1
2
คำนำ
รายงานเล่มนี้จดั ทำข้ึนเพื่อเป็นสว่ นหนง่ึ ของวิชา เศรษฐศาสตร์ เพอ่ื ให้ได้ศึกษาหาความรู้ในเรอื่ งราว
และส่ิงต่างๆทีอ่ ยรู่ อบตวั เรา โดยไดศ้ ึกษาผ่านการคน้ หาขอ้ มลู จากหนังสือเศรษฐศาสตร์ และอนิ เทอณเนต็
เพอื่ ให้นักศึกษาไดร้ บั ประสบการณใ์ นการในการศกึ ษาคน้ คว้าโดยตรงและได้ศกึ ษาอย่างเขา้ ใจเพ่อื เป็น
ประโยชนต์ อ่ นกั ศึกษา
ผจู้ ัดทำคาดหวงั เป็นอยา่ งยิง่ ว่าการจัดทำเอกสารฉบับนี้จะมีข้อมูลที่เป็นประโยชนต์ ่อผู้ทสี่ นใจศึกษาหา
ข้อมลู เรื่องนี้อยหู่ ากมีข้อผดิ พลาดประการใด ผจู้ ดั ทำขอนอ้ มรับไว้และขออภัยไว้ ณ ทน่ี ดี้ ้วย
คณะผจู้ ดั ทำ
สารบญั 3
ตลาดในเศรษกิจ 4
• ความหมาย 4
• ความสำคัญ 4
• ขนาดของตลาด 4
• คนกลางในตลาด 5
• ประเภทในตลาด 5
• ตลาดแข่งขันสมบรู ณ์ 7
• ตลาดแข่งขนั ไม่สมบูรณ์ 7
กลไกราคา 9
• ราคาสินคา้ 9
• ความหมายกลไกราคา 10
• อุปสงค์ 10
• อุปทาน 10
บรรณานุกรม 12
ตลาดในระบบเศรษฐกจิ 4
ความหมาย
1. สถานท่ที ่ีมผี ู้ซ้ือและผู้ขายมาตดิ ต่อซื้อขายกัน เชน่ ตลาด
สระทอง ตลาดพรรณวี ตลาดท่งุ เจริญ
2. การตดิ ต่อกันระหวา่ งผู้ซ้ือผูข้ ายในทางใดทางหนึ่งหรือ
หลายทาง เช่น ทางโทรศพั ท์ โทรสาร internet
ความสำคัญของตลาด
1. ชว่ ยใหผ้ ู้ผลิตทำการผลติ สนิ คา้ ให้ตรงกับความต้องการของผู้บรโิ ภค ช่วยลดความสนิ เปลืองทรัพยากรผลติ
สินคา้ ทีเ่ กนิ ความต้องการ
2. ชว่ ยให้ผบู้ ริโภคมีมาตรฐานการครองชพี สงู ข้ึน
3. ชว่ ยให้เศรษฐกิจของประเทศขยายตัวสงู ข้ึน เนอ่ื งจากตลาดมกี ารจ้างงาน
ขนาดของตลาด
ตลาดจะมีอาณาเขตหรือขอบขา่ ยกว้างขวางขึ้นอยู่กบั ปัจจัย ดังน้ี
1. การคมนาคมและการส่ือสาร
2. ลักษณะของสินค้า สนิ คา้ ท่ีเนา่ เสยี ง่าย นำ้ หนักมาก การเคล่อื นยา้ ยยากตลาดจะแคบ
3. นโยบายของรฐั ประเทศที่มีการเปดิ ประเทศ นโยบายการค้าเสรตี ลาดสินคา้ จะกว้างขวาง
คนกลางในตลาด 5
-การซอื้ ขายในตลาดท้ังซื้อขายโดยตรงและซื้อขายผ่าน
คนกลาง ซึ่งพอ่ ค้าคนกลางมีหลายระดบั เช่น พ่อคา้ คน
กลางในตลาดท้องท่ี ในตลาดทอ้ งถน่ิ ในตลาดปลายทาง
เพอ่ื สง่ จำหน่ายในตา่ งประเทศ
-พอ่ ค้าขายปลกี เปน็ ผู้ขายสนิ คา้ แก่ผบู้ ริโภคคนสดุ ท้าย เป็นคนกลางท่ีใกล้ชดิ กบั ผูบ้ รโิ ภคมากที่สดุ
