ก
ก
ก
คำนำ
รายงานเล่มนเี้ ปน็ สว่ นหนง่ึ ของวชิ า การสบื ค้นขอ้ มูล และนาไปเชื่อมโยงกบั กลมุ่ สาระการเรยี นรู้วชิ า
สุขศีกษาและพลศกึ ษา เร่ือง การดูแลสขุ ภาพกายและสุขภาพจิต สามารถนาไปเปน็ สือ่ การเรยี นการสอนตาม
หลักสตู รและกระบวนการการเรยี นรไู้ ดใ้ นชวี ติ ประจาวนั และวิชาการสืบคน้ ข้อมูลสามารถนาไปเช่ือมโยงกับ
กลุม่ สาระวิชาอ่นื ๆไดต้ ามท่ีสนใจ ผู้จดั ทารายงานเลม่ นหี้ วงั ว่าคงเป็นประโยชน์ไม่มากกน็ ้อยกับผเู้ รียน ผ้สู อน
หากผิดพลาดประการใดกข็ ออภยั ไว้ ณ ท่ีนีด้ ว้ ย
ผจู้ ัดทา
เอกพล ผนั ผ่อน
กิตติยา บับพิบูล
สำรบัญ ข
สุขภำวะกำยและจติ 1
ความหมายของสุขภาพกายและสุขภาพจติ 2
ลักษณะของผ้ทู ่มี สี ุขภาพกายท่ีดี 3
ลกั ษณะผทู้ ่มี ีสขุ ภาพจิตที่ดี 4
พลศึกษำ 5
ความหมายของพลศึกษา 6
พลศกึ ษาในเชิงรา่ งกายพลศกึ ษาในเชงิ ร่างกาย 8
สุขศีกษำ 9
สขุ ศีกษา คือ 10
นันทนำกำร 14
นันทนาการ (Recreation) 15
จุดมงุ่ หมายของกิจกรรมนนั ทนาการ 16
เพศ 18
เพศ คอื 19
1
สุขภำวะกำยและจติ
2
ควำมหมำยของสขุ ภำพกำยและสขุ ภำพจิต
1. สุขภำพกำย หมายถึง สภาวะของรา่ งกายทีม่ คี วามสมบูรณ์ แข็งแรง เจรญิ เติบโตอยา่ งปกติ ระบบตา่ งๆของ
รา่ งกายสามารถทางานได้เป็นปกติและ มีประสิทธิภาพ ร่างกายมีความตา้ นทานโรคได้ดี ปราศจากโรคภัยไข้
เจ็บและ ความทพุ พลภาพ
2. สุขภำพจิต หมายถึง สภาวะของจิตใจที่มีความสดช่ืน แจ่มใส สมารถควบคุมอารมณ์ให้ม่ันคงเป็นปกติ
สามารถปรับตัวให้เข้ากับการเปลี่ยนแปลงของสังคมและสิ่งแวดล้อมต่างๆ ได้ดี สามารถเผชิญกับปญั หาต่างๆ
ได้เป็นอย่างดีและปราศจากความขัดแย้งหรือความสับสนภายในจิตใจสุขภาวะกายและจิตเป็นส่ิงสาคัญและ
จาเป็นสาหรับทุกชวี ติ การท่จี ะ ดารงชวี ติ อย่อู ย่างปกติก็คอื การทาให้ร่างกายแข็งแรงสมบูรณ์ จิตใจมี ความสุข
ความพอใจ ความสมหวังทัง้ ตนเองและผู้อื่น ผู้ทมี่ ีสุขภาวะกายและจิต ท่ีดีจะปฏิบัติหน้าที่ประจาวนั ไม่วา่ เป็น
การเรียนหรอื การทาางานเป็นไปด้วยดี มี ประสิทธภิ าพการทีเ่ รารู้สกึ ว่า ทั้งสขุ ภาพกายและสุขภาพจติ ของเรามี
ความ ปกติและสมบูรณ์ดี เราก็จะมีความสุขในทางตรงข้าม ถ้าสุขภาพกายและ สุขภาพจิตของเราผิดปกติ
หรือไม่สมบูรณ์ เราก็จะมีความทุกข์ รู้จักบารุงรักษา และส่งเสริมสุขภาพกายและสุขภาพจิตเป็นส่ิงท่ีจาเป็น
สาหรับชีวิตของทุกคนใน ปัจจุบันเป็นที่ยอมรับว่า การรู้จักดูแลสุขภาพกายและสุขภาพจิตนั้นเป็นส่ิง สาคัญ
มากที่จะชว่ ยใหช้ วี ิตอบยูไ่ ด้ดว้ ยความสขุ สมบูรณแ์ ละมีคณุ ภาพท่ีดี
3
ลักษณะของผ้ทู ่ีมีสุขภำพกำยทีด่ ี
ผ้ทู ี่มีสขุ ภาพกายดีจะมีลกั ษณะดังน้ี
1. มีการเจริญเตบิ โตทางดา้ นร่างกายที่สมวยั มนี ้าหนักและสว่ นสูงเปน็ ไปตามเกณฑอ์ าย
2. มขี นาดรา่ งกายสมส่วน คอื มีนา้ หนกั และสว่ นสงู ทไ่ี ดส้ ดั สว่ นกบั
3. กล้ามเนือ้ ส่วนต่างๆ มีความแข็งแรง ลกุ -น่ังได้หลายคร้ัง ดงึ ขอ้ ไดห้ ลาย ครง้ั
