งระบาดของโรคมาลาเรียในประเทศไทยอยู่ตามจังหวดั ชายแดน โดยเฉพาะบริเวณทเี่ ป็นภูเขาสูง ป่าทึบ
และมแี หล่งนำ้ ลำธาร อันเป็นแหล่งแพร่พนั ธ์ุของยงุ ก้นปล่อง

อาการเร่ิมแรกของมาลาเรียไม่จำเพาะ จะเปน็ อาการคล้ายไข้หวัด เชน่ มไี ข้ ปวดศีรษะ ปวดเมอ่ื ยตามตวั
ไอ แต่สักระยะหน่งึ ทีเ่ ช้ือแต่ละตวั แบง่ ตวั สอดคล้องกนั ดีแล้ว ผปู้ ่วยจะมไี ขเ้ ป็นช่วงระยะอย่างสม่ำเสมอ
อาการของไขจ้ ะมี 3 ระยะ คือ

1) ระยะหนาวสั่น ผู้ปว่ ยมีอุณหภมู ิร่างกายลดลง มีอาการหนาวส่ัน กินเวลา 30 นาที ถงึ 1 ช่ัวโมง

2) ระยะไข้ตัวรอ้ น ผู้ป่วยมีไข้สงู 40-41 เซลเซียส เปน็ เวลา 1-4 ชั่วโมง

3) ระยะออกเหงื่อ กินเวลานาน 1-2 ชั่วโมง จากน้นั อุณหภมู ิรา่ งกายปกติ

การรักษา

การรกั ษาแบบประคับประครอง

1.รักษาตามอาการ

2. ภาวะแทรกซ้อนท่ีพบได้บ่อยในผู้ป่วยติดเชอื้ เชน่ ไตวายเฉียบพลัน ดซี ่าน ไข้สูง ปอดบวมนำ้
นำ้ ตาลในเลือดตำ่

การรักษาแบบเฉพาะเจาะจง

1.การรักษาในระยะเฉียบพลัน ใหย้ า Schizonticidal drugs ท่ไี ปทำลาย Erthtrocytic cycle เช่น 4-
aminoquinoline, cinchona alkaloid, quinoline, carbinolamine, sulfonamides,
sulfones,sesquiterpene lactone

ผปู้ ่วยตดิ เชอ้ื P.vivax และ ovalae ทม่ี ี Exoerythrocytic stages จะทำให้ผูป้ ว่ ยมกี ารกลบั เปน็ ซำ้
จะต้องรักษาด้วย Anti-relapse drugs จงึ ใช้ chloroquine และ primaquine ร่วมกัน

การปอ้ งกนั และควบคุมมาลาเรยี

1.ควบคมุ ยุงทีเ่ ป็นพาหะ เชน่ ใช้สารเคมี

2.ควบคมุ โดยใชช้ ีววธิ ี เช่น ใชป้ ลากินลกู นำ้ การใชห้ นอนพยาธลิ ดจำนวนลูกนำ้
ลดการติดเชอื้ จากยุงทเี่ ป็นพาหะสู่คน เช่น การใชม้ งุ้ กางเวลานอน การสวมเสอ้ื ผ้าให้มดิ ชิด การใช้ยาทากนั ยุง
การใช้ยาจุดกันยุง การใช้ตาข่ายกนั ยงุ หรอื ทำม้งุ ลวด

3.ปรับปรุงส่งิ แวดล้อมเพือ่ ลดแหลง่ เพาะพันธ์ยุ งุ ใชย้ าป้องกนั เมื่อจำเป็นตอ้ งเขา้ ไปในเขตท่มี ีการติดเชอื้ สูง

2.6 การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหาโรคตดิ เช้ือในโรงพยาบาล (Nosocomial Infection)

โรคติดเชื้อทเี่ กิดจากการไดร้ ับเชอ้ื ขณะทีผ่ ู้ปว่ ยไดร้ บั การตรวจ และ/หรือ การรักษา
ในโรงพยาบาลและไม่อย่ใู นระยะฟักตัวของเชื้อ มักเกิดขนึ้ ในผปู้ ่วยทร่ี ับไวร้ กั ษาในโรงพยาบาลแลว้ นานเกิน 48-72
ชั่วโมง บคุ คลอน่ื เช่น แพทย์ พยาบาล บุคลากรทางการแพทย์ หรือผมู้ าเยยี่ มผู้ปว่ ย
หากไดส้ ัมผัสและรบั เช้ือในโรงพยาบาลก็อาจเกิดตดิ เชอื้ ในโรงพยาบาลได้

1.การติดเชือ้ ระบบทางเดนิ หายใจสว่ นล่าง Lower Respiratory Tract Infection

ปอดอักเสบในโรงพยาบาล (hospital-acquired pneumonia, HAP) ปอดอักเสบที่เกิดขึน้ หลงั จาก
รับไว้รกั ษาตวั ในโรงพยาบาลตง้ั แต่ 48 ชั่วโมงข้ึนไป โดยที่ผปู้ ว่ ยไม่ได้รับการสอดใส่ท่อช่วยหายใจในขณะท่ี ท
าการวนิ จิ ฉัยโรค

ปอดอักเสบทเ่ี กี่ยวข้องกับเคร่ืองช่วยหายใจ (ventilator-associated pneumonia, VAP) :
ปอดอักเสบที่เกดิ ขึ้นหลังจากการใสท่ ่อช่วยหายใจ ต้ังแต่ 48 ชัว่ โมงขึ้นไป จนถงึ 48 ชัว่ โมงหลังถอดท่อ ช่วยหายใจ
ไม่ว่ายังใชเ้ คร่ืองช่วยหายใจหรือไม่กต็ าม

2. การติดเชอ้ื ทางเดนิ ปัสสาวะ (Urinary tract infection UTI) คือ การอักเสบของทางเดินปสั สาวะ
เนื่องจากภาวะตดิ เชอ้ื หลงั จากท่ีผู้ป่วยเขา้ รบั การรักษาในโรงพยาบาล แบง่ ตามตำแหน่ง ทีเ่ กดิ 2 ประเภทคือ
การตดิ เช้อื ในทางเดินปัสสาวะส่วนล่าง การติดเช้ือบรเิ วณกระเพาะปัสสาวะลงไป จนถึงท่อปัสสาวะ
และการตดิ เช้ือในทางเดินปสั สาวะสว่ นบน การติดเชื้อของท่อไต กรวยไต และเน้อื ไต