-ผู้ผลติ + พ่อคา้ คนกลาง + พ่อค้าคนกลาง + พ่อคา้ คนกลาง + พอ่ คา้ คนกลาง + พ่อค้าคนกลาง + พอ่ ค้าขาย
ปลกี + ผบู้ รโิ ภค
-ยง่ิ มีพ่อคา้ คนกลางหลายต่อสนิ ค้าย่งิ มีราคาแพงขน้ึ
ประเภทของตลาด
1. แบ่งตลาดตามชนดิ ของสินคา้
1.1 ตลาดสินค้าอุปโภคบรโิ ภค
1.2 ตลาดปัจจยั การผลติ
1.3 ตลาดเงนิ และตลาดทุน
2. แบง่ ตลาดตามการดำเนินการของผขู้ าย
2.1 ตลาดขายส่ง
2.2 ตลาดขายปลีก
3. แบ่งตลาดตามกลมุ่ ของผู้ซ้ือ
3.1 ตลาดผู้บรโิ ภค เป็นกลมุ่ ของบุคคลและครัวเรือนซือ้ สินค้าเพ่ือบรโิ ภค
3.2 ตลาดผูผ้ ลิต ซอ้ื สินคา้ เพื่อการแปรรปู เพอ่ื จำหน่ายอีกทอดหนึ่ง 6
3.3 ตลาดผู้ขายต่อ การซ้ือสนิ ค้าไปขายตอ่ เพื่อหวังผลกำไร
3.4 ตลาดรัฐบาล เปน็ การซ้ือขายของหน่วยราชการ
3.5 ตลาดซื้อขายระหวา่ งประเทศ
4. แบ่งตลาดตามลกั ษณะของการแขง่ ขนั
4.1 ตลาดแข่งขนั สมบูรณ์
4.2 ตลาดแขง่ ขันไม่สมบูรณ์
ตลาดแข่งขนั สมบูรณ์ (perfectly competitive market) ตลาดสินค้าหรือบรกิ ารประเภทหนง่ึ ทีม่ ีลักษณะ 7
ดังนี้ คอื
1) มีหน่วยผลติ หรือผขู้ ายรายเลก็ ๆ จำนวนมากจนกระท่ังไม่มรี ายใดมีอิทธิพลต่อการกำหนดปริมาณและ
ราคาในตลาด ผู้ขายแต่ละราย จงึ เป็นผู้รับราคา (price taker) คอื ตอ้ งขายสนิ ค้าตามราคาตลาดเทา่ นั้น
2) สินค้าหรอื บรกิ ารของผผู้ ลติ แตล่ ะรายมีลักษณะ
เหมือนกนั ทกุ ประการ จึงสามารถทดแทนกันได้อยา่ งสมบูรณ์
นนั่ คือ ถ้าผู้ขายรายใดขายสนิ คา้ ในราคาทีส่ ูงกว่าราคาตลาด
ผูบ้ ริโภคจะไมซ่ ื้อสินค้าจากผขู้ ายรายนัน้ เลย
3) การเขา้ และออกจากตลาดของผู้ผลติ แตล่ ะราย
เปน็ ไปอย่างเสรี ไม่มีอปุ สรรคหรอื การกีดกนั
4) การเคลือ่ นยา้ ยทรัพยากรการผลิตและสนิ คา้ เป็นไปอยา่ งเสรี สะดวกรวดเรว็ และมคี ่าใช้จ่ายค่อนขา้ ง
นอ้ ย โดยนยั ของลักษณะในข้อน้ี ราคาสินค้าในแตล่ ะท้องที่จะมแี นวโนม้ เท่ากัน
5) ผซู้ ้ือและผู้ขายมีความรอบรู้เกี่ยวกับขอ้ มูลข่าวสารอยา่ งสมบูรณ์ ไมว่ า่ ดา้ นราคา ปริมาณ คุณภาพ
แหล่งซื้อขาย ฯ ล ฯ ในโลกของความเปน็ จริง ไม่มีสนิ คา้ หรอื บรกิ ารชนดิ ใดท่มี โี ครงสรา้ งตลาดท่มี คี ุณสมบัติ
ครบถว้ นท้งั 5 ประการน้ี อย่างไรก็ตาม หากตลาดนน้ั มีคุณสมบัติอยา่ งน้อย 3 ประการแรก ก็พอจะอนุโลมไดว้ า่