4. มคี วามอดทนของระบบหายใจและระบบไหลเวียนโลหติ ทด่ี ี
5. มคี วามออ่ นตัวที่ดี
6. มีความคลอ่ งแคล่วในการเคล่ือนไหว
7. มคี วามอยากรบั ประทานอาหารและอยากรับประทานมากๆ ไมเ่ บ่อื อาหาร 8. มีรา่ งกายแข็งแรง
9. มภี ูมิต้านทานโรคดี และไม่มโี รคภยั ไข้เจบ็ ไมพ่ ิการหรือผิดปกติอน่ื ๆ
10. พักผอ่ นนอนไดเ้ ป็นปกติ
4
ลักษณะผ้ทู ่มี สี ขุ ภำพจติ ท่ีดี
ลกั ษณะของผทู้ ่ีมีสขุ ภาพจติ ทด่ี ี มดี งั น้ี
1. ไม่เป็นโรคจติ โรคประสาท
2. สามารถปรบั ตวั ให้เข้ากบั สังคมและส่งิ แวดลอ้ มได้
3. มีสัมพันธภาพทด่ี ีกับบุคคลอื่นๆ
4. มีชวี ิตมน่ั คง ไม่งดั แยง้ เบ้ียทใี่ ดกม็ ีความสขุ ความสบายใจ
5. ยอมรับความเปน็ จรงิ เกี่ยวกับตนเอง เขา้ ใจความแตกตา่ งระหวา่ งบคุ คล
6. ยอมรับข้อบกพรอ่ งของตนเอง อภยั ขอ้ บกพรอ่ งข้อคนอ่นื
7. มีความรับผิดชอบ
8. มีความพึงพอใจกบั งานและผลงานของตนเอง พอใจที่จะเปน็ ผ้ใู หม้ ากกวา่ ผู้รับ
9. แก้ไขความไม่สบายใจ ความคบั ขอ้ งใจ และความเครียดของตนเองได้
10. รบั ฟงั ความคิดเหน็ ของผอู้ นื่ ไม่หวาดระแวงผอู้ ่นื เกนิ ควร
11. มอี ารมณม์ น่ั คง เปน็ คนอารมณด์ ี มอี ารมณข์ นั บา้ ง
12. มคี วามเชื่อมนั่ ในตนเอง
13. สามารถควบคมุ ความตอ้ งการของตนเองในความเป็นแนวทางทส่ี ังคมยอมรบั
5
พลศึกษำ
6
ควำมหมำยของพลศกึ ษำ
พลศีกษาเปน็ "ศาสตร์ แขนงหนึ่งท่ีอยู่บนรากฐานทางวทิ ยาศาสตร์ และมีความเกี่ยวข้องกับ ศาสตร์
แขนงอ่ืนๆอีกหลายแขนง พลศึกษา คาว่า "พละ" และ "ศึกษา" พละ แปลว่า กาลัง ส่วนคาว่า ศึกษา แปลว่า
การ เลา่ เรยี น เมอ่ื น่าค่าท้ังสองคานม้ี ารวมกันเป็นคาสมาสสระอะลดรูป รวมเป็น "พลศกึ ษา" แปลตามรูปคพั ท์
ว่า การศึกษาเล่าเรียนในการบารุง ร่างกายโดย การออกกาลังกาย และจากความหมายดังกล่าว ได้มีนัก
พลศีกษาทั้งของไทย และต่างประเทศได้ให้ความหมายของคาว่า พลศีกษาไว้อย่างกว้างขวาง ดังต่อไปนี้คือ
เจย์ บี แนช (Jay B. Nash) พลศึกษาเป็นการศกึ ษาแบบ หน่ีงใน กระบวนการศึกษาท้งั หมด เปน็ การศึกษาท่ใี ช้
กิจกรรมเป็นส่ือ เพื่อให้เกิด พัฒนาการทางกาย ทางประสาท ทางสติปัญญา ทางอารมณ์ ผลเหล่านี้จะ
ประจักษ์ก็ต่อเม่ือได้มีการจัดกิจกรรมพลศึกษาขน้ึ ตามสถานทต่ี ่างๆเช่น สนาม กีฬา โรงฝกึ พลศึกษา และสระ
วา่ ยน้า เป็นต้น เอชเธอริงตัน (Hetherington) พลศีกษาหมายถึง ส่ิงสาคญั ของประการ คือ เป็นกิจกรรมท่ีใช้
กล้ามเน้ือมดั ใหญ่ให้เป็นประโยชน์ตอ่ ร่างกาย ประการหน่ึง อีกประการหนึ่งเป็น กระบวนการคักษา ชว่ ยให้
เด็ก เจริญเติบโต มีสขุ ภาพดี ซงึ่ จะชว่ ยให้ เขาสามารถเรียนไดโ้ ดยไมม่ ีอุปสรรค ตอ่ การเจริญเติบโต
7
พลศึกษำ เพอ่ื ให้มองเหน็ เน้ือใบใจความของคานีอ้ ย่างถ่องแท้ใน ความหมาย 3 ระดับจากคาว่า "คือ" ใหภ้ าษา
ทส่ี นั้ กระชบั และกวา้ งๆ จากคาวา่ "เปน็ " ใ ภาษาพน้ื ฐานทีเ่ ขา้ ใจได้และแยกยอ่ ยอย่างงา่ ยๆ และ "หมายถึง ให้