เกณฑก์ ารวินิจฉยั UTI

1.เพาะเช้ือจากปัสสาวะพบเช้ือ > 105 CFU/ml และมเี ช้ือไม่เกิน 2 ชนิด
และมีอาการแสดงตอ่ ไปนี้อยา่ งน้อย 1 ข้อ คือ มไี ข้ ≥ 38 หรอื ปัสสาวะกะปรดิ กะปรอย ปัสสาวะบ่อย
ปัสสาวะลำบาก หรือกดเจบ็ บรเิ วณหวั เหนา่

2. มี S & S ของ UTI อยา่ งน้อย 1 อยา่ ง และตรวจพบอย่างน้อย 1 ข้อ ดงั ต่อไปนี้

-พบ Leukocytes esterase และ/หรือ nitrate ในปัสสาวะ

-ปสั สาวะเป็นหนอง (WBC > 10 cell/mm3 หรือ > 3 cell/HPF ในปัสสาวะท่ไี ม่ไดป้ นั่ )

-ยอ้ ม gram stain พบเช้ือจากปัสสาวะทีไ่ ม่ได้ ปน่ั

-ผลการเพาะเช้ือในปัสสาวะพบเชอ้ื > 103 CFU/ml และ < 105 CFU/ml เชอ้ื ไมเ่ กิน 2 ชนิด

3.การติดเช้ือแผลผา่ ตดั (Surgical site infection SSI)

1.การติดเชือ้ ท่แี ผลผา่ ตดั หรือ
ทบี่ รเิ วณทที่ ำหัตถการอนั ก่อให้เกิดการตดั ผา่ นผิวหนงั โดยการตดิ เช้อื อาจเกิดต้งั แต่ช้ัน

ผิวหนัง เน้อื เยอ่ื ใต้ ผวิ หนัง เน้อื เยอ่ื พงั ผดื ลึกลงไปถึงกลา้ มเนือ้ และอวัยวะหรือชอ่ งว่างภายในอวยั วะภายใน

2.เกดิ จากการได้รบั เช้ือจลุ ชพี ขณะท่อี ยู่ในโรงพยาบาลโดยอาจจะเป็นเชอ้ื ที่ อยู่ในตวั ผู้ป่วยเอง
(endogenous microorganism) หรอื จากภายนอกร่างกายผปู้ ว่ ย (exogenous microorganism)

ประเภทของการติดเชอื้

1.Superficial Incisional SSI

การตดิ เชอื้ ของแผลผา่ ตัดที่ผิวหนงั และเนอื้ เยอ่ื ใตผ้ ิวหนงั ท่ี เกิดภายใน 30 วันหลงั ผา่ ตัด วนิ จิ ฉัยจาก

1. มหี นองออกจากแผลผา่ ตดั
2. แยกเช้ือได้ (ของเหลว/เนอื้ เยือ่ จากแผลผา่ ตดั )
3. S & S ของแผลตดิ เช้อื อยา่ งนอ้ ย 1 อยา่ ง ได้แก่ ปวด หรือ กดเจ็บ แผลบวม แดง หรือรอ้ น
4. ศัลยแพทยเ์ ปิดแผลออกก่อนถึงกำหนดตัดไหม (ยกเวน้ เมื่อเพาะเช้ือแล้วใหผ้ ลลบ
5. แผลปดิ ทีม่ ีหนอง หรือนำของเหลวเพาะเช้ือให้ผลบวก
6. แผลแยก ยกเวน้ เม่อื นำของเหลวไปเพาะเช้อื แลว้ ใหผ้ ลบ
2.Deep Incisiona lSSI
การติดเชอ้ื ท่ีตำแหน่งผ่าตดั ช้ันพังผดื และกลา้ มเนื้อท่เี กิดภายใน 30 วนั หลงั ผา่ ตดั Dx เม่ือมีอย่างนอ้ ย 1
ขอ้
มหี นองไหลจากช้ันใต้ผวิ หนงั บรเิ วณผ่าตดั
แผลผ่าตัดแยกเองหรือศัลยแพทยเ์ ปิดแผล และการเพาะเชือ้ เปน็ บวก
หรือผู้ปว่ ยมอี าการหรืออาการแสดงอยา่ งน้อย 1 อย่างต่อไปน้ี มไี ข้ (> 38 C) หรือปวดหรอื กดเจ็บบริเวณแผล
พบฝี (abscess) หรือหลกั ฐานอ่นื ท่ีแสดงการตดิ เช้ือ
ศลั ยแพทย์วินิจฉัยว่ามีการตดิ เช้ือทแ่ี ผลผา่ ตัดชน้ั พงั ผืด และกลา้ มเนอ้ื

3.Organ/Space SSI
การตดิ เชื้ออวยวั ะทีผ่ า่ ตดั ที่เกิดข้นึ ภายใน 30 วนั หลังการผ่าตดั หรือภายใน 1 ปี
หลงั การผา่ ตัดเม่ือมีการใส่อุปกรณท์ างการแพทยเ์ ข้าไปในตัวผูป้ ว่ ย
วนิ จิ ฉยั เมือ่ ผปู้ ว่ ยมีอาการอย่างน้อย 1 ข้อต่อไปน้ี
1. มีหนองออกจากท่อระบายท่ีใสไ่ ว้ภายในอวัยวะหรือชอ่ งโพรงในรา่ งกาย
2.เพาะเชื้อได้จากของเหลวหรอื เนื้อเย่ือจากอวัยวะหรือชอ่ งโพรงในรา่ งกาย
3.พบฝี หรอื หลักฐานการติดเช้อื จากการตรวจพบโดยตรงขณะผา่ ตัด หรอื จากการ ตรวจเนอื้ เย่อื
หรอื การตรวจทางรังสีวทิ ยา