ตลาดดงั กลา่ วใกลเ้ คียงกัลป์ตลาดแข่งขันสมบูรณม์ ากท่ีสุด เช่น โครงสร้างของตลาดขา้ วเปลือกในประเทศไทย
เปน็ ต้น ตามแบบจำลองของตลาดแขง่ ขันสมบรู ณ์นน้ั ในระยะยาวผ้ผู ลิตแต่ละรายจะมีกำไรปกตเิ ท่าน้นั เพราะ
ถ้ารายใดมีกำไรเกนิ ปกติ จะชักนำใหม้ ผี ผู้ ลติ รายใหม่ เข้ามาในตลาดมากข้นึ เรื่อยๆ ทำให้อุปทานสนิ คา้ ในตลาดมี
มากข้นึ ส่งผลให้ราคาหรือรายรับเฉลย่ี ลดลง และกำไรจะค่อยๆ หดหายไปในท่ีสดุ
ตลาดแขง่ ขนั ไมส่ มบรู ณ์ (imperfectly competitive market) ตลาดทีห่ น่วยผลิตสามารถกระทำการบางอย่าง
เพ่ือควบคุมราคาผลผลิตของตนได้ หรือเปน็ ผู้กำหนดราคา
(price maker) ได้ ลกั ษณะสำคัญของตลาด
มผี ู้ขายจำนวนไม่มาก สินค้าท่ีขายมลี ักษณะแตกต่างกนั
การเขา้ ออกจากการแข่งขนั ในตลาดทำไดย้ าก
ผซู้ อื้ และผขู้ ายมีความรอบรู้เกี่ยวกบั สภาพของตลาดไม่สมบูรณ์ 8
1 ตลาดผูกขาด (monopoly market) ลักษณะของตลาด การผูกขาดในตลาด แบ่งเปน็ 1. การผูกขาดโดย
กฎหมาย 2. ผูกขาดโดยความสามารถเฉพาะดา้ น
มผี ้ขู ายรายเดียว หรอื กลุ่มเดียว สนิ ค้ามลี กั ษณะเป็นเอกภาพผู้ผูกขาดสามารถกำหนดราคาเพ่ือให้ได้กำไรสูงสุด
ผขู้ ายสามารถกดี กนั ผู้ขายรายอ่ืนได้
2. ตลาดกง่ึ แขง่ ขันกึ่งผูกขาด (monopolistic competition market) ลกั ษณะของตลาด
มผี ขู้ ายจำนวนมาก สินค้ามลี ักษณะตา่ งกนั เลก็ น้อย แต่สามารถใช้ทดแทนกันไดด้ ี ผขู้ ายไมส่ ามารถกีดกนั ผขู้ าย
รายอ่ืนได้
3 ตลาดผขู้ ายนอ้ ยราย (oligopoly market) ลักษณะของตลาด
มผี ขู้ ายตัง้ แต่ 2 รายขน้ึ ไป สนิ คา้ มีลักษณะต่างกันเลก็ นอ้ ย แตส่ ามารถใช้ทดแทนกันได้ดี
มกี ารแขง่ ขนั ท่ีไม่ใช้ราคา (non-price competition)
กลไกราคา 9
ราคาสินคา้ คอื มูลคา่ ของสินค้าและบริการทผ่ี ูป้ ระกอบการทำ
การผลิตได้และนำมาจำหน่ายให้แก่ผบู้ รโิ ภค เช่น นาย ก. ผลิตปากกา
ออกขายให้แก่นักเรียนในราคาด้ามละ 5 บาท เปน็ ต้น ในระบบ
เศรษฐกจิ แบบทนุ นยิ ม หรอื ระบบเศรษฐกิจแบบผสม ซึง่ การผลิตการ
บรโิ ภคส่วนใหญ่เปน็ เรอื่ งของภาคเอกชน โดยผา่ นกลไกของราคา นั้น
ราคาสนิ คา้ และบรกิ ารจะทำหน้าท่ี 3 ประการ คือ
กำหนดมูลคา่ ของสนิ ค้า ในการซ้อื ขายแลกเปลย่ี นท่ีใชเ้ งินเป็นสอ่ื กลาง ราคาจะทำหนา้ ทกี่ ำหนด