ภาษาท่ีขยายความ ทแี ตกคา่ ออก และเพม่ิ คา่ ที่สาคัญ ดงั น้ี
1. พลศึกษำ คือ ศาสตรแ์ ละศลิ ปใ์ นการเรยี นรู้ร่างกายและจิตใจ
2. พลศึกษำ เป็น ชื่อสาระการเรียนรู้แบบงหน่ึงที่บังคับเรียนตามหลักสูตร เป็น การเรียนรู้เก่ียวกับการ
เคลอ่ื นไหวของรา่ งกายและจิตใจอย่างถกู วธิ ี หรอื หากจะเพิ่มรายละเอยี ดมากขึ้น ขอขยายความวา่
3. พลศึกษำ หมายถึง สาระการเรยี นรูแ้ บบบหนีบ ที่ว่าดว้ ยการเรียนร้เู รือ่ งการ เคลือ่ นไหวท่ตี ้องบังคับรา่ งกาย
และควบคมุ จิตใจ เพื่อก่อให้เกิดการใชพ้ ลังงาน อยา่ งถูกวิธีและมีประสิทธิภาพ ตลอดจนมีความรู้เกีย่ วกับการ
ออกกาลังกาย และใชก้ ีฬาเปน็ ส่อื ในการเรียนรู้จากนัยสาคัญของพลศีกษาในแง่ของคาว่า คือเป็นหมายถงึ และ
เพื่อ น้ัน ย่อมแสดงถึงคุณค่ามหาศาลของคา ค่าน้ี และเมื่อจะถอดรหัสใจความของ เน้ือในทีมีหลายคาที่
ทรงคุณค่า และสาคัญ ไม่ว่า ศาสตร์ ศิลป์, เคล่ือนไหว, บังคับร่างกาย ควบคุมจิตใจ, ถูกวิธี มีประสิทธิภาพ,
ออกกาลังกาย, กีฬาเป็น ส่ือความแข็งแรงในร่างกาย, ความแข็งแกร่งในจิตใจ และสมรรถภาพ ร่างกายและ
จติ ใจ ย่ิงทาให้เห็นว่า คานามธรรมคาหน่ึงที่ช่ือว่า "พลศกึ ษา" น่ัน ทาไมจงึ เป็นสาระการเรียนรู้ท่ียอดเยี่ยมได้
เพียงแต่จะไม่ขอกล่าวรายละเอยี ด ในทน่ี ี้ แตจ่ ะให้แนวคดิ , ข้อคดิ และวิธคี ดิ
8
พลศกึ ษำในเชงิ รำ่ งกำยพลศกึ ษำในเชิงรำ่ งกำย
ก็คือการทาให้ร่างกายมพี ลงั ทีเ่ ปน็ รปู ธรรม ประกอบดว้ ย
1. ควำมแขง็ แรง เช่น ขอ้ มือ สามารถยกส่งของหนกั ได้
2. ควำมเร็ว เช่น การวิ่งระยะสน้ั 50 เมตร ในเวลาท่ีจาหนด
3. ควำมออ่ นตวั เชน่ การก้มตวั เข่าตงึ ไปหยบิ ของบนฟนั
4. ควำมคลอ่ งแคล่ว เช่น การโยกล่าตัวหลบหลีกส่ิงกีดขวาง 5. ความทนทาน เช่น การเดินเร็ว หรือว่ิงระยะ
ทางไกล เปน็ เวลานาน
6. ระบบไหลเวียนโลหิต เช่น การที่เหง่ือออกจากร่างกาย และการจับชพี จรตามเกณฑ์ที่กาหนดพลศกึ ษาใน
เชงิ จติ ใจพลศกึ ษาในเชิงจติ ใจ ก็คือ พละ 5 แปลว่าธรรมอันเป็นกาาลัง ที่สถติ ย์ในจติ ใจคน มีพลงั เป็นนามธรรม
ประกอบด้วย
1. ครทิ รำ - ควำมเชอื่ คือเช่ือว่าจติ ของคนมพี ลังแฝงทุกขณะ
2. วิริยะ - ควำมเพยี ร คือคนมีความมุง่ ม่นั ต้ังใจฝึกฝน ฝึกซอ้ ม ให้สาเร็จได้
3. สติ-ควำมระลกึ ได้ คือการรู้ตัวทุกขณะว่ากาลังเคลอ่ื นไหว 4. สมาริ - ความตง้ั จติ ม่ัน คือ การนาจติ ไปจดจ่อ
กบั การเคลื่อนไหวในขณะนน้ั
5. ปญั ญำ-ควำมรู้ชดั แจง้ คอ บ่อมบ่าความคิด วรคดว่าขณะทเ่ี คลอ่ื นไหว ต้องแก้ปญั หาขณะนนั้ และคดิ การณ์
ลว่ งหนา้ เสมอ
9
10
สุขศกี ษำ
สุขศีกษำ คือ กระบวนการเปลี่ยนแปลง งเกิดข้ึนในตัวบุคคล การ เปลี่ยนแปลง สัมพันธ์กับความ
สัมฤทธ์ิผลส่วนบุคคลและส่วนชุมชนตาม เป้าหมายทางสุขภาพอนามัย สุขศึกษาไม่สามารถที่จะหยิบยื่นให้