4.ศัลยแพทย์วนิ จิ ฉยั วา่ มีการติดเชือ้ ทอ่ี วยั วะหรือช่องโพรงในร่างกาย
4.การติดเช้ือในกระแสเลือดในโรงพยาบาล (nosocomial blood stream infection BSI)
การตดิ เชอ้ื แบคทเี รยี (bacteremia) หรอื เชื้อรา (fungemia)
ในกระแสเลือดหลงั จากทอี่ ยู่ในโรงพยาบาลแลว้ ไมต่ ำ่ กว่า 48 ชั่วโมง โดยที่ไมม่ ีการติดเชื้อที่อวยั วะอนื่ ๆ
สว่ นใหญข่ องการตดิ เชือ้ ในกระแสเลือด ในรพ.มกั เปน็ device -associated bloodstream infection
วินิจฉัยเมอ่ื ผู้ป่วยมีอาการและอาการแสดงเข้าได้กับเกณฑ์อยา่ งนอ้ ย 1 ข้อ ดงั ต่อไปน้ี
1.เพาะเช้ือจากเลือดพบเชอื้ ก่อโรคทม่ี ักเปน็ สาเหตุการติดเช้ือในกระแสเลือด ตัง้ แต่ 1 ตัวอย่าง
และเชือ้ นนั้ ไม่สัมพนั ธ์กบั การติดเช้อื ในโรงพยาบาลทตี่ าแหน่งอื่น
2. มี S & S ของการติดเชือ้ อย่างนอ้ ย 1 อย่าง เช่น มีไข้ (> 38๐ C) หนาวสั่น ความดันโลหิต ต่ า (SBP ≤
90 mm Hg) ปสั สาวะออกน้อยลง (แต่ไม่น้อยกว่า 20 ml/ช่วั โมง); และ
3.พบเชื้อที่มักจะปนเปอ้ื นจากผิวหนัง จาก การตรวจเพาะเชือ้ ในเลอื ดตง้ั แต่ 2 คร้งั ข้นึ ไป เชน่
เก็บวันเดียวกันแต่คนละเวลา/เก็บคนละ วนั (ไมเ่ กนิ 2 วัน)
ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับโรคตดิ เชอ้ื ในโรงพยาบาล
1. Agent (เช้อื ก่อโรค)
2. Host (บคุ คล)
3. Environment (สิ่งแวดล้อม)
ปจั จัยดา้ นบคุ คล
1.สว่ นใหญ่เปน็ ผู้ปว่ ยแตก่ อ็ าจจะเป็นบุคลากรในโรงพยาบาล
2.ผู้ป่วยท่มี ีภูมิต้านทานโรคต่ำ (เดก็ เลก็ ผสู้ ูงอายุ)
3. ผู้ทภ่ี ูมิต้านทานโรคลดลง (เอชไอวี มะเรง็ เม็ดเลอื ดขาว โรคของ ระบบภูมคิ ุ้มกัน ภาวะทพุ โภชนาการ)
4.ผปู้ ว่ ยทไ่ี ดร้ ับภยนั ตราย ผู้ปว่ ยทไี่ ด้รับการผ่าตัดหรอื จากการรกั ษา
5.ผ้ทู ่ีภูมติ า้ นทานโรคลดลงจากการรกั ษาโรค (ใช้ยารักษามะเรง็ /สเตยี รอยด)์
6.มกั พบในผู้ป่วยโรงพยาบาลใหญ่ ๆ เพราะผปู้ ่วยมคี วามซับซอ้ นของ การเจ็บปว่ ยสงู

ปจั จยั ดา้ นส่งิ แวดล้อม
1.อาคาร สถานท่ี
2.เครอื่ งมือ เคร่ืองใช้
3.บุคลากรในโรงพยาบาล
4.ญาติท่ีมาเยย่ี ม
5.น้ำดม่ื นำ้ ใช้
6.การระบายน้ำ
7.การกำจัดน้ำเสยี /ขยะ
8.การทำความสะอาดอาคาร และสถานท่ตี ่าง ๆ
วิถกี ารแพร่เชอ้ื
1. การสัมผสั (contact) พบมากทสี่ ุด จากการจับต้องผปู้ ่วยโดยท่ลี า้ งมือไมส่ ะอาดทัว่ ถงึ
จากการใชเ้ คร่ืองมือเครอ่ื งใช้ต่างๆ อุปกรณ์ทางการแพทย์ วัสดทุ ี่สอดใสเ่ ข้าไปในตวั ผู้ป่วย
2. การแพรท่ างอากาศ (air-borne)
3. การแพรโ่ ดยสัตวพ์ าหะ (vectorborne)
หลกั การป้องกันและควบคมุ การแพรก่ ระจายเชื้อโรค จากการดแู ลผูป้ ่วย
1.ปฏบิ ัตติ ่อผู้ปว่ ยทุกรายเหมือนกันโดย ยึดหลักการ Standard Precautions
2. สวมเครอ่ื งปอ้ งกนั รา่ งกาย เม่อื มีขอ้ บง่ ช้ี ตามหลักการของ Standard Precautions
3. ใช้ Transmission-based precautions เม่ือผู้ป่วยมโี รคติดเช้อื ท่ี แพรเ่ ชอ้ื โดยวิธีการเฉพาะ

3.การพยาบาลระบบตอ่ มไร้ท่อ
3.1การพยาบาลผู้ป่วยโรคเบาหวาน

เบาหวานเปน็ โรคทางเมตตาบอลิซึมท่ีมคี วามบกพร่องของการหลง่ั อนิ ซลู นิ มีผลทำให้การเผาผลาญของคา
ร์โบไฮเดรตผดิ ปกติ มีสาเหตุมาจาก กรรมพนั ธุ์ วถิ ชี วี ติ โรคอว้ นกับการรบั ประทานอาหารมากเกินไป ความเครยี ด
ยาและฮอร์โมนท่รี า่ งกายได้รับ โรคท่ีเกดิ กบั ตับอ่อน

โรคเบาหวานมี 4 ชนดิ ดงั นี้

1.เบาหวานชนิดที่ 1 (T1DM) เกิดจากการทำลายเบต้าเซลล์ท่ีตบั อ่อนจากภมู ิคมุ้ กนั ของร่างกาย
สว่ นมากพบในคนอายนุ ้อยกวา่ 30 ปี รูปรา่ งไม่อ้วน จะมีอาการปัสสาวะมาก กระหายน้ำ ดื่มนำ้ มาก
ออ่ นเพลียนำ้ หนกั ลด บางกรณอี าจพบภาวะเลือดเป็นกรดจากสารคโี ตน

2.เบาหวานชนดิ ที่ 2 (T2DM) เป็นเบาหวานท่เี กดิ จากการขาดอินซลู ินต่ไม่มากเท่าเบาหวานชนิดที่ 1
ร่วมกบั การมีภาวะดื้อต่อการออกฤทธ์ิของอนิ ซูลนิ และมีการเพิ่มการผลิตนำ้ ตาลจากตับเพิม่ มากขน้ึ

3.โรคเบาหวานท่มี ีสาเหตุจำเพาะ

4.โรคเบาหวานขณะตั้งครรภ์ (gestational diabetes melitus, GDM)