มลู ค่า เพ่ือให้ผู้ซ้ือตัดสินใจท่ีจะซอ้ื สินค้าในมูลค่าทีค่ ุ้มหรือไมค่ ุ้มกับเงินที่เขาจะต้องเสยี ไป ราคาสินคา้ บางแหง่ ก็
กำหนดไว้แนน่ อนตายตัว แต่บางแห่งก็ต้ังไว้เผอ่ื ต่อ เพ่ือให้ผู้ซ้อื ตอ่ รองราคาได้ กำหนดปรมิ าณสินคา้ ในการ
ซือ้ ขายแลกเปลยี่ นกนั นน้ั ถ้าสินค้ามีราคาถูก ผู้ซื้อจะซื้อปริมาณ
มากข้นึ สว่ นผู้ขายจะเสนอขายในปรมิ าณน้อยลง แต่ถา้ สนิ ค้ามี
ราคาแพงผซู้ อื้ จะซื้อปรมิ าณน้อยลงส่วนผขู้ ายจะขายในปรมิ าณ
มากขึ้น ราคาจึงเปน็ ตวั กำหนดปรมิ าณสินคา้ ทจ่ี ะซ้ือขายกัน
กำหนดปริมาณการผลติ ของผ้ปู ระกอบการ ในระบบ
เศรษฐกจิ แบบผสม ซ่ึงการผลติ สว่ นใหญเ่ ปน็ เรื่องของเอกชน
นนั้ จะมปี ญั หาวา่ ผู้ผลติ ควรจะผลิตในปรมิ าณสักเทา่ ใดจึงจะพอดี
กบั ความต้องการของผ้บู รโิ ภค เพอ่ื ใหเ้ ขาไดก้ ำไรสงู สดุ ตามทีต่ ้องการ โดยสงั เกตความต้องการซ้ือ (อุปสงค์) และ
ความต้องการขาย (อปุ ทาน) ของสนิ ค้าทเี่ ราทำการผลิตในระดับราคาต่างๆ กนั เพื่อหา ดุลยภาพ ซงึ่ เปน็ ระดบั ท่ี
ผู้ซือ้ และผขู้ ายจะทำการซื้อขายกนั ในปรมิ าณและราคาที่ตรงกนั ปริมาณท่ีมีการซ้อื ขาย ณ จดุ ดุลยภาพ
เรียกวา่ ปริมาณดลุ ยภาพ และผ้ซู อื้ มีความต้องการซื้อ ส่วนราคาท่ีดลุ ยภาพ เรียกว่า ราคาดลุ ยภาพ อนั เปน็
ราคาท่ีผูผ้ ลิตควรพจิ ารณาในการตง้ั ราคาขาย
กลไกราคา (price mechanism) หมายถึง ตัวกำหนดการจดั สรรทรพั ยากรในระบบเศรษฐกจิ ทีมีปจั จยั 10
สำคัญในการกำหนดราคา คอื อุปสงค์ (demand) และอุปทาน (supply)
อปุ สงค์ (Demand) คอื ปรมิ าณความต้องการซิ้
อสินค้าและบรกิ ารของผู้ซ้ือในระยะเวลาใดเวลา
หน่ึง ณ ระดบั ราคาต่างๆ กัน ความต้องการซ้ือจะ
แตกตา่ งจากความตอ้ งการทว่ั ไป (want) แตจ่ ะต้องรวม
อำนาจซื้อ (purchasing power) คอื เต็มใจและมีเงิน
เพยี งพอที่จะจ่ายซ้ือสินค้านั้นดว้ ย อยา่ งไรก็ตามปรมิ าณ
ความต้องการซ้ือน้ีจะเปล่ียนแปลงเม่ือมปี ัจจัยกำหนดอปุ สงค์ตวั อื่นๆ เปล่ยี นแปลงดว้ ย เช่น รายได้ของผู้
ซอ้ื รสนิยม ราคาสนิ คา้ ชนิดท่ีใชท้ ดแทนกันได้ เชน่ เนื้อหมกู บั เน้ือไก่ เปน็ ตน้
อุปทาน (supply) คอื ปรมิ าณความตอ้ งการเสนอขายสินคา้ และบริการของผขู้ ายในระยะเวลาใดเวลา