บคุ คลอนื่ โดย บุคคลหน่งได้ สุขศึกษาเป็นกระบวนการเปลยี่ นแปลงพลวัตรท่ีเกดิ ข้ึนอยู่ ตลอดเวลา โดยบุคคล
อาจยอมรับหรือไมย่ อมรับข้อมูล เจตคติ และการปฏิบัติ ใหม่ๆ ชิงเกี่ยวกับเป้าหมายของการมีชีวิตอยู่อย่างมี
ความสุขก็ได้ W.HO Technical Report No.89 ให้ความเห็นว่า สุขศีกษาก็เช่นเดียวกับการศึกษา ทั่วไป คือ
เก่ียวขอ้ งกบั การเปล่ียนแปลงความรู้ ความสามารถและพฤตกิ รรม ของบุคคล สขุ ศกึ ษาจะเน้นท่กี ารพัฒนาการ
ปฏิบตั ิทางสขุ ภาพอนามัย ซ่ึงเชอ่ื ว่าจะก่อใหเ้ กดิ สภาวะความเปน็ อย่ทู ส่ี มบูรณท์ สี่ ุด Mayhew Derryberry ให้
ความหมายสุขศึกษาได้ง่ายๆ เพื่อให้บุคคลทั่วไปเข้าใจดังน้ี สุขศึกษาเป็นการ เปล่ียนแปลงความรู้ด้าน
วิทยาศาสตร์สุขภาพ เจตคตทิ ี่มตี ่อการปอ้ งกนั และ รกั ษา และการปฏิบตั ิทางสุขภาพอนามัย ตลอดจนนิสัยใน
ชีวิตประจาวัน ชงเป็น ผลจากประสบการณ์หลายๆอย่างของบุคคลนั้น ดังนน้ั สุขศึกษาจึงไม่ใช่ กิจกรรมท่ีจะ
ทาโดยเจ้าหน้าที่สารารณสุขเท่านั้น แต่เป็นปฏิกิริยาตอบสนอง ของประชาชนท่ีมีต่อประสบการณ์ทางด้าน
สขุ ภาพทัง้ หมด
11
สุขศึกษำ คือ ประสบการณ์ท้ังมวลทางด้านสุขภาพท่ีทาให้บุคคลเกิด ความรู้ เจตคติและการปฏิบัติที่ดีและ
ถกู ต้องตอ่ สขุ ภาพของตัวเองและชุมชน ทั้งยังผลให้บุคคลและชุมชนมีสุขภาพสมบูรณท์ ัง้ ทางรา่ งกายและจติ ใจ
ทักษะชีวิตมีความสาคญั ต่อบุคคล ครอบครัว ประเทศ และสังคมโลก เน่ืองจากทักษะชีวิตมีความสัมพันธ์กับ
คุณภาพชีวติ และการแกไ้ ขปัญหาใน ระดบั บุคคล ซึ่งส่งผลต่อคุณภาพประชากรโดยรวม กลา่ วคอื ทกั ษะชีวิตมี
ความสาคญั ตอ่ การแกไ้ ขปญั หาต่อไปนี้
1. ปญั หำสขุ ภำพจิต องคก์ ารอนามัยโลกได้ระบุว่าทักษะชวี ิตเป็นเสมือน เครอื่ งมือหนงึ่ ในการสรา้ งภูมิคุ้มกัน
ให้สามารถดารงรักษาสขุ ภาพจิตให้คงอยู่ ได้ ไม่เกิดปัญหา เพราะสภาพแวดล้อมและปญั หาที่เกดิ ขึ้นมากมาย
ในสังคม ย่อมส่งผลกระทบต่อบุคคล ถ้าบุคคลมีทักษะชีวิต บุคคลย่อมเข้าใจปัญหา และ สามารถวิเคราะห์
ปัญหาทีเ่ กิดข้ึนดว้ ยเหตผุ ลจนสามารถแกป้ ัญหาตา่ งๆให้ลลุ ่วง ไปได้
2. ปัญหำสำรเสพติด เป็นปัญหาที่ลืบเนื่องจากปัญหาอาชญากรรมภายในและ ภายนอกประเทศท่ีผู้ขายมี
เครือข่ายอยู่ในทุกชุมชนและหมู่บ้าน เน่ืองจากหวัง รายได้จากการค้าสารเสพติดทาให้ปัญหาสารเสพติดเป็น
ปญั หาหน่ึงท่ียากจะ แก้ไขให้หมดไป แม้ว่ารัฐบาลจะใช้การปราบปรามอย่างรุนแรง แต่สารเสพติดก็ ยังแพร่
ระบาดอยู่ ดงั นน้ั วธิ ีการปอ้ งกนั ภัยจากสารเสพตดิ ทม่ี ีประสิทธภิ าพ อ การใชท้ ักษะชีวติ หลกี เลีย่ ง และปกปอ้ ง
ตนเองและครอบครวั จากการแพร่ ระบาดของสารเสพติด
12
3. ปัญหำกำรมเี พศสมั พนั ธุ์ การมีเพศสมั พันธุ์ท่ีไม่ถูกต้องและไม่เหมาะสม เชน่ การมีเพศสัมพนั ธุ์ในระหวา่ งท่ี
ยังเรยี นอยู่ มเี พศสมั พนั ธแุ์ บบยาสอ่ น รักร่วม เพศ เป็นตน้ ทาให้เกิดปญั หาอน่ื ๆ เชน่ ปัญหาการทาแทง้ ปัญหา