อาการและอาการแสดงของโรคเบาหวาน

1.ปัสสาวะจำนวนมาก
เม่อื ระดบั น้ำตาลในเลือดสงู ข้ึนจนเกนิ ขดี จำกดั ของไตรา่ งกายจะขบั นำ้ ตาลอกทางปสั สาวะทำใหแ้ รงดนั osmotic
ของปสั สาวะสูงขน้ึ renal tubule จงึ ไมส่ ามารถดึงนำ้ กลบั คืนสู่ร่างกายได้

2.ด่มื น้ำมากเนื่องจากรา่ งกายเสยี นำ้ มากจึงเกิดการขาดนำ้ อยา่ งรนุ แรงทำให้มีอาการกระหายน้ำนาก

3.นำ้ หนกั ลด รา่ งกายไมส่ ามารถนำกลโู คสไปใชเ้ ป็นพลงั งานได้
ร่างกายกจ็ ะสลายไขมันและโปรตีนทีส่ ะสมไว้มาใชเ้ ป็นพลงั งานแทนจึงเกิดการสญู เสีเน้ือเยอ่ื รว่ มกับภาวะทีร่ า่ งกาย
ขาดนำ้ ทำใหน้ ้ำหนกั ตัวลดอย่างรวดเรว็ นอกจากนั้นยังเกดิ ภาวะ negative nitrogen balance และเกดิ ketosis
ได้

4.รับประทานอาหารจุ
จากการทรี่ า่ งกายมกี ารสลายเอาเนอื้ เยื่อมาใช้จงึ ทำให้เกดิ ภาวะรับประทานอาหารเกิดข้ึน
เพือ่ ชดเชยต่อภาวะนี้ผู้ป่วยจงึ หวิ บ่อยและกินจุ

ภาวะแทรกซ้อนของโรคเบาหวาน

1.ภาวะแทรกซ้อนเฉยี บพลัน (Acute complications) มดี ังน้ี

1.1 Diabetic ketoacidosis (DKA) เป็นภาวะแทรกซ้อนในเบาหวานชนิดที่ 1
ซ่งึ ภาวะน้ีจะมีการเปล่ียนแปลงเน่ืองจากการขาดอินซูลนิ และมีระดับกลูคากอนสงู กว่าปกติ
เกิดจากผ้ปู ่วยละเลยการฉีดอินซูลินทำใหเ้ กดิ ภาวะ insulin withdrawal ทก่ี ระตนุ้ ให้มีการหลง่ั กลูคากอนเพ่ิมขึ้น
หรอื การกระต้นุ ของ epinephrine, norepinephrine ท่ีมจี ำนวนเพ่มิ ข้นึ เนื่องจากผู้ป่วยมีภาวะเครียดทางรา่ งกาย
เช่น ติดเชื้อ การผ่าตัด หรอื การเครยี ดทางด้านจิตใจ

อาการของ DKA

อาการเบ่ืออาหาร คลื่นไส้ อาเขยี น ปัสสาวะบ่อย
อาจพบอาการปวดทอ้ งรว่ มด้วยถ้าไม่ได้รับการรักษาในระยะนผี้ ้ปู ว่ ยจะซมึ ลงจนไมร่ ู้สกึ ตัว
ถา้ ตรวจจร่างกายอาจพบอาการหายใจหอบลึกแบบ Kussmual respiration และอาการขาดน้ำ
อุณหภูมิร่างกายอาจตำ่ กว่าปกติ จะมีไข้ถ้ามีการติดเช้อื มักพบจำนวเมด็ เลือดขาวเพ่ิมข้ึนแมไ้ ม่มกี ารติดเชอ้ื
ตรวจเลือดจพบระดบั โปแตสเซียมสูงกวา่ ปกติหรือปกติ

1.2 Hyperglycemic hyperosmotic state (HHS)

พบบอ่ ยในเบาหวานชนดิ ท่ี 2 ภาวะนี้จะมีระดับนำ้ ตาลในเลือดสูงมากและทำให้เกิด osmotic diuresis
ทำให้ร่างกายเสยี น้ำทางปสั สาวะแต่ผปู้ ่วยไดร้ ับนำ้ ชดเชยไม่เพยี งพออาจมาจากการติดเช้ือ ท้องเสยี คล่นื ไส้
อาเจียน สูงอายุไม่มีคนดแู ล เปน็ ตน้

อาการของ HHNS

ผปู้ ่วยมกั มรี ะดบั กลโู คสในเลอื ดสงู มากมีความเข้มข้นของเลือดสูงและมีอาการขาดนำ้ รุนแรง เชน่
ความตงึ ตัวของผิวหนงั ลดลง ตาโบ๋ ปลายมอื ปลายเทา้ เยน็ หรอื อาจมีอาการชัก

1.3 ภาวะนำ้ ตาลในเลือดต่ำ (Hypoglycemia) ระดับนำ้ ตาลในเลอื ดตำ่ กวา่ 70 mg% ปจั จยั ทีท่ ำให้เกิด
ได้แก่ ได้รบั อินซูลินมากเกินความตอ้ งการของรา่ งกาย รบั ประทานอาหารน้อย ออกกำลังกายมากเกินไป
มีความเครียด อาเจยี น ท้องเสีย การดูดซมึ อาหารลดลง

อาการของ Hypoglycemia

ใจส่ัน หวั ใจเตน้ เรว็ รู้สกึ หิว เหงอื่ ออก มอื ส่ัน ความดนั โลหิตซิสโตลคิ สูง กระสบั กระสา่ ย คลื่นไส้และชา
อ่อนเพลยี รู้สกึ รอ้ นท้ังทผี่ ิวหนังเยน็ และชืน้ มนึ งง อณุ ภูมริ ่างกายตำ่ ปวดศรีษะการทำงานของสมองบกพร่อง
สบั สน ไม่มีสมาธิ ตาพรา่ มวั พูดช้า ง่วงซึม หลงลืม เป็นต้น

การรกั ษาและการพยาบาลผู้ปว่ ยโรคเบาหวาน

1.การควบคุมอาหาร ควรรบั ประทานอาหารที่หลากหลาย ควรหลกี เลยี่ งอาหารคารโ์ บไฮเดรตเชิงเดยี่ ว
เช่น นำ้ ตาลทราย น้ำผ้งึ น้ำผลไม้ หลกี เลย่ี งเน้อื สัตวท์ ่ีมีไขมันสูง หลกี เลย่ี งไขมันประเภทอม่ิ ตวั เชน่ ไขมนั สัตว์ กะทิ
มะพร้าว น้ำมนั ปาล์ม