หนง่ึ ณ ระดบั ราคาต่างๆ กันโดยผูข้ ายเตม็ ใจจะขาย กล่าวคือ ถ้าราคาต่ำปรมิ าณทีเ่ สนอขายกจ็ ะลดตำ่ ลง
ด้วย และในทางตรงกนั ขา้ ม หากระดับราคาสูงขึน้ ก็จะมีปรมิ าณเสนอขายเพ่มิ ขึ้น ซง่ึ เป็นไปตาม กฎของ
อุปทาน (Law of Supply) ปจั จยั ทท่ี ำให้อปุ ทานเปลีย่ นแปลง เชน่ การเปลีย่ นแปลงเทคโนโลยใี นการ
ผลิต ราคาของปัจจัยที่ใชใ้ นการผลติ สนิ ค้าและบรกิ าร การ
เปล่ยี นแปลงฤดกู าล การคาดคะเนราคาสนิ คา้ และบรกิ าร
ของผขู้ าย
ตลาด ตลาดในความหมายทางเศรษฐศาสตร์ จะ
กวา้ งกวา่ ความหมายทวั่ ๆ ไปทีเ่ ปน็ สถานทีท่ ่ีมผี ู้ขายจำนวน
มากนำสินคา้ มาวางขาย แต่ตลาดในทางเศรษฐศาสตร์จะ
เกดิ ข้ึนทันทท่ี ่มี ีการตกลงซื่อขายกนั ต่อรองราคาหรือมีการ
แลกเปลยี่ นสนิ คา้ และบริการ โดยไม่จำเป็นตอ้ งมีสนิ ค้าและ
บรกิ ารปรากฏอยู่ ณ สถานท่นี ้ัน
องคป์ ระกอบของตลาดจะประกอบดว้ ย ผซู้ ้ือ ผู้ขาย สนิ คา้ และ ราคา ซงึ่ อาจจะมีพอ่ คา้ คนกลางร่วม
ดว้ ย ปจั จบุ ันความกา้ วหนา้ ทางเทคโนโลยขี อ้ มลู ขา่ วสารได้ทำใหผ้ ซู้ อ้ื และผ้ขู ายใกล้ชิดกันมากขน้ึ โดยอาศยั คน
กลางนอ้ ยลง นอกจากน้ีความสะดวกสบายรวดเร็วของส่อื ท่ีใชใ้ นการชำระคา่ สนิ ค้าก็ทำไดค้ ล่องตวั ข้นึ เชน่ 11
ระบบเครดติ เปน็ ตน้
ระบบตลาดข้นึ อยู่กบั กลไกราคา ซึง่ ราคาตลาดถูกกำหนดโดยปฏสิ ัมพนั ธ์ (Interaction) ระหว่างผซู้ ื้อ
จำนวนมาก ผ้ขู ายจำนวนมาก ณ ช่วงเวลาหน่งึ เชน่ ชว่ งต้นฤดทู เุ รยี นหมอนทอง ราคากโิ ลกรมั ละ
40 บาท ผซู้ ื้อต้องการซ้อื 200 ล้านกิโลกรัม / สัปดาห์ ในขณะท่ผี ู้ขายต้องการขาย 200 ล้านกโิ ลกรัม /
สปั ดาห์ เช่นกนั ไม่มีของเหลือของขาด ท้ังผซู้ อื้ และผ้ขู ายต่างพอใจในภาวการณท์ เ่ี ป็นอยู่ ราคาตลาดดังกล่าว
เปน็ ราคาดลุ ยภาพ และราคาตลาดนี้จะเปลย่ี นแปลงไปถา้ อุปสงคห์ รอื อุปทานเปล่ยี น หรือเปลี่ยนท้ังอปุ สงคแ์ ละ
อปุ ทาน
บรรณานกุ รม 12
https://sites.google.com
https://th.wikibooks.org/wiki
https://sites.google.com
สมาชิก 13
1.นายสรุ จติ ใจเสมอ เลขท่ี1
2.นายนิตธิ ร อินทรกลุ เลขท่ี6
3.นางสาวปวันรตั น์ ชยั พนัส เลขท่ี21
4.นางสาวพนติ อนงค์ ศรีเจริญ เลขที่22
5.นางสาวมนสั นนั ท์ คงแดงดี เลขที่24
ช้นั มัธยมศกึ ษาปที ่ี6/2