โรคเอดส์ ปัญหาครอบครัว ปัญหาการเรียน ปัญหาสุขภาพจิต เป็นปัญหาท่ีเกิดขึ้นแล้ว ยากจะแก้ไข ทักษะ
ชีวิตจะช่วยให้บุคคลมีความเข้าใจเรื่องของเพศสัมพันธุ์และ รู้ว่าจะป้องกัน หลีกเลี่ยง และหาทางออกให้กับ
ตนเองไดอ้ ย่างไรเมือ่ เผชญิ กับ ปญั หาการมีเพศสมั พนั ธุ์
4. ปัญหำกำรทะเลำะวิวำทและกำรใช้ควำมรุนแรงในกำรแก้ปัญหำ เกิดจาก การใช้อารมณ์ และความรู้สึก
ตลอดจนอารมณร์ ่วมกบั กลุ่มและพวกพอ้ งมาก การใชเ้ หตุผล ทาให้ขาดความย้งั คดิ ในการการกระทาใดๆ ท่ีน่า
ตนเองไปสู่การ ก่ออาชญากรรม ทาใหส้ ูญเสียอนาคตเลียโอกาสและทาให้บุพการีเสียใจ การ แก้ปัญหาความ
ขัดแย้งทกุ ระดับสามารถทาได้ไม่ว่าจะเป็นระหวา่ งบุคคล แม้แต่ ระหวา่ งประเทศ ท้ัง คกู่ รณีของคามขดั แย้งต้อ
งมใช้เหตผุ ลและผลประโยชน์ ของคนสว่ นใหญ่เป็นหลกั การสาคัญในการแก้ปัญหา ซึ่งผ้ทู ี่มีทกั ษะชีวิต สามารถ
น่าหลักการแห่งเหตผุ ลมาตัดสินแกไ้ ขปญั หาต่างๆได้
5. ปัญหำครอบครัว ส่วนมากเกิดจากสาเหตุการหย่าล้างของสามี-ภรรยาท่า ให้ครอบครัวมีสภาพแตกแยก
ส่งผลกระทบต่อลูกๆ ไม่ว่าจะอยู่กับพ่อหรือแม่ก็ ตาม ลูกบางคนยังถูกทอดทิ้งให้อยู่กับญาติผู้ใหญ่ ทาให้ลูก
ขาดความอบอ่นุ ขาดการขดั เกลาทางสังคม และทาใหร้ สู้ กว่าตัวเองมีปมด้อย ปัจจุบันสภาพ สังคมไทยมปี ัญหา
ครอบครัวสงู มาก ดังน้ัน เยาวชนจึงจาเป็นต้องมีภูมิคุ้มกัน ตนเองไม่ว่าจะมีปัญหาครอบครัวหรือไม่ก็ตาม ขง
ทักษะชีวติ จะช่วยใหเ้ ยาวชนมี ความเขา้ ใจและแนวทางที่ดีให้กับตนเองไดแ้ บว่ า่ ครอบครัวจะไม่สมบรู ณก์ ็ตาม
6. ปัญหำสังคม ซึ่งเกดิ จากการเปลี่ยนแปลงค่านยิ ม วัฒนธรรม ประเพณี ระบบเศรษฐกิจ ระบบการเมืองการ
ปกครเอง และระบบการสื่อสาร โทรคมนาคม ซึ่งส่งผลต่อทัศนคติ การคิด การตัดสินใจ และการแสดงออก
หรอื พฤตกิ รรมของบคุ คล โดยมกี ารส่ือสารต่างๆ เปน็ ผู้สร้างอทิ ธิพลตอ่ บุคคลรนุ่ ใหม่มากทีส่ ุด ด้าเยาวชนไม่มี
ทักษะชวต ก็ไมส่ ามารถปรับเปล่ียนตนเองไปในทาง ที่เหมาะสม ต่ออาจจะแสดงออกหรือมีการกระทาท่ีเป็น
ปัญหาสังคม เช่น การ เทยี่ วเตร่ อาชญากรรมรปู แบบตา่ งๆ การขายตัว ดังนั้นทักษะชวี ิตจึงมี ความสาคญั กับ
เยาวชนในการเลอื กแนวทางทถี่ กู ต้องและเหมาะสมกับตนเอง
13
7. ปัญหำกำรพัฒนำตนเอง เนื่องจากสังคมมีการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว เกิดนวัตกรรมท่ีเยาวชนจะต้อง
เรียนรเู้ ป็นจานวนมาก ดงั นั้น เยาวชนจึงตอ้ ง ตัดสินใจเลอื กแนวทางการพัฒนาตนเองไปในทางใด เช่น ในดา้ น
การสอ่ื สาร ดา้ นศลิ ปวัฒนธรรม หรอื งานอาชีพใด จะดีกษาหาความรอู้ ย่างไร จะพัฒนา ทักษะความสามารถให้
เป็นท่ียอมรับท้ังของตนเอง ครอบครัว ทักษะชีวิตจะช่วย ให้เยาวชนได้รู้จักตนเอง รู้ความต้องการและ
ความสามารถที่แท้จรงิ ของตนเอง เพ่ือทีจ่ ะนาไปสู่การพัฒนาตนเองอย่างถูกต้องและสาเรจ็ ตามเป้าหมายของ
เยาวชน
8. ปัญหำสุขภำพร่ำงกำย เยาวชนเปน็ วนั ท่มี ีการเปล่ียนแปลงทางด้านร่างกาย และจิตใจเพราะเป็นวยั เปล่ยี น