2.การออกกำลังกาย ควรออกกำลงั กายปานกลางแบบแอโรบิค อยา่ งน้อย 150 นาที/สัปดาห์ หรือ
45นาที/วนั ควรหลกี เลย่ี งการฉดี อินซูลนิ ในขณะที่ออกกำลังกายหรือไม่ออกกำลังกายในช่วงท่ียาออกฤทธ์ิสงู สดุ
ควรทานอาหารประเภทคารโ์ บไฮเดรตก่อนออกกำลงั กาย

3.การใชย้ า มี 2 ประเภทคือ ยาชนดิ รับประทานและยาชนิดฉีด

ยาชนดิ รับประทาน มี biguanides และ metformin ทีน่ ิยมใช้ คอื metformin
ยาตัวน้ีใชใ้ นผูป้ ่วยทไ่ี ม่สามารถควบคมุ ระดบั กลูโคสในเลือดไดโ้ ดยเฉพาะผู้ที่มรี ูปรา่ งอ้วน หรอื อาจใช้ร่วมกับ
sulfonylurea ซง่ึ metformin ที่ใชใ้ นปัจจุบนั มขี ยาดเม็ดละ 500 mg และ 850 mg
ผู้ป่วยควนนบั ประทานยาน้ีพร้อมอาหารและคอ่ ยๆเพ่ิมขนาดของยาเพ่ือลดอาการข้างเคียง

ยาชนดิ ฉีด เป็นฮอร์โมนทีส่ กัดจากตับอ่อนของววั และหมู
ออกฤทธิ์ช่วยใหร้ ่างกายใช้กลูโคสในเลือดได้ดีขน้ึ แบง่ อินซูลนิ ออกเปน็ 5 กล่มุ คือ ออกฤทธ์เิ รว็ มาก ออกฤทธสิ์ ั้น
ออกฤทธ์ิปากลาง ออกฤทธ์ยิ าวและ ชนิดผสม

4.การดูแลเทา้

ผปู้ ่วยเบาหวานมีความเสย่ี งท่ีจะเกดิ แผลท่ีเทา้ ไดง้ ่าย หรืออาจมอี าการชาทำใหร้ บั ความรู้สกึ ลดลง
พยาบาลต้องใหค้ ำแนะนำในการดูแลเท้า เช่น ตรวจดูตุ่มพอง บาดแผล และรอยฟกชำ้ ที่แตกต่างตา่ งไปจากเดมิ
ล้างเท้าด้วยสบูท่ ีม่ ฤี ทธ์อิ ่อนและนำ้ ในอุณหภูมหิ ้อง ไม่ควรแช่นำ้ อ่นุ ไม่ควรรักษาหูดหรือตาปลาเอง
ตัดเลบ็ เทา้ เป็นเสน้ ตรง ไม่สัน้ หรอื ยาวเกิ นไปเปน็ ตน้

3.2การพยาบาลผ้ทู ่ีมีความผิดปกติของตอ่ มใตส้ มอง

ตอ่ มใต้สมองเปน็ ตอ่ มไรท้ ่อท่ีผลิตฮอรโ์ มนหลายชนิดท่ีทำหน้าทสี่ ำคัญในการทำงานของร่างกาย
ประกอบดว้ ย 2 ส่วน คอื ต่อมใต้สมองสว่ นหนา้ และต่อมใต้สมองส่วนหลัง

โรคทเี่ กดิ จากความผิดปกติของ Anterior pituitary gland

Acromegaly

สาเหตเุ กดิ จากการหลงั่ GH มากผิดปกติเกิดภายหลงั จากท่ี epiphysis ปดิ แล้ว เน้อื งอกของ pituitary
gland เปน็ สาเหตทุ ่สี ำคญั ของการหล่ัง GH มากเกนิ ไป

อาการและอาการแสดง

1.Tumor pressure เนือ่ งจากตำแหนง่ ของ pituitary gland ตั้งอยู่ในสมองขนาดของ pituitary gland
ท่ีใหญข่ ้นึ เน่ืองจากเนอ้ื งอกท่เี บียดเน้อื สมอง ทำให้แรงดนั ในสมองเพม่ิ ข้นึ ผปู้ ว่ ยจะมีอาการปวดศรี ษะ
มองเห็นผิดปกติ สูญเสียการรับภาพบางส่วนหรือทั้งหมด อาจพบอาการสับสน ความจำเสอ่ื ม
มีความผิดปกติของระบบย่อยอาหาร การนอนหลับและการควบคุมอุณหภมู ิ

2.Growth hormone excess

2.1 การหลง่ั GH มากเกนิ ไป ทำใหเ้ กดิ ภาวะน้ำตาลในเลอื ดสูง

2.2 ระดบั ฟอตเฟสในเซรมั และแคลเซยี มในปสั สาวะสงู

2.3 ต่อมเหงื่อและต่อมไขมันทำงานมากวา่ ปกติ

2.4ความดนั โลหติ สูง

2.5การเพ่ิมของ GH อาจมีผลต่อฮอรโ์ มนตัวอืน่ ๆ เช่น prolactin ACTH และ gonadotropins

3. Musculoskeletal hypertrophy การหล่งั GH
มากเกนิ ไปทำใหข้ นาดของกระดกู กล้ามเนื้อและเนื้อเยื่อใหญ่ขน้ึ

มือและเท้าจะโตขนึ้ และหนา นิ้วแตล่ ะนิว้ มีขนาดอ้วนขึ้น หนา้ ผากและคางย่ืนโหนกแก้มสูง จมกู หู
ลนิ้ และริมฝีปากโตหนา กรามขยายและฟันห่าง กล่องเสียงหนาขนึ้ ทำให้เกิดพูดเสียงต่ำลง ผิวหนังหนาและมนั

การรักษา

1.ผา่ ตัดเอาก้อนเนื้องอกออก

2.การฉายแสง

3.การใหย้ าลดระดับ GH เช่น Bromocriptine

ข้อวนิ ิจฉัยการพยาบาล

1.เกิดภาวการณ์ไหลเวียนบกพรอ่ งจากปริมาณฮอร์โมน ADH ลดลงหลงั ผา่ ตัด transsphenoidal
surgery

2.เกดิ ภาวะ IICP จากการมีสมองบวมเลือดออกในสมองจากการผ่าตดั transsphenoidal surgery
กจิ กรรมการพยาบาล
1.ประเมนิ neurological sign ทกุ ชั่วโมงใน 24 ชม.แรก หากพบวา่ มีคา่ คะแนนรวมเปล่ียนแปลงต้งั แต่ 2
คะแนน ขึ้นไปรายงานแพทย์
2.บนั ทึกนำ้ เขา้ -ออก ทุก 1-2 ชม.ในระยะ 24 ชม.แรก
3. ดูแลให้สารน้ำทดแทนตามแผนการรกั ษาของแพทย์
4.ให้ฮอรโ์ มน(vasopressin หรอื pitressin) ทดแทนการรักษาของแพทย์
5.ติดตามผล electrolyte, BUN, Cr, CBC
6.กระตุ้นให้ผู้ป่วยหายใจเข้าออกลึกๆหลงั ผ่าตัดใน 24 ชม. แรก
7.แนะนำให้หลีกเล่ียงการไอ การแคะจมูก สั่งข้มี ูก
8.แนะนำการดแู ลปากฟันโดยการงดการแปรงฟัน แตใ่ ช้ dental floss
ละน้ำยาบว้ นปากแทนจนกวา่ แผลจะหาย
9.แนะนำใหห้ ลกี เลยี่ งการก้มเพราะอาจเพิ่มความดันในกะโหลกศรีษะ
โรคที่เกิดจากความผดิ ปกติของ Posterior pituitary gland
1.โรคเบาจดื (Diabetes Inspidus หรือ DI) แบ่งออกเป็น 2 ชนดิ คอื Neurogenic หรอื central DI
และ Nephrogenic DI
อาการและอาการแสดงและภาวะแทรกซ้อน
1.ปัสสาวะออกมาก 4-20 ลิตร/วนั
2.มีอาการแสดงของภาวะ dehydration
3.plasma osmolality จะสงู กว่า urine osmolality
การรกั ษา

ให้ ADH ทดแทน นยิ มใช้ยาพ่น หรอื ฉีดมากกวา่ รับประทาน

1.การรกั ษา neurogenic DI ขึน้ อยู่กับความบกพร่องของ ADH และปจั จยั ส่วนบคุ คล เช่น อายุ
สภาพของตอ่ มไร้ท่อและหัวใจและการดำเนนิ ชีวติ ในผ้ปู ่วยท่มี ปี ัสาวะ 9 ลิตร/วนั
หลงั การทดสอบโดยการจำกดั นำ้ ผู้ป่วยควรได้รบั ADH พร้อมกบั นำ้

2.การรกั ษา neurogenic DI มักให้ synthetic vasopressin ทางหลอดเลือด

3.การรักษาโดยใหย้ ากระตุน้ การปล่อย ADH จาก hypothalamus เช่น chlorpropamide
ใชร้ ักษาผุ้ปว่ ย DI ที่มีภาวะบกพร่อง ADH ไมม่ าก clofibrate และ carbamazepine ใชก้ ับผู้ปว่ ย
DIbทม่ี ีอาการระดบั น้อยถงึ ปานกลาง

3.3การพยาบาลผปู้ ่วยที่มคี วามผดิ ปกตขิ องต่อมหมวกไต

ต่อมหมวกไตตั้งอยทู่ ่ีช่องวา่ งด้านหลังเยื่อบชุ ่องทอ้ ง ติดอยู่ท่ีขัว้ บนของไตท้ัง 2 ขา้ ง
มีโครงสรา้ งเป็นรูปสามเหล่ยี ม ข้างซ้ายขนาดโตกว่าขา้ งขวา ตอ่ มหมวกไตแบง่ เป็น 2 สว่ น คอื สว่ นนอก
และส่วนใน

โรคทีเ่ กิดจากความผิดปกตขิ อง Adrenal cortex

1.Cushing’s syndrome คือภาวะที่ adenal cortex ทำงานมากเกินไปทำใหร้ ะดับ cortisol
ในกระแสเลอื ดสงู ขน้ึ สาเหตเุ กดิ จาก

Primary crushing’s syndrome การหลงั่ cortisol ทม่ี ากเกินไปเกิดจากเนื้องอกของต่อมหมวกไตเอง
เช่น adrenoma หรอื carcinoma

Secondary crushing syndrome การหล่งั ของ cortisol
ท่มี ากเกนิ ไปจากความผดิ ปกติของต่อมหมวกไต

อาการและอาการแสดง

1.Truncal obesity เปน็ อาการอ้วนบริเวณกลางลำตัว มกี ารสะสมของไขมันตามบริเวณใบหน้า หลงั คอ
ไหปลาร้า และหนา้ ท้อง

2.Muscular weakness

3.Skin changes จากการสลายของโปรตีนร่วมกับ glucocorticoid ออกฤทธยิ์ ับยง้ั คอลลาเจน
ทำให้ผิวบาง เกิดรอยจำ้ เลือดได้ง่าย

4.Impaired glucose tolerance hypercortisolism ทำให้ขบวนการสรา้ ง glucose
ขึ้นใหม่จากแหล่งที่ไมใ่ ช่คารโ์ บไฮเดรต เพ่มิ ข้ึนและการใชก้ ลโู คสของเซลล์ลดลงเกดิ ภาวะย้ำตาลในเลอื ดสงู

5.Peptic ulcer hypercortisolism
กระตนุ้ การหลั่งของกรดในกระเพาะอาหารและยับย้งั การสร้างเยื่อบุของกระเพาะอาหารทำใหเ้ กิดแผลในกระเพาะ
อาหารได้งา่ ย

6.High blood pressure ความดันโลหิตสงู ในระดับปานกลาง พบไดบ้ ่อยในผ้ปู ่วย crushing’s
syndrome

7. Osteoprorosis ผ้ปู ่วยจะปวดหลงั มีกระดูกบางและหักงา่ ย

8.Increased risk of infection glucocorticoid ออกฤทธกิ์ ดภมู คิ ุ้มกนั ทำใหร้ ะดบั lymphocyte ลดลง
เป็นต้น

การรักษา

1.Crushing’s syndrome มี 4 วธิ ี คอื transsphenoidal pituitary surgery, bilateral
adrenalectomy, pituitary radiation และการรักษาด้วยยาท่ใี ช้ลดระดับ cortisol เชน่ Bromocriptine