จากเด็กสู่ความเป็นผู้ใหญ่ ทาให้เยาวชนมีความ กังวลใจด้านสุขภาพร่างกายหลายด้าน ทั้งรูปร่าง หน้าตา
ผวิ พรรณ เสียง เปน็ ต้น ทักษะชีวิตจะช่วยให้เยาวชนเขา้ ใจความเปล่ียนแปลงของรา่ งกายและความ ตอ้ งการ
ทางด้านจิตใจควบคู่กัน ทาให้เยาวชนสามารถปรับตนเองหรือรักษา ตนเองในทางที่ถูกต้องเหมาะสมและ
ปลอดภยั
14
15
นนั ทนำกำร
นันทนาการ (Recreation)
หมายถึง กิจกรรมที่คนเราใช้เวลาว่างจากการกิจงานประจาโดยเข้าร่วม ด้วยความสมัครใจ และ
กิจกรรมที่ทาต้องไม่ขัดต่อขนบธรรมเนียม ประเพณี วัฒนธรรม และกฎหมายบ้านเมือง เพ่ือก่อให้เกิดการ
พัฒนาหรือความเจริญ งอกงามทางกาย อารมณ์ สังคม และสติปัญญา นันทนาการเป็นค่ามาจากคาเดิมว่า
"ลันทนาการ" งพระยาอนุมานราชธน หรือเสถียรโกเศศได้บัญญัติไว้เมื่อปี พ.ศ.2507 และตรงกับศัพท์
ภาษาอังกฤษ ว่า "Recreation มนี ักวชิ าการได้ให้ความหมายของนันทนาการไว้หลากหลาย ซ่ึงสามารถสรุปได้
ดังน้ี
นนั ทนาการ หมายถึง กจิ กรรม (Activities) ตา่ งๆ ทีบ่ คุ คลเขา้ ร่วมใน ช่วงเวลาว่าง โดยไม่มีการบงั คับ
หรือเขา้ รว่ มดว้ ยความสมคั รใจ มผี ลก่อใหเ้ กิด การพฒั นาอารมณส์ ุข สนุกสนานหรือความสุขสงบ และกจิ กรรม
นั้นๆ จะต้อง เป็นกิจกรรมท่ีสังคมยอมรับ ซึ่งเป็นกิจกรรมที่มีความหลากหลาย เช่น กิจกรรม ศิลปหัตกรรม
การอ่าน-เขียน กิจกรรมอาสาสมัคร ศลิ ปวัฒนธรรม งานอดิเรก เกม กฬี า การละคร ดนตรี กจิ กรรมเขา้ จังหวะ
และนนั ทนาการกลางแจง้ นอก เมอื ง
นันทนาการ หมายถึง กระบวนการ (Process) หรือประสบการณ์ที่บุคคล ได้รับโดยอาศัยกิจกรรม
นนั ทนาการในช่วงเวลาว่างเป็นส่ือก่อให้เกิดการ พัตนาหรือความเจริญงอกงามทางกาย อารมณ์ สังคม และ
สติปัญญาของ บุคคล
16
จดุ มงุ่ หมำยของกิจกรรมนนั ทนำกำร
1. เพ่อื พฒั นำอำรมณ์
กจิ กรรมนันทนาการเปน็ กระบวนการเสริมสร้าง และพัฒนาอารมณ์ของ บคุ คลและชุมชน โดยอาศัยกิจกรรม
ต่างๆ เป็นสื่อกลางในช่วงเวลาว่าง หรือ เวลาอสระ การเข้าร่วมกิจกรรมต้องเป็นไปด้วยความสมัครใจ และ
กิจกรรม บ จะต้องเป็นกิจกรรมที่สังคมยอมรับ สามารถก่อให้เกิดความสุข สนุกสนาน เพลิดเพลิน
2. เพื่อเสรมิ สร้ำงประสบกำรณใ์ หม่
กิจกรรมนันทนาการ ช่วยสรา้ งประสบการ ใหม่ให้แก่ผู้ร่วมกิจกรรม ทั้งนเ้ี พราะความหลากหลายกจิ กรรม เช่น
การท่องเที่ยว ทัศนศึกษา การ เสริมสร้างประสบการณ์ใหม่ในสถานที่และทรัพยากรท่องเท่ียว ขึ้นอยู่กับ
ประสบการณ์ และพ้นื ฐานเดิมของบุคคลหรือชุมชน
3. เพื่อเพม่ิ พูนประสบกำรณ์
กิจกรรมสร้างเสริมประสบการณ์ หรือกิจกรรมบางอย่างที่เคยเข้าร่วม มาแล้ว แต่ผู้เข้าร่วมอยากสร้างความ
ประทบั ใจ หรือความทรงจาเดมิ กจ็ ะเป็น การเพ่ิมพนู ประสบการณ์ท้ังส้นิ
4. เพอ่ื ส่งเสรมิ กำรมีสว่ นร่วม
กจิ กรรมนันทนาการ จะสง่ เสริมการมีส่วนร่วมของบุคคลและชุมชน ฝึกให้ มีโอกาสเข้าร่วมกิจกรรมของชุมชน
ด้วยความสนใจและสมัครใจ ส่งเสริมการ ทางานร่วมกันเป็นทีม เป็นส่วนหนี่งของกลุ่ม รู้จักสิทธิและหน้าที่
ตลอดจน ความรับผดิ ชอบตอ่ ตนเองและผอู้ น่ื ในฐานะองคก์ รของสงั คม
5. เพอ่ื สง่ เสริมกำรแสดงออก
กิจกรรมนันทนาการหลายประเภท เป็นการส่งเสริมให้บุคคลได้แสดงออกทางด้านความรู้สกึ นึกคิด สรา้ งสรรค์
การระบายอารมณ์ การเลียนแบบ สถานการณ์ หรือพฤติกรรมตา่ งๆ ทาให้สามารถเรียนรู้และรู้จักตนเองมาก
ข้ึน สรา้ งความมั่นใจ ความเข้าใจและการควบคมุ ตนเอง
6. เพอื่ ส่งเสริมคุณภำพชวี ิต
กิจกรรมนันทนาการเย็บกิจกรรมท่ีช่วยพัฒนาอารมณ์ ความสุขความสามารถของบุคคล สุขภาพและ
สมรรถภาพทางกายและจติ ใจ ความสมดลุ ทางกาย และจิต ส่ิงเหลา่ นีจ้ ะชว่ ยพัฒนาคุณภาพชีวิต ของสงั คมทุก
เพศและวัย นอกจากนีย้ ังชว่ ยพัฒนาคุณภาพชวี ติ ของกลมุ่ ประชากรทกุ กล่มุ ดว้ ย
17
7. เพื่อสง่ เสรมิ ควำมเป็นมนษุ ยชำติ
กิจกรรมนันทนาการจะช่วยส่งเสริมพฤติกรรม และพัฒนาความเจริญ งอกงามของบุคคลทั้งทางกาย อารมณ์
สังคม สติปัญญา และจิตใจของคนทุก คน ทุกเพศ ทุกวัย ตามความสนใจและความต้องการของบุคคล เช่น
การจัด กิจกรรมนันทนาการนานาชาติ คือ มหกรรมกีฬาโอลิมปิค ซึ่งจะช่วยส่งเสริม ความเข้าใจอันดีและ
มิตรภาพของมวลมนษุ ยชาติ
8. เพอื่ สง่ เสรมิ ควำมเปน็ พลเมืองดี
กิจกรรมนันทนาการเป็นการให้การศึกษาแก่เยาวชนในด้านการช่วยเหลือ ตนเอง รู้จักสิกร หน้าที่ความ
รับผิดชอบ ระเบียบวินัย และการปรับตัวให้เข้ากัน กลุ่มและสังคมได้เป็นอย่างดี เป็นการพัฒนาบทบาทของ
การเป็นพลเมืองดี ไม่ เห็นแกต่ วั ชว่ ยเหลอื สงั คมสว่ นรวมเปน็ สาคัญ สง่ ผลใหส้ ังคมอบอุ่น และ เพมิ่ พนู คุณภาพ
ชวี ติ
18
19
เพศ
คาว่า "เพศ" ในอดีตมีการใช้เพ่ือสื่อความหมายต่าง ๆ อย่างมากมาย หลากหลาย จนทาให้เกดิ ความ
สับสน เพราะอธิบายถึงความหมายในหลากหลาย นัย เช่น แบ่งแยกความแตกต่างระหว่างอวัยวะเพศ การ
เรยี กตามลักษณะสรีระ การแบง่ ตามลักษณะนสิ ัย รวมไปถงึ รสนิยมทางเพศ ก่อให้เกิดความสับสน และ ความ
ไมช่ ัดเจนตามหลกั ภาษา ดงั น้ันค่าว่าเพศ จึงสามารถสรปุ ความหมาย โดยรวมว่าหมาย จ ความเป็นหญิง ความ
เป็นชาย ที่ถูกกาหนดโดยลักษณะ ทางสรีระวิทยา หรือความประสงคข์ องเจ้าของสรีระน้ัน ซึ่งยังมีความหมาย
รวมไปถึงเพศภาวะ และเพศวิถีด้วย ดังน้ัน เพ่ือให้เกิดความชัดเจน จึงเกิดค่าจากัดความ "เพศ" เพื่ออธิบาย
ความหมายตามลกั ษณะและองคป์ ระกอบโดยสรปุ ได้ 3 นยั ดงั นั้น
1. เพศสรีระ (Sex)
2. เพศสภาวะ (Gender)
3. เพศวิถี (sexuality)
กลา่ วโดยละเอยี ดได้ดงั น้ี
1. เพศสรีระ (Sex)
20
เพศสรรี ะ หรือ Sex หมายถึง การจาแนกมนุษยต์ ามลักษณะทางชีววทิ ยา คือ การเรียกเพศของมนุษย์
ตามลักษณะอวัยวะเพศโดยก่าเนิด ออกตามลกั ษณะ ของอวัยวะสืบพนั ธ์ หรือลกั ษณะทางโครโมโซมเพศ (sex