2. Adrenal tumor คือ การผา่ ตดั เอาก้อนเน้ืองอกออกใหห้ มด ส่วนใหญเ่ นอ้ื งอกจะเป็นข้างเดียว
จึงตอ้ งให้ corticosteroid ชดเชยก่อน-หลังผ่าตดั

3.Ectopic ACTH syndrome
ถา้ เป็นเนอื้ งอกที่ไม่รุนแรงการผ่าตัดจะหายขาดแต่ในรายทเี่ ป็นมากและมีการแพร่กระจายของเซลลม์ ะเร็งต้องทำ
chemotherapy และยาควบคุมระดับ cortisol ด้วย

3.4การพยาบาลผปู้ ่วยที่มคี วามผดิ ปกตขิ องต่อมไทรอยด์

ต่อมไทรอยดอ์ ยู่บรเิ วณคอดา้ นหนา้ และตำ่ ลงมาจากลกู กระเดือก มสี ีนำ้ ตาลแดง ลักษณะคล้ายปีผีเสือ้ มี
2 กลีบ คอื กลบี ซา้ ยและกลีบขวา มหี นา้ ทผี่ ลิตฮอร์โมนทมี่ ีผลตอ่ เมตาบอลซิ ึม การเจริญเตบิ โต
และพัฒนาการของรา่ งกาย ต่อมไทรอยด์ มีเซลล์ 2 ชนิด คอื follicular cells และ parafollicular cells
ทำหนา้ ทีห่ ล่งั ฮอรโ์ มน Triiodothyronine (T3) และ Tetraiodothyronine หรือ thyroxine (T4) สว่ น
Parafollicular cells (C cells) จะหลงั่ ฮอรโ์ มนทช่ี ่อื ว่า calcitonin

ภาวะทม่ี ไี ทรอยด์ฮอรโ์ มนมากและนอ้ ยกวา่ ปกติ

1.ภาวะที่มีไทรอยด์ฮอรโ์ มนมากกว่าปกติ หรอื ต่อมไทรอยดเ์ ป็นพิษ เกดิ จาก T3 T4
ออกมามากกวา่ ปกติ สาเหตเุ กดิ จาก Graves’ disease คอหอยพอกเป็นพษิ มะเร็งต่อมไทรอยด์
การอักเสบของต่อมไทรอยด์

อาการและอาการแสดง

ระบบตอ่ มไร้ทอ่ ทำให้เกิดคอหอยพอก อาจฟงั ได้ยนิ เสยี ง Bruit ท่ีตอ่ ม

ระบบหัวใจและหลอดเลอื ด เพม่ิ ปริมาณเลือดทอี่ อกจากหวั ใจและลดแรงต้านของหลอดเลอื ดปลาย ใจส่นั
ชีพจรเต้นเร็วและมีจังหวะการเต้นไมส่ มำ่ เสมอ

ระบบประสาท ทำให้ไมม่ ีสมาธิ กระวนกระวาย กระสับกระส่าย

ระบบทางเดนิ อาหารจะทำให้หิวบ่อย น้ำหนกั ลด

ระบบผิวหนังทำให้ทนต่อความร้อนไม่ได้ เหง่ืออกมาก ผมร่วง ฝ่ามอื แดง การงอกของเล็บผดิ ปกติ เปน็ ตน้

การรกั ษา

1.รักษาด้วยยาต้านไทรอยด์ เชน่ Methimazone (tapazole), propylthiouracil(PTU)
ยาจะออกฤทธต์ิ ้านการสงั เคราะหแ์ ละหลัง่ ไทรอยด์ฮอร์โมน ชว่ ยให้ T3 T4 กลบั สูร่ ะดับปกติไดเ้ ร็ว ผลขา้ งเคยี ง
มีผนื่ และคันทผี่ ิวหนัง มไี ข้ ปวดตามข้อมือ มีเมด็ เลือดขาวลดลง ตบั ถกุ ทำลาย ตาตวั เหลอื ง เหนอื่ ยอ่อนเพลียมาก
ปวดท้องเป็นตน้

2.การักษาดว้ ย radioactive iodine เพ่ือทำลายเซลลผ์ ดปกตขิ องต่อมไทรอยด์ โดยใหผ้ ู้ปว่ ยกลืน
radioactive iodine ท่เี ปน็ แปซลู หรือของเหลว
เม่ือเข้าสรู่ า่ งกายจะผา่ นเข้าสู่กระแสเลือดและเซลลข์ องต่อมไทรอยดต์ ามลำดับ

3.การรกั ษาดว้ ยการผา่ ตดั อาขมผี ลข้างเคียงตามมาหลงั การผา่ ตดั ได้ เชน่ ตอ่ มพาราไทรอยด์ถูกทำลาย
มผี ลทำใหร้ ะดบั แคลเซียมในกระแสเลอื ดลดลงทำให้เกิดเสียงแหบพรา่ ก่อนผา่ ตดั พทย์จะให้ Lugol’s iodine หรอื
Supersaturated potassium iodine (SSKI) เพ่ือลดปริมาณเลือดท่ีไปเล้ยี งต่อมไทรอยด์

ภาวะทม่ี ีต่อมไทรอยด์ฮอรโ์ มนน้อยวา่ ปกติ (Hypothyroidism) แบง่ ออกเปน็ 2 ชนดิ คอื
ชนิดปฐมภมู แิ ละชนิดทุตยิ ภูมิ โดยชนิดปฐมภูมิเกดิ จากความบกพร่องในการสงั เคราะห์ฮออรโ์ มนของต่อมไทรอยด์

อาการและอาการแสดง

1.ระบบตอ่ มไรท้ ่อ ทำให้ต่อมใต้สมองส่วนหน้าหลัง่ TSH มากขึ้น
ร่วมกบั มรี ะดับของโปรแลคตินในเลอื ดสูง

2.ระบบทางเดินอาหาร ทำให้อัตราเมตาบอลิซึมของโปรตีนลดลง
สง่ ผลให้กระดกู และกล้ามเนื้อไมส่ ามารถเจรญิ ได้อย่างเต็มที่

3.ระบบกระดกู และกล้ามเน้ือ ทำใหอ้ ตั ราการหดตัวและคลายตัวของกลา้ มเน้ือลดลงผุ้ปว่ ยจะเคลือ่ นตัวชา้
อาจมีอาการปวดและเกร็งกล้ามเนอ้ื

4.ระบบผวิ หนัง ตัวเย็นเนือ่ งจากการไหลเวียนเลือดไปเล้ียงทีผ่ วิ หนังลดลง เปน็ ต้น