chromosome) ดังน้ี ชื่อเรียกอวัยวะเพศ: เพศชาย คือองคชาต (Penis) เพศหญิง คือช่องคลอด (Vagina)
โครโมโซมเพศ: เพศหญิง XX เพศชาย XY
นอกจากน้ี การแบ่งเพศตามลักษณะสรีระนี้ยังใช้ในการจาแนกเพศ ของพืช และสัตว์อีกด้วยโดยจะ
เรียกว่า เพศผู้และเพศเมีย ตามลักษณะอวัยวะ เพคในขณะที่ความหมายของ Sex ในภาษาอังกฤษนั้น ยัง
หมายถึงการมี เพศสัมพันธ์ หรือการร่วมเพศอีกด้วย ท้ังน้ีการมีเพศสัมพันธ์เพ่ือสืบพันธ์น้ัน จะเกิดขึ้นได้ก็
ตอ่ เม่ือเกิดความการร่วมเพศระหว่างชายและหญงิ เท่านั้น (Heterosexual for Procreation)
2. เพศภำวะ (Gender)
เพศภาวะ หรือ เพศสภาพ หรือ เพศสถานะ คือคาจากัดความของเพศ ชิง ความหมายว่าสภาวะ
กาหนดเพศโดยโครงสร้างทางลงคม ชิงในอดีตมนุษย์ถกู หล่อหลอมและปลูกฝังการเรียกเพศตามลักษณะสรีระ
คอื หญิง ชาย ทาให้สว่ น ใหญ่ประเมินความเป็นเพศจากลกั ษณะทางสังคมวิทยาเช่น การปลูกฝังว่าเพศ หญิง
ตอ้ งไว้ผมยาว มกี ริยานมุ่ นวลอ่อนหวาน ประณีตละเอียดลออ ซง่ึ ใน สังคมไทยไดเ้ ปรียบเทยี บเพศหญิงตามเพศ
ภาวะว่า "ชา้ งเท้าหลงั " ในขณะท่ี เพศชาย ต้องเข็มแข็งสุภาพ เป็นผู้นา กลา้ คดิ กลา้ ตัดสินใจ ร่างกายบึกบึนก้า
ย่า ติดผมส่ัน ในสังคมไทยเปรียบเทียบตามเพศภาวะว่า "ช้างเท้าหน้า ซ่ึงหาก สังคมเกิดเปลี่ยนการกาหนด
สถานะทางเพศ นอกเหนือจากพฤติกรรม หรือ ลักษณะทางกายภาพที่ลิงคมกาหนดคือ ชาย หญิง แล้ว อาจ
กาหนดได้เพ่ิมเติม จากองค์ประกอบอื่น ๆ เพศภาวะก็จะมีเพิ่มมากขึ้น เช่น เกย์ กะเทย ทอม ดี้ เล สเบ้ียน
ฯลฯ อนั จะนาไปสกู่ ารทาหนดบทบาก เพศต่าง ๆ มากกว่าหญิงและชาย
3. เพศวิถี (Sexuality)
21
องค์การอนามัยโลก (2) ได้ให้ความหมายของค่าว่า "เพศวิถี หรือ Sexuality" ว่าหมายถึง มุมมอง
ตลอดชีวิตของมนุษย์ในแง่ของเพศ ความเป็นชายหญิง และบทบาททางเพศ การรับรู้สภาพแวดล้อมทางเพศ
(Sexual orientation) ลักษณะที่กระตุ้นความต้องการทางเพศ ( Eroticism) ความพึงพอใจทางเพศ
(Pleasure) ความสัมพันธท์ างเพศและการสบื พันธ์ุ (Intimacy and reproduction) เพศวิถี เป็นประสบการณ์
ที่ได้รับและแสดงออกในด้านความคิด (Thought) การจินตนาการ (Fantasies) ความปรารถนา ความเชื่อ
ทศั นคติ คุณคา่ พฤติกรรม การปฏิบัติ บทบาทและความสัมพนั ธ์ ในขณะทเ่ี พศวถิ ี สามารถทจ่ี ะรวมในทุกมิติท่ี
กลา่ วแต่ไม่จาเปน็ ทท่ี กุ ๆ อยา่ งท่ีกลา่ วจะไดเ้ คยมี ประสบการณห์ รอื แสดงออกมา เพศวิถไี ดร้ บั อิทธพิ ลจากทาง
ร่างกาย จิตใจ สังคม เศรษฐกิจ การเมือง วัฒนธรรม จรรยาบรรณ กฎหมาย ประวัติศาสตร์ ศาสนาและ
องค์ประกอบของจิตวิญญาณ ซ่ึงสอดคล้องกับนักวิชาการไทย หลากหลายท่าน (3) ชง ได้ให้ความหมายของ
เพศวิถี ว่าหมายถึง วิถีชีวิตทาง เพศท่ีถูกหลอมสร้างจากค่านิยม บรรทัดฐาน และระบบ วิธีคิด วิธีปฏิบัติที่
เก่ยี วกับความปรารถนาและการแสดงออกทางเพศ ความคดิ เกย่ี วกับคูร่ กั ค่ชู ีวิตในอุดมคติ และกามกิจ
22
ขอบคุณ ครับ / คะ่
23