ผปู้ ่วยทม่ี ไี ทรอยดฮ์ อร์โมนนอ้ ยกว่าปกตมิ ากๆ อาจเกิดอาการรุนแรงอย่างเฉยี บพลนั เช่น ความรสู้ ตลิ ดลง
ตัวเยน็ ความสามารถในการหายใจลดลง ความดันโลหติ ตำ่ ระดบั นำ้ ตาลในเลือดลดลง และมีภาวะกรดแลคติค
อาการดังกลา่ วเรยี กว่า Maxedema coma (ต้อง keep worm)

การรกั ษา

เปา้ หมาย คอื ทำให้ไทรอยด์ฮอร์โมน (T4) และ TSH อยูใ่ นระดับปกติ โดยให้ไอโอดีนทดแทน เชน่
Levothyroxine, Levothroid, Levothroid, Levoxyl, Synthroid เปน็ ตน้ ขนาดท่ีให้ คอื 1.6 mcg/kg/day

3.5 การพยาบาลผู้ป่วยทม่ี ีความผิดปกตขิ องตอ่ มพาราไทรอยด์

ตอ่ มพาราไทรอยด์เปน็ ตอ่ มไร้ท่อท่ีอยู่บรเิ วณคอและดา้ นหลังของต่อมไทรอย์ มี 4 ต่อมเล็กๆดา้ นละ 2
ข้าง
จะหลง่ั พาราไทรอยดฮ์ อร์โมนทำหนา้ ท่รี กั ษาสมดุลของระดับแคลเซยี มในร่างกายโดยทำงานร่วมกับแคลซิโทนินท่ีห
ลั่งมาจากต่อมไทรอยด์และวติ ามินดี

ภาวะทีม่ ีพาราไทรอยดฮ์ อร์โมนมากหรือนอ้ ยกว่าปกติ

สาเหตุเกิดจากความผดิ ปกติท่ีต่อมพาราไทรอยด์ แบบปฐมภมู ิ เช่น เปน็ เนอ้ื งอก มะเร็ง
เชอ่ื วา่ อาจเป็นผลมาจาก

การถา่ ยทอดพันธกุ รรม ส่วนแบบทุตยิ ภมู ิ เกดิ จาก ผดรคไตวายเรอ้ื รงั
การบริโภคอาหารที่มีวิตามนิ ดีและแคลเซียมไม่เพยี งพอ และการไดร้ ับยาบางชนดิ

อาการและอาการแสดง
1.ระบบกระดูกและกลา้ มเน้ือจะทำให้มวลกระดูกบางลง ปวดกระดูกเกดิ โรคกระดูกพรุน
อาจทำให้กระดูกหักตามมา
2.ระบบทางเดินปัสสาวะ
ระดบั แคลเซียมท่สูงในหลอดเลือดทำใหแ้ คลเซยี มถกู ส่งไปกรองท่ีไตมากข้ึนเกิดระดับ
3.แคลเซยี มสูงในปัสสาวะ และเนื่องจากระดบั คลเซียมในเลือดสูงจะตรงขา้ มกบั ระดับฟอสเฟตในเลอื ดตำ่
เพ่ือให้เกิดภาวะดังกลา่ วร่างกายจงึ ขบั ฟอตเฟสออกทางปัสสาวะมากข้นึ
4.ระบบหัวใจและหลอดเลือด จะมอี าการใจสนั่ หัวใจเต้นผิดจังหวะ หัวใจเต้นเร็ว
เสยี่ งต่อการเกิดโรคหลอดเลอื ดสมอง โรคหัวใจ และโรคความดนั โลหิตสงู เปน็ ต้น
การรักษา
การผ่าตัด คือ การผา่ ตดั เอาต่อมทเ่ี ปน็ เนื้องอกออก มี 2 แบบ คือ Minimally invase para
thyroidectomy
เปน็ การผา่ ตัดขนาดเลก็ ทเ่ี ปิดผิวหนังบริเวณลำคอเพื่อเอาต่ิมพาราไทรอยด์ออก และ Standard neck
exploration เปน็ การผา่ ตดั ขนาดใหญ่ท่ีแพทยส์ ามารถเปดิ เขา้ ไปดตู ่อมพาราไทรอยด์ได้ท้งั 4 ต่อมเพ่ือตดั ออก

ภาวะทม่ี ีพาราไทรอยด์ฮอรโ์ มนนอ้ ยกว่าปกติ
เกดิ จากพาราไทรอยดฮ์ อร์โมนน้อยกว่าปกติเกดิ จากมีการหล่ังของ PTH
ลดลงประสิทธภิ าพในการออกฤทธขิ์ อง PTH
ทอ่ี วัยวะเปา้ หมายลดลงทำให้แคลเซยี มทล่ี ำไส้เล็กลดลงส่งผลใหม้ รี ะดบั แคลเซียมในเลือดตำ่
อาการและอาการแสดง
เกดิ ความผดิ ปกติของกล้ามเนื้อ มีความรนุ แรงของอาการแตกต่างกนั อาการชาและปวดคลา้ ยเขม็ ทิ่ม
บริเวณปาก มือและเทา้ ถือเป็นระดับเล็กน้อยถงึ ปานกลาง หากมีการเกร็งของกลา้ มเน้ือทำใหเ้ กิดการงอของนวิ้ มือ
มอื และขอ้ ศอก เปน็ อาการนำท่ีนำไปสู่อาการชกั กระตุกได้

การรกั ษา

เป้าหมายของการรักษา คอื
แกไ้ ขภาวะทมี่ รี ะดบั แคลเซียมและแมกนเี ซียมในเลือดต่ำรวมทั้งการขาดวิตามินดี
สำหรบั ผ้ปู ว่ ยทอ่ี ยู่ในระยะเฉียบพลนั หรอื วิกฤต
ภาวะท่มี รี ะดบั แคลเซยี มในเลือดต่ำมากอาจทำให้ผูป้ ว่ ยเสียชวี ติ ได้ ต้องให้ 10% calcium chloride หรอื
calcium gluconate ทางหลอดเลือดดำชา้ ๆ และควรให้ทางสายสวนเข้าหลอดเลอื ดดำส่วนกลาง
และสำหรับภาวะทมี่ ีแมกนเี ซียมตำ่ ใหก้ ารรักษาด้วย 50% magnesium sulfate 2 cc.
ฉดี ทางกล้ามเน้ือหรือให้ทางหลอดเลือดดำ


Click to View FlipBook